โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จิมมี เวลส์

ดัชนี จิมมี เวลส์

มมี ดอนอล "จิมโบ" เวลส์ (Jimmy Donal "Jimbo" Wales) เกิดวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2509 เป็นผู้ประกอบการด้านอินเทอร์เน็ตชาวอเมริกัน และเป็นผู้ก่อตั้งวิกิพีเดีย ซึ่งเป็นสารานุกรมเนื้อหาเสรีบนอินเทอร์เน็ตที่เปิดให้ทุกคนร่วมมือกันแก้ไขได้.

17 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2509การประท้วงร่างรัฐบัญญัติโซปาและพีปามหาวิทยาลัยออเบิร์นมักนุส มันส์เคอมูลนิธิวิกิมีเดียวิกิพีเดียวิกิพีเดียสู่มรดกโลกวิกิเมเนียวิกิเมเนีย 2011วิกิเมเนีย 2012วิกิเมเนีย 2013วิเกียคณะอนุญาโตตุลาการ (วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ)ซิติเซนเดียมนูพีเดียโบมิส7 สิงหาคม

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: จิมมี เวลส์และพ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

การประท้วงร่างรัฐบัญญัติโซปาและพีปา

ับหน้าจอแลนดิงเพจ (landing page) ของวิกิพีเดียภาษาอังกฤษ อันเป็นเพียงหน้าเชิงสัญลักษณ์เพียงหน้าเดียวระหว่างการปิดเมื่อวันที่ 18 มกราคม การปิดวิกิพีเดียภาษาอังกฤษเป็นการประท้วงออนไลน์ 24 ชั่วโมงซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 18 มกราคม..

ใหม่!!: จิมมี เวลส์และการประท้วงร่างรัฐบัญญัติโซปาและพีปา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยออเบิร์น

แซมฟอร์ดฮอลล์ มหาวิทยาลัยออเบิร์น มหาวิทยาลัยออเบิร์น (Auburn University) มหาวิทยาลัยรัฐของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองออเบิร์นในรัฐแอละแบมา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2399 (ค.ศ. 1856) ในปัจจุบันมีนักศึกษากว่า 23,000 คน อาจารย์กว่า 1,200 คน เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในรัฐ ออเบิร์นเป็นมหาวิทยาลัยหนึ่งในเพียง 13 มหาวิทยาลัยของสหรัฐที่เป็นทั้งศูนย์วิจัยประเภท land-grant, sea-grant, และ space-grant ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย ได้แก.

ใหม่!!: จิมมี เวลส์และมหาวิทยาลัยออเบิร์น · ดูเพิ่มเติม »

มักนุส มันส์เคอ

น์ริช มักนุส มันส์เคอ (Heinrich Magnus Manske) เป็นเจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์อาวุโสที่สถาบันเวลล์คัมทรัสต์แซงเจอร์ ในเคมบริดจ์ สหราชอาณาจักร และเป็นนักพัฒนาซอฟต์แวร์รุ่นแรกของซอฟต์แวร์มีเดียวิก.

ใหม่!!: จิมมี เวลส์และมักนุส มันส์เคอ · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิวิกิมีเดีย

ริษัทมูลนิธิวิกิมีเดีย (Wikimedia Foundation, Inc.; WMF) หรือ วิกิมีเดีย เป็นองค์การไม่แสวงหาผลกำไรและองค์กรการกุศลสัญชาติอเมริกัน มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย ส่วนใหญ่เป็นที่รู้จักจากการเข้าร่วมในขบวนการวิกิมีเดีย และเป็นเจ้าของชื่อโดเมนอินเทอร์เน็ตของโครงการส่วนใหญ่ของขบวนการ เช่น วิกิพีเดีย มูลนิธินี้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2546 โดยจิมมี เวลส์ เพื่อให้เป็นหนทางหนึ่งในการหาเงินทุนให้แก่วิกิพีเดียและโครงการพี่น้องด้วยวิธีการที่ไม่แสวงหาผลกำไร ณ พ.ศ. 2558 มูลนิธิมีพนักงานกว่า 280 คน และมีรายได้ประจำปีเกินกว่า 75 ล้านดอลลาร์สหรัฐ คริสโตเฟอร์ เฮนเนอร์ (Christophe Henner) ได้เป็นประธานคณะกรรมการบริษัท ส่วนแคทเทอรีน มาเฮอร์ (Katherine Maher) ได้เป็นกรรมการบริหารตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2559.

ใหม่!!: จิมมี เวลส์และมูลนิธิวิกิมีเดีย · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดีย

วิกิพีเดีย (Wikipedia, หรือ) เป็นสารานุกรมเนื้อหาเสรีหลายภาษาบนเว็บไซต์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิวิกิมีเดีย องค์กรไม่แสวงผลกำไร เนื้อหากว่า 35 ล้านบทความ (เฉพาะวิกิพีเดียภาษาอังกฤษมีเนื้อหากว่า 4.9 ล้านบทความ) เกิดขึ้นจากการร่วมเขียนของอาสาสมัครทั่วโลก ทุกคนที่สามารถเข้าถึงวิกิพีเดียสามารถร่วมแก้ไขได้แทบทุกบทความได้อย่างเสรี โดยมีผู้เขียนประจำราว 100,000 คน จนถึงเดือนเมษายน..

ใหม่!!: จิมมี เวลส์และวิกิพีเดีย · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียสู่มรดกโลก

ป้ายสนับสนุนความพยายามในครั้งนี้ ที่การประชุมวิกิมีเดีย ประจำ ค.ศ. 2011 ณ กรุงเบอร์ลิน วิกิพีเดียสู่มรดกโลก (Wikipedia for World Heritage) เป็นความพยายามเพื่อให้วิกิพีเดียได้ขึ้นทะเบียนของยูเนสโกเป็นมรดกโลก แนวคิดนี้เดิมเสนอขึ้นในการประชุมวิกิมีเดีย ประจำปี 2554 ณ กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี แล้วจึงเริ่มมีการเข้าชื่อกันทางออนไลน์เป็นครั้งแรกที่วิกิพีเดียเยอรมันเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2554 นับเป็นการเสนอญัตติครั้งแรกเพื่อสนับสนุนองค์กรทางดิจิทัล และคาดว่าจะเป็นที่ต่อต้านของบรรดาผู้รักษาทะเบียนมรดกโลกที่ขึ้นชื่อว่าหัวโบราณ จิมโบ เวลส์ กล่าวว่า "แนวคิดพื้นฐาน คือ เพื่อให้เป็นที่รำลึกทั่วกันว่า วิกิพีเดียเป็นปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรมอันน่าอัศจรรย์ใจในระดับโลก ถึงขนาดที่ได้เปลี่ยนแปลงชีวิตของผู้คนนับหมื่นนับแสนชีวิตมาแล้ว" ถ้าวิกิพีเดียไม่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดก มีการพูดคุยกันว่า จะเสนอให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกทางวัฒนธรรมไร้รูปร่างแห่งยูเนสโก (UNESCO Intangible Cultural Heritage) แทน.

ใหม่!!: จิมมี เวลส์และวิกิพีเดียสู่มรดกโลก · ดูเพิ่มเติม »

วิกิเมเนีย

วิกิเมเนีย (Wikimania) เป็นการประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปีสำหรับผู้ใช้ของโครงการวิกิที่ดำเนินการโดยมูลนิธิวิกิมีเดีย (ประกอบด้วยวิกิพีเดียและโครงการพี่น้องอื่น ๆ) หัวข้อการนำเสนอและการอภิปรายประกอบด้วยโครงการมูลนิธิวิกิมีเดีย, วิกิอื่น ๆ, ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ, ความรู้และเนื้อหาเสรี และสังคมที่แตกต่างรวมถึงเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อเหล่านี้.

ใหม่!!: จิมมี เวลส์และวิกิเมเนีย · ดูเพิ่มเติม »

วิกิเมเนีย 2011

การเปิดวาระการประชุมวิกิเมเนียที่ประเทศอิสราเอล ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2011 ภาพถ่ายกลุ่ม ไปรษณีย์อิสราเอล เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 2011 วิกิเมเนีย 2011 (Wikimania 2011) เป็นการประชุมวิกิเมเนียครั้งที่เจ็ด ซึ่งจัดขึ้น ณ ไฮฟา ประเทศอิสราเอล เมื่อวันที่ 4–7 สิงหาคม..

ใหม่!!: จิมมี เวลส์และวิกิเมเนีย 2011 · ดูเพิ่มเติม »

วิกิเมเนีย 2012

ลโก้ของการประชุมวิกิเมเนีย 2012 ซึ่งจัดขึ้นที่วอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา ภาพถ่ายกลุ่ม วิกิเมเนีย 2012 (Wikimania 2012) เป็นการประชุมวิกิเมเนียครั้งที่แปด และได้รับการจัดขึ้น ณ วันที่ 12–15 กรกฎาคม..

ใหม่!!: จิมมี เวลส์และวิกิเมเนีย 2012 · ดูเพิ่มเติม »

วิกิเมเนีย 2013

right สารคดีเกี่ยวกับวิกิเมเนีย 2013 วิกิเมเนีย 2013 (Wikimania 2013) เป็นการประชุมวิกิเมเนียครั้งที่เก้า โดยได้รับการจัดขึ้น ณ วันที่ 7–11 สิงหาคม..

ใหม่!!: จิมมี เวลส์และวิกิเมเนีย 2013 · ดูเพิ่มเติม »

วิเกีย

วิเกีย (Wikia หรือชื่อเดิม วิกิซิตีส์ Wikicities) คือเว็บไซต์ที่ให้บริการฟรีการใช้งานของระบบวิกิ คล้ายคลึงกับวิกิพีเดียก่อตั้งโดย จิมมี เวลส์ (ผู้ก่อตั้งวิกิพีเดีย) และ แองเจลา บีสลีย์ (Angela Beesley) ในปี พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) และบริหารงานโดยบริษัทวิเกีย เว็บโฮสต์ติงฟรีซึ่งคล้ายคลึงกับ จีโอซิตีส์ (Geocities) ที่เป็นเว็บโฮสท์ให้บริการสร้างโฮมเพจฟรี วิกิซีตีส์ให้บริการฟรีสำหรับผู้เขียนและผู้อ่าน โดยได้รับรายได้หลักจากการเก็บค่าโฆษณา ที่แสดงผลในเว็บนั้น ผู้ใช้สามารถขอวิเกียเป็นชื่อของกลุ่มตัวเองได้โดยทำเรื่องร้องขอ ผ่านทางผู้ดูแลระบบ โดยการกำหนดขอบเขตของโครงการ ผลประโยชน์ต่อบุคคลอื่น และผู้ร่วมงาน โดยเมื่อโครงการผ่านการยอมรับจากผู้ดูแลระบบแล้ว สามารถเปิดใช้งานและสามารถเขียนเพิ่มเติมได้ทันที โดยลิขสิทธิ์ของงานเขียนทั้งหมดภายในวิเกียกำหนดให้เป็นลิขสิทธิ์แบบเสรีในแบบ GFDL ซึ่งทางผู้ก่อตั้งกลุ่มย่อยต้องยอมรับการที่จะขอเสนอเปิดโครงการนั้น เนื้อหาบางส่วนไม่สามารถนำมาใช้ในระบบวิเกียซึ่งมีกล่าวไว้ในนโยบายของเว็บไซต์ได้แก่ การเปิดวิเกีย ช่วยกันสร้างสังคมเกี่ยวกับ ยาเสพย์ติด เหล้า บุหรี่ การพนัน และสิ่งผิดกฎหมายต่างๆ วิเกียใช้โปรแกรมชื่อว่ามีเดียวิกิทำงานบนเซิร์ฟเวอร์ ลีนุกซ์ ในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ได้มีโครงการวิกิ ครบ 100 โครงการในวิเกีย โดยในปัจจุบัน (สิงหาคม 2548) มีโครงการวิกิประมาณ 500 โครงการ ภาษาหลักที่ใช้วิเกีย ขึ้นอยู่กับทางผู้จัดตั้งแต่ละโครงการย่อยเป็นคนตัดสิน โดยการติดต่อกับส่วนกลางใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก.

ใหม่!!: จิมมี เวลส์และวิเกีย · ดูเพิ่มเติม »

คณะอนุญาโตตุลาการ (วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ)

ณะอนุญาโตตุลาการแห่งเว็บไซต์วิกิพีเดียภาษาอังกฤษเป็นคณะผู้เขียน (editor) ที่กำหนดคำวินิจฉัยชี้ขาดซึ่งมีผลผูกมัดในข้อพิพาทระหว่างผู้เขียนอื่นในวิกิพีเดียภาษาอังกฤษ จิมมี เวลส์ก่อตั้งคณะอนุญาโตตุลาการขึ้นเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2546 โดยเป็นการขยายอำนาจตัดสินใจซึ่งเขาเคยถือในฐานะเจ้าของเว็บไซต์ คณะอนุญาโตตุลาการทำหน้าที่เสมือนศาลชั้นที่สุดสำหรับข้อพิพาทระหว่างผู้เขียน และได้ตัดสินมาแล้วหลายร้อยคดีตราบจนปัจจุบัน นักวิชาการผู้วิจัยเกี่ยวกับการระงับข้อพิพาทพิจารณาคณะอนุญาโตตุลาการเนื่องจากกิจกรรมของคณะฯ และยังได้รับรายงานในสื่อสาธารณะที่เชื่อมโยงกับคำวินิจฉัยคดีและข้อโต้เถียงที่เกี่ยวกับวิกิพีเดียหลายครั้ง.

ใหม่!!: จิมมี เวลส์และคณะอนุญาโตตุลาการ (วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ) · ดูเพิ่มเติม »

ซิติเซนเดียม

ซิติเซนเดียม (Citizendium) เป็นโครงการรวบรวมความรู้จากทั่วโลก มีลักษณะคล้ายสารานุกรมออนไลน์วิกิพีเดีย เริ่มโครงการโดย แลร์รี แซงเจอร์ หนึ่งในผู้ก่อตั้งวิกิพีเดีย ลักษณะการทำงานของเว็บจะทำงานโดยการควบคุมโดยผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขา โดยนำข้อมูลจากวิกิพีเดียภายใต้ลิขสิทธิ์ของ GFDL มาดัดแปลงและแก้ไขโดยผู้เชี่ยวชาญ ข้อแตกต่างของซิติเซนเดียมที่แยกตัวมาจากวิกิพีเดียอย่างเด่นชัดคือ ลักษณะการแก้ไข โดยผู้ใช้ที่จะแก้ไขต้องลงทะเบียนทุกคน และต้องระบุชื่อและนามสกุลจริงรวมถึงความสามารถและความเชี่ยวชาญจริงไป ข้อมูลของซิติเซนเดียมจะนำมาจากวิกิพีเดียทั้งหมดโดยข้อมูลที่มีการแก้ไขโดยผู้เชี่ยวชาญจะถูกแยกไว้ส่วนหนึ่งต่างหาก ในขณะเดียวกันข้อมูลที่ไม่มีการแก้ไขเป็นระยะเวลาหนึ่งจะถูกลบออก และนำข้อมูลล่าสุดจากวิกิพีเดียมาใส่แทนที่ โครงการนี้ได้ประกาศมาเมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2549 ในงาน วิซาร์ดออฟโอเอส 4 (Wizards of OS 4) ในเบอร์ลิน โดยวันที่เปิดตัวของเว็บไซต์นี้ยังไม่มีการระบุ ณ วันที่ 9 มีนาคม..

ใหม่!!: จิมมี เวลส์และซิติเซนเดียม · ดูเพิ่มเติม »

นูพีเดีย

ัญลักษณ์นูพีเดีย นูพีเดีย (Nupedia) เป็นสารานุกรมออนไลน์ก่อตั้งโดย จิมมี เวลส์ ผู้ก่อตั้งวิกิพีเดีย เนื้อหาของนูพีเดียถูกเขียนโดยผู้เชี่ยวชาญจากแต่ละสาขา โดยเปิดใช้งานครั้งแรกเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2543 แต่ได้ปิดตัวลงเมื่อ กันยายน พ.ศ. 2546 โดยโอนเนื้อหาทั้งหมดย้ายมาในโครงการวิกิพีเดีย ซึ่งทำให้นูพีเดียได้ชื่อว่าเป็นวิกิพีเดียรุ่นแรก ข้อมูลของนูพีเดียได้มีการถูกตรวจสอบความถูกต้องและหลักภาษาค่อนข้างสูง ถึงแม้ว่านูพีเดียจะเป็นต้นฉบับของวิกิพีเดีย แต่ซอฟต์แวร์ที่ใช้แตกต่างกัน โดยใช้ซอฟต์แวร์ชื่อ นูปโค้ด (NupeCode) ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์เสรีที่ใช้สำหรับโครงการเขียนหนังสือซึ่งมีระบบตรวจทาน (peer-review) แต่ปัญหาในการเชื่อมโยงที่ยากลำบาก ซอฟต์แวร์มีเดียวิกิจึงถูกเลือกมาใช้แทนที่ซอฟต์แวร์เดิม ซีเน็ตได้จัดให้นูพีเดียเป็นเว็บไซต์ยอดเยี่ยมที่ถูกปิดตัวลง.

ใหม่!!: จิมมี เวลส์และนูพีเดีย · ดูเพิ่มเติม »

โบมิส

มิส เป็นบริษัทดอตคอม ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: จิมมี เวลส์และโบมิส · ดูเพิ่มเติม »

7 สิงหาคม

วันที่ 7 สิงหาคม เป็นวันที่ 219 ของปี (วันที่ 220 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 146 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จิมมี เวลส์และ7 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Jimmy Walesจิมมี่ เวลส์จิมโบจิมโบ เวลส์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »