สารบัญ
12 ความสัมพันธ์: ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิสยัน เบรอเคิล (ผู้พ่อ)ยาโกบ ยอร์ดานส์ศิลปะดัตช์จิตรกรรมบาโรกจิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิชจิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาแบบดัตช์และเฟลมิชจิตรกรรมเฟลมิชจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกดาฟิด เตอเนียร์ส (ผู้ลูก)ประสาทสัมผัส
ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส
ระราชินีมารี เดอ เมดีซิส (Marie de' Medici cycle) เป็นภาพเขียนชุดจำนวนยี่สิบสี่ภาพที่เขียนโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ จิตรกรคนสำคัญของสมัยบาโรกแบบเฟลมิช ที่ว่าจ้างโดยพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส พระอัครมเหสีในพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส สำหรับตั้งแสดงที่พระราชวังลุกซ็องบูร์ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส รือเบินส์ได้รับการจ้างในฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ.
ดู จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิชและภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส
ยัน เบรอเคิล (ผู้พ่อ)
ัน เบรอเคิล (ผู้พ่อ) (Jan Brueghel de Oude; ค.ศ. 1568 - 13 มกราคม ค.ศ. 1625) เป็นจิตรกรชาวเฟลมิชของสมัยบาโรกในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพจิตรกรรมประวัติศาสตร์ ศิลปะคริสเตียน จิตรกรรมภูมิทัศน์ ภาพชีวิตประจำวัน และจิตรกรรมภาพนิ่ง.
ดู จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิชและยัน เบรอเคิล (ผู้พ่อ)
ยาโกบ ยอร์ดานส์
กบ ยอร์ดานส์ (Jacob Jordaens; 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1593 - 18 ตุลาคม ค.ศ. 1678) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในสมัยบาโรกแบบเฟลมิช คริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพประวัติศาสตร์ คริสต์ศาสนา ภาพเหมือน และการออกแบบพรมทอแขวนผนัง ยาโกบ ยอร์ดานส์, เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ และอันโตนี ฟัน ไดก์ เป็นจิตรกรสามคนที่นำความมีหน้ามีตามาสู่ตระกูลการเขียนภาพแบบแอนต์เวิร์ป (Antwerp school) ยอร์ดานส์เป็นจิตรกรในหมู่น้อยที่มิได้เดินทางไปต่างประเทศเพื่อศึกษาการเขียนภาพแบบอิตาลี และความก้าวหน้าทางอาชีพของยอร์ดานส์ก็มิได้มีอยู่ความสนใจในราชสำนักหรือความก้าวหน้าในราชสำนักd'Hulst, pp.
ดู จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิชและยาโกบ ยอร์ดานส์
ศิลปะดัตช์
ลปะดัตช์ (Dutch art) เป็นการบรรยายประวัติศาสตร์ทัศนศิลป์ของเนเธอร์แลนด์หลังจากสหพันธ์จังหวัดแยกจากฟลานเดอส์มาเป็นสาธารณรัฐเนเธอร์แลนด์ที่รวมทั้งงานเขียนของสมัยเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก, ยุคทองของเนเธอร์แลนด์, จิตรกรรมยุคเนเธอร์แลนด์ตอนต้น และจิตรกรรมในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20.
ดู จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิชและศิลปะดัตช์
จิตรกรรมบาโรก
“ยาม” โดย แรมบรังด์ ราว ค.ศ. 1642 เป็นตัวอย่างที่ดีของจิตรกรรมแบบบาโรก จิตรกรรมบาโรก (Baroque painting) เป็นจิตรกรรมที่เกี่ยวข้องกับขบวนการศิลปะบาโรก ซึ่งเป็นขบวนการที่เกี่ยวข้องกับระบบสัมบูรณนิยมทางการเมือง (absolutism), การปฏิรูปศาสนาซ้อน (Counter Reformation) และการฟื้นฟูโรมันคาทอลิก, from Encyclopædia Britannica Online, latest edition, full-article.
ดู จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิชและจิตรกรรมบาโรก
จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิช
"ยกร่างพระเยซู" โดยปีเตอร์ พอล รูเบนส์ ราว ค.ศ. 1610–1611 จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิช (Flemish Baroque painting) เป็นศิลปะที่รุ่งเรืองในบริเวณเนเธอร์แลนด์ใต้ ระหว่างราว..
ดู จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิชและจิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิช
จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์
ตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ (Dutch Golden Age painting) คือช่วงระยะหนึ่งของประวัติศาสตร์จิตรกรรมของเนเธอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ราว ค.ศ.
ดู จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิชและจิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์
จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาแบบดัตช์และเฟลมิช
ตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาแบบดัตช์และเฟลมิช (Dutch and Flemish Renaissance painting) เป็นจิตรกรรมของคริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นศิลปะที่โต้ตอบศิลปะสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาแบบอิตาลีของกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ ศิลปินกลุ่มนี้ที่เริ่มจากจิตรกรจริตนิยมแอนต์เวิร์ป และฮีเยโรนีมึส โบส เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษจนถึงปลายสมัยจิตรกรจริตนิยม เช่น ฟรันส์ โฟลริส (Frans Floris) และกาเริล ฟัน มันเดอร์ (Karel van Mander) ในตอนปลาย ซึ่งเป็นศิลปะที่วิวัฒนาการมาจากการเขียนแบบใหม่ในอิตาลีและงานเขียนแบบท้องถิ่นของจิตรกรสมัยเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก แอนต์เวิร์ปกลายเป็นเมืองศูนย์กลางของศิลปะในบริเวณนั้น จิตรกรหลายคนทำงานให้กับราชสำนักในยุโรปรวมทั้งฮีเยโรนีมึส โบส ผู้ที่มีลักษณะการเขียนที่เป็นที่เลื่องลือ, ยัน มาบูซ (Jan Mabuse), มาร์เติน ฟัน เฮมสแกร์ก (Maarten van Heemskerck), ฟรันส์ โฟลริส (Frans Floris) ต่างก็มีบทบาทในการนำแบบการวาดของอิตาลีเข้ามาผสมกับลักษณะการเขียนของตนเอง นอกจากนั้นจิตรกรดัตช์และเฟลมิชก็ยังมีบทบาทในการริเริ่มหัวข้อการวาดใหม่ เช่น จิตรกรรมภูมิทัศน์ จิตรกรรมชีวิตประจำวัน ตัวอย่างเช่นงานเขียนของโยอาคิม ปาตีนีร์ (Joachim Patinir) ที่มีบทบาทสำคัญในการวิวัฒนาการการเขียนจิตรกรรมภูมิทัศน์ ขณะเดียวกับที่ปีเตอร์ เบรอเคิล (ผู้พ่อ) และปีเตอร์ อาร์ตเซิน (Pieter Aertsen) ช่วยทำให้จิตรกรรมชีวิตประจำวันเป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หล.
ดู จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิชและจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาแบบดัตช์และเฟลมิช
จิตรกรรมเฟลมิช
ตรกรรมเฟลมิช (Flemish painting) รุ่งเรืองตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 บริเวณฟลานเดอส์เป็นบริเวณที่มีจิตรกรสำคัญ ๆ ทางตอนเหนือของยุโรปและเป็นที่ดึงดูดจิตรกรจากประเทศข้างเคียง จิตรกรเหล่านี้นอกจากจะมีผลงานในฟลานเดอส์แล้วยังได้รับการเชิญให้ไปเป็นช่างเขียนประจำราชสำนักและสำนักต่าง ๆ ในยุโรป.
ดู จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิชและจิตรกรรมเฟลมิช
จิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก
ตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก (Early Netherlandish painting) เป็นงานจิตรกรรมของจิตรกรในบริเวณกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ของสมัยฟื้นฟูศิลปะวิทยาตอนเหนือโดยเฉพาะในบริเวณเมืองบรูชและเกนต์ ที่เริ่มในช่วงเวลาเดียวกับที่ยัน ฟัน ไอก์ เริ่มอาชีพเป็นจิตรกร ฟัน ไอก์มีชื่อเสียงจนกระทั่งได้รับชื่อว่าเป็นจิตรกรอะเพลลีสคนใหม่ของยุโรปตอนเหนือ เรื่อยมาจนถึงภาพเขียนโดยกาเริล ฟัน มันเดอร์ (Karel van Mander) ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 และมาจบลงด้วยเคราร์ด ดาฟิด ราว ค.ศ.
ดู จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิชและจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก
ดาฟิด เตอเนียร์ส (ผู้ลูก)
ฟิด เตอเนียร์ส (ผู้ลูก) (David Teniers de Jonge) หรือ ดาฟิด เตอเนียร์สที่ 2 (David Teniers II; 15 ธันวาคม ค.ศ. 1610 - 25 เมษายน ค.ศ. 1690) เป็นจิตรกรชาวเฟลมิชผู้มีความสำคัญเกือบเทียบเท่าเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ ของสมัยบาโรกในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เตอเนียร์สมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพชีวิตประจำวัน จิตรกรรมภูมิทัศน์ จิตรกรรมห้องแสดงภาพและงานสะสม และจิตรกรรมตู้ ดาฟิด เตอเนียร์ส (ผู้ลูก) เกิดเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ.
ดู จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิชและดาฟิด เตอเนียร์ส (ผู้ลูก)
ประสาทสัมผัส
ประสาทสัมผัส (Sense)"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑" ให้ความหมายของ sense ว่า ความรู้สึก, การรับรู้, การกำหนดรู้, ประสาทสัมผัส เป็นสมรรถภาพในสรีระของสิ่งมีชีวิตที่ให้ข้อมูลเพื่อให้เกิดการรับรู้ (perception) มีการศึกษาประเด็นเกี่ยวกับการทำงาน การจำแนกประเภท และทฤษฎีของประสาทสัมผัส ในวิชาหลายสาขา โดยเฉพาะในวิทยาศาสตร์ประสาท จิตวิทยาปริชาน (หรือประชานศาสตร์) และปรัชญาแห่งการรับรู้ (philosophy of perception) ระบบประสาทของสัตว์นั้นมีระบบรับความรู้สึกหรืออวัยวะรับความรู้สึก สำหรับความรู้สึกแต่ละอย่าง มนุษย์เองก็มีประสาทสัมผัสหลายอย่าง การเห็น การได้ยิน การลิ้มรส การได้กลิ่น การถูกต้องสัมผัส เป็นประสาทสัมผัสห้าทางที่รู้จักกันมาตั้งแต่โบราณ แต่ว่า ความสามารถในการตรวจจับตัวกระตุ้นอื่น ๆ นอกเหนือจากนั้นก็ยังมีอยู่ รวมทั้ง อุณหภูมิ ความรู้สึกเกี่ยวกับเคลื่อนไหว (proprioception) ความเจ็บปวด (nociception) ความรู้สึกเกี่ยวกับการทรงตัว และความรู้สึกเกี่ยวกับตัวกระตุ้นภายในต่าง ๆ (เช่นมีเซลล์รับความรู้สึกเชิงเคมี คือ chemoreceptor ที่ตรวจจับระดับความเข้มข้นของเกลือและคาร์บอนไดออกไซด์ ที่อยู่ในเลือด) และความสามารถต่าง ๆ เหล่านี้สามารถเรียกว่าเป็นประสาทสัมผัสโดยต่างหากได้เพียงไม่กี่อย่าง เพราะว่า ประเด็นว่า อะไรเรียกว่า ประสาทสัมผัส (sense) ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ทำให้ยากที่จะนิยามความหมายของคำว่า ประสาทสัมผัส อย่างแม่นยำ สัตว์ต่าง ๆ มีตัวรับความรู้สึกเพื่อที่จะสัมผัสโลกรอบ ๆ ตัว มีระดับความสามารถที่ต่าง ๆ กันไปแล้วแต่สปีชีส์ เมื่อเทียบกันแล้ว มนุษย์มีประสาทสัมผัสทางจมูกที่ไม่ดี และสัตว์เหล่าอื่นก็อาจจะไม่มีประสาทสัมผัส 5 ทางที่กล่าวถึงไปแล้วอย่างใดอย่างหนึ่ง สัตว์บางอย่างอาจจะรับข้อมูลเกี่ยวกับตัวกระตุ้นและแปลผลข้อมูลเหล่านั้นต่างไปจากมนุษย์ และสัตว์บางชนิดก็สามารถสัมผัสโลกโดยวิธีที่มนุษย์ไม่สามารถ เช่นมีสัตว์บางชนิดสามารถสัมผัสสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก สามารถสัมผัสแรงดันน้ำและกระแสน้ำ.
ดู จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิชและประสาทสัมผัส
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Flemish Baroque painterFlemish Baroque paintingจิตรกรยุคบาโรกของเฟล็มมิชจิตรกรรมยุคบาโรกของเฟล็มมิชจิตรกรรมสมัยบาโรกแบบฟลานเดอส์