โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จาตุรนต์ ฉายแสง

ดัชนี จาตุรนต์ ฉายแสง

ตุรนต์ ฉายแสง (เกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2499) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและรักษาการหัวหน้าพรรคไทยรักไทย เขาได้รับการคัดเลือกจากนิตยสารเอเชียวีคให้เป็น 1 ใน 20 ผู้นำชาติเอเชียที่มีบทบาทโดดเด่นในศตวรรษที่ 20.

65 ความสัมพันธ์: บุญเลิศ ไพรินทร์บ้านเลขที่ 111พ.ศ. 2499พรรคความหวังใหม่พรรคไทยรักไทยพฤศจิกายน พ.ศ. 2548พัลลภ ปิ่นมณีพงศ์เทพ เทพกาญจนากรณีสิ่งบันทึกวีดิทัศน์ศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2553กลุ่ม 10 มกรากลุ่มวังน้ำเย็นการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดินการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2554การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550ฐิติมา ฉายแสงมหาวิทยาลัยเชียงใหม่รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทยรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทยรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557รายชื่อสกุลนักการเมืองไทยรายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557วิจิตร ศรีสอ้านวิโรจน์ เปาอินทร์วุฒิพงศ์ ฉายแสงสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทราสมคิด จาตุศรีพิทักษ์สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์สุชัย เจริญรัตนกุลสุรนันทน์ เวชชาชีวะอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอดิศัย โพธารามิกองค์การนักศึกษาในประเทศไทยอนันต์ ฉายแสงจังหวัดฉะเชิงเทราจารุพงศ์ เรืองสุวรรณทักษิณ ชินวัตรณรงค์ พิพัฒนาศัยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 52...คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 54คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549คนเดือนตุลาปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์นะโอะโตะ คังแผนฟินแลนด์แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยโรงเรียนสตรีวิทยา 2เสถียร จันทิมาธรเอนก เหล่าธรรมทัศน์1 มกราคม ขยายดัชนี (15 มากกว่า) »

บุญเลิศ ไพรินทร์

ญเลิศ ไพรินทร์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ หรือที่เป็นที่รู้จักในนาม "โหร.ว.".

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและบุญเลิศ ไพรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

บ้านเลขที่ 111

้านเลขที่ 111 เป็นคำศัพท์ทางการเมืองไทย ที่ใช้เรียกอดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย จำนวน 111 คน ที่ถูกเพิกถอนสิทธิทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี ตามคำวินิจฉัยในคดียุบพรรคการเมือง เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 ของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ ที่ได้รับการแต่งตั้งโดย คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ซึ่งกระทำรัฐประหาร เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและบ้านเลขที่ 111 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2499

ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและพ.ศ. 2499 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคความหวังใหม่

ัญลักษณ์พรรคความหวังใหม่แบบเดิม พรรคความหวังใหม่ (New Aspiration Party; ย่อว่า ควม.) เป็นพรรคการเมืองหนึ่งในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับประเทศระหว่างปี..

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและพรรคความหวังใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคไทยรักไทย

รรคไทยรักไทย จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 เป็นพรรคการเมืองแรกที่ก่อตั้งขึ้นภายใต้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้ง 23 คน นำโดย ดร.ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันพรรคไทยรักไทย ถูกยุบตามคำวินิจฉัยใน คดียุบพรรค มีหัวหน้าพรรคคนสุดท้ายคือ จาตุรนต์ ฉายแสง พรรคไทยรักไทยมีสมาชิกพรรคที่แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมือง ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ถึงประมาณ 14 ล้านคน (14,394,404 คน) พรรคไทยรักไทย เป็นพรรคการเมืองแรก ที่ผู้สมัครได้รับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เกินกึ่งหนึ่งของจำนวน..ทั้งหมด ในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2548 โดยได้รับการเลือกตั้งถึง 376 ที่นั่ง จากจำนวนที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎร 500 ที่นั่ง เอาชนะพรรคคู่แข่งคือ พรรคประชาธิปัตย์ที่ได้เพียง 96 ที่นั่ง ทำให้เป็นพรรคการเมืองแรก ที่สามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้สำเร็จ การบริหารงานของ พรรคไทยรักไทย เป็นที่รับทราบโดยทั่วไป ในการเน้นนโยบายประชานิยมผ่านโครงการต่างๆ ที่เคยหาเสียงไว้ เช่น โครงการกองทุนหมู่บ้าน โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค โครงการพักชำระหนี้เกษตรกร โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ และ บ้านเอื้ออาทร แต่หลายโครงการมีปัญหาในการดำเนินการ และมีคำถามเรื่องความโปร่งใส และความพร้อมตรวจสอบ พรรคไทยรักไทย ถูกตุลาการรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยุบพรรค ด้วยมติเอกฉันท์ 9 ต่อ 0 เสียง เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 และ กรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย ถูกวินิจฉัยเพิกถอนสิทธิ์ทางการเมือง เป็นเวลา 5 ปี ด้วยมติ 6 ต่อ 3 เสียง.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและพรรคไทยรักไทย · ดูเพิ่มเติม »

พฤศจิกายน พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พัลลภ ปิ่นมณี

ล.อ.พัลลภ ปิ่นมณี พลเอก พัลลภ ปิ่นมณี ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) อดีตรองผู้อำนวยการกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน ฝ่ายการเมือง (กอ.รมน.) และที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เกิดเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2479 ที่อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม มีชื่อเดิมว่า อำนาจ ปิ่นมณี สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม.6) จากโรงเรียนอำนวยศิลป์ พระนคร แล้วเข้าศึกษาต่อโรงเรียนเตรียมนายร้อยทหารบก รุ่นที่ 14 และจบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร.7 รุ่นเดียวกับ พลตรีจำลอง ศรีเมือง, พล.ต.มนูญกฤต รูปขจร, พันเอก (พิเศษ) ประจักษ์ สว่างจิตร) และโรงเรียนเสนาธิการทหารบก ชุดที่ 49.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและพัลลภ ปิ่นมณี · ดูเพิ่มเติม »

พงศ์เทพ เทพกาญจนา

งศ์เทพ เทพกาญจนา อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและพงศ์เทพ เทพกาญจนา · ดูเพิ่มเติม »

กรณีสิ่งบันทึกวีดิทัศน์ศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2553

กรณีสิ่งบันทึกวีดิทัศน์ศาลรัฐธรรมนูญ..

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและกรณีสิ่งบันทึกวีดิทัศน์ศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่ม 10 มกรา

กลุ่ม 10 มกรา กลุ่มการเมืองที่ก่อตัวขึ้นภายใน พรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งมีส่วนสำคัญทำให้ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นต้องประกาศยุบสภา กลุ่ม 10 มกรา ก่อตั้งโดยนายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ อดีตเลขาธิการพรรคช่วงปี..

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและกลุ่ม 10 มกรา · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มวังน้ำเย็น

กลุ่มวังน้ำเย็น หมายถึง กลุ่มของนักการเมืองกลุ่มหนึ่ง นำโดย เสนาะ เทียนทอง ตั้งชื่อตามชื่อ ตำบลวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว ซึ่งเป็นฐานธุรกิจ และการเมืองดั้งเดิมของนายเสนาะ (เดิม อ.วังน้ำเย็น อยู่ใน จังหวัดปราจีนบุรี ก่อนจะแยกออกมาพร้อม อ.อรัญประเทศ, อ.ตาพระยา, อ.วัฒนานคร และ อ.คลองหาด เพื่อจัดตั้งเป็น จังหวัดสระแก้ว) "กลุ่มวังน้ำเย็น" เดิมเป็นสมาชิก พรรคชาติไทย ซึ่งมี นายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นหัวหน้าพรรค เนื่องจากมีจำนวน..

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและกลุ่มวังน้ำเย็น · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553

กลุ่มผู้ชุมนุมที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ วันที่ 14 มีนาคม กลุ่มผู้ชุมนุมที่แยกราชประสงค์ วันที่ 3 เมษายน กลุ่มผู้ชุมนุมที่เซ็นทรัลเวิลด์ การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาต..

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน

ตราสัญลักษณ์รายการความจริงวันนี้ การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน เป็นการชุมนุมทางการเมือง ที่ผู้บริหารและผู้จัดรายการทางสถานีประชาธิปไตยร่วมกันจัดขึ้น โดยพัฒนามาจากงานครอบครัวความจริงวันนี้สัญจร ที่จัดโดยกลุ่มผู้ดำเนินรายการ ความจริงวันนี้ เพื่อพบปะกับผู้ชมรายการ รวมถึงย้อนรำลึกถึงบรรยากาศ ในการชุมนุมต่อต้านเผด็จการทหาร ในนามของกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.).

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2554

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไท..

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญฉบับ ปี..

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 · ดูเพิ่มเติม »

ฐิติมา ฉายแสง

ติมา ฉายแสง เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นน้องสาวของจาตุรนต์ ฉายแสง.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและฐิติมา ฉายแสง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อังกฤษ: Chiang Mai University; อักษรย่อ: มช.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทยที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค ตามโครงการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูม..

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังของไท.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย

รายพระนาม รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย

รายนามรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของไท.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสกุลนักการเมืองไทย

้านล่างนี้คือสกุลนักการเมืองไทย ที่บุคคลในตระกูลมีนักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หมายเหตุ: ตัวหนาหมายถึงบุคคลที่กำลังหรือเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ หรือรัฐมนตรีช่วยว่าการ หรือเทียบเท.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและรายชื่อสกุลนักการเมืองไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

150px รายชื่อศิษย์เก่า คณาจารย์ ที่มีชื่อเสียงจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและรายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย

รองนายกรัฐมนตรี หมวดหมู่:รายนามบุคคล.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

ต่อไปนี้ คือลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

วิจิตร ศรีสอ้าน

ตราจารย์พิเศษ วิจิตร ศรีสอ้าน (22 ธันวาคม พ.ศ. 2477 —) เกิดที่ตำบลสนามจันทร์ อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตปลัดทบวงมหาวิทยาลัย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อดีตรองประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ปัจจุบันศาสตราจารย์พิเศษ วิจิตร ศรีสอ้าน หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน ดำรงตำแหน่ง นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี นายกสภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และที่ปรึกษาสำนักงานรับรองมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา (สมศ.).

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและวิจิตร ศรีสอ้าน · ดูเพิ่มเติม »

วิโรจน์ เปาอินทร์

ลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ และรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอ่างทอง พรรคชาติไทย และอดีตผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและวิโรจน์ เปาอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิพงศ์ ฉายแสง

นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตรอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช และรัฐบาลของสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นน้องชายของนายจาตุรนต์ ฉายแสง อดีตรักษาการหัวหน้าพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและวุฒิพงศ์ ฉายแสง · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15 (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 - 29 เมษายน พ.ศ. 2531) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 347 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 การเลือกตั้งในครั้งนี้ ยังคงเป็นรูปแบบทางตรง แบบแบ่งเขตและรวมเขต ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง ในแต่ละเขตเลือกตั้งมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่เกินกว่า 3 คน และไม่น้อยกว่า 2 คน ถือเกณฑ์ราษฏร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16 (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 357 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบรวมเขตและแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยึดอำนาจจากการปกครองแผ่นดินของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) เมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17 (22 มีนาคม พ.ศ. 2535 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2535) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 360 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 17 สิ้นสุดสมาชิกภาพ เนื่องจากมีพระราชกฤษฎีกายุบสภา เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 - 27 กันยายน พ.ศ. 2539) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 391 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20 (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 393 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21 (6 มกราคม พ.ศ. 2544 - 5 มกราคม พ.ศ. 2548) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 มีสมาชิกจำนวน 500 คน แบ่งเป็นแบบเขตเลือกตั้ง 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 มีสมาชิกจำนวน 500 คน แบ่งเป็นแบบเขตเลือกตั้ง 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน โดยมีพรรคการเมืองที่ได้รับการเลือกตั้งสูงสุด คือ พรรคไทยรักไทย จำนวน 377 คน.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา · ดูเพิ่มเติม »

สมคิด จาตุศรีพิทักษ์

รองศาสตราจารย์ สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ปัจจุบันเป็นรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ รองประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (เฉพาะกิจ) กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง อดีตรองนายกรัฐมนตรี ดูแลด้านเศรษฐกิจ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร และเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหลายสมัย และยังเป็นที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติและอดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 122/2557.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นสถาบันการศึกษาทางการแพทย์ในกำกับของรัฐบาลแห่งที่ 2 ของประเทศไทย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ได้เริ่มจัดทำโครงการพัฒนาระบบสุขภาพ จังหวัดนครศรีธรรมราช เสนอต่อนายกรัฐมนตรี เมื่อปี พ.ศ. 2547 และเพื่อพัฒนาสุขภาพชุมชน ตามความเรียกร้องของชาวจังหวัดนครศรีธรรมราช และร่วมมือกับโครงการผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท กระทรวงสาธารณสุข โดยสภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและสำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุชัย เจริญรัตนกุล

ตราจารย์ นายแพทย์ สุชัย เจริญรัตนกุล ศาสตราจารย์ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและสุชัย เจริญรัตนกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุรนันทน์ เวชชาชีวะ

รนันทน์ เวชชาชีวะ เป็นอดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคไทยรักไทย และเป็นหนึ่งในกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและสุรนันทน์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

อดิศัย โพธารามิก

อดิศัย โพธารามิก เกิดเมื่อ 23 เมษายน พ.ศ. 2483 มีพี่ชายคนเดียว ชื่อ นายแพทย์ยุทธ โพธารามิก สมรสกับ รองศาสตราจารย์ ดร.พิชนี โพธารามิก กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี อาจารย์ประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีบุตร 1 คน ชื่อ พิชญ์ โพธารามิก เป็นเจ้าของบริษัทเครือ โมโน กรุ๊ป.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและอดิศัย โพธารามิก · ดูเพิ่มเติม »

องค์การนักศึกษาในประเทศไทย

ในประเทศไทย องค์การนักศึกษา หรือ สโมสรนักศึกษา เป็นกลุ่มนักศึกษาในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษา มีบทบาทหน้าที่แตกต่างกันในแต่ละสถาบัน โดยภาพรวมแล้วองค์การนักศึกษาถือเป็นศูนย์กลางของนักศึกษาในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัย องค์การนักศึกษาที่เรียกว่า สโมสรนักศึกษา เช่น สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม ยกเว้น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยทักษิณ และมหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและองค์การนักศึกษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ ฉายแสง

นายอนันต์ ฉายแสง (เกิด 20 มกราคม พ.ศ. 2470) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และกระทรวงสาธารณสุข อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา 4 สมั.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและอนันต์ ฉายแสง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฉะเชิงเทรา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและจังหวัดฉะเชิงเทรา · ดูเพิ่มเติม »

จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ

รุพงศ์ เรืองสุวรรณ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2489 —) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตเลขาธิการพรรคเพื่อไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย และอดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เคยรับราชการในตำแหน่งปลัดกระทรวงยุติธรรม ปลัดกระทรวงแรงงาน และนายอำเภอหลายอำเภอ ปัจจุบันเป็นเลขาธิการองค์กรเสรีไทยเพื่อสิทธิมนุษยชนและประชาธิปไต.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อนกำหนดเดิม และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549 รวมทั้งระดับการฉ้อราษฎร์บังหลวงลดลง โดยดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549 ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจากผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้กล่าวหารัฐบาลทักษิณหลายประการเช่น ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นเผด็จการรัฐสภา มีผลประโยชน์ทับซ้อน และควบคุมสื่อ ส่วนข้อกล่าวหาของตัวทักษิณเอง ก็มีว่าหลีกเลี่ยงภาษี หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ตลอดจนขายทรัพย์สินของบริษัทไทยให้นักลงทุนต่างชาติThe Star,, 2 April 2006The Nation,, 23 March 2006 องค์การนิรโทษกรรมสากลวิจารณ์ทักษิณว่า มีประวัติเชิงสิทธิมนุษยชนไม่สู้ดี และเขายังถูกกล่าวหาว่าปกปิดทรัพย์สินระหว่างดำรงตำแหน่งการเมือง ฟอรีนพอลิซี ยกตัวอย่างว่า เขาเป็นอดีตผู้นำของโลกที่ประพฤติไม่ดี เกิดการประท้วงของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 และวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ ศาลที่ คม.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและทักษิณ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์ พิพัฒนาศัย

ลเรือเอก ณรงค์ พิพัฒนาศัย อดีตรองนายกรัฐมนตรี กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ประธานกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ประธานกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติประธานกรรมการประสานและกำกับการดำเนินงาน ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ประธานกรรมการในคณะกรรมการป้องกันเจ้าหน้าที่ของรัฐมิให้เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์ ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 401/2558 และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาประธานกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติและรองหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติและ อดีต ผู้บัญชาการทหารเรือ ได้รับโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการทหารเรือสืบต่อจาก พล.ร.อ.สุรศักดิ์ หรุ่นเริงรมย์ ที่เกษียณอายุราชการในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและณรงค์ พิพัฒนาศัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 52

ลเอกชวลิต ยงใจยุทธ''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 22 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 52 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 52 ของไทย (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540) พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 52 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 54

ันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (ยศขณะนั้น)นายกรัฐมนตรีคนที่ 23หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 54 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 54 (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 - 11 มีนาคม พ.ศ. 2548) พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (ยศขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพัน..

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 54 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 55 (11 มีนาคม พ.ศ. 2548 - 19 กันยายน พ.ศ. 2549) พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (ยศขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2548 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายโภคิน พลกุล ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 11 มีนาคม 2548 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 57 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 - 18 กันยายน พ.ศ. 2551) นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายยงยุทธ ติยะไพรัช ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 60 (9 สิงหาคม พ.ศ. 2554 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557) เป็นคณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม ประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 9 สิงหาคม 2554 ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 และการแต่งตั้ง ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ตาม ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 5 สิงหาคม 2554 โดยลำดับ คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลง เมื่อนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60 · ดูเพิ่มเติม »

คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549

ียุบพรรคการเมืองเนื่องจากการเลือกตั้ง 2 เมษายน..

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

คนเดือนตุลา

นเดือนตุลา เป็นชื่อเรียกกลุ่มบุคคลที่เข้าร่วมชุมนุม ในเหตุการณ์ 14 ตุลา และ 6 ตุลา ซึ่งส่วนมากขณะนั้นเป็นนักศึกษา โดยในปัจจุบัน กลุ่มคนเดือนตุลาบางส่วน ก็เข้าสู่แวดวงการเมืองและสังคม.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและคนเดือนตุลา · ดูเพิ่มเติม »

ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์

ตราจารย์ ร้อยตำรวจเอก ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ (เกิด 1 สิงหาคม พ.ศ. 2493) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรครักษ์สันติ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญด้านอาชญาวิทยา และเป็นประธานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ (ก.ตร.) อดีตอธิการบดี สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยชินวัตร ชีวิตส่วนตัวสมรสกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมศรี เปี่ยมสมบูรณ์ มีบุตร-ธิดารวม 3 คน.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

นะโอะโตะ คัง

นะโอะโตะ คัง (10 ตุลาคม พ.ศ. 2489 —) นายกรัฐมนตรีคนที่ 94 ของประเทศญี่ปุ่น และเป็นนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นคนแรกที่เกิดหลังสงครามโลกครั้ง 2 นายคังได้รับการจัดอันดับให้เป็นนักการเมืองรุ่นใหม่ที่น่าจับตามองสำหรับสหัสวรรษใหม่ (Young Global Leader) เมื่อปี ค.ศ. 1999 พร้อมกับ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และนายจาตุรนต์ ฉายแสง ของไทย นายคังได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ 26 สิงหาคม ค.ศ. 2011 เนื่องจากความล่าช้าในการจัดการปัญหาภัยพิบัติในประเทศญี่ปุ่น เมื่อต้นปีเดียวกัน.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและนะโอะโตะ คัง · ดูเพิ่มเติม »

แผนฟินแลนด์

แผนฟินแลนด์ หรือ ยุทธศาสตร์ฟินแลนด์ หรือ ปฏิญญาฟินแลนด์ เป็นทฤษฎีสมคบคิดที่ได้รับการกล่าวถึงเป็นครั้งแรกโดยปราโมทย์ นาครทรรพ ทางหนังสือพิมพ์ผู้จัดการและเว็บไซต์ผู้จัดการออนไลน์ ซึ่งสนธิ ลิ้มทองกุลและกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยนำมาเผยแพร่จนเป็นที่รู้จักในวงกว้าง ในบทความของปราโมทย์ นาครทรรพ ระบุว่า แผนนี้ถือกำเนิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและแผนฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ

แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (ชื่อย่อ: นปช.; United Front of Democracy Against Dictatorship; UDD) มีชื่อเดิมว่า แนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ (ชื่อย่อ: นปก.; Democratic Alliance Against Dictatorship: DAAD) เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ ดร.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (อักษรย่อ: ส.ก./S.K.) เป็นโรงเรียนชายล้วนในระดับชั้น มัธยมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 88 ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 11 ไร่ 2 งาน 23 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารเรียน 7 หลัง ห้องเรียนทั้งหมด 78 ห้อง นอกจากนี้โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยยังโดดเด่นในเรื่องคุณภาพมาตรฐานของศิษย์เก่าที่จบไปโดยเฉพาะด้านวิชาการ ภาษา และความเป็นผู้นำ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็น 1 ในกลุ่มโรงเรียนจตุรมิตรสามัคคี ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย มีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมของทั้ง 4 โรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้าภาพในทุกๆ 2 ปี นอกจากการแข่งขันฟุตบอล ยังมี การแปรอักษร ของทั้ง 4 โรงเรียน ซึ่งเป็นอีกสัญลักษณ์สำคัญของงาน โดยกีฬาจตุรมิตรสามัคคีจะจัดขึ้นในทุกๆ 4 ปี ที่ สนามศุภชลาศัย นอกจากนี้ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ยังมีงานกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์ และงานชุมนุมลูกเสือสวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งจัดขึ้นร่วมกับโรงเรียนใน เครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นประจำทุกปี โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสตรีวิทยา 2

รงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (อักษรย่อ: ส.ว.๒) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษา และเป็นส่วนราชการ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและโรงเรียนสตรีวิทยา 2 · ดูเพิ่มเติม »

เสถียร จันทิมาธร

นายเสถียร จันทิมาธร สื่อมวลชนอิสระ อดีตบรรณาธิการบริหาร นิตยสารมติชนสุดสัปดาห์ ผู้ร่วมก่อตั้ง และอดีตบรรณาธิการอำนวยการ หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน.

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและเสถียร จันทิมาธร · ดูเพิ่มเติม »

เอนก เหล่าธรรมทัศน์

.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บนหน้าปกหนังสือ ''สองนครา ประชาธิปไตย'' ของตัวเอง ศาสตราจารย์พิเศษ เอนก เหล่าธรรมทัศน์ กรรมการสภาผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ปรึกษาและกรรมการคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 7/2560 ประธานคณะกรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 อธิการ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต นักวิชาการและนักการเมือง อดีตหัวหน้าพรรคมหาชน และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกิดวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2497 ที.ลำปาง เป็นเจ้าของทฤษฎี "สองนคราประชาธิปไตย" ที่สรุปว่า "คนต่างจังหวัดตั้งรัฐบาล คนกรุงเทพฯล้มรัฐบาล" เคยได้รับสมญานามจาก.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ว่า "ไอ้หนุ่มซินตึ๊ง".

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและเอนก เหล่าธรรมทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: จาตุรนต์ ฉายแสงและ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »