โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดเพชรบูรณ์

ดัชนี จังหวัดเพชรบูรณ์

ังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 12,668 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 9 ของประเทศ มีประชากร 994,397 คน แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ และมีเขตเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เป็นจังหวัดที่มีทรัพยากรธรรมชาติ มีความอุดมสมบูรณ์ และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก.

388 ความสัมพันธ์: ชยพล ปัญหกาญจน์บรรดาศักดิ์ไทยบรอกโคลีบอร์ไนต์ชาคริต บัวทองบุญบั้งไฟชนะ ป.เปาอินทร์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีช้าง เอฟเอคัพ 2561บ้านท่าแดงฟุตบอลดิวิชัน 3 ฤดูกาล 2559 กลุ่มภาคเหนือพ.ศ. 2544พระพุทธมหาธรรมราชาพระยายมราช (หมัด)พระยาประเสริฐสงคราม (ใจ ณ วิเชียร)พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก พ.ศ. 2531พระราชาคณะชั้นธรรมพระสมเด็จจิตรลดาพระครูประสาธน์ขันธคุณ (มุม อินทปญโญ)พระครูใบฎีกาอำนาจ โอภาโสพระตำหนักเขาค้อพระเทพกษัตรีย์พิชัยสงครามพูนสวัสดิ์ กระทิงแดงยิมพงษ์ปณต นาคนายมกรมท่าอากาศยานกระถินกลอสซอพเทอริสกลุ่มจังหวัดกลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์กองทัพบกไทยกะพรุนน้ำจืดกะรุนการละเล่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2559การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557การเลือกตั้งในประเทศไทยกาลีนากีฬากรีฑาในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 42กีฬากรีฑาในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 44กีฬากรีฑาในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45กีฬากรีฑาในกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 33กีฬากาบัดดีในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45กีฬากาบัดดี้ในกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 33กีฬามวยปล้ำในกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 42กีฬาลีลาศในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45กีฬาวอลเลย์บอลชายหาดในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45...กีฬาทางอากาศในกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 42กีฬาขี่ม้าในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45กีฬาคริกเกตในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45กีฬาคริกเกตในกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 33กีฬาคาราเต้ในกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 33กีฬาปันจักสีลัตในกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 42กีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งประเทศไทยกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 39กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 40กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 41กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 42กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 44กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45กีฬาเยาวชนแห่งชาติ (ประเทศไทย)กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 26กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 33กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 34กีฬาเขตแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 1กีฬาเขตแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 2กีฬาเซปักตะกร้อในกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 42ญัฮกุรภาษาญัฮกุรภาษาม้งขาวภาษาม้งเขียวภาษาไทยถิ่นเหนือภาคกลาง (ประเทศไทย)ภาคเหนือ (ประเทศไทย)ภูมิภาคของประเทศไทยภูทับเบิกมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์พ่อขุนผาเมืองมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดเพชรบูรณ์มหาวิทยาลัยนเรศวรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนามหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา เพชรบูรณ์มะขามมะไฟมิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ 2559มิสแกรนด์กรุงเทพมหานครมิสแกรนด์ลำปางมิสแกรนด์เพชรบูรณ์มิสไทยแลนด์เวิลด์มิสไทยแลนด์เวิลด์ 2559มิสเตอร์สตาร์ไทยแลนด์ 2018มิสเตอร์ซูปราเนชันแนลไทยแลนด์ 2017มณฑลทหารบกมณฑลนครราชสีมามณฑลเทศาภิบาลม่อนไข่ม้งยกสยามปี 1ยกสยามปี 2ยุพราช บัวอินทร์ราชอาณาจักรและราษฎรสยามรายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดรายชื่อวัดในจังหวัดเพชรบูรณ์รายชื่อสกุลนักการเมืองไทยรายชื่อสาขาของธนาคารในประเทศไทยรายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยรายชื่อสถานศึกษาประเภทอาชีวศึกษาของรัฐรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทยรายชื่อสโมสรฟุตบอลในประเทศไทยรายชื่อห้างสรรพสินค้าในประเทศไทยรายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ชรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/บรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/พรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/กรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/มรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/รรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ลรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/วรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ศรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/สรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/อรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ผรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ทรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ขรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ดรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ครายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ตรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ซรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/นรายชื่ออุทยานประวัติศาสตร์ในประเทศไทยรายชื่อจังหวัดของประเทศไทยเรียงตามพื้นที่รายชื่อจังหวัดในประเทศไทยเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในจังหวัดต่อหัวรายชื่อจังหวัดในประเทศไทยเรียงตามผลิตภัณฑ์จังหวัดรายชื่อธงประจำจังหวัดของไทยรายชื่อท่าอากาศยานในประเทศไทยรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัดรายชื่อตัวแทนประเทศไทยในงานประกวดความงามนานาชาติรายชื่อน้ำตกในประเทศไทยรายชื่อโบราณสถานในจังหวัดเพชรบูรณ์รายชื่อโรงไฟฟ้าในไทยรายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทยรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดเพชรบูรณ์รายชื่อเครื่องบินของการบินไทยรายการแหล่งมรดกโลกในประเทศไทยรายนามชาวไทยที่มีอายุเกิน 100 ปีรุ่งเพชร แหลมสิงห์ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557ลำดับเวลาของจังหวัดในประเทศไทยลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2 ภาคเหนือ ฤดูกาล 2552วรินทร ปัญหกาญจน์วัดสนธิกรประชารามวัดป่าเขาน้อยวัดแสนสุข (จังหวัดเพชรบูรณ์)วันเพ็ญ พร้อมพัฒน์วาสนา บุญภูพันธ์ตันติวุฒิสภาไทย ชุดที่ 8วงมังคละวงศ์ชะมดและอีเห็นศาลปกครอง (ประเทศไทย)ศึกน้ำผึ้งพระจันทร์สกุลกฤษณาสกุลค้อสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9สยามแม็คโครสวนพฤกษศาสตร์สวนสัตว์เปิดเขาค้อสำราญศักดิ์ สิงห์มนัสศักดิ์สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย)สำเนียงโคราชสิทธิศักดิ์ ตาระพันสุภาพ ไชยวิสุทธิกุลสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์สุริยุปราคาสุจินต์ จินายนสุทัศน์ จันทร์แสงศรีสีเขียวสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตเพชรบูรณ์สถานีรถไฟตะพานหินสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ส่วนภูมิภาคสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดนครราชสีมาสด ปูนอินทรียิมสงกรานต์ อุดมสิทธิ์สงคราม ป.เปาอินทร์สงครามอะแซหวุ่นกี้สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทยสนิท วรปัญญาสโมสรฟุตบอลพัทยา ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2561สโมสรฟุตบอลจังหวัดเพชรบูรณ์หญ้าหนวดแมวหมายเลขโทรศัพท์ในประเทศไทยหม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรีหลวงพ่อเขียน วัดสำนักขุนเณรหลวงลิขิตปรีชา (ปลอบ โรจนกุล)หลักกิโลเมตรหนองไผ่อำเภอชัยบาดาลอำเภอบึงสามพันอำเภอชนแดนอำเภอภักดีชุมพลอำเภอภูกระดึงอำเภอภูหลวงอำเภอภูผาม่านอำเภอลำสนธิอำเภอวังสะพุงอำเภอวังทองอำเภอวังโป่งอำเภอวิเชียรบุรีอำเภอศรีเทพอำเภอหล่มสักอำเภอหล่มเก่าอำเภอหนองบัวอำเภอหนองบัวระเหวอำเภอหนองบัวแดงอำเภอหนองไผ่อำเภอทองแสนขันอำเภอทับคล้ออำเภอดงเจริญอำเภอด่านซ้ายอำเภอคอนสารอำเภอนครไทยอำเภอน้ำหนาวอำเภอโคกเจริญอำเภอไพศาลีอำเภอเมืองเพชรบูรณ์อำเภอเทพสถิตอำเภอเทพารักษ์อำเภอเขาค้ออำเภอเนินมะปรางอุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพอุทยานแห่งชาติภูกระดึงอุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้าอุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวงอุทยานแห่งชาติน้ำหนาวอุทยานแห่งชาติในประเทศไทยอุทยานแห่งชาติเขาค้อองค์การบริหารส่วนตำบลซับสมบูรณ์อ่างเก็บน้ำห้วยป่าแดงจรัส พั้วช่วยจักรัตน์ พั้วช่วยจังหวัดชัยภูมิจังหวัดพิษณุโลกจังหวัดพิจิตรจังหวัดลพบุรีจังหวัดหล่มศักดิ์จังหวัดของประเทศไทยจังหวัดขอนแก่นจังหวัดนครราชสีมาจังหวัดนครสวรรค์จังหวัดเลยจำปีศรีเมืองไทยจำนงค์ โพธิสาโรธรณีนี่นี้ใครครองธันวา ราศีธนูธนาคารไทยเครดิตเพื่อรายย่อยถนนพหลโยธินทองคำทัลก์ทัวร์ ออฟ สยามทางหลวงพิเศษหมายเลข 6ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1069ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 113ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 115ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 117ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 225ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3004ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ท่าข้ามขุนอินทรภักดี (ทองอิน ทองมาก)ขุนอนุสรสิทธิกรรม (ทองดี วัชโรทยาน)ณหทัย พิจิตราณัฐรดา ชุมทวียศณิชนันทวรรณ ชาทุมคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรงูจงอางตราผ้าผูกคอลูกเสือประจำจังหวัดตราประจำจังหวัดของไทยตะกั่วตำบลชนแดนตำบลบ้านกลางตำบลกองทูลตำบลวังกวางตำบลท่าข้ามตำบลท่าแดงตำบลในเมืองตำบลเจาทองประสงค์ โฆษิตานนท์ประเพณีอุ้มพระดำน้ำปลาช่อนปลาซิวทองปัญจะ เกสรทองป่านกปากซ่อมนกแอร์นามสกุลพระราชทานนางพญาเสือโคร่งนิยม วรปัญญาน้ำอ้อย พรวิเชียรน้ำป่าแฟนเพื่อนแก้ว พงษ์ประยูรแม่น้ำป่าสักแสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์โรงพยาบาลวิเชียรบุรีโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชโรงพยาบาลอานันทมหิดลโรงพยาบาลในประเทศไทยโรงเรียนบึงสามพันวิทยาคมโรงเรียนฤทัยทิพย์โรงเรียนหนองไผ่โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลกโรงเรียนไทยรัฐวิทยาโรงเรียนเพชรพิทยาคมโรงเรียนเมตตาวิทยาโฮมโปรโคลนถล่มไชยวัฒน์ ไตรยสุนันท์ไพศาล จันทรภักดีไวพจน์ อาภรณ์รัตน์ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีกไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก ฤดูกาล 2560ไทโคราชไดโนเสาร์ในประเทศไทยเฟรนด์ชิพ เธอกับฉันเพชรบูรณ์ (แก้ความกำกวม)เพ็ญเพ็ชร เพ็ญกุลเอื้องเงินเอี่ยม ทองใจสดเจ้าคณะอำเภอเจ้าคณะใหญ่หนเหนือเทศบาลตำบลลำนารายณ์เทศบาลตำบลหล่มเก่าเทศบาลตำบลหนองบัวบานเทศบาลตำบลหนองไผ่ (จังหวัดเพชรบูรณ์)เทศบาลตำบลท่าข้ามเทศบาลเมืองเทศบาลเมืองวิเชียรบุรีเทศบาลเมืองหล่มสักเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์เขาทราย แกแล็คซี่เขาค้อ แกแล็คซี่เขตพื้นที่การศึกษาเขตพื้นที่สรรพากรเขตการปกครองของประเทศไทยเขตมิสซังนครสวรรค์เขตศาลยุติธรรมไทยเขตตรวจราชการเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกงISO 3166-2:TH10 สิงหาคม11 สิงหาคม25 กุมภาพันธ์ ขยายดัชนี (338 มากกว่า) »

ชยพล ปัญหกาญจน์

ล ปัญหกาญจน์ หรือ กู๊ด เคพีเอ็น เป็นนักร้องชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากการเป็นผู้เข้าแข่งขันบนเวที เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 22 และได้รับรางวัลนักร้องยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย โดยก่อนหน้านี้เขาได้ไปประกวดที่เวที เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 7 มาก่อน โดยผ่านเข้ารอบภาคใต้ เท่านั้น.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และชยพล ปัญหกาญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

บรรดาศักดิ์ไทย

ในฐานันดรศักดิ์ไทย บรรดาศักดิ์ คือ ระดับชั้นหรือยศของข้าราชการไทยในสมัยโบราณ เทียบกับคำภาษาอังกฤษคือ Title.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และบรรดาศักดิ์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

บรอกโคลี

รอกโคลี หรือ กะหล่ำดอกอิตาลี (broccoli; broccoli รูปพหูพจน์ของ broccolo) จัดอยู่ในผักตระกูลกะหล่ำ มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Brassica oleracea var.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และบรอกโคลี · ดูเพิ่มเติม »

บอร์ไนต์

อร์ไนต์ (bornite) (Cu5FeS4) เป็นแร่ในกลุ่มซัลไฟด์ของทองแดงและเหล็ก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และบอร์ไนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาคริต บัวทอง

ริต บัวทอง เกิดเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2528 เป็นนักฟุตบอลชาวไทย ปัจจุบันลงเล่นให้กับ สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด ในไทยลีก 2 ตำแหน่ง ปีก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และชาคริต บัวทอง · ดูเพิ่มเติม »

บุญบั้งไฟ

ญบั้งไฟ เป็นประเพณีหนึ่งของภาคอีสานของไทยรวมไปถึงลาว โดยมีตำนานมาจากนิทานพื้นบ้านของภาคอีสานเรื่องพระยาคันคาก เรื่องผาแดงนางไอ่ ซึ่งในนิทานพื้นบ้านดังกล่าวได้กล่าวถึง การที่ชาวบ้านได้จัดงานบุญบั้งไฟขึ้นเพื่อเป็นการบูชา พระยาแถน หรือเทพวัสสกาลเทพบุตร ซึ่ง ชาวบ้านมีความเชื่อว่า พระยาแถนมีหน้าที่คอยดูแลให้ฝนตกถูกต้องตามฤดูกาล และมีความชื่นชอบไฟเป็นอย่างมาก หากหมู่บ้านใดไม่จัดทำการจัดงานบุญบั้งไฟบูชา ฝนก็จะไม่ตกถูกต้องตามฤดูกาล อาจก่อให้เกิดภัยพิบัติกับหมู่บ้านได้ โดยทั้งนี้การจัดงานประเพณีบุญบั้งไฟ ของ จังหวัดยโสธร ได้รับการสนับสนุนจากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ในการประชาสัมพันธ์งานประเพณี เป็นที่รู้จักแก่ชาวไทย และต่างประเทศ นับแต่ ปี 2523 ซึ่ง งานประเพณีบุญบั้งไฟจังหวัดยโสธร จะจัดขึ้นในวันเสาร์ อาทิตย์ สัปดาห์ที่สอง ของเดือนพฤษภาคม ในทุกปี โดยทั้งนี้ ในงานที่จัดของจังหวัดยโสธร ยังมีความโดดเด่น ในวันก่อนแห่ มีการประกวดกองเชียร์ จำนวนมาก รวมทั้ง วันแห่บั้งไฟ จะมีขบวนบั้งไฟแบบโบราณ และการรำเซิ้งแบบโบราณ จาก ทั้ง 9 อำเภอของจังหวัดยโสธร เข้าร่วมด้วย นอกจากนี้ ยังพบว่า การจัดงานบั้งไฟในอดีต และปัจจุบัน ในพื้นที่ จังหวัดร้อยเอ็ด มีความโดดเด่น และเก่าแก่ มานาน มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว โดยเฉพาะ ที่ อำเภอสุวรรณภูมิ ที่มีการจัดงาน ในทุกวันเสาร์ อาทิตย์ ในสัปดาห์แรก ของเดือนมิถุนายนในทุกปี ซึ่งเป็นงานที่มี บั้งไฟเอ้สวยงามขนาดใหญ่มากที่สุด (ลายศรีภูมิ หรือ ลายกรรไกรตัด) รวมทั้งขบวนรำสวยงามมากที่สุดของประเทศ, อำเภอพนมไพร ที่ มีการจัดงาน ในทุกวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 7 ของทุกปี ตามรูปแบบประเพณีดั้งเดิม ตาม ฮีตสองสอง คองสิบสี่ โดยมีการจุดบั้งไฟถวาย มากที่สุดในประเทศ โดยในแต่ละปี จะมีบั้งไฟหมื่น บั้งไฟแสน บั้งไฟล้าน รวมกันกว่า 1,000 บั้ง ทั้งนี้ จากข้อมูลในปัจจุบัน แหล่งที่มีช่างในการจัดทำ บั้งไฟเอ้ ตกแต่งสวยงามมากที่สุด คือ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยเฉพาะ อำเภอเสลภูมิ, อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอจตุรพักตร์พิมาน เป็นต้น, ส่วนค่ายบั้งไฟ ที่มีการทำบั้งไฟจุด พบได้จำนวนมาก ในเขตอำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด, อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร และ เขตจังหวัดอื่น ๆ ทางอีสานเหนือ ได้แก่ อุดรธานี หนองคาย เป็นต้น นอกจากนี้แล้วในพื้นที่ภาคเหนือ มีการจัดงานประเพณีบุญบั้งไฟ ของ ตำบลพุเตย อำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ จัดงานประเพณีบุญบั้งไฟที่ยิ่งใหญ่ โดยการสนับสนุนของ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเพชรบูรณ์ เช่นกัน ทั้งนี้ เนื่องจากประชากรในเขตพื้นที่ ส่วนใหญ่ อพยพมาจาก เขตภาคอีสาน ในหลายสิบปีก่อนหน้า ส่วนภาคใต้ ยังสามารถพบการจัดงานบุญบั้งไฟ ในเขตอำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส โดยเป็นการละเล่นของชาวอีสานที่ย้ายถิ่นฐานมาปักหลักทีนี่ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และบุญบั้งไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ชนะ ป.เปาอินทร์

นะ ถูกหมัดของ เคอิทาโร โฮชิโน แต่เมื่อครบ 12 ยก ชนะเป็นฝ่ายชนะคะแนน ได้เป็นแชมป์โลกสมัยที่ 2 ชนะ ป.เปาอินทร์ มีชื่อจริงว่า คูณ หมดมา เกิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2509 ที่บ้านเลขที่ 191 หมู่ 12 บ้านน้ำหลุม ตำบลบ้านกลาง อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ มีสถิติการชกทั้งหมด 61 ครั้ง ชนะ 54 (น็อก 19) เสมอ 3 แพ้ 4 แต่ชนะเกิดทีหลังด้วยความเชื่อของคนต่างจังหวัด จึงนับว่าเป็นพี่ ชนะได้รับฉายาจากแฟนมวยชาวไทยว่า "แชมป์โลกจอมคาถา" เนื่องจากมีรอยสักยันต์ที่กลางหลัง และก่อนชกพี่เลี้ยงจะบริกรรมคาถาให้ทุกครั้งเหมือนการชกมวยไท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และชนะ ป.เปาอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ดูเพิ่มเติม »

ช้าง เอฟเอคัพ 2561

การแข่งขันฟุตบอล ช้าง เอฟเอคัพ ฤดูกาล 2561 เป็นการแข่งขันไทยเอฟเอคัพ ฤดูกาลที่ 23 โดยจัดการแข่งขันแบบแพ้คัดออก โดยการแข่งขันรายการนี้จัดขึ้นโดย สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งทีมที่ชนะเลิศจะได้สิทธิ์เป็นตัวแทนจากไทยในการแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก รอบคัดเลือก รอบเพลย์ออฟ รอบแบ่งกลุ่ม รวมไปถึง การแข่งขันชิงถ้วยไทยแลนด์ แชมเปี้ยนส์ คัพ กับทีมแชมป์โตโยต้า ไทยลีก ต่อไป.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และช้าง เอฟเอคัพ 2561 · ดูเพิ่มเติม »

บ้านท่าแดง

้านท่าแดง ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ตำบลท่าแดง อำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และบ้านท่าแดง · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลดิวิชัน 3 ฤดูกาล 2559 กลุ่มภาคเหนือ

ฟุตบอลดิวิชั่น 3 ฤดูกาล 2559 โซนภาคเหนือ หรือ ฟุตบอลไทยลีก อเมเจอร์ ทัวร์นาเมนต์ ฤดูกาล 2559 กลุ่มภาคเหนือ เป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันฟุตบอลดิวิชัน 3 ฤดูกาล 2559 โดยสโมสรที่ชนะเลิศ จะได้เลื่อนชั้นขึ้นไปแข่งขันในระดับไทยลีก 4.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และฟุตบอลดิวิชัน 3 ฤดูกาล 2559 กลุ่มภาคเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธมหาธรรมราชา

ระพุทธมหาธรรมราชา เป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ สมัยลพบุรี หล่อด้วยทองสำริด หน้าตักกว้าง 13 นิ้ว สูง 18 นิ้ว ประดิษฐานที่วัดไตรภูมิ จังหวัดเพชรบูรณ์ สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 กษัตริย์แห่งนครธม เมื่อพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงพระราชทานพระนางสิงขรเทวี พระธิดาให้อภิเษกสมรสกับพ่อขุนผาเมือง เจ้าเมืองราด (ปัจจุบันคือ อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์).

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพระพุทธมหาธรรมราชา · ดูเพิ่มเติม »

พระยายมราช (หมัด)

ระยายมราช (หมัด) หรือ จุ้ย หรือบ้างก็เรียกว่า "พระยายมราชแขก" เป็นบุตรของ'''เจ้าพระยาจักรี (หมุด)''' เกิดเมื่อปีใดไม่ปรากฏ ได้เข้ารับราชการในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีพร้อมบิดา ถูกประหารชีวิตในปลายรัชกาลซึ่งเป็นช่วงที่เชื่อกันว่าสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงเสียพระสต.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพระยายมราช (หมัด) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาประเสริฐสงคราม (ใจ ณ วิเชียร)

มหาอำมาตย์โท พระยาประเสริฐสงคราม มีนามเดิมว่า ใจ เป็นเจ้าเมืองวิเชียรบุรีองค์สุดท้ายก่อนปฏิรูปการปกครอง เคยดำรงตำแหน่งอดีตผู้ว่าราชการเมืองวิเชียรบุรี และรับราชการประจำกระทรวงมหาดไทย ตำแหน่งจางวางกำกับราชการอำเภอวิเชียร ปัจจุบันคืออำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ ในภาคกลางของประเทศไทย บิดานามว่า พระยาประเสริฐภักดี (จุ้ย ณ วิเชียร) เจ้าเมืองวิเชียรบุรี ปู่นามว่า พระยาประเสริฐสวามิภักดิ์ (บุญ ณ วิเชียร) เจ้าเมืองวิเชียรบุรี ทั้งบิดาและปู่ของพระยาประเสริฐสงคราม (ใจ) สืบเชื้อสายจากตระกูลเจ้านายผู้ปกครองเมืองท่าโรงหรือเมืองศรีเทพในอดีต มาตั้งแต่ครั้งสมัยปลายกรุงศรีอยุธยา พระยาประเสริฐสงคราม (ใจ) เป็นต้นสกุล ณ วิเชียร แห่งอำเภอวิเชียรบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพระยาประเสริฐสงคราม (ใจ ณ วิเชียร) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539

ระราชพิธีกาญจนาภิเษก (Golden Jubilee) เป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองในวโรกาสที่พระมหากษัตริย์ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ตามคติสากล พระราชพิธีนี้จัดขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2539 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยพระองค์ทรงครองราชสมบัติ เป็นปีที่ 50 ใน พุทธศักราช 2538 และครบรอบ 50 ปีจริงในวันที่ 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2539 ซึ่งถือเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติเป็นระยะเวลายาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติไทย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีหมายกำหนดการจัดงานพระราชพิธีกาญจนาภิเษก และงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ระหว่างวันที่ 8-10,12,14,23 มิถุนายน,7พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก พ.ศ. 2531

การทรงบำเพ็ญพระราชกุศลทักษิณานุประทาน ถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ในรัชกาลที่ 9 เป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้น เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองเนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงครองสิริราชสมบัติยาวนานยิ่งกว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ไทยที่เคยทรงครองราชย์ยาวนานที่สุด นับตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ถึงวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 เป็นเวลา 42 ปี 23 วัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีหมายกำหนดการจัดงานในระหว่างวันที่ 2, 3 และ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 รวมทั้งสิ้น 3 วัน พระราชพิธีนี้ รัฐบาลในสมัยพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ และ ประชาชนชาวไทย ร่วมกันจัดขึ้น ดังปรากฏเป็นเหตุการณ์ ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก พ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชาคณะชั้นธรรม

ระราชาคณะชั้นธรรม เป็นสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย มีศักดิ์รองลงมาจากพระราชาคณะเจ้าคณะรอง และสูงกว่าพระราชาคณะชั้นเท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพระราชาคณะชั้นธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระสมเด็จจิตรลดา

ระสมเด็จจิตรลดา พระสมเด็จจิตรลดา พระสมเด็จจิตรดา หรือ พระกำลังแผ่นดิน (ปัจจุบันประชาชนเรียกว่า สมเด็จจิตรดา, พระจิตรดา เดิมเรียกว่า พระพิมพ์ที่ฐานพระพุทธนวราชบพิตร) เป็นพระเครื่อง ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างด้วยพระหัตถ์ของพระองค์เอง พระราชทานแก่ทหาร ตำรวจ ข้าราชการ และพลเรือน ในช่วงระหว่าง..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพระสมเด็จจิตรลดา · ดูเพิ่มเติม »

พระครูประสาธน์ขันธคุณ (มุม อินทปญโญ)

ระครูประสาธน์ขันธคุณ หรือที่พุทธศานิกชนชาวศรีสะเกษและชาวไทยรู้จักโดยทั่วไปในนาม หลวงปู่มุม หรือ หลวงพ่อมุม เป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดปราสาทเยอเหนือ อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ บรรพชาเป็นสามเณรตั้งแต่ยังเด็กและอุปสมบทเป็นพระภิกษุเมื่ออายุ 20 ปี แล้วดำรงอยู่ในสมณเพศตลอดชีวิตจนมรณภาพ เป็นพระภิกษุผู้ถือเคร่งทางธรรมปฏิบัติธรรมกัมมัฏฐาน ได้ฝึกเดินธุดงค์ไปตามป่าเขาในบริเวณเทือกเขา พนมดงเร็ก เขตจังหวัดทางภาคอีสานตอนล่าง ของประเทศไทย และเดินธุดงค์เข้าไปในประเทศกัมพูชาจำพรรษาอยู่ในประเทศกัมพูชาหลายปี หลังจากนั้นจึงได้กลับมาจำพรรษาอยู่ที่วัดปราสาทเยอเหนือ บ้านเกิด ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่มีกลุ่มชาติพันธุ์เยอ ตั้งถิ่นฐานอยู่ จากความสมถะ มักน้อย สันโดษและเคร่งครัดในวัตรปฏิบัติของสงฆ์ ทำให้เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของพุทธศานิกชนทั่วไป และที่โด่งดังเป็นที่รู้จักของประชาชนทั่วประเทศก็คือความศรัทธาในวัตถุมงคลกลุ่มที่ชื่อ พระหลวงพ่อมุม ซึ่งท่านได้เคยสร้างและทำพิธีปลุกเสกด้วยตัวเอง โดยพิธีพุทธาภิเษกแบบเขมรโบราณ ทั้งยังเป็นผู้มีส่วนร่วมบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ในบวรพระพุทธศาสนาและเพื่อสังคมไว้มหาศาล ถือป็น ปูชนียบุคคล ที่ควรกราบไหว้บูชาสักการะของปวงชนทั่วๆ ไป หลวงปู่มุม ยังเป็นหนึ่งในพระเถระผู้ร่วมประกอบพิธีพุทธาภิเษก พระกริ่งมหาราช ระหว่างวันที่ 3 ธันวาคม - 4 ธันวาคม พ.ศ. 2512 ซึ่งวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม หรือวัดโพธิ์ จัดสร้างขึ้นเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เนื่องในวโรกาสมหามงคลที่ทรงได้รับการเทิดทูนอย่างสูงสุดจากปวงชนชาวไทย โดยการถวายพระบรมราชสมัญญานาม มหาราช ต่อท้ายพระปรมาภิไธย อนึ่ง วัดปราสาทเยอเหนือ เป็นวัดโบราณมีอายุเก่าแก่ที่สุดวัดหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษหรือจังหวัดขุขันธ์ ในอดีต วัดแห่งนี้ได้รับการก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. 1313 หรือราวต้นพุทธศตวรรษที่ 14 ตั้งแต่สมัยทวารวดีและสมัยขอม อันเป็นช่วงเวลาก่อนการตั้งเมืองศรีนครลำดวน (ต้นเค้าเมืองขุขันธ์ที่พัฒนามาเป็นจังหวัดขุขันธ์และจังหวัดศรีสะเกษ) ใน พ.ศ. 2302 กรมศิลปากร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพระครูประสาธน์ขันธคุณ (มุม อินทปญโญ) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูใบฎีกาอำนาจ โอภาโส

ระครูใบฎีกาอำนาจ โอภาโส หลวงพ่ออำนาจ โอภาโส นามเดิม อำนาจ กลั่นประชา เกิดเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพระครูใบฎีกาอำนาจ โอภาโส · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักเขาค้อ

ระตำหนักเขาค้อ พระตำหนักเขาค้อ เป็นพระตำหนักที่ตั้งอยู่ที่เขาย่า ตำบลสะเดาะพง อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพระตำหนักเขาค้อ · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพกษัตรีย์

มเด็จพระเจ้าลูกเธอพระเทพกษัตรีย์พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 102-104 หรือ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระเทพกษัตรเจ้าฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพระเทพกษัตรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

พิชัยสงคราม

ตัวอย่างเนื้อหาของตำราพิชัยสงครามของไทย แสดงภาพการแปรขบวนทัพแบบมหิงสาพยุหะ หรือการตั้งทัพเป็นรูปควาย พิชัยสงคราม เป็นคำที่ใช้เรียกหนังสือหรือเอกสารที่มีการรวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับกลยุทธ ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธีการรบต่าง ๆ อาทิ การรุก การตั้งรับ การแปรขบวนทัพ การใช้อุบายทำลายข้าศึก เป็นต้น หนังสือจำพวกนี้ในบางแห่งมักจะมีการใส่เนื้อหาที่เป็นความเชื่อทางด้านโหราศาสตร์เข้ามาประกอบ เช่น การดูฤกษ์ยามในการเคลื่อนทัพ การทำพิธีข่มขวัญข้าศึกและบำรุงขวัญฝ่ายตน ฯลฯ รูปแบบเนื้อหานั้นอาจอยู่ในลักษณะของร้อยแก้วหรือร้อยกรองก็ได้ ในสารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้คำจำกัดความของตำราพิชัยสงครามไว้ว่า ตำราพิชัยสงครามที่นับว่ามีชื่อเสียงมากในระดับโลก คือ ตำราพิชัยสงครามของซุนวู ซึ่งแต่งขึ้นเมื่อประมาณ 600 ปีก่อนคริสตกาล อันอยู่ในช่วงยุครณรัฐของจีน ทั้งนี้ หนังสือพงศาวดารจีนบางเรื่องที่มีการกล่าวถึงการรบและการใช้อุบาย เช่น สามก๊ก ไซ่ฮั่น ก็อาจนับว่าเป็นตำราพิชัยสงครามได้เช่นกัน เนื้อหาและหลักในตำราพิชัยสงครามต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากตำราพิชัยสงครามของซุนวู ปัจจุบันได้มีการนำมาประยุกต์ใช้ในด้านการบริหารและด้านเศรษฐกิจขององค์กรต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพิชัยสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

พูนสวัสดิ์ กระทิงแดงยิม

ูนสวัสดิ์ กระทิงแดงยิม มีชื่อจริงว่า เฉลิมวงศ์ อุดมนา (ชื่อเดิม: ประกอบ อุดมนา, ชื่อเล่น: โต้) เกิดวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523 ที่อำเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร มีฉายาว่า "ไอ้รถถังจูเนียร์" หรือ "ไอ้รถถัง" อดีตแชมป์โลกรุ่นซูเปอร์แบนตัมเวท WBA, อดีตแชมป์'เฉพาะกาล'รุ่นแบนตัมเวท WBA, อดีตแชมป์ PABA และ อดีตแชมป์ WBA Fedelatin(สละ) พูนสวัสดิ์เป็นลูกชายของ พูนสวัสดิ์ ศิษย์ศรทอง อดีตแชมป์มวยไทยเวทีราชดำเนิน รุ่น 126 ปอนด์ เคยชกมวยไทยมาก่อนในชื่อ พูนสวัสดิ์ ว.สิงห์เสน่ห์, คำอธิบายเพิ่มเติม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพูนสวัสดิ์ กระทิงแดงยิม · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์ปณต นาคนายม

นต์ นาคนายม (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น พงษ์ปณต นาคนายม) (5 มกราคม พ.ศ. 2522 —) เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวไทย ในตำแหน่งผู้รักษาประตู เกิดที่จังหวัดเพชรบูรณ์ ปัจจุบันสังกัดปตท.ระยอง.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพงษ์ปณต นาคนายม · ดูเพิ่มเติม »

กรมท่าอากาศยาน

กรมท่าอากาศยาน (Department of Airports, ชื่อย่อ: ทย., DOA) หน่วยงานระดับกรมในสังกัดของ กระทรวงคมนาคม มีอำนาจหน้าที่พัฒนาโครงข่ายส่งเสริมกิจการท่าอากาศยานและบริหารท่าอากาศยานทั้ง 28 แห่งทั่วประเทศไทยซึ่งเคยอยู่ภายใต้การบริหารดูแลของ กรมการบินพลเรือน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกรมท่าอากาศยาน · ดูเพิ่มเติม »

กระถิน

ฝักกระถิน ''Leucaena leucocephala'' - MHNT กระถิน เป็นไม้พุ่ม ใบประกอบ ดอกช่อ ดอกย่อยเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ผลเป็นฝักแบน ยอดอ่อน ช่อดอกและฝักอ่อน ชาวกะเหรี่ยงกินสดกับน้ำพริก เมล็ดในฝักแก่ กินสดหรือลวกกินกับน้ำพริก ใบต้มให้หมูกิน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกระถิน · ดูเพิ่มเติม »

กลอสซอพเทอริส

ฟอสซิลของจิมโนสเปอร์ม ''กลอสซอพเทอริส'' (สีเขียวเข้ม) พบในทวีปทางซีกโลกใต้ทั้งหมดซึ่งเป็นหลักฐานที่ชัดเจนว่าครั้งหนึ่งทวีปต่างๆเคยอยู่ติดกันเป็นมหาทวีปกอนด์วานา กลอสซอพเทอริส (กรีก glossa (γλώσσα) หมายถึง "ลิ้น" (เพราะว่าใบของมันมีรูปร่างคล้ายลิ้น) เป็นสกุลใหญ่และเป็นที่รู้จักกันดีว่าเป็นเฟิร์นเมล็ดอยู่ในอันดับกลอสซอพเทอริดาเลส (หรือในบางกรณีก็ถูกจัดให้อยู่ในอันดับอาร์เบอริเอเลส หรือดิคทายออพเทอริดิเอเลส).

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกลอสซอพเทอริส · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มจังหวัด

กลุ่มจังหวัด เป็นการจัดตั้งกลุ่มจังหวัดในประเทศไทย เพื่อส่งเสริมการบริหารงานแบบบูรณาการ โดยริเริ่มจัดตั้งโดยการกำหนดจังหวัดต้นแบบการบริหารงานแบบบูรณาการ (CEO) ในสมัยรัฐบาลของ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร การบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ จะคำนึงถึงหลักการดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกลุ่มจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย

รงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เป็นกลุ่มโรงเรียนวิทยาศาสตร์ที่จัดตั้งขึ้นจากวัตถุประสงค์ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สัมพันธ์ ทองสมัคร เพื่อสนองพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ที่ทรงมุ่งมั่นจะส่งเสริมคุณภาพชีวิต ในด้านความเป็นอยู่และการศึกษาของเยาวชน ปัจจุบันเป็นโรงเรียนที่อยู่ในแผนและยุทธศาสตร์ สำหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์ โดยจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนส่งเสริมให้เด็กคิดเป็น และกล้าลงมือทำ โดยโรงเรียนจะสนับสนุนทั้งด้านอุปกรณ์การเรียนการสอน อุปกรณ์ในห้องทดลองที่มีครบถ้วนและเพียงพอต่อความต้องการของเด็ก ในการศึกษาคนคว้าส่งที่ตนเองสนใจได้เอง โดยมีอาจารย์ที่มีความรู้ความสามารถ คอยให้คำปรึกษาและสนับสนุนให้เด็กแสดงศักยภาพของตนได้อย่างเต็มที.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์

กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ ถือกำเนิดเมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบกไทย

กองทัพบกไทย (คำย่อ: ทบ.; Royal Thai Army) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปี พ.ศ. 2417.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกองทัพบกไทย · ดูเพิ่มเติม »

กะพรุนน้ำจืด

กะพรุนน้ำจืด หรือ แมงกะพรุนน้ำจืด (Freshwater jellyfish) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในพวกแมงกะพรุนที่อยู่ในชั้นไฮโดรซัว ต่างจากแมงกะพรุนที่พบในทะเลที่ส่วนมากจะอยู่ในชั้นไซโฟซัว ใช้ชื่อสกุลว่า Craspedacusta (/คราส-พี-ดา-คัส-ต้า/).

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกะพรุนน้ำจืด · ดูเพิ่มเติม »

กะรุน

กะรุน (corundum; Al2O3) เป็นแร่รัตนชาติประเภทอะลูมิเนียมออกไซด์ ประกอบขึ้นด้วยธาตุอะลูมิเนียมและออกซิเจน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกะรุน · ดูเพิ่มเติม »

การละเล่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

การละเล่นภาคะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งนอกจากชาวไทยแล้วยังมีชาวพื้นเมืองที่มีเชื้อสายเขมร เชื้อสายภูไท หรือผู้ไทย ลาว กุย แสก โซ่ง ฯลฯ การละเล่นพื้นเมืองจึงมีหลายประเภท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และการละเล่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2559

การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไท..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งในประเทศไทย

การเลือกตั้งของประเทศไทย เป็นกระบวนการตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เพื่อให้ได้มาซึ่งบุคคลเข้าไปทำหน้าที่ในการปกครองประเทศไทย อาทิ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย, วุฒิสภาไทย, ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร, ผู้ว่าเมืองพัทยา และผู้บริหารท้องถิ่นอื่น ๆ ด้วยการให้ประชาชนออกเสียงเลือกบุคคลที่เห็นสมควร ประเทศไทยมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปมาแล้ว 27 ครั้ง นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และการเลือกตั้งในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

กาลีนา

กาลีนา เป็นสินแร่สำคัญของตะกั่วและเงินhttp://www.dmr.go.th/main.php?filename.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกาลีนา · ดูเพิ่มเติม »

กีฬากรีฑาในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 42

"กรีฑา" ในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 42 สุพรรณบุรีเกม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬากรีฑาในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 42 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬากรีฑาในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 44

กีฬากรีฑาในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 44 จัดแข่งขันที่สนามกีฬากลางจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 16–20 ธันวาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬากรีฑาในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 44 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬากรีฑาในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬากรีฑาในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 จัดแข่งขันที่สนามกีฬาติณสูลานนท์ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 22 ถึง 26 มิถุนายน..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬากรีฑาในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬากรีฑาในกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 33

กีฬากรีฑาในกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 33 จัดแข่งขันที่สนามกีฬากลางจังหวัดชุมพร อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 18 ถึง 20 มีนาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬากรีฑาในกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 33 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬากาบัดดีในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬากาบัดดีในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 จัดแข่งขันที่สนามบาสเกตบอล โรงเรียนวรนารีเฉลิม อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 21 ถึง 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬากาบัดดีในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬากาบัดดี้ในกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 33

กีฬากาบัดดี้ในกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 33 จัดแข่งขันที่วิทยาลัยเทคนิคระนอง อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 17 ถึง 23 มีนาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬากาบัดดี้ในกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 33 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามวยปล้ำในกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 42

"มวยปล้ำ"ในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 42 สุพรรณบุรีเกม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬามวยปล้ำในกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 42 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาลีลาศในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬาลีลาศในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 จัดแข่งขันที่หอประชุมเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 21 ถึง 23 มีนาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬาลีลาศในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาวอลเลย์บอลชายหาดในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬาวอลเลย์บอลชายหาดในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 จัดแข่งขันที่หาดสมิหลา (นางเงือก) อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 20 ถึง 30 มีนาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬาวอลเลย์บอลชายหาดในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาทางอากาศในกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 42

"กีฬาทางอากาศ" ในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 42 สุพรรณบุรีเกม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬาทางอากาศในกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 42 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาขี่ม้าในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬาขี่ม้าในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 จัดแข่งขันที่โรงเรียนอ.สงขลาพิทยานุสรณ์ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 21 ถึง 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬาขี่ม้าในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาคริกเกตในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬาคริกเกตในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 จัดแข่งขันที่สนามฟุตบอล โรงเรียนพะตงประธานคีรีวัฒน์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 20 ถึง 29 มิถุนายน..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬาคริกเกตในกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาคริกเกตในกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 33

กีฬาคริกเกตในกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 33 จัดแข่งขันที่สนามกีฬาเทศบาลตำบลบางริ้น อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 16 ถึง 25 มีนาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬาคริกเกตในกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 33 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาคาราเต้ในกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 33

กีฬาคาราเต้ในกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 33 จัดแข่งขันที่อาคารอเนกประสงค์เทศบาลตำบลหงาว อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 16 ถึง 20 มีนาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬาคาราเต้ในกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 33 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาปันจักสีลัตในกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 42

"กีฬาปันจักสีลัต" ในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 42 สุพรรณบุรีเกม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬาปันจักสีลัตในกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 42 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งประเทศไทย

กีฬานักเรียน นักศึกษาแห่งชาติ เป็นการแข่งขันกีฬาของนักเรียนและนักศึกษาในสถานศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศไทย ซึ่งจัดโดยสำนักงานพัฒนาการกีฬาและนันทนาการ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา โดยจะทำการคัดเลือกจังหวัดเจ้าภาพเพื่อจัดการแข่งขันในรอบชิงชนะเลิศในระดับประเทศต่อไป โดยกำหนดไว้ว่าผู้ที่เข้าแข่งขันนั้นจะต้องเป็นนักเรียนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลายในสถานศึกษาใดๆ ก็ตาม รวมถึงการศึกษานอกโรงเรียนด้วย ส่วนนักศึกษานั้นหมายถึงผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถานศึกษาของสำนักงานการอาชีวศึกษา ไม่เกินระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือ ปว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 39

กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 39 หรือ ชลบุรีเกมส์ เป็นการแข่งขันกีฬาของประเทศไทย จัดขึ้นที่จังหวัดชลบุรี ระหว่างวันที่ 9 - 19 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ซึ่งการแข่งขันกีฬาแห่งชาติในครั้งที่ 39 นี้ ได้รับการบันทึกว่ามีการแข่งขันชิงเหรียญทองมวยไทยในรายการสมัครเล่นประเภทหญิงขึ้นเป็นครั้งแรก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 39 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 40

กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 40 หรือ ขอนแก่นเกมส์ เป็นการแข่งขันกีฬาของประเทศไทย จัดขึ้นที่จังหวัดขอนแก่น จัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 3 มีนาคม ถึงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2555 โดยมี สมรักษ์ คำสิงห์ เป็นผู้จุดคบเพลิงในพิธีเปิดการแข่ง แม้การแข่งขันในปีนี้ได้จัดล่าช้าออกไปจากเดิม เนื่องด้วยอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554 อย่างไรก็ตาม การแข่งขันมวยไทยสมัครเล่นในปีนี้ถือได้ว่าเป็นรายการที่ได้รับความสนใจอย่างมาก เนื่องด้วยมีนักมวยไทยที่มีชื่อเสียงเข้าร่วมแข่งขันทั้งประเภทชายและหญิงหล.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 40 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 41

กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 41 หรือ เชียงใหม่เกมส์ จัดขึ้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างวันที่ 9-19 ธันวาคม 2555 โดยมีนักกีฬากว่าหมื่นคน จาก 77 จังหวัด เข้าร่วมการแข่งขัน มีการชิงเหรียญ 601 เหรียญทอง สำหรับพิธีเปิดการแข่งขันนั้น นายชุมพล ศิลปอาชา รองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เป็นประธานในพิธี โดยมี ณัฐพงษ์ เกษอินทร์ นักว่ายน้ำทีมชาติไทย เป็นผู้จุดคบเพลิง.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 41 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 42

การแข่งขันกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 42 หรือสุพรรณบุรีเกมส์ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 5-15 มกราคม 2557 โดยทางการกีฬาแห่งประเทศไทยได้ตัดเลือกจังหวัดสุพรรณบุรีให้เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันครั้งนี้ และจังหวัดสุพรรณบุรี เคยเป็นเจ้าภาพมาแล้ว นับครั้งนี้ด้วยเป็นครั้งที่ 3 โดยครั้งแรก คือกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 27 เมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 42 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 44

การแข่งขันกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 44 หรือ "นครสวรรค์เกมส์" จัดขึ้นระหว่างวันที่ 11–21 ธันวาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 44 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 (45th Thailand National Games), หรือ กีฬาแห่งชาติ 2560 (2017 Thailand National Games) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ สงขลาเกมส์ เป็นมหกรรมกีฬาระดับชาติสำหรับประชาชนทั่วไป ควบคุมโดยการกีฬาแห่งประเทศไทย ซึ่งจัด ณ จังหวัดสงขลา จัดขึ้นระหว่างวันที่ 20 ถึง 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาเยาวชนแห่งชาติ (ประเทศไทย)

กีฬาเยาวชนแห่งชาติ (Thailand National Youth Games) เป็นมหกรรมกีฬาเยาวชน และยุวชน ควบคุมโดยการกีฬาแห่งประเทศไทย ที่จัดขึ้นครั้งแรกที่จังหวัดนครราชสีมา จัดระหว่างวันที่ 26 เมษายน ถึง 2 พฤษภาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬาเยาวชนแห่งชาติ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 26

กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 26 จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 26 ใช้ชื่อในการแข่งขันว่า "มะขามหวานเกมส์".

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 26 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 33

กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 33 (33rd National Youth Games) หรือ กีฬาเยาวชนแห่งชาติ 2560 (2017 National Youth Games) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ชุมพร – ระนองเกมส์ เป็นมหกรรมกีฬาระดับชาติสำหรับเยาวชน และยุวชน ควบคุมโดยการกีฬาแห่งประเทศไทย ซึ่งจัดในจังหวัดชุมพร และ จังหวัดระนอง จัดขึ้นระหว่างวันที่ 16 ถึง 26 มีนาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 33 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 34

กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 34 (34th National Youth Games) หรือ กีฬาเยาวชนแห่งชาติ 2561 (2018 National Youth Games) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ น่านเกมส์ เป็นมหกรรมกีฬาระดับชาติสำหรับเยาวชน และยุวชน ควบคุมโดยการกีฬาแห่งประเทศไทย ซึ่งจัดในจังหวัดน่าน จัดขึ้นระหว่างวันที่ 19 ถึง 29 มีนาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 34 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาเขตแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 1

กีฬาเขตแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 1 หรือ การแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 1 เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระดับประเทศของประเทศไทยซึ่งจัดเป็นครั้งแรก จัดการแข่งขันโดยองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย จัดขึ้นเมื่อวันที่ 1 – 5 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬาเขตแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาเขตแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 2

กีฬาเขตแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 2 หรือ การแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 2 เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระดับประเทศของประเทศไทย อยู่ภายใต้การดูแลขององค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย ในการแข่งขันครั้งนี้จังหวัดเชียงใหม่เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน จัดขึ้นเมื่อวันที่ 3 – 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬาเขตแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาเซปักตะกร้อในกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 42

"เซปักตะกร้อ" ในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 42 สุพรรณบุรีเกม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกีฬาเซปักตะกร้อในกีฬาแห่งชาติครั้งที่ 42 · ดูเพิ่มเติม »

ญัฮกุร

ญัฮกุร หรือเนียะกุล หรือที่คนไทยเรียกว่า "ชาวบน" ซึ่งไม่เป็นที่ชอบใจนักของชาวญัฮกุร ญัฮกุรคือชุมชนที่ใช้ภาษามอญโบราณ อยู่บนภูเขาแถบแม่น้ำป่าสักในเขตจังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดนครราชสีมา โดยเฉพาะที่จังหวัดชัยภูมิ อยู่ในเขตอำเภอหนองบัวระเหว และอำเภอจัตุรัส กลุ่มชนดังกล่าวเรียกตนเองว่า “ญัฮกุร” (Nyah-Kur) แปลว่า “คนภูเขา” คนไทยในเมืองเรียกชนกลุ่มนี้ว่า “ชาวบน” ซึ่งพูดภาษาที่คนไทยภาคต่าง ๆ ฟังไม่รู้เรื่อง.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และญัฮกุร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาญัฮกุร

ษาญัฮกุรเป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก กลุ่มมอญ-เขมร กลุ่มย่อยมอญ ถือว่าใกล้เคียงกับภาษามอญโบราณในสมัยทวารวดี มีผู้พูดคือ ชาวบน ในจังหวัดนครราชสีมา เพชรบูรณ์ และชัยภูมิ บางส่วนเริ่มเปลี่ยนมาพูดภาษาไทย ภาษาญัฮกุรเดิมเป็นเพียงภาษาพูดไม่มีตัวเขียน จึงมีสถานะเป็นภาษาใกล้สูญ เมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และภาษาญัฮกุร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาม้งขาว

ษาม้งขาว หรือ ภาษาม้งเด๊อว (Hmong Daw) มีผู้พูดทั้งหมด 514,895 คน พบในจีน 232,700 คน (พ.ศ. 2547) ทางตะวันตกของกุ้ยโจว ทางใต้ของเสฉวน และยูนนาน พบในลาว 169,800 คน (พ.ศ. 2538) ทางภาคเหนือ พบในไทย 32,395 คน (พ.ศ. 2543) ในจังหวัดเพชรบูรณ์ ตาก แม่ฮ่องสอน เชียงราย น่าน พิษณุโลก เลย สุโขทัย กำแพงเพชร แพร่ พะเยา อุตรดิตถ์ ลำปาง ในเวียดนามพบทางภาคเหนือพบได้บ้างในจังหวีดทางภาคใต้เช่น จังหวัดดักลัก มีผู้พูดภาษานี้ในฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกาด้วย เข้าใจกันได้กับภาษาม้งเขียว จัดอยู่ในตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยน ภาษากลุ่มม้ง เป็นภาษาที่มีพยัญชนะมาก บางเสียงไม่มีในภาษาไทย ไม่มีเสียงตัวสะกด ไม่มีความต่างระหว่างสระเสียงสั้นกับสระเสียงยาว เสียงวรรณยุกต์ มี 8 เสียงคือ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และภาษาม้งขาว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาม้งเขียว

ษาม้งเขียว หรือ ภาษาม้งจั๊ว (Hmong Njua) ภาษาม้งตะวันตก มีผู้พูดทั้งหมด 1,290,600 คน พบในจีน 1,000,000 คน (พ.ศ. 2525) ซึ่งรวมชาวบูนูที่เป็นชนกลุ่มเย้าแต่พูดภาษานี้เป็นภาษาแม่ 29,000 คนเข้าไปด้วย ในบริเวณกุ้ยโจว เสฉวน และยูนนาน พบในลาว 145,600 คน (พ.ศ. 2538)ทางภาคเหนือ พบในพม่า 10,000 คน (พ.ศ. 2530) พบในไทย 33,000 คน ในจังหวัดตาก น่าน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน เพชรบูรณ์ เชียงราย พะเยา เลย สุโขทัย แพร่ กำแพงเพชร อุทัยธานี พบในเวียดนาม ทางภาคเหนือ พบได้บ้างในจังหวีดทางภาคใต้เช่น จังหวัดดักลัก มีผู้พูดภาษานี้ในฝรั่งเศส และสหรัฐด้วย เข้าใจกันได้กับภาษาม้งขาว จัดอยู่ในตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยน ภาษากลุ่มม้ง เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา มีวรรณยุกต์ 3 เสียง.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และภาษาม้งเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทยถิ่นเหนือ

ำเมือง (40px)) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นภาษาถิ่นของชาวไทยวนทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ซึ่งเป็นอาณาจักรล้านนาเดิม ได้แก่ เชียงใหม่, เชียงราย, อุตรดิตถ์, แพร่, น่าน, แม่ฮ่องสอน, ลำพูน, ลำปาง, พะเยา และยังมีการพูดและการผสมภาษากันในบางพื้นที่ของจังหวัดตาก, สุโขทัย และเพชรบูรณ์ ปัจจุบันกลุ่มคนไทยวนได้กระจัดกระจายและมีถิ่นที่อยู่ในจังหวัดสระบุรี, จังหวัดราชบุรี และอำเภอของจังหวัดอื่นที่ใกล้เคียงกับราชบุรีอีกด้วย คำเมืองยังสามารถแบ่งออกเป็นสำเนียงล้านนาตะวันตก (ในจังหวัดเชียงใหม่, ลำพูน และแม่ฮ่องสอน) และสำเนียงล้านนาตะวันออก (ในจังหวัดเชียงราย, พะเยา, ลำปาง, อุตรดิตถ์, แพร่ และน่าน) ซึ่งจะมีความแตกต่างกันบ้าง คือ สำเนียงล้านนาตะวันออกส่วนใหญ่จะไม่พบสระเอือะ เอือ แต่จะใช้สระเอียะ เอียแทน (มีเสียงเอือะและเอือเพียงแต่คนต่างถิ่นฟังไม่ออกเอง เนื่องจากเสียงที่ออกมาจะเป็นเสียงนาสิกใกล้เคียงกับเอียะ เอีย) ส่วนคนในจังหวัดลำพูนมักจะพูดสำเนียงเมืองยอง เพราะชาวลำพูนจำนวนมากสืบเชื้อสายมาจากชาวยองในรัฐฉาน จึงมีสำเนียงที่เป็นเอกลักษณ์ คำเมืองมีไวยากรณ์คล้ายกับภาษาไทยกลางแต่ใช้คำศัพท์ไม่เหมือนกันและไวยากรณ์ที่แตกต่างกันอยู่บ้าง แต่เดิมใช้คู่กับ อักษรธรรมล้านนา ซึ่งเป็นตัวอักษรของอาณาจักรล้านนาที่ใช้อักษรมอญเป็นต้นแ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และภาษาไทยถิ่นเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ภาคกลาง (ประเทศไทย)

กลาง เป็นภูมิภาคตอนกลางของประเทศไทย มีพื้นที่ครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ติดต่อกับภาคเหนือทางทิศเหนือ ติดต่อกับภาคตะวันออก และภาคอีสานทางทิศตะวันออกโดยมีทิวเขาเพชรบูรณ์กั้น ติดต่อกับภาคตะวันตก ทิศเหนือติดต่อกับทิวเขาผีปันน้ำ พื้นนี้เคยเป็นดินแดนที่สำคัญของอาณาจักรอยุธยา และยังเป็นพื้นที่ที่สำคัญของประเทศไทยมาจนถึงปัจจุบัน ภาคกลางเป็นภูมิภาคที่มีกรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทยตั้งอยู่ และมีประชากรในภูมิภาคมากที่สุดในประเท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และภาคกลาง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภาคเหนือ (ประเทศไทย)

หนือ เป็นภูมิภาคที่อยู่ด้านบนสุดของไทย มีลักษณะภูมิประเทศอันประกอบไปด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อน ต่อเนื่องมาจากทิวเขาฉานโยมาในประเทศพม่าและประเทศลาว ภาคเหนือมีภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา เหมือนกับพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ การที่มีพื้นที่อยู่เหนือระดับน้ำทะเลและมีเส้นละติจูดอยู่ตอนบนทำให้สภาพอากาศของภาคเหนือเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลอย่างเห็นได้ชัด เช่น มีฤดูหนาวที่หนาวเย็นกว่าภูมิภาคอื่น ๆ ทางด้านประวัติศาสตร์ของภาคเหนือมีความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับอาณาจักรล้านน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และภาคเหนือ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิภาคของประเทศไทย

ูมิภาค เป็นเขตการปกครองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ซึ่งมีการแบ่งภูมิภาคที่แตกต่างกัน โดยมีการแบ่งอย่างเป็นทางการเป็น 6 ภูมิภาค ตามการแบ่งของคณะกรรมการภูมิศาสตร์แห่งชาติซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยสภาวิจัยแห่งชาติ และยังมีการแบ่งเป็น 4 ภูมิภาค ซึ่งสอดคล้องกับการแบ่งแบบมณฑลเทศาภิบาล เมื่อเปรียบเทียบกับการแบ่งแบบจังหวัดของประเทศไทย การแบ่งภูมิภาคนั้นไม่ได้มีผู้บริหารเหมือนการแบ่งแบบจังหวัด แต่จะใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางภูมิศาสตร์ สถิติ ธรณีวิทยา อุตุนิยมวิทยา และการท่องเที่ยว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และภูมิภาคของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภูทับเบิก

ูทับเบิก ป้ายชื่อ ภูทับเบิก เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในจังหวัดเพชรบูรณ์ มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 1,768 เมตร อยู่ตำบลวังบาล ห่างจากอำเภอหล่มสักและหล่มเก่าประมาณ 40 กิโลเมตร มีอากาศหนาวเย็นตลอดทั้งปี เป็นที่ตั้งของหมู่บ้านชาวไทยภูเขาเผ่าม้ง ซึ่งได้อพยพมาอาศัยอยู่ที่บ้านทับเบิก โดยอยู่ในความดูแลของศูนย์พัฒนาสงเคราะห์ชาวเขาจังหวัดเพชรบูรณ์ ประกอบด้วยอาชีพทำการเกษตรแบบขั้นบันไดตามเชิงเขา ในช่วงหน้าฝนยังมีไร่กะหล่ำปลีที่สวยงาม ส่วนหน้าหนาวมีดอกนางพญาเสือโคร่งบานเต็มภูทับเบิก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และภูทับเบิก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์พ่อขุนผาเมือง

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์พ่อขุนผาเมือง เพชรบูรณ์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ สำหรับพระสงฆ์ ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดเพชรบูรณ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์พ่อขุนผาเมือง เพชรบูรณ์ มุ่งพัฒนามหาวิทยาลัยเป็นศูนย์กลางการศึกษาพระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ โดยจัดการศึกษาและพัฒนาองค์ความรู้บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ ให้นำไปสู้การพัฒนาจิตใจและสังคมอย่างยั่งยืน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์พ่อขุนผาเมือง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ (Uttaradit Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกและเพียงแห่งเดียวที่ตั้งอยู่ในจังหวัดอุตรดิตถ์ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2479 ในนาม "โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตร จังหวัดอุตรดิตถ์" ในอดีตสถาบันแห่งนี้เคยเป็นศูนย์กลางทางการศึกษาฝึกหัดครูของภาคเหนือ ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์, แพร่, น่าน, เชียงราย, ลำปาง และอุตรดิตถ์มณเฑียร ดีแท้.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ (Phetchabun Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ในจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดเพชรบูรณ์

มหาวิทยาลัยรารามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดเพชรบูรณ์ (Ramkhamheangh Univrsity Phetchabun Campus in Honour of His Majesty The King) เป็นสาขามหาวิทยาลัยแต่ไม่เทียบเท่าวิทยาเขต ให้บริการการศึกษาในส่วนภูมิภาคของมหาวิทยาลัยรามคำแหง จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก เพื่อเป็นการขยายโอกาสในการศึกษาระดับอุดมศึกษาในส่วนภูมิภาค ปัจจุบัน ตั้งอยู่ที่ตำบลฝายนาแซง อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ "มหาวิทยาลัยนเรศวร" นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน มหาวิทยาลัยนเรศวรได้รับการจัดอันดับในด้านการวิจัยให้เป็นมหาวิทยาลัยระดับดีเยี่ยมและเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 9 ของประเทศไทย จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อปี พ.ศ. 2549 หนังสือพิมพ์ข่าวสด วันที่ 1 กันยายน 2549 และได้รับการจัดอันดับโดย เว็บโอเมตริกซ์ (Webometrics) เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 ให้อยู่ในอันดับที่ 605 ของโลก อันดับที่ 15 ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอันดับที่ 9 ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาคภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบนของประเทศไทย โดยมีการเรียนการสอนครอบคลุมครบทุกสาขาวิชาทั้งสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รวมทุกระดับการศึกษาทั้งสิ้น 184 หลักสูตร มีจำนวนนิสิตประมาณ 22,200 คน และมีอาจารย์ประจำกว่า 1,400 คน พิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในช่วงเดือนธันวาคม โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์มาทรงประกอบพิธีสำคัญต่าง ๆ ในกิจการของมหาวิทยาลัยนเรศวร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อังกฤษ: Kasetsart University; อักษรย่อ: มก.) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรทางด้านการเกษตร ก่อตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ เดิมเป็นโรงเรียนช่างไหมในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา

มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา (Chalermkarnchana University) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนตั้งอยู่ที่จังหวัดศรีสะเกษ และถือเป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งแรกในจังหวัดศรีสะเกษ ได้รับอนุญาตให้เปิดทำการสอนระดับอุดมศึกษา เมื่อปี พ.ศ. 2547 และได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนประเภทเป็นมหาวิทยาลัย ในชื่อว่า "มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา" เมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2557 ปัจจุบัน นอกจากการเรียนการสอนในจังหวัดศรีสะเกษ แล้ว ยังมีการจัดการเรียนการสอนในลักษณะเป็นวิทยาเขตหรือศูนย์ในจังหวัดตามภูมิภาคต่างๆ ด้วย ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดบุรีรัมย์ และจังหวัดเพชรบูรณ์ มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา ได้มีการจัดพิธีพระราชทานปริญญาบัตรให้แก่ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเป็นประจำทุกปี ซึ่งทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เสด็จมาเป็นองค์ประธานในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา เพชรบูรณ์

มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา เพชรบูรณ์ (Chalermkarnchana University Phetchabun) มีสถานะเป็น1ใน4ศูนย์การศึกษาของมหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา เพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

มะขาม

วามหมายอื่น ดูที่ อำเภอมะขาม มะขาม เป็นไม้ มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกาแถบประเทศซูดาน ต่อมามีการนำเข้ามาในประเทศแถบเขตร้อนของเอเชียและประเทศแถบลาตินอเมริกา และในปัจจุบันมีมากในเม็กซิโก ชื่อมะขามในภาคต่าง ๆ เรียก มะขามไทย ภาคกลาง ขาม ภาคใต้ ตะลูบ โคราช ม่วงโคล้ง (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) อำเปียล เขมร จังหวัดสุรินทร์ ในภาษาอังกฤษใช้คำว่า tamarind ซึ่งมาจากภาษาอาหรับ:تمر هندي (tamr hindī) แปลว่า Indian date มะขามเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานและดอกไม้ประจำจังหวัดเพชรบูรณ์ มะขามในไทยมีสองชนิดคือมะขามเปรี้ยวและมะขามหวาน โดยมะขามหวานมีหลายพันธุ์เช่น พันธุ์น้ำผึ้ง อินทผลัม หมื่นจง สีทอง ในบางครั้งจะเรียกมะขามตามลักษณะของฝัก เช่น มะขามขี้แมว คือมะขามฝักกลม มะขามกระดาน คือมะขามฝักแบน มะขามข้อเดียวคือมะขามที่ฝักมีข้อเดียวออกกลมป้อม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมะขาม · ดูเพิ่มเติม »

มะไฟ

มะไฟ (วงศ์: Phyllanthaceae) ภาคใต้เรียกส้มไฟ เพชรบูรณ์เรียกหัมกัง เป็นพืชพื้นเมืองของอินโดนีเซีย ต่อมาจึงแพร่หลายไปทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ใบเดี่ยว รูปไข่ ดอกเป็นช่อสีชมพูอ่อนหรืออมเหลือง มีกลิ่นหอมอ่อน ผลออกเป็นช่อ ผลอ่อนมีขนคล้ายกำมะหยี่ พอแก่ผิวเกลี้ยง เปลือกสีเหลือง เนื้อสีขาวขุ่นหรือขาวใสอมชมพู แล้วแต่พันธุ์ เมล็ดแบนสีน้ำตาล พันธุ์ที่นิยมปลูก ได้แก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมะไฟ · ดูเพิ่มเติม »

มิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ 2559

มิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ 2559 จัดประกวดขึ้นเป็นครั้งที่ห้าในชื่อ มิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ ดำเนินการประกวด และทำกิจกรรมที่จังหวัดพังงา และประกวดรอบตัดสินในวันที่ 23 กรกฎาคม 2559 ณ รอยัลพารากอนฮอลล์ ศูนย์การค้าสยามพารากอน กรุงเทพมหานคร โดย สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ดำเนินการถ่ายทอดการประกวด ตั้งแต่เวลา 22:45 - 01:15 น. โดยมี อนิพรณ์ เฉลิมบูรณะวงศ์ มิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ 2558 เป็นผู้มอบมงกุฏให้กับ ชลิตา ส่วนเสน่ห.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ 2559 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์กรุงเทพมหานคร

มิสแกรนด์กรุงเทพมหานคร (Miss Grand Bangkok) เป็นการประกวดนางงามของกรุงเทพมหานคร จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมิสแกรนด์กรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์ลำปาง

มิสแกรนด์ลำปาง (Miss Grand Lampang) เป็นการประกวดนางงามของจังหวัดลำปาง จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมิสแกรนด์ลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์เพชรบูรณ์

มิสแกรนด์เพชรบูรณ์ (Miss Grand Phetchabun) เป็นการประกวดนางงามของจังหวัดเพชรบูรณ์ จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมิสแกรนด์เพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

มิสไทยแลนด์เวิลด์

มิสไทยแลนด์เวิลด์ (Miss Thailand World) เป็นชื่อของเวทีการประกวดนางงามในประเทศไทย จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดยบริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ผู้ดำเนินกิจการสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เพื่อส่งผู้ชนะเลิศเป็นตัวแทนประเทศไทย เข้าประกวดนางงามโลก (Miss World) ซึ่งมีคำขวัญประจำการประกวดว่า งามอย่างมีคุณค่า (Beauty with a Purpose) และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 จนถึงปัจจุบัน บริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) รับโอนสิทธิในการเป็นผู้จัดประกวดจาก บจก.บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ แต่ผู้สนับสนุนการถ่ายทอดโทรทัศน์ ยังคงเป็นไทยทีวีสีช่อง 3 ตามเดิม นอกจากนี้ ยังมีการแต่ง เพลงนี้เพื่อผองเรา ขึ้นเป็นเพลงประจำการประกวดอีกด้วย นอกจากจะส่งผู้ชนะเลิศเข้าร่วมประกวดมิสเวิลด์แล้ว การประกวดมิสไทยแลนด์เวิลด์ยังได้รับสิทธิในการคัดเลือกสาวไทยเชื้อสายจีนที่เข้าร่วมประกวด เป็นตัวแทนสาวไทยในการเข้าร่วมประกวด มิสไชนิสอินเตอร์เนชั่นแนล อีกด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมิสไทยแลนด์เวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

มิสไทยแลนด์เวิลด์ 2559

มิสไทยแลนด์เวิลด์ 2559 โดยเปิดรับสมัครในวันที่ 21 เมษายน - 24 เมษายน พ.ศ. 2559 ดำเนินการประกวด และทำกิจกรรมที่ จังหวัดภูเก็ต และประกวดรอบตัดสินในวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ณ ห้องแกรนด์ บอลรูม โรงแรมแกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ กรุงเทพ โดย สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ดำเนินการถ่ายทอดการประกว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมิสไทยแลนด์เวิลด์ 2559 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเตอร์สตาร์ไทยแลนด์ 2018

มิสเตอร์สตาร์ไทยแลนด์ (Mister Star Thailand) เป็นการประกวดความงามชายในประเทศไทย จัดขึ้นเป็นครั้งแรก ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมิสเตอร์สตาร์ไทยแลนด์ 2018 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเตอร์ซูปราเนชันแนลไทยแลนด์ 2017

มิสเตอร์ซูปราเนชันแนลไทยแลนด์ 2017 เป็นการประกวดมิสเตอร์ซูปราเนชันแนลไทยแลนด์ครั้งที่ 2 เก็บตัวทำกิจกรรมที่พัทยา จังหวัดชลบุรี ระหว่างวันที่ 14 -16 สิงหาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมิสเตอร์ซูปราเนชันแนลไทยแลนด์ 2017 · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลทหารบก

มณฑลทหารบก เป็นการจัดแบ่งเขตการปกครองทางทหารบก เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติกิจการทางทหาร เช่น การเรียกพล การระดมพล การเกณฑ์ทหาร เป็นต้น แต่เดิมมีการจัดแบ่งเขตการปกครองออกเป็น จังหวัดทหารบก ขึ้นตรงต่อมณฑลทหารบกด้วย แต่ต่อมาในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมณฑลทหารบก · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลนครราชสีมา

มณฑลนครราชสีมา ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2436 เป็นมณฑลแรกของประเทศสยาม ในช่วงแรกมีเมืองเพชรบูรณ์และเมืองหล่มสักรวมอยู่ด้วย แต่ได้แยกออกไปเป็นอีกมณฑลหนึ่งในปี พ.ศ. 2442.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมณฑลนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเทศาภิบาล

มณฑลเทศาภิบาลคือระบบแบ่งเขตการปกครองส่วนภูมิภาคในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่มีการใช้มาจนถึงสมัยช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สองประมาณ 7 ปี เป็นการเลียนแบบการปกครองของอังกฤษในพม่าและมาเลเซีย เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2440 โดยพระราชดำริของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ มณฑลมีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครอง เจ้าเมืองไม่มีอำนาจที่จะปกครอง หน่วยการปกครองเรียงจากใหญ่ไปเล็กได้ดังนี้ ในปี พ.ศ. 2458 ดินแดนสยามมีมณฑลอยู่ 19 แห่งครอบคลุมพื้นที่ 72 เมือง (เปลี่ยนเป็น จังหวัด ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจตกต่ำจึงทำให้หลายมณฑลถูกยุบรวมกันตั้งแต่ปี พ.ศ. 2468 (มณฑลเพชรบูรณ์ถูกยุบลงไปก่อนหน้านั้นแล้ว) ภายหลังจึงคงเหลืออยู่เพียง 14 มณฑล ได้แก่ กรุงเทพพระมหานคร มณฑลจันทบุรี มณฑลนครชัยศรี มณฑลนครสวรรค์ มณฑลนครศรีธรรมราช มณฑลนครราชสีมา มณฑลปราจีนบุรี มณฑลปัตตานี มณฑลพายัพ มณฑลพิษณุโลก มณฑลภูเก็ต มณฑลราชบุรี มณฑลอยุธยา และมณฑลอุดรธานี ทั้งหมดถูกล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 2476 ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อมีการตราพระราชบัญญัติการบริหารราชการส่วนภูมิภาค พุทธศักราช 2476 ขึ้น และนับจากนั้น จังหวัดก็ได้กลายเป็นเขตการปกครองย่อยของประเทศไทยที่มีระดับสูงที.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมณฑลเทศาภิบาล · ดูเพิ่มเติม »

ม่อนไข่

ผลม่อนไข่ผ่าครึ่ง ผลม่อนไข่พร้อมรับประทานในลาว ผลม่อนไข่อยู่บนต้น ม่อนไข่ เป็นผลไม้เนื้อสีทอง ภาคเหนือและภาคอีสานเรียกม่อนไข่ ราชบุรีเรียกว่า ลูกท้อพื้นบ้าน ปราจีนบุรีเรียกว่าท้อเขมร เพชรบูรณ์เรียกทิสซา ฟิลิปปินส์ เรียก chesa ศรีลังกาเรียก Laulu Lavulu หรือ Lawalu มีถิ่นกำเนิดมาจากประเทศเม็กซิโก กัวเตมาลา บราซิล และเอลซัลวาดอร์ ม่อนไข่เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ใบบาง มัน เรียวแหลม ลำต้นมียางสีขาว ก้านอ่อนเป็นสีน้ำตาล ดอกสีครีม มีกลิ่นหอม ผลสุกสีเหลืองอ่อน เปลือกบาง เนื้อผลสีเหลืองสด เหนียวคล้ายแป้งทำขนม ภายในผลมีเมล็ดขนาดใหญ่ รสหวาน เนื้อผลนิ่มคล้ายไข่แดง.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และม่อนไข่ · ดูเพิ่มเติม »

ม้ง

ม้ง หรือ เมียว (Miao; 苗; พินอิน: Miáo) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ในเขาภูเขาของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ชาวม้งอพยพลงมาทางใต้ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 เนื่องจากสถานการณ์ที่ไม่สงบทางการเมืองและหาพื้นที่ที่เหมาะสมกับการเพาะปลูก ปัจจุบันมีชาวม้งอาศัยอยู่ในประเทศจีน ไทย เวียดนาม ลาว และสหรัฐอเมริกา โดยชุมชนชาวม้งที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยอยู่ที่ตำบลเข็กน้อย อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ สำหรับในประเทศไทยคำว่า "แม้ว" เป็นคำเรียกที่ไม่สุภาพในการเรียกกลุ่มคนม้ง ชาวม้งโดยส่วนใหญ่ไม่ชอบให้เรียกว่าแม้ว โดยถือว่าเป็นการดูถูกเหยียดหยาม ระหว่างสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่งและสงครามอินโดจีนครั้งที่สอง ชาวม้งในลาวได้ต่อสู้ขบวนการปะเทดลาว ชาวม้งหลายคนอพยพมาประเทศไทย และ ชาติตะวันตก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และม้ง · ดูเพิ่มเติม »

ยกสยามปี 1

กสยาม เป็นรายการเกมโชว์ควิซโชว์ ที่เน้นส่งเสริมให้คนในแต่ละจังหวัดรักบ้านเกิด ส่งเสริมให้เกิดการใช้ความรู้ความสามารถ ที่เกี่ยวกับประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น ในแต่ละจังหวัด ถ่ายทอดผ่านเกมได้อย่างสนุกสนาน ออกอากาศตั้งแต่ทุกวันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 18.30 - 18.55 น. เริ่มออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 เวลา 18.30 น. ทาง โมเดิร์นไนน์ ทีวี ผลิตโดย บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ดำเนินรายการโดย ปัญญา นิรันดร์กุล โดยปีสองของรายการ ดูที่ ยกสยามปี 2 นอกจากนั้น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมารยังได้พระราชทานแผ่นประกาศนียบัตรจารึกพระปรมาภิไธยย่อ มวก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และยกสยามปี 1 · ดูเพิ่มเติม »

ยกสยามปี 2

กสยาม เป็นรายการเกมโชว์ควิซโชว์ ซึ่งเน้นส่งเสริมให้คนในแต่ละจังหวัดรักบ้านเกิด รวมทั้งใช้ความรู้ความสามารถที่เกี่ยวกับประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นในแต่ละจังหวัดเพื่อตอบคำถาม หลังจากที่ประสบความสำเร็จใน ยกสยามปี 1 ทำให้มีการจัดการแข่งต่อในปีที่สอง ออกอากาศตั้งแต่ทุกวันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 18.27 - 18.52 น. เริ่มออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2552 ทาง โมเดิร์นไนน์ ทีวี ผลิตโดย บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ดำเนินรายการโดย ปัญญา นิรันดร์กุล นอกจากนั้น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ยังได้พระราชทานแผ่นประกาศนียบัตรจารึกพระนามาภิไธยย่อ "มวก." เพื่อเป็นเกียรติแก่จังหวัดผู้ชนะในรายการยกสยามhttp://www.thaipr.net/nc/readnews.aspx?newsid.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และยกสยามปี 2 · ดูเพิ่มเติม »

ยุพราช บัวอินทร์

นายยุพราช บัวอินทร์ (เกิด 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2518) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ เขต 3 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ปัจจุบันสังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และยุพราช บัวอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรและราษฎรสยาม

ราชอาณาจักรและราษฎรสยาม (The Kingdom and People of Siam) เป็นหนังสือที่เขียนขึ้นโดยเซอร์จอห์น เบาริง ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และราชอาณาจักรและราษฎรสยาม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด

ันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด เป็นพันธุ์ไม้ที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถได้พระราชทานให้กับผู้ว่าราชการจังหวัดของแต่ละจังหวัด เพื่อให้นำไปปลูกเป็นสิริมงคลแก่จังหวัดและเพื่อเป็นการรณรงค์ให้ประชาชนปลูกต้นไม้ในโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี (พระราชพิธีกาญจนาภิเษก) รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดของแต่ละจังหวัดแยกตามภาค (ตามเกณฑ์การแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน) มีรายละเอียดตามที่ปรากฏในตารางข้างล่าง ทั้งนี้ พันธุ์ไม้มงคลพระราชทานของบางจังหวัด (ได้แก่ นครปฐม บุรีรัมย์ ยโสธร ระนอง ระยอง สุโขทัย และสุรินทร์) จะเป็นพรรณไม้คนละชนิดกับต้นไม้ประจำจังหวัดนั้น ๆ ส่วนจังหวัดบึงกาฬไม่มีพันธุ์ไม้พระราชทานเนื่องจากขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดหนอง.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในจังหวัดเพชรบูรณ์

รายชื่อวัดในจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อวัดในจังหวัดเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสกุลนักการเมืองไทย

้านล่างนี้คือสกุลนักการเมืองไทย ที่บุคคลในตระกูลมีนักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หมายเหตุ: ตัวหนาหมายถึงบุคคลที่กำลังหรือเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ หรือรัฐมนตรีช่วยว่าการ หรือเทียบเท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อสกุลนักการเมืองไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสาขาของธนาคารในประเทศไทย

ต่อไปนี้เป็น รายชื่อสาขาของธนาคารในประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อสาขาของธนาคารในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย แบ่งตามประเภทสถานศึกษ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานศึกษาประเภทอาชีวศึกษาของรัฐ

หมวดหมู่:สถาบันการอาชีวศึกษ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อสถานศึกษาประเภทอาชีวศึกษาของรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย

ต่อไปนี้ เป็นรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวที่ตั้งอยู่ในประเทศไทย เรียงตามรายชื่อ 76 จังหวัด พร้อมกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย

ทความนี้รวบรวมรายชื่อสโมสรฟุตบอลในประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อห้างสรรพสินค้าในประเทศไทย

รายชื่อห้างสรรพสินค้าในประเทศไทย หน้านี้เป็นบทความที่รวบรวมรายชื่อห้างสรรพสินค้า (department store) ที่มีขนาดพื้นที่ใช้สอยตั้งแต่ 8,000 ตารางเมตรขึ้นไปในประเทศไทย ห้างสรรพสินค้าในประเทศไทยเรียงตามจังหวัดดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อห้างสรรพสินค้าในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทย

ต่อไปนี้คือ รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทย ทั้ง 77 จังหวัดเรียงตามตัวอักษร (รวมกรุงเทพมหานคร) ที่ใช้ในงานสารบรรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ช

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ช · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/บ

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/บ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/พ

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/พ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ก

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้วย ก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ม

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้วย ม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ร

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้วย ร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ล

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้วย ล.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ว

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้วย ว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ศ

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้ว.ก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ศ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ส

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ส · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/อ

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้วย กน.ศวล.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/อ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ผ

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้วย ผ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ผ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ท

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้วย ท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ท · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ข

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ข · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ด

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ค

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ค · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ต

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้วย ต.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ต · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ซ

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้วย ซ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ซ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/น

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้วย น.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/น · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออุทยานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย

อุทยานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย อยู่ในการดูแลของกรมศิลปากร ซึ่งเป็นหน่วยงานในกระทรวงวัฒนธรรม ปัจจุบันในประเทศไทยมีอุทยานประวัติศาสตร์ 10 แห่ง ซึ่งใน 10 แห่งนี้ มี 4 แห่งได้รับการประกาศให้เป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่ออุทยานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อจังหวัดของประเทศไทยเรียงตามพื้นที่

รายชื่อจังหวัดในประเทศไทยเรียงตามพื้นที.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อจังหวัดของประเทศไทยเรียงตามพื้นที่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อจังหวัดในประเทศไทยเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในจังหวัดต่อหัว

แสดงจังหวัดไทยเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในจังหวัดต่อหัว (ข้อมูลปี พ.ศ. 2558) บทความนี้แสดงรายชื่อจังหวัดของประเทศไทยเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในจังหวัด ณ ราคาตลาด ต่อหัวต่อหนึ่งปี (Gross Provincial Product at Current Market Price per capita) ของแต่ละปี ข้อมูลโดยสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อจังหวัดในประเทศไทยเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในจังหวัดต่อหัว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อจังหวัดในประเทศไทยเรียงตามผลิตภัณฑ์จังหวัด

แสดงจังหวัดไทยเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในจังหวัด (ข้อมูลปี พ.ศ. 2558) บทความนี้แสดงรายชื่อจังหวัดในประเทศไทยเรียงตามผลิตภัณฑ์จังหวัด ณ ราคาตลาดปัจจุบัน (GPP; Gross Provincial Product at Current Market Prices) ของแต่ละปี ข้อมูลโดยสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อจังหวัดในประเทศไทยเรียงตามผลิตภัณฑ์จังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงประจำจังหวัดของไทย

งในหน้านี้ เป็นภาพธงประจำจังหวัดของประเทศไทย ปัจจุบันเท่าที่มีการรวบรวมไว้ในเว็บไซต์ต่าง ๆ พบว่ามีธงอยู่เพียง 76 จังหวัด (รวมถึงกรุงเทพมหานคร).

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อธงประจำจังหวัดของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อท่าอากาศยานในประเทศไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อท่าอากาศยานในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด

ำขวัญประจำจังหวัด เป็นคำขวัญที่แต่ละจังหวัดในประเทศไทยแต่งขึ้น เพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ความภาคภูมิใจ และความโดดเด่นที่มีอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ มักเป็นคำคล้องจองสั้น ๆ เพื่อให้จดจำง่าย นอกจากคำขวัญประจำจังหวัดแล้ว ปัจจุบันยังมีการแต่งคำขวัญประจำท้องถิ่นในส่วนย่อยลงไปอีก เช่น คำขวัญประจำอำเภอ คำขวัญประจำเขต (ในกรุงเทพมหานคร) เป็นต้น คำขวัญประจำจังหวัด แยกตามภาคได้ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวแทนประเทศไทยในงานประกวดความงามนานาชาติ

รายชื่อของมิสไทยแลนด์ในการเป็นตัวแทนเข้าประกวด มิสยูนิเวิร์ส, มิสเวิลด์, มิสอินเตอร์เนชันแนล, มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล, มิสซูปราเนชันแนล, มิสเอิร์ธและ มิสอินเตอร์คอนติเนนตัล.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อตัวแทนประเทศไทยในงานประกวดความงามนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อน้ำตกในประเทศไทย

รายชื่อน้ำตกที่ตั้งอยู่ในประเทศไทย (ในบางจังหวัดจะไม่มีน้ำตก).

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อน้ำตกในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดเพชรบูรณ์

รบูรณ์ หมวดหมู่:โบราณสถานในจังหวัดเพชรบูรณ์ หมวดหมู่:จังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อโบราณสถานในจังหวัดเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงไฟฟ้าในไทย

รายชื่อในหน้านี้ทั้งหมดเป็นรายชื่อโรงไฟฟ้าในไท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อโรงไฟฟ้าในไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ

รงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ คือขนาดโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐที่กำหนดขึ้นโดยกรมสามัญศึกษาเดิม (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.) โดยกำหนดโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีจำนวนนักเรียนมากกว่า 2,501 คนขึ้นไป ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ปริมณฑลและโรงเรียนประจำจังหวัด ทั้งนี้ ไม่รวมโรงเรียนในสังกัดอื่น ๆ เช่น สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (โรงเรียนเทศบาล), สังกัดมหาวิทยาลัย (โรงเรียนสาธิต), โรงเรียนเอกชน เป็นต้น ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษแบ่งตามภาค ตามจำนวนนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ไม่นับ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ จังหวัดนครปฐม โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ จังหวัดพิษณุโลก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดสกลนคร ซึ่งมีเฉพาะนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย

รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย เป็นบทความที่รวบรวมรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดโดยจำแนกตามจังหวั.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดเพชรบูรณ์

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเครื่องบินของการบินไทย

ลโก้ของการบินไทย ณ วันที่ 5 พฤษภาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อเครื่องบินของการบินไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายการแหล่งมรดกโลกในประเทศไทย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศไทยทั้งสิ้น 5 แหล่ง ประกอบด้วยมรดกโลกทางวัฒนธรรม 3 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติ 2 แห่ง.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายการแหล่งมรดกโลกในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามชาวไทยที่มีอายุเกิน 100 ปี

ระบบสถิติทางการทะเบียนของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ระบุว่า ในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายนามชาวไทยที่มีอายุเกิน 100 ปี · ดูเพิ่มเติม »

รุ่งเพชร แหลมสิงห์

รุ่งเพชร แหลมสิงห์ (20 พฤษภาคม พ.ศ. 2485 -) มีชื่อจริงว่า วสันต์ จันทร์เปล่ง นักร้องเพลงลูกทุ่งที่มีชื่อเสียงคนหนึ่ง เป็นชาวอำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี สมัยตอนเด็กเรียนที่วัดลาด ต่อมาย้ายไปอยู่ที่บ้านบางสามแพรก จังหวัดเพชรบูรณ์ คนแถวบ้านเรียกว่า "ยวน" หลังจากจบชั้นมัธยมศึกษาจากโรงเรียนวัดมหาธาตุ และสมัครเข้าเป็นนักเรียนนายสิบทหารบก สังกัดเหล่าแพทย์ จบออกมาประจำอยู่หน่วยทหารเสนารักษ์ สังกัดกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ รุ่งเพชร เกษียณราชการในยศพันตรี สังกัดสุดท้ายคือกองบัญชาการทหารสูงสุด เมื่อ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2545 และใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย ยึดธรรมะในการครองชีพที่บ้านในจังหวัดนนทบุรี และยังรับร้องเพลงอยู่เป็นร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรุ่งเพชร แหลมสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

ต่อไปนี้ คือลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเวลาของจังหวัดในประเทศไทย

ทความนี้เรียงลำดับเวลาของจังหวัดในประเทศไทยตามหัวข้อต่าง ๆ เช่น การจัดตั้งและยุบเลิกจังหวัด การเปลี่ยนนามจังหวัด ตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และลำดับเวลาของจังหวัดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2 ภาคเหนือ ฤดูกาล 2552

ทีมทั้ง 11 ทีม ลีกภูมิภาค ภาคเหนือ 2552 ลีกภูมิภาค ภาคเหนือ ฤดูกาล 2552 เป็นการแข่งขันฤดูกาลแรกของฟุตบอลลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2 ในส่วนของสโมสรที่อยู่ในเขตภาคเหนือ ประจำปี 2552 หลังจากมีการปรับการแข่งขันจากฤดูกาล 2551 ที่ไม่ได้แบ่งออกเป็นลีกย่อยในแต่ละภูมิภาค ฤดูกาลนี้มีสโมสรเข้าร่วมทั้งหมด 12 สโมสร จาก 12 จังหวัด โดยที่ทีมชนะเลิศจะได้สิทธิ์เข้าไปแข่งในระบบลีกกับทีมชนะเลิศจากอีก 4 ภูมิภาค รวมถึงทีมรองชนะเลิศจากกรุงเทพและปริมณฑล เพื่อหาทีมที่ดีที่สุด 3 ทีมเลื่อนชั้นขึ้นไปดิวิชัน 1 ในฤดูกาลต่อไป.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2 ภาคเหนือ ฤดูกาล 2552 · ดูเพิ่มเติม »

วรินทร ปัญหกาญจน์

วรินทร ปัญหกาญจน์ (เกิด 26 มีนาคม พ.ศ. 2528) ชื่อเล่น เกรท เป็นนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงจากละครซีรีส์ชุด สุภาพบุรุษจุฑาเทพ ตอน คุณชายธราธร และ สามี ที่แสดงร่วมกับ รณิดา เตชสิท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และวรินทร ปัญหกาญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดสนธิกรประชาราม

วัดสนธิกรประชาราม เป็นวัดราษฎร์ ในสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ตั้งอยู่ ณ อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ ประเทศไทย สร้างขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และวัดสนธิกรประชาราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดป่าเขาน้อย

หนองแฟบ’เป็นบริเวณซึ่งมักมีเรื่องเล่าขานเกี่ยวกับความเร้นลับ ว่าอาจมีพญานาค วัดป่าเขาน้อย เป็นวัดพุทธศาสนา คณะธรรมยุติกนิกาย ก่อตั้งขึ้นตามแบบแผนแห่งวัดที่มุ่งลักษณะวิปัสสนาธุระทั่วไป วัดตั้งอยู่ที่ หมู่บ้านเนินหัวโล้ หมู่ที่ 5 ต.วังทรายพูน อ.วังทรายพูน จ.พิจิตร ปัจจุบันมี พระเสถียร กันตฺสีโล อยู่ในตำแหน่งเจ้าอาวาส วัดป่าเขาน้อยมีคณะนักบวชประพฤติจริยาเป็นประจำอยู่ประมาณ 15-25 รูป.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และวัดป่าเขาน้อย · ดูเพิ่มเติม »

วัดแสนสุข (จังหวัดเพชรบูรณ์)

วัดแสนสุข เป็นวัดราษฎร์มหานิกาย ตั้งอยู่บ้านห้วยโป่ง ตำบลวังชมภู อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้ประกาศตั้งเป็นวัดเมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และวัดแสนสุข (จังหวัดเพชรบูรณ์) · ดูเพิ่มเติม »

วันเพ็ญ พร้อมพัฒน์

นางวันเพ็ญ พร้อมพัฒน์ (เกิด 2 ธันวาคม พ.ศ. 2493) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคพลังประชาชน ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และวันเพ็ญ พร้อมพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

วาสนา บุญภูพันธ์ตันติ

นายวาสนา บุญภูพันธ์ตันติ (เกิด 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2474) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ 3 สมั.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และวาสนา บุญภูพันธ์ตันติ · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 8

มาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 8 (22 มีนาคม พ.ศ. 2543 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2549) เป็นสมาชิกชุดแรกที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน โดยมีการเลือกตั้งเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2543 ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งราษฎรเลือกตั้ง จำนวน 200 คน ตามบทเฉพาะกาล มาตรา 315 วรรคห้า (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 กำหนดให้สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาชุดนี้เริ่มนับตั้งแต่วันที่สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 สิ้นสุดลง คือ ครบวาระ 4 ปีในวันที่ 21 มีนาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และวุฒิสภาไทย ชุดที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

วงมังคละ

มังคละ มีหลักฐานปรากฏว่ามีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย เดิมเป็นดนตรีชั้นสูง สำหรับพระมหากษัตริย์สุโขทัยถวายประโคมในพิธีพุทธศาสนา ปัจจุบันใช้ในงานพิธีของชาวบ้าน ทั้งงานมงคลและอวมงคลในเขตภาคเหนือตอนล่างณัฐชยา นัจจนาวากุล. '''"สัตว์เลื้อยคลาน ว่าด้วยตำนาน ศาสตร์และศิลป์ในงานดนตรี"''' ใน สูจิบัตรพิธีไหว้ครูดนตรีไทย ประจำปี ๒๕๕๘. คณะมนุษยศาสตร์: มหาวิทยาลัยนเรศวร. ๒๕๕๘. หน้า ๖๘-๖๙ วงมังคละ หรือ ปี่กลอง, ปี่กลองมังคละ เป็นดนตรีชั้นสูงสำหรับพระพุทธศาสนาของอาณาจักรสุโขทัยโบราณ โดยปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกหลักที่ 1 และศิลาจารึกวัดช้างล้อม สันนิษฐานว่าดนตรีมังคละนั้นรับธรรมเนียม "มงคลเภรี" มาจากศรีลังกา ก่อนที่จะกลายมาเป็นดนตรีพื้นบ้าน ในชุมชนกลุ่มคนที่ใช้สำเนียงอาณาจักรสุโขทัยโบราณ ปัจจุบันพบการละเล่นอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จังหวัดสุโขทัย พิษณุโลก และอุตรดิตถ์ รวมทั้งพบร่องรอยการละเล่นมังคละในจังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดเพชรบูรณ์ (วงตุ๊บเก่ง) รวมทั้งวงกาหลอ วงมังคละ มีความสัมพันธ์กับกลุ่มคนที่ใช้สำเนียงอาณาจักรสุโขทัยโบราณเทวประภาส มากคล้.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และวงมังคละ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ชะมดและอีเห็น

มดและอีเห็น เป็นสัตว์จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอันดับสัตว์กินเนื้อจำพวกหนึ่ง.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และวงศ์ชะมดและอีเห็น · ดูเพิ่มเติม »

ศาลปกครอง (ประเทศไทย)

ตราสัญลักษณ์ศาลปกครอง http://www.admincourt.go.th/admincourt/site/01sign.html ตราสัญลักษณ์ศาลปกครอง ศาลปกครอง (Administrative Court) เป็นศาลที่จัดตั้งขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 276 และมีการจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 มีฐานะเทียบเท่าศาลยุติธรรมและมีอำนาจหน้าที่พิจารณาพิพากษา “คดีปกครอง” ซึ่งเป็นคดีพิพาทระหว่างหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชนกรณีหนึ่ง และข้อพิพาทระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกันอีกกรณีหนึ่ง ทั้งนี้ เพื่อปกป้องคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนและเพื่อสร้างบรรทัดฐานที่ถูกต้องในการปฏิบัติราชการ ศาลปกครอง เป็นศาลที่ใช้ระบบไต่สวน โดยในแต่ละคดีจะมีการพิจารณาโดยองค์คณะของตุลาการ ต่างจากศาลยุติธรรมซึ่งใช้ระบบกล่าวหา ศาลปกครองแบ่งออกเป็น "ศาลปกครองชั้นต้น" และ "ศาลปกครองสูงสุด".

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และศาลปกครอง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ศึกน้ำผึ้งพระจันทร์

ึกน้ำผึ้งพระจันทร์ (Honeymoon Fight!) เป็นรายการเกมโชว์รายการแรกและรายการโทรทัศน์รายการแรกของ บริษัท เซ้นส์ เอนเตอร์เทนเมนท์ จำกัด เริ่มออกอากาศครั้งแรกวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ออกอากาศทุกวันอังคาร เวลา 23.15 - 00.10 น. และทุกวันจันทร์ เวลา 22.30 - 23.30 น. ตามลำดับ ปัจจุบันใช้ชื่อรายการว่า "น้ำผึ้งพระจันทร์" ออกอากาศทุกวันเสาร์ เวลา 16.00 - 17.00 น. ต่อมาเปลี่ยนเวลาเป็นวันจันทร์ เวลา 22.15 - 23.15 น. และตั้งแต่ 28 พฤศจิกายน 2559 เป็นต้นไป เปลี่ยนเวลาใหม่ทุกวันจันทร์ เวลา 20.45 - 21.45 น. ทางช่อง 3 SD มี สมพล ปิยะพงศ์สิริ และ ปาณิสรา พิมพ์ปรุ เป็นพิธีกร ตั้งแต่วันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ได้เปลี่ยนรูปแบบเป็นเกมโชว์อีกครั้ง และ ได้กลับมาใช้ชื่อรายการว่า "ศึกน้ำผึ้งพระจันทร์".

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และศึกน้ำผึ้งพระจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกฤษณา

กุลกฤษณา (Aquilaria) เป็นสกุลหนึ่งของพืชวงศ์กฤษณา (Thymelaeaceae) มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียใต้ พบมากโดยเฉพาะในป่าดิบชื้นของอินโดนีเซีย, ไทย, กัมพูชา, ลาว, เวียดนาม, มาเลเซีย, อินเดียตอนเหนือ, ฟิลิปปินส์ และนิวกินี พรรณไม้ในสกุลนี้ปกติมีเนื้อไม้สีขาว เมื่อเกิดบาดแผล ต้นไม้จะหลั่งสารเคมีออกมาเพื่อรักษาบาดแผลนั้น แต่สารเคมีจะขยายวงกว้างออกไปอีก ก่อให้เกิดเนื้อไม้ซึ่งมีสีดำ กลิ่นหอม เรียกว่า "กฤษณา".

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสกุลกฤษณา · ดูเพิ่มเติม »

สกุลค้อ

''Livistona nitida'' สกุลค้อ หรือ Livistona เป็นสกุลในวงศ์ปาล์มที่มี 36 สปีชีส์ เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสเตรเลีย และจะงอยแอฟริกา ใบรูปพัดเป็นทรงกลม พืชในสกุลนี้ใช้เป็นอาหารได้อะนาฮอว์ (L. rotundifolia) เป็นพืชประจำชาติอย่างไม่เป็นทางการของฟิลิปปินส์ ส่วนค้อ (L. speciosa)เป็นพืชประจำถิ่นในอำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสกุลค้อ · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1 (15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2480) เป็นสภาผู้แทนราษฎรชุดแรกของไทย ได้มาจากการแต่งตั้งและเลือกตั้งโดยอ้อม สภาชุดแรกนี้อยู่ทำหน้าที่จนครบวาระ สภาพผู้แทนราษฎรไทยชุดถัดไปที่อยู่จนครบวาระโดยไม่ถูกยุบสภาหรือรัฐประหารคือ สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 7 และ 21.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10 (10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 219 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512 โดยมาจากการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดโดย จอมพลถนอม กิตติขจร เข้ายึดอำนาจตัวเอง เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11 (26 มกราคม พ.ศ. 2518 - 12 มกราคม พ.ศ. 2519) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 269 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบทางตรง แบบผสม ระหว่างเขตกับแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 โดยมีสาเหตุมาจากพรรคการเมืองร่วมรัฐบาลขาดเอกภาพ ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรค ในการบริหารราชการแผ่นดิน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12 (4 เมษายน - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 279 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบทางตรง แบบผสม ระหว่างเขตกับแบ่งดขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน นำโดย พลเรือเอกสงัด ชลออยู่ เข้ายึดอำนาจการปกครองในประเทศ ในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13 (22 เมษายน พ.ศ. 2522 - 19 มีนาคม พ.ศ. 2526) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 301 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบทางตรงและแบบผสม จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 19 มีนาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 (24 เมษายน พ.ศ. 2526 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 324 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบรวมเขตและแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15 (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 - 29 เมษายน พ.ศ. 2531) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 347 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 การเลือกตั้งในครั้งนี้ ยังคงเป็นรูปแบบทางตรง แบบแบ่งเขตและรวมเขต ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง ในแต่ละเขตเลือกตั้งมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่เกินกว่า 3 คน และไม่น้อยกว่า 2 คน ถือเกณฑ์ราษฏร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16 (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 357 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบรวมเขตและแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยึดอำนาจจากการปกครองแผ่นดินของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) เมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17 (22 มีนาคม พ.ศ. 2535 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2535) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 360 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 17 สิ้นสุดสมาชิกภาพ เนื่องจากมีพระราชกฤษฎีกายุบสภา เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 (13 กันยายน พ.ศ. 2535 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 360 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 18 เกิดขึ้นภายหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ หลังจากนายอานันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ประกาศยุบสภาให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 และถือเป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 2 ในรอบปี หรือที่เรียกกันติดปากว่า "การเลือกตั้ง 2535/2" นั่นเอง การเลือกตั้งในครั้งนี้ ยังคงเป็นรูปแบบทางตรง แบบแบ่งเขตและรวมเขต ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งหนึ่งมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่เกินกว่า 3 คน และไม่น้อยกว่า 2 คน มีจำนวน..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 - 27 กันยายน พ.ศ. 2539) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 391 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2 (10 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 11 กันยายน พ.ศ. 2481) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 182 คน โดยประเภทที่ 1 มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 78 คนจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ครั้งแรก ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 78 คน และมีการแต่งตั้งเพิ่ม 13 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก รัฐบาลพ่ายแพ้การลงมติในสภาฯ กรณี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20 (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 393 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21 (6 มกราคม พ.ศ. 2544 - 5 มกราคม พ.ศ. 2548) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 มีสมาชิกจำนวน 500 คน แบ่งเป็นแบบเขตเลือกตั้ง 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 มีสมาชิกจำนวน 500 คน แบ่งเป็นแบบเขตเลือกตั้ง 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน โดยมีพรรคการเมืองที่ได้รับการเลือกตั้งสูงสุด คือ พรรคไทยรักไทย จำนวน 377 คน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 (23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 480 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 400 คน และการเลือกตั้งแบบสัดส่วน 80 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 500 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 375 คน และการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ 125 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 - 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 178 คน โดยประเภทที่ 1 มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 91 คนจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2481 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ครั้งแรก ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 91 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติอาชญากรสงครามที่รัฐบาลเสนอ เพื่อให้ลงโทษผู้ก่อให้เกิดการปกครองตามลัทธิคอมมิวนิสต.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4 (6 มกราคม พ.ศ. 2489 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 178 คน โดยมาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขต ครั้งแรกทั้งหมด 96 คน และ ครั้งที่สอง 82 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489 และ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ครั้งแรก ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน และ ครั้งที่สอง ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 178 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก พลเอกผิน ชุณหะวัณ เข้ายึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5 (29 มกราคม พ.ศ. 2491 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 246 คน โดยมาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 99 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 99 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดลง เนื่องจาก พลเอกผิน ชุณหะวัณ เข้ายึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 246 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 123 คน และแบบประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นการแต่งตั้ง 123 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 123 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดตามวาระ เนื่องจากสมาชิกประเภทที่ 1 สิ้นสุดสมาชิก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8 (26 กุมภาพันธ์ - 16 กันยายน พ.ศ. 2500) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 283 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 160 คน และแบบประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นการแต่งตั้ง 123 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 160 คน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เข้ายึดอำนาจการปกครองประเทศ เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2500.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9 (15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 283 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 160 คน และแบบประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นการแต่งตั้ง 123 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 160 คน อยู่ในตำแหน่ง 5 ปี (ตามกฎหมายกำหนด) สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เข้ายึดอำนาจการปกครองประเทศ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

สยามแม็คโคร

ทความนี้เกี่ยวกับบริษัทค้าส่งในประเทศไทย สำหรับความหมายอื่นดูที่ แม็คโคร บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) (SIAM MAKRO PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:MAKRO) เป็นธุรกิจค้าส่งในเครือเจริญโภคภัณฑ์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสยามแม็คโคร · ดูเพิ่มเติม »

สวนพฤกษศาสตร์

วนพฤกษศาสตร์ เป็นสถาบันทางวิชาการที่เป็นแหล่งรวบรวมพรรณพืชต่างๆ เอาไว้เพื่อทำการอนุรักษ์ ศึกษา วิจัยทางวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะทางด้านพฤกษศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ว่าด้วยพืช โดยมากจะมีการปลูกรวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่ ตามแต่ละนโยบาย ลักษณะพื้นที่ และงบประมาณของสวนพฤกษศาสตร์นั้นๆ เช่น สวนกล้วยไม้ สวนสมุนไพร สวนพืชให้สี สวนพืชมีพิษ หรือ ตามการจัดจำแนกพืชเป็นวงศ์ต่างๆ เช่น วงศ์ปาล์ม วงศ์ขิงข่า เป็นต้น โดยสวนพฤกษศาสตร์ที่มีมาตรฐานจะมีองค์ประกอบที่สำคัญ เช่น แปลงรวบรวมพรรณพืช ห้องสมุด หอพรรณไม้ ห้องปฏิบัติการ นอกจากงานด้านอนุรักษ์พืชแล้ว ยังเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพืชสำหรับการศึกษาของนักวิจัย นักเรียนนักศึกษา หรือตอบสนองต่อการเป็นแหล่งท่องเที่ยวและสถานพักผ่อนหย่อนใจ ซึ่งแนวโน้มในปัจจุบันสวนพฤกษศาสตร์จะต้องตอบสนองต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ เช่น การเป็นแหล่งพันธุกรรมให้แก่ชุมชนในท้องถิ่น Curitiba, ประเทศบราซิล.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสวนพฤกษศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สวนสัตว์เปิดเขาค้อ

จามรีในสวนสัตว์เปิดเขาค้อ สวนสัตว์เปิดเขาค้อ หรือ สถานีวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าเพื่อเศรษฐกิจเขาค้อ ตั้งอยู่บนเขาค้อ อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ มีสัตว์ป่าหลายชนิดในสวนสัตว์ เช่น สมเสร็จ ละมั่ง เก้ง วัวแดง นกยูง และจามรีที่เพิ่งได้รับรับมาจากธิเบต ประเทศจีน ภายในสวนสัตว์มีบ้านพักรับรองอยู่ในสวนสัตว์ ท่านสามารถเข้าชมเว็บไซต์ของ สวนสัตว์เปิดเขาค้อ ได้ที่ หมวดหมู่:สวนสัตว์ในประเทศไทย หมวดหมู่:จังหวัดเพชรบูรณ์.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสวนสัตว์เปิดเขาค้อ · ดูเพิ่มเติม »

สำราญศักดิ์ สิงห์มนัสศักดิ์

ำราญศักดิ์ สิงห์มนัสศักดิ์ หรือนายโอภาส เนียมเปรม เป็นชาวจังหวัดเพชรบูรณ์ เกิดเมื่อ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 สถิติการชก 55 ครั้ง ชนะ 34(น็อค 26)เสมอ 1 แพ้ 20.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสำราญศักดิ์ สิงห์มนัสศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ

ำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ (Office of Police Forensic Science) หน่วยงานระดับกองบัญชาการ ส่วนงานสนับสนุนป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยเป็นที่รู้จักในชื่อ กองพิสูจน์หลักฐาน, สำนักงานวิทยาการตำรวจ มีภารกิจในการสนับสนุนงานป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม โดยใช้วิทยาการสมัยใหม่ในการตรวจหาและเพิ่มน้ำหนักพยานหลักฐานในทางคดีให้มีประสิท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสำนักงานพิสูจน์หลักฐานตำรวจ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย

ำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย (The Civil Aviation Authority of Thailand, ชื่อย่อ: กพท., CAAT) ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการเดินอากาศ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการบินพลเรือนของประเทศ พัฒนาเครือข่ายระบบการขนส่งทางอากาศ อุตสาหกรรมการบินและการบินพลเรือน กำหนดมาตรฐาน กำกับ ดูแลและตรวจสอบการดำเนินการด้านการบินพลเรือน ร่วมมือและประสานงานกับองค์การหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศ และต่างประเทศในด้านการบิน พลเรือน และในส่วนที่เกี่ยวกับอนุสัญญาและความตกลงระหว่างประเทศ เนื่องจากกรมดูแลเฉพาะการบินเชิงพาณิชย์และพลเรือนเท่านั้น ไม่ได้ควบคุมการบินของทหารและตำรวจ ตราราชการเดิมของกรมการบินพลเรือน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) หรือ "กรมอาชีวศึกษา" (เดิม) เป็นหนึ่งในห้าหน่วยงานหลักของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบกำกับดูแลงานการศึกษาในด้านการอาชีวศึกษา เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการการอาชีวศึกษ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สำเนียงโคราช

ษาไทยสำเนียงโคราช (Khorat dialect) เป็นภาษาไทยกลุ่มหนึ่งที่ใช้พูดกันในจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดใกล้เคียง เป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาไทยกลาง ที่ออกสำเนียงเหน่อ และมีคำศัพท์ร่วมกับภาษาไทยกลาง และรับคำมาใช้จากภาษาไทยถิ่นอีสาน ภาษาลาว และภาษาเขมร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสำเนียงโคราช · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิศักดิ์ ตาระพัน

ทธิศักดิ์ ตาระพัน เป็นนักฟุตบอลชาวไทย ปัจจุบัน เขาทำหน้าที่ร่วมกับสโมสรฟุตบอลราชนาวีในการแข่งขันไทยพรีเมียร์ลีก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสิทธิศักดิ์ ตาระพัน · ดูเพิ่มเติม »

สุภาพ ไชยวิสุทธิกุล

วิสุทธิกุล (ชื่อเล่น ติ่ง) เกิด 27 มีนาคม พ.ศ. 2505 เป็นนักพากย์ชายชาวไทย ที่มีน้ำเสียงและลีลาการพากย์หาตัวจับยากคนหนึ่งของวงการ สามารถพากย์ได้ดีทั้งบทพระเอก บทขรึม ตัวโกง หรือแม้แต่ ตัวตลก ปัจจุบันพากย์เสียงอยู่กับ ทีมพากย์พันธมิตร รวมทั้งพากย์เสียงให้กับทาง ช่อง 9 อสมท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสุภาพ ไชยวิสุทธิกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์

นายสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์ (เกิด 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2496) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ เขต 5 และประธานคณะกรรมาธิการพาณิชย์และทรัพย์สินทางปัญญา สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2539 ในสังกัดพรรคกิจสังคม ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา

ริยุปราคาเต็มดวง พ.ศ. 2542 สุริยุปราคา หรือ สุริยคราส เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ เกิดขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก โคจรมาเรียงอยู่ในแนวเดียวกันโดยมีดวงจันทร์อยู่ตรงกลาง เกิดขึ้นเฉพาะในวันที่ดวงจันทร์มีดิถีตรงกับจันทร์ดับ เมื่อสังเกตจากพื้นโลกจะเห็นดวงจันทร์เคลื่อนเข้ามาบดบังดวงอาทิตย์ โดยอาจบังมิดหมดทั้งดวงหรือบางส่วนก็ได้ ในแต่ละปีสามารถเกิดสุริยุปราคาบนโลกได้อย่างน้อย 2 ครั้ง สูงสุดไม่เกิน 5 ครั้ง ในจำนวนนี้อาจไม่มีสุริยุปราคาเต็มดวงเลยแม้แต่ครั้งเดียว หรืออย่างมากไม่เกิน 2 ครั้ง โอกาสที่จะได้เห็นสุริยุปราคาเต็มดวงสำหรับสถานที่ใดสถานที่หนึ่งบนพื้นโลกนั้นค่อนข้างยาก เนื่องจากสุริยุปราคาเต็มดวงแต่ละครั้งจะเกิดในบริเวณแคบ ๆ ภายในแถบที่เงามืดของดวงจันทร์พาดผ่านเท่านั้น สุริยุปราคาเต็มดวงเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่สวยงาม น่าตื่นเต้น และสร้างความประทับใจแก่คนที่ได้ชม ผู้คนจำนวนมากต่างพากันเดินทางไปยังดินแดนอันห่างไกลเพื่อคอยเฝ้าสังเกตปรากฏการณ์นี้ สุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสุริยุปราคา · ดูเพิ่มเติม »

สุจินต์ จินายน

ตราจารย์ ดร.สุจินต์ จินายน ศาสตราจารย์ สุจินต์ จินายน (12 เมษายน พ.ศ. 2478 -) ศาสตราจารย์สาขาพันธุศาสตร์ และการปรับปรุงพันธุ์พืช ได้รับการคัดเลือกให้เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาเกษตรศาสตร์ และชีววิทยา เมื่อปี พ.ศ. 2533 เคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร เมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสุจินต์ จินายน · ดูเพิ่มเติม »

สุทัศน์ จันทร์แสงศรี

นายสุทัศน์ จันทร์แสงศรี (เกิด 29 มีนาคม พ.ศ. 2500) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตเคยดำรงตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภา และเป็นอดีตหัวหน้าพรรคประชาภิวัฒน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสุทัศน์ จันทร์แสงศรี · ดูเพิ่มเติม »

สีเขียว

ีเขียว เป็นสีสีหนึ่งบนคลื่นที่ตามองเห็น ตั้งอยู่ระหว่างสีน้ำเงินและสีเหลือง สีเขียวเกิดจากแสงที่ความยาวคลื่นประมาณ 495-570 นาโนเมตร สีเขียวในแม่สีเชิงลบที่ใช้สำหรับระบายสีและพิมพ์สีเกิดจากสีเหลืองผสมกับสีน้ำเงิน หรือสีเหลืองผสมกับสีน้ำเงินอมเขียว ในระบบสี RGB ที่พบในโทรทัศน์และจอคอมพิวเตอร์ เป็นสีที่มาจากแม่สีเชิงบวก ร่วมกับสีแดงและสีน้ำเงิน ซึ่งต่างก็ผสมกันจนกลายเป็นสีอื่น ๆ ได้ ในภาษาอังกฤษใหม่ คำว่า green (สีเขียว) มาจากคำภาษาอังกฤษกลางว่า grene จากรากศัพท์ภาษาเยอรมันเดียวกันกับคำว่าคำว่า "grass" และ "grow" สีเขียวเป็นสีของการปลูกหญ้าและใบไม้ ด้วยเหตุนี้สีเขียวจึงเป็นสีของฤดูใบไม้ผลิ ความเจริญเติบโต และธรรมชาติEva Heller, Psychologie de la couleur- effets et symboliques.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสีเขียว · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตเพชรบูรณ์

ันการพลศึกษา วิทยาเขตเพชรบูรณ์ (Institute of Physical Education Phetchabun) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดเพชรบูรณ์ โดยเป็น 1 ใน 17 วิทยาเขต ของสถาบันการพลศึกษา และใน 4 วิทยาเขต ในภาคเหนือ ปัจจุบันเปิดสอนในหลักสูตรปริญญาตรี ในคณะศึกษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตเพชรบูรณ์ เป็นสถาบันอุดมศึกษามีวัตถุประสงค์ในการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางพลศึกษา การกีฬา วิทยาศาสตร์การกีฬา วิทยาศาสตร์สุขภาพ นันทนาการและบุคลากรในด้านที่เกี่ยวข้อง มีภารกิจทำการสอน ทำการวิจัย ให้บริการทางวิชาการ การให้บริการชุมชน การใช้และการจัดการศึกษาสำหรับบุคคลที่มีความสามารถพิเศษทางกีฬา นันทนาการ และบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย รวมถึงการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การเล่นพื้นบ้านและกีฬาไทยและการประกันคุณภาพการศึกษ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟตะพานหิน

นีรถไฟตะพานหิน เป็นสถานีรถไฟระดับ 1 อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพเป็นระยะทาง 319 กิโลเมตร ตั้งอยู่เขตเทศบาลเมืองตะพานหิน ตำบลในเมือง อำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร อำเภอทับคล้อ อำเภอโพทะเล อำเภอโพธิ์ประทับช้าง จังหวัดพิจิตรและอำเภอชนแดน อำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ สามารถมาขึ้นที่สถานีได้ เนื่องจากในอดีตอำเภอตะพานหิน เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในจังหวัดพิจิตร แล้วมีรถจอดทุกขบวน ปัจจุบันขบวน 1/2 11/10และ13/14 ไม่มีการหยุดรับส่งผู้โดยสารที่สถานีนี้แล้ว เนื่องจากในอำเภอเมือง มีความเจริญขึ้นมา แทนอำเภอตะพานหินแทน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสถานีรถไฟตะพานหิน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

นีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (Royal Thai Army Radio and Television; ชื่อย่อ: ททบ.) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) ของกองทัพบกไทย และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่สองของประเทศไทย เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 25 มกราคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ส่วนภูมิภาค

นีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ส่วนภูมิภาค เป็นหนึ่งในกลุ่มสถานีโทรทัศน์แห่งเดียวในประเทศไทย ดำเนินการแบบหน่วยงานราชการของรัฐบาลไทย ที่ออกอากาศภาคพื้นดินในส่วนภูมิภาคเท่านั้น ดำเนินการโดย กรมประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี เป็นกลุ่มดำเนินการในรูปแบบสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติของประเทศไทย ที่ทำการแพร่ภาพออกอากาศในต่างจังหวัด ซึ่งเริ่มต้นเมื่อปี พ.ศ. 2498 เป็นต้นม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ส่วนภูมิภาค · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดนครราชสีมา

ปราสาทหินพนมวัน ปราสาทหินพิมาย อช.เขาใหญ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

สด ปูนอินทรียิม

ปูนอินทรียิม มีชื่อจริงว่า อนุสรณ์ ยอดจันทร์ เกิดเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสด ปูนอินทรียิม · ดูเพิ่มเติม »

สงกรานต์ อุดมสิทธิ์

ันตำรวจตรี สงกรานต์ อุดมสิทธิ์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย รวม 5 สมัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสงกรานต์ อุดมสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สงคราม ป.เปาอินทร์

งคราม ป.เปาอินทร์ อดีตแชมป์เฉพาะกาลของสมาคมมวยโลก (WBA) และแชมป์ของสมาคมมวยแห่งทวีปเอเชีย (PABA) ในรุ่นมินิมั่มเวท (พิกัดน้ำหนัก 105 ปอนด์) เป็นน้องชายฝาแฝดของ ชนะ ป.เปาอินทร์ อดีตแชมป์โลกในรุ่นเดียวกันนี้ของ WBA สงคราม เกิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2509 ที่บ้านเลขที่ 191 หมู่ 12 บ้านน้ำหลุม ตำบลบ้านกลาง อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ มีชื่อจริงว่า ค้ำ หมดมา เป็นบุตรชายของนายหำ และนางทองปาน หมดมา สงครามแท้ที่จริงแล้วเป็นพี่ชายของชนะ โดยคลอดก่อน แต่ตามความเชื่อของชาวพื้นบ้านที่ว่า ฝาแฝดที่คลอดทีหลังจะเป็นพี่ สงครามจึงกลายเป็นพี่ชายของชนะไปตามความเชื่อนี้ การศึกษาจบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม.6) เมื่อชนะได้เป็นแชมป์โลกแล้ว ทางผู้จัดการคือ "แชแม้" นิวัฒน์ เหล่าสุวรรณวัฒน์ ต้องการจะสร้างสงครามให้เป็นแชมป์โลกฝาแฝดอีกคน เหมือนเช่น เขาทราย-เขาค้อ แกแล็คซี่ ซึ่งเป็นคู่แชมป์โลกฝาแฝดคู่แรกของตนที่เคยโด่งดังมาก่อน ก่อนจะมาชกมวยสากล สงครามเคยชกมวยไทยมาก่อน และเป็นแชมป์ถึง 5 สมัย ของสนามมวยเวทีลุมพินี โดยเริ่มการชกมวยไทยจากแถบจังหวัดภาคเหนืออันเป็นบ้านเกิด เป็นรองแชมป์ของภูมิภาค ใช้ชื่อว่า "ลมเหนือ ศักดิ์ชัยณรงค์" ในปลายปี พ.ศ. 2538 เมื่อชนะเสียแชมป์โลกให้กับ โรเซนโด อัลวาเรซ นักมวยชาวนิคารากัวไปอย่างไม่คาดฝัน ในต้นปี พ.ศ. 2540 สงครามจึงได้มีโอกาสขึ้นชิงแทน แต่ปรากฏว่าเป็นฝ่ายแพ้น็อกไปอย่างหมดรูป ต่อมาในต้นปี พ.ศ. 2542 สงครามจึงได้มีโอกาสชิงแชมป์อีกครั้ง แต่เป็นแชมป์เฉพาะกาล กับ รอนนี่ มากราโม นักมวยชาวฟิลิปปินส์ ที่พัทยา โดยเกิดอุบัติเหตุหัวทั้งคู่ชกกันเกิดเป็นแผลแตก เมื่อรวมคะแนนกันแล้ว สงครามเป็นฝ่ายชนะคะแนนไปอย่างค้านสายตา แต่ต่อมาทางสมาคมมวยโลกก็ได้ปลดสงครามออกจากตำแหน่ง ปัจจุบัน สงครามได้แขวนนวมแล้วพร้อมกับชนะ พี่ชายฝาแฝด โดยก่อนแขวนนวมได้เดินทางไปชกที่ประเทศญี่ปุ่น อยู่ 2 ครั้งด้วย รวมสถิติการชกทั้งหมด 30 ครั้ง ชนะ 23 (น็อค 12) เสมอ 2 แพ้ 5 ซึ่งหลังแขวนนวมแล้ว ปรากฏว่าทั้งสงครามและชนะมีข่าวคราวว่า มีสภาพความเป็นอยู่ที่ไม่ค่อยดีนัก และต้องการความช่วยเหลือ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสงคราม ป.เปาอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอะแซหวุ่นกี้

้นทางการเดินทัพของพม่าทั้ง3ทาง สงครามอะแซหวุ่นกี้ เป็นสงครามระหว่างอาณาจักรธนบุรีและพม่าครั้งสำคัญที่สุด ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2318 - กันยายน พ.ศ. 2319 โดยทางฝั่งพม่ามี อะแซหวุ่นกี้ แม่ทัพใหญ่วัย 72 ปีเป็นผู้นำทัพ ส่วนทางฝั่งกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงนำทัพด้วยพระองค์เอง Phayre, pp.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสงครามอะแซหวุ่นกี้ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย

อาณาเขตของประเทศไทยระหว่างสงคราม สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สนิท วรปัญญา

นายสนิท วรปัญญา อดีตอธิบดีกรมส่งเสริมการส่งออก อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดลพบุรี และเป็นอดีตประธานวุฒิสภาคนแรกที่มาจากการเลือกตั้ง.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสนิท วรปัญญา · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลพัทยา ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2561

มสรฟุตบอลพัทยา ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2561 เป็นฤดูกาลที่ 12 ติดต่อกันของ พัทยา ยูไนเต็.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสโมสรฟุตบอลพัทยา ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2561 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลจังหวัดเพชรบูรณ์

มสรฟุตบอลเพชรบูรณ์ เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย โดยเป็นทีมจากจังหวัดเพชรบูรณ์ ปัจจุบันเล่นใน ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสโมสรฟุตบอลจังหวัดเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าหนวดแมว

หญ้าหนวดแมว (ชื่อพ้อง: O. grandiflorus Bold, O. stamineus Benth.) หรือ พยับเมฆ (กรุงเทพฯ), อีตู่ดง (เพชรบูรณ์), บางรัก (ประจวบคีรีขันธ์) อยู่ในวงศ์ Lamiaceae (Labiatae) ซึ่งเป็นพืชที่จัดอยู่ในพวกเดียวกับกะเพราและโหร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และหญ้าหนวดแมว · ดูเพิ่มเติม »

หมายเลขโทรศัพท์ในประเทศไทย

หมายเลขโทรศัพท์ในประเทศไทย โดยพื้นฐานจะประกอบด้วยตัวเลข 9-10 หลัก ขึ้นต้นด้วย 0 หมายถึงการโทรศัพท์ภายในประเทศ เว้นแต่ 00 คือการโทรศัพท์ออกต่างประเทศ และตัวเลขที่ถัดจาก 0 ก็คือรหัสโทรศัพท์ทางไกลระดับภูมิภาค หรือรหัสสำหรับโทรศัพท์เคลื่อนที.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และหมายเลขโทรศัพท์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรี

หม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรี (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2458 - 6 ธันวาคม พ.ศ. 2540) สถาปนิก ออกแบบสถาปัตยกรรมไทยมีความชำนาญในการออกแบบผูกลาย ได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) ประจำปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และหม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรี · ดูเพิ่มเติม »

หลวงพ่อเขียน วัดสำนักขุนเณร

หลวงพ่อเขียน ธัมมรักขิโต พระเกจิดังแห่ง วัดสำนักขุนเณร ต.วังตะกู อ.บางมูลนาก จ.พิจิตร พระอริยสงฆ์ผู้ทรงวาจาศักสิทธิ์เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของเหล่าสาธุชนและคณะศิษยานุศิษย์ มีความเชี่ยวชาญวิทยาคมเป็นที่เลื่องลือไปทั่วสารทิศ จนได้รับการยกย่องจากชาวเมืองพิจิตร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และหลวงพ่อเขียน วัดสำนักขุนเณร · ดูเพิ่มเติม »

หลวงลิขิตปรีชา (ปลอบ โรจนกุล)

หลวงลิขิตปรีชา (พ.ศ. 23?? - พ.ศ. 2418) เดิมชื่อ ปลอบ เป็นข้าหลวงปลัดกรมกองรายงานหนังสือไปมา ตำแหน่งเจ้ากรมพระอาลักษณ์ ฝ่ายวังหน้า (เทียบเท่ากับออกญาศรีภูริยปรีชาราชเสนาบดีศรีสารลักษณ์ วังหลวง) และราชเลขานุการในพระองค์ และเป็นนักกวีในสมัยรัชกาลที่ 2 - รัชกาลที่ 3 ถือศักดินา 1,500 (บางตำราก็ว่าถือศักดินา 1,800) ปรากฏในทำเนียบตำแหน่งข้าราชการ ฝ่ายพระราชวังบวรสถานมงคล ซึ่งเป็นทำเนียบในสมัยพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว บิดาชื่อนายพันโท หลวงพิสณฑ์ยุทธการ (ปึก โรจนกุล) ถือศักดินา 2000 สืบสกุล "โรจนกุล" ต้นสกุลคือ เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง).

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และหลวงลิขิตปรีชา (ปลอบ โรจนกุล) · ดูเพิ่มเติม »

หลักกิโลเมตร

หลักไมล์ในเมืองโคลัมบัส รัฐโอไฮโอ หลักกิโลเมตร หรือ หลักไมล์ เป็นเครื่องหมายอย่างหนึ่งที่กำกับด้วยตัวอักษรและตัวเลข ส่วนมากจะเป็นเสาหินหรือเสาปูนเตี้ยๆ แล้วจารึกหรือเขียนตัวอักษรด้วยสี ติดตั้งไว้เป็นระยะๆ เท่ากัน (ทุก 1 กิโลเมตรหรือ 1 ไมล์) ตลอดเส้นทางที่ริมถนนหรือระยะโดยเฉลี่ยตรงกลางถนน จุดประสงค์ของการสร้างหลักกิโลเมตรเพื่อเป็นการบอกผู้เดินทางว่า ได้เดินทางมาเป็นระยะทางเท่าใดแล้ว หรืออีกไกลเท่าไรกว่าจะถึงจุดหมาย สำหรับการเลือกใช้หลักกิโลเมตรหรือหลักไมล์ ขึ้นอยู่กับว่าในประเทศนั้นนิยมการวัดความยาวในระบบอังกฤษหรือระบบเมตริก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และหลักกิโลเมตร · ดูเพิ่มเติม »

หนองไผ่

หนองไผ่ สามารถหมายถึงสถานที่ที่มีชื่อเดียวกันในอำเภอและจังหวัดต่าง ๆ ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และหนองไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอชัยบาดาล

ัยบาดาล เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลพบุรี ในอดีตมีพื้นที่กว้างขวางมาก ครอบคลุมพื้นที่อำเภอท่าหลวงและอำเภอลำสนธิในปัจจุบัน และเคยได้ถูกเสนอจัดตั้งเป็นศูนย์กลางของจังหวัดพระนารายณ์ เมื่อปี พ.ศ. 2546 และปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอชัยบาดาล · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบึงสามพัน

อำเภอบึงสามพัน เป็นอำเภอหนึ่งทางตอนใต้ของจังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นอำเภอที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วเนื่องจากมีจุดตัดทางถนนระหว่างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21 (สระบุรี–หล่มสัก) กับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 225 (นครสวรรค์–ชัยภูมิ) อีกทั้งเป็นอำเภอทางผ่านไปสู่ตัวจังหวัด จึงทำให้สะดวกทั้งการค้าขายและการเดินทาง อำเภอบึงสามพันเป็นอำเภอที่มีทิวทัศน์ที่สวยงามอีกแห่งหนึ่งของจังหวั.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอบึงสามพัน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอชนแดน

นแดน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอชนแดน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอภักดีชุมพล

อำเภอภักดีชุมพล เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชัยภูม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอภักดีชุมพล · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอภูกระดึง

อำเภอภูกระดึง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเล.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอภูกระดึง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอภูหลวง

อำเภอภูหลวง เป็นอำเภอเล็ก ๆ แห่งหนึ่งในจังหวัดเลย ประชากรมีอาชีพทำนา ทำสวนผลไม้ และพืชไร่เป็นหลัก มีแหล่งท่องเที่ยวอยู่มากแต่ไม่เป็นที่รู้จักของคนทั่วไปนัก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอภูหลวง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอภูผาม่าน

อำเภอภูผาม่าน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดขอนแก่น.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอภูผาม่าน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอลำสนธิ

อำเภอลำสนธิ ตั้งอยู่ในจังหวัดลพบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอลำสนธิ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวังสะพุง

อำเภอวังสะพุง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเล.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอวังสะพุง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวังทอง

อำเภอวังทอง เป็น 1 ใน 9 อำเภอของจังหวัดพิษณุโลกห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 17 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอวังทอง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวังโป่ง

อำเภอวังโป่ง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอวังโป่ง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวิเชียรบุรี

อำเภอวิเชียรบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอวิเชียรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอศรีเทพ

อำเภอศรีเทพ ตั้งอยู่ในจังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นอำเภอแรกทางตอนใต้ของจังหวัด เป็นอำเภอที่มีเขตติดต่อกับเขตจังหวัดลพบุรี อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร 218 กิโลเมตร อำเภอศรีเทพถือว่าเป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน และยังมีอุทยานประวัติศาสตร์ให้ศึกษา ปัจจุบันศรีเทพได้พัฒนาเรื่อยมาตามลำดับ โดยเฉพาะเมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอศรีเทพ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหล่มสัก

อำเภอหล่มสัก เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นอำเภอขนาดใหญ่ มีเนื้อที่ประมาณ 1,535.3 ตารางกิโลเมตร อยู่ห่างจากตัวเมืองประมาณ 44 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอหล่มสัก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหล่มเก่า

อำเภอหล่มเก่า ตั้งอยู่ในจังหวัดเพชรบูรณ์ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบสลับกับพื้นที่สูง จุดที่สูงที่สุดคือ ภูทับเบิกสูง 1768 เมตรจากระดับน้ำทะเล.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอหล่มเก่า · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองบัว

หนองบัว เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครสวรร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอหนองบัว · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองบัวระเหว

อำเภอหนองบัวระเหว เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชัยภูม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอหนองบัวระเหว · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองบัวแดง

อำเภอหนองบัวแดง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชัยภูม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอหนองบัวแดง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองไผ่

อำเภอหนองไผ่ เป็นอำเภอหนึ่งตั้งอยู่ทางตอนใต้ของจังหวัดเพชรบูรณ์ มีพื้นที่ 1,360.2 ตารางกิโลเมตร ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอหนองไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอทองแสนขัน

ทองแสนขัน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมอยู่ในเขตปกครองของอำเภอตรอน และได้ขอแยกท้องที่เพื่อจัดตั้งกิ่งอำเภอเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2526 และได้ยกฐานะเป็นอำเภอตั้งแต่วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2533.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอทองแสนขัน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอทับคล้อ

ทับคล้อ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดพิจิตร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอทับคล้อ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอดงเจริญ

งเจริญ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดพิจิตร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอดงเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอด่านซ้าย

ระธาตุศรีสองรัก อำเภอด่านซ้าย อำเภอด่านซ้าย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเล.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอด่านซ้าย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอคอนสาร

อนสาร เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชัยภูมิ ถือว่าเป็นประตูเข้าสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจากทางภาคเหนือ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอคอนสาร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอนครไทย

นครไทย เป็น 1 ใน 9 อำเภอของจังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอนครไทย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอน้ำหนาว

อำเภอน้ำหนาว ตั้งอยู่ในจังหวัดเพชรบูรณ์ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ภูเขาสูง มีเขตป่าอุทยานแห่งชาติน้ำหนาว ประชากรส่วนใหญ่พูดภาษา "ไทหล่ม" เช่นเดียวกับ อำเภอหล่มเก่า และ อำเภอหล่มสัก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอน้ำหนาว · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโคกเจริญ

อำเภอโคกเจริญ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลพบุรี ยกฐานะจากกิ่งอำเภอโคกเจริญ ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอโคกเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอไพศาลี

ลี เป็นอำเภอในจังหวัดนครสวรรค์ พระพุทธรูปสำคัญอำเภอไพศาลี หลวงพ่อดำ วัดสระทะเล.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอไพศาลี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองเพชรบูรณ์

อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเทพสถิต

อำเภอเทพสถิต เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชัยภูม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอเทพสถิต · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเทพารักษ์

อำเภอเทพารักษ์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอเทพารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเขาค้อ

อำเภอเขาค้อ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอเขาค้อ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเนินมะปราง

อำเภอเนินมะปราง เป็น 1 ใน 9 อำเภอของจังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอเนินมะปราง · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ

อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ หินแกะสลัก ศิลาจารึกหิน ปรางค์สองพี่น้อง อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ เป็นโบราณสถานสำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดเพชรบูรณ์ อุทยานมีพื้นที่ครอบคลุมโบราณสถานในเมืองเก่าศรีเทพ ศรีเทพเป็นเมืองโบราณที่อยู่ในท้องที่อำเภอศรีเทพ เดิมมีชื่อว่า "เมืองอภัยสาลี" ถูกค้นพบเมื่อสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสด็จไปตรวจราชการมณฑลเพชรบูรณ์ และได้ทรงเรียกเมืองนี้เสียใหม่ว่า "เมืองศรีเทพ" เมื่อปี พ.ศ. 2447-2448 เมืองโบราณศรีเทพนี้มีลักษณะเป็นเมืองซ้อนเมืองขนาดใหญ่ ที่ตั้งของเมืองอยู่ในชุมทาง ที่สามารถติดต่อกับภาคอื่น ๆ ได้สะดวก ดังนั้นจึงได้รับอิทธิพลทางศิลปวัฒนธรรมจากอาณาจักรข้างเคียง มาผสมผสาน เช่น ศิลปะทวารวดี ศิลปะขอม เป็นต้น เมืองศรีเทพสร้างขึ้นในยุคของขอมเรืองอำนาจ ซึ่งคาดว่ามีอายุไม่ต่ำกว่า 1,000 ปี โดยดูจากหลักฐานทางสถาปัตยกรรม ศิลปกรรม และวัฒนธรรมที่ตกทอดมาถึงปัจจุบัน ซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวและมีความเจริญสูงสุดทางด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรม สันนิษฐานว่าเจริญอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 11 ถึงพุทธศตวรรษที่ 16 อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพได้รับรางวัล Thailand Tourism Award ประจำปี 2543 2 รางวัลคือ รางวัลประเภทแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมโบราณสถานยอดเยี่ยมและรางวัลสื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ด้านอินเทอร์เน็ตดีเด่น.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติภูกระดึง

อุทยานแห่งชาติภูกระดึง ตั้งอยู่ที่อำเภอภูกระดึงในจังหวัดเลย เป็นหนึ่งในแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของประเทศไทย เนื่องจากมีธรรมชาติที่สวยงาม ในแต่ละปีจึงมีคนมาเที่ยวเฉลี่ยหลายหมื่นคน โดยเฉพาะในช่วงวันหยุดยาวมักมีนักท่องเที่ยวขึ้นไปพักผ่อนบนภูกระดึงจำนวนมาก ภูกระดึงได้รับการจัดตั้งเป็นป่าสงวนแห่งชาติในปี พ.ศ. 2486 และเป็นอุทยานแห่งชาติเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2502 โดยเป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่สองถัดจากอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อุทยานตั้งอยู่ในท้องที่ตำบลศรีฐาน อำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย ครอบคลุมพื้นที่ 348.12 ตารางกิโลเมตร (217,575 ไร่) ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาหินทรายยอดตัด โดยมีที่ราบบนยอดภูกระดึง ประมาณ 60 ตารางกิโลเมตร (37,500 ไร่) มีความสูงอยู่ระหว่าง 400-1,200 เมตรจากระดับน้ำทะเล จุดสูงสุดอยู่ที่บริเวณคอกเมย มีความสูง 1,316 เมตร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอุทยานแห่งชาติภูกระดึง · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า

อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งที่ 48 ของประเทศ และนับเป็นแห่งที่14 ของภาคเหนือ ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 307 ตารางกิโลเมตร หรือ 191,875 ไร่ ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2527 ซึ่งตั้งครอบคลุมพื้นที่รอยต่อของสามจังหวัด คือ อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย และอำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ภูหินร่องกล้าอันเป็นแหล่งกำเนิดของประวัติศาสตร์การสู้รบอันยาวนาน เป็นวีรกรรมของนักรบไทยที่เกิดขึ้น ณ ที่นี้ ตลอดจนสภาพสิ่งก่อสร้างในอดีตได้ถูกบันทึกเก็บรักษาไว้.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง

ทุ่งแสลงหลวง หรือที่รู้จักกันดีในนาม “ทุ่งหญ้าสะวันนาแห่งเมืองไทย” เป็นอุทยานแห่งชาติที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ มีเนื้อที่ประมาณ 789,000 ไร่หรือ 1,262.40 ตารางกิโลเมตร ทุ่งแสลงหลวงมีพื้นที่ครอบคลุม อ.วังทอง อ.นครไทย อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก และใน อ.เขาค้อ อ.วังโป่ง จ.เพชรบูรณ์ สำหรับชื่อของอุทยานแห่งชาติมีการสันนิษฐานว่ามีการตั้งชื่อตามพันธุ์ไม้ชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในพื้นที่ป่าแห่งนี้ คือ ต้นแสลงใจ ซึ่งมีขึ้นอยู่เป็นจำนวนมาก ประกอบกับมีสภาพภูมิประเทศเป็นเนิน มีป่าหลายชนิด และสัตว์ป่าชุกชุม เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2502 ป่าทุ่งแสลงหลวงและพื้นที่ป่าอื่นๆในจังหวัดต่างๆ ได้รับการก่อตั้งให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งอุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวงมีสภาพธรรมชาติ และลักษณะทางธรรมชาติที่สวยงามหลายแห่ง อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพันธุ์ไม้สัตว์ป่านานาชนิดซึ่งเป็นสถานที่ที่เหมาะแก่การไปท่องเที่ยว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติน้ำหนาว

อุทยานแห่งชาติน้ำหนาว เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ในท้องที่อำเภอหล่มเก่า อำเภอหล่มสัก อำเภอน้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ และอำเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ เป็นอุทยานแห่งชาติที่สวยที่สุดแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นแนวเขตกั้นระหว่างภาคอีสานและภาคเหนือ สภาพพื้นที่ทั่วไปเป็นเทือกเขาสูง มีสภาพป่าอุดมสมบูรณ์ เป็นต้นน้ำลำธาร มีทิวทัศน์ธรรมชาติที่สวยงามหลายแห่ง มีเนื้อที่ประมาณ 603,750 ไร่ หรือ 966 ตารางกิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอุทยานแห่งชาติน้ำหนาว · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติในประเทศไทย

น้ำตกเหวสุวัต อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อุทยานแห่งชาติในประเทศไทย เกิดขึ้นจากพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาต..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอุทยานแห่งชาติในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติเขาค้อ

อุทยานแห่งชาติเขาค้อ เป็นอุทยานแห่งชาติในท้องที่อำเภอหล่มเก่า อำเภอหล่มสัก อำเภอเขาค้อ และอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอุทยานแห่งชาติเขาค้อ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบลซับสมบูรณ์

องค์การบริหารส่วนตำบลซับสมบูรณ์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และองค์การบริหารส่วนตำบลซับสมบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

อ่างเก็บน้ำห้วยป่าแดง

อ่างเก็บน้ำห้วยป่าแดง เป็นอ่างเก็บน้ำชลประทานเพื่อใช้ในการเกษตรกรรม การอุตสาหกรรม และการอุปโภคบริโภคในเขตเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 3 บ้านป่าแดง ตำบลป่าเลา อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ เดิมอ่างเก็บน้ำห้วยป่าแดงเป็นฝายกักเก็บน้ำที่ประชาชนในเขตพื้นที่นั้นร่วมกันสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการเกษตรกรรมเนื่องจากพื้นที่บริเวรนั้นเป็นพื่นที่เกษตรกรรมทั้งหมด จึงสร้างเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำทำนา นอกจากนี้ปัจจุบันยังกักเก็บน้ำไว้เพื่อการประปา เริ่มก่อสร้างตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอ่างเก็บน้ำห้วยป่าแดง · ดูเพิ่มเติม »

จรัส พั้วช่วย

รัส พั้วช่วย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และกระทรวงคมนาคม และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจรัส พั้วช่วย · ดูเพิ่มเติม »

จักรัตน์ พั้วช่วย

นายจักรัตน์ พั้วช่วย (เกิด 29 ธันวาคม พ.ศ. 2517) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ เขต 2 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2550 ในสังกัดพรรคพลังประชาชน ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจักรัตน์ พั้วช่วย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชัยภูมิ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจังหวัดชัยภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพิษณุโลก

ังหวัดพิษณุโลก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีประชากรในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจังหวัดพิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพิจิตร

ังหวัดพิจิตร เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางภาคกลางตอนบนระหว่างจังหวัดนครสวรรค์กับจังหวัดพิษณุโลก มีพื้นที่ประมาณ 4,531 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจังหวัดพิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลพบุรี

ังหวัดลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอื่นถึง 8 จังหวัด วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี และจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรีเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก และมีประวัติศาสตร์ยาวนาน ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดหล่มศักดิ์

แผนที่จังหวัดเพชรบูรณ์ ส่วนพื้นที่ของจังหวัดหล่มศักดิ์เดิม คือหมายเลข 3, 4, 9 และ 11 อันได้แก่ อำเภอหล่มสัก, หล่มเก่า, น้ำหนาว และเขาค้อ ตามลำดับ โดยขณะนั้นอำเภอน้ำหนาวและเขาค้อเป็นส่วนหนึ่งของอำเภอเมืองหล่มศักดิ์ (อำเภอวัดป่า) จังหวัดหล่มศักดิ์ เดิมเป็นจังหวัดหนึ่งขึ้นกับมณฑลเพชรบูรณ์ เมื่อมณฑลเพชรบูรณ์ยุบก็ขึ้นกับมณฑลพิศณุโลก เป็นจังหวัดหนึ่งที่มีชื่อเสียงในฐานะที่เป็นแหล่งผลิตยาสูบภายในประเทศ มีชาติพันธุ์พื้นเมืองเรียกว่า ไทหล่ม หรือลาวหล่ม ที่มีวัฒนธรรมใกล้ชิดกับลาวแถบหลวงพระบาง ในอดีตเป็นจังหวัดชั้นนอกที่กันดาร มีประชากรน้อย และไม่มีเส้นทางคมนาคม จังหวัดหล่มศักดิ์ เดิมเป็นเมืองหนึ่งขึ้นสร้างในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวหลังสงครามเจ้าอนุวงศ์ เพราะเมืองหล่ม (เก่า) ถูกทำลายไปมาก จึงย้ายมาตั้งเมืองใหม่ริมน้ำสัก จึงเรียกเมืองหล่มแห่งใหม่นี้ว่า "หล่มสัก" (แต่ทางราชการสยามสะกดว่า "หล่มศัก" หรือ "หล่มศักดิ์") ครั้นเวลาต่อมาเมืองหล่มศักดิ์ได้พัฒนาขึ้นเป็นชุมชนใหญ่ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้มีการจัดตั้งมณฑลเทศาภิบาลขึ้น เมืองหล่มศักดิ์จึงขึ้นกับมณฑลเพชรบูรณ์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจังหวัดหล่มศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดของประเทศไทย

ังหวัด เป็นเขตบริหารราชการส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 76 จังหวัด (ทั้งนี้ กรุงเทพมหานครไม่เป็นจังหวัด) จังหวัดถือเป็นระดับการปกครองของรัฐบาลลำดับแรก โดยเป็นหน่วยการปกครองส่วนภูมิภาคที่รวมท้องที่หลาย ๆ อำเภอเข้าด้วยกันและมีฐานะเป็นนิติบุคคล ในแต่ละจังหวัดปกครองด้วยผู้ว่าราชการจังหวัด การจัดแบ่งกลุ่มจังหวัดออกเป็นภาคต่าง ๆ มีการใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกัน โดยมีทั้งการแบ่งอย่างเป็นทางการโดยราชบัณฑิตยสถานสำหรับใช้ในแบบเรียน และการแบ่งขององค์กรต่าง ๆ ตามแต่การใช้ประโยชน์ ชื่อของจังหวัดนั้นจะเป็นชื่อเดียวกับชื่ออำเภอที่เป็นที่ตั้งของศูนย์กลางจังหวัด เช่น ศูนย์กลางการปกครองของจังหวัดเพชรบุรีอยู่ที่อำเภอเมืองเพชรบุรี เป็นต้น แต่ชื่ออำเภอเหล่านี้มักเรียกย่อแต่เพียงว่า "อำเภอเมือง" ยกเว้นจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ใช้ชื่อจังหวัดเป็นชื่ออำเภอที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองโดยตรง (อำเภอพระนครศรีอยุธยา) หน่วยการปกครองย่อยรองไปจากจังหวัดคือ "อำเภอ" ซึ่งมีทั้งสิ้น 878 อำเภอ ซึ่งจำนวนอำเภอนั้นจะแตกต่างกันไปในแต่ละจังหวัด ส่วนเขตการปกครองย่อยของกรุงเทพมหานครมีทั้งหมด 50 เขต.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจังหวัดของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดขอนแก่น

ังหวัดขอนแก่น เป็นจังหวัดที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจังหวัดศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เมืองขอนแก่นตั้งอยู่ในจุดที่ถนนมิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก) ตัดผ่าน ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญอีกเส้นหนึ่งในการเดินทางจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางเข้าไปสู่ภาคเหนือตอนล่างที่อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ และเดินทางเข้าสู่ประเทศลาวทางด้านทิศใต้ของลาว อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้ติดกับจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดชัยภูมิและจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจังหวัดขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครสวรรค์

ังหวัดนครสวรรค์ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ระหว่างตอนบนของภาคกลาง มีพื้นที่ประมาณ 9,597 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์อีกจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย มีพื้นที่ติดต่อกับหลายจังหวัด ได้แก่ ด้านเหนือ ติดต่อกับจังหวัดพิจิตรและกำแพงเพชร ทางตะวันออกติดกับจังหวัดเพชรบูรณ์และลพบุรี ด้านใต้ติดกับจังหวัดสิงห์บุรี ชัยนาท และอุทัยธานี ส่วนด้านตะวันตกติดกับจังหวัดตาก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจังหวัดนครสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเลย

ังหวัดเลย เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย ตั้งอยู่ในแอ่งสกลนครและอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 540 กิโลเมตร มีสภาพภูมิประเทศที่งดงาม อากาศหนาวเย็น เป็นแหล่งเพาะปลูกไม้ดอกไม้ประดับที่สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญอีกด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจังหวัดเลย · ดูเพิ่มเติม »

จำปีศรีเมืองไทย

ำปีศรีเมืองไทย เป็นพืชในวงศ์ Magnoliaceae เป็นไม้ยืนต้น มีรอยแผลของหูใบ ยาวเกือบตลอดความยาวของก้านใบ ดอกแยกเพศ กลิ่นหอมแรง ผลกลม แก่แล้วแตกเป็นพูออกดอกช่วงเมษายน – พฤษภาคม เป็นไม้ถิ่นเดียวของไทย พบครั้งแรกเมื่อ 25 พฤษภาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจำปีศรีเมืองไทย · ดูเพิ่มเติม »

จำนงค์ โพธิสาโร

ำนงค์ โพธิสาโร เป็นอดีตนักการเมือง โดยเป็น..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจำนงค์ โพธิสาโร · ดูเพิ่มเติม »

ธรณีนี่นี้ใครครอง

รณีนี่นี้ใครครอง เป็นละครโทรทัศน์ไทย จากบทประพันธ์ กาญจนา นาคนันทน์ โดยนามปากกาของ นงไฉน ปริญญาธวัช ซึ่งได้รับรางวัลประเภทนวนิยายดีเด่นสะท้อนชีวิตในสังคมไทย จากงานวันสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ ของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2518 ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2541 โดย บริษัท โนพลอบเล็ม จำกัด ออกอากาศทางไทยทีวีสีช่อง 3 นำแสดงโดย แอนดริว เกร้กสัน และปิยธิดา วรมุสิก ต่อมาในปี พ.ศ. 2554 บริษัท โนพลอบเล็ม จำกัด ได้นำมาสร้างใหม่อีกครั้ง บทโทรทัศน์ ปารดา กันตพัฒนกุล กำกับการแสดงโดย ยุทธนา ลอพันธ์ไพบูลย์ นำแสดงโดย ณเดชน์ คูกิมิยะ และอุรัสยา เสปอร์บันด์ ออกอากาศในปี พ.ศ. 2555 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อาทิจและดรุณี คือตัวแทนคนรุ่นใหม่ ที่รับสืบทอดภาระและหน้าที่ที่มีต่อแผ่นดิน หรือ "ธรณี" มาจากคุณย่า ผู้หญิงตัวคนเดียวที่ใช้ทั้งความแข็งแกร่งและความอ่อนโยน หว่านพืชปลูกพันธุ์จนเติบโตงอกงาม และสามารถโอบอุ้มทุกชีวิตไว้บนแผ่นดิน แต่กว่าจะถึงวันนั้นได้ อุปสรรคและปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างทางมากมาย ดังชีวิตจริงของเราทุกคน ที่มีทั้งความสนุกสนาน หวามหวาน ทดท้อ และบางครั้งก็มีน้ำตา แต่สุดท้ายแล้ว ความสุขกับความสำเร็จ ก็ย่อมเป็นรางวัลที่ผู้มีความเพียรพึงจะได้รั.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และธรณีนี่นี้ใครครอง · ดูเพิ่มเติม »

ธันวา ราศีธนู

หน้าปกอัลบั้ม นักสู้ของแม่ ธันวา ราศีธนู เกิดเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2513 ที่ อ.ศรีบุญเรือง จ.อุดรธานี (ปัจจุบันคือจังหวัดหนองบัวลำภู) เป็นคนสุดท้องในจำนวนพี่น้อง 3 คน ในครอบครัวจัดอยู่ในฐานะที่ลำบากพอสมควร ธันวาและพี่ ๆ จึงต้องทำงานในวันหยุดเรียนเพื่อแบ่งเบาภาระของครอบครัว จนจบเพียงชั้นประถม 6 แม่ก็เสียชีวิตไปด้วยโรคมะเร็ง เมื่อไม่มีโอกาสได้เรียนต่อในระดับสูง ๆ จึงต้องไปทำงานเป็นเด็กท้ายรถ สายศรีบุญเรือง-ขอนแก่น อยู่ได้ 2 ปี พ่อก็มีแต่งงานใหม่ จึงต้องย้ายตามพ่อมาอยู่กับแม่ใหม่ที่ จังหวัดเพชรบูรณ์ แต่พี่น้อง 3 คนเข้ากับแม่ใหม่และลูก ๆ ไม่ได้ ทั้ง 3 จึงตัดสินใจเข้ามาเสี่ยงโชคในกรุงเทพ จากความรู้ที่จบแค่ชั้น ป.6 งานที่ธันวาได้ทำก็คืองานกรรมกรก่อสร้างใน อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ เมื่ออายุ 20 ปี หลังจากนั้นก็เปลี่ยนเป็นพนักงานเสิร์ฟ แถวสามแยกพระประแดง ที่เป็นจุดเริ่มต้นในการร้องเพลงและเล่นดนตรี เป็นบ๋อยเสิร์ฟอาหาร รินเหล้าอยู่นานหลายปี แล้ววันหนึ่งได้เจอกับเพื่อนเก่าที่เป็นนักดนตรี จึงชวนธันวามาร่วมวงทานตะวัน ด้วย จนกระทั่งวงทานตะวันแยกย้ายไป ในต้นปี พ.ศ. 2544 ธันวาจึงทำอัลบั้มออกมาเป็นชุดแรกด้วยเงินทุนเก็บของตนเอง ชื่อ "แผ่ราศี" โดยที่เจ้าตัวทำเองหมดทุกอย่าง และปลายปี พ.ศ. 2545 เมื่อได้เงินคืนมาจากการทำอัลบั้มชุดแรก อัลบั้มที่สองก็ออกมาในชื่อ "นักสู้ของแม่" โดยที่ธันวาและพรชัย ทัดละม่อม (ติ๊ก สันกาลา) เป็นโปรดิวเซอร์ ซึ่งทั้งสองชุดนี้ ธันวาจะขายเทปเองด้วยตามตลาดนัดหรือตลาดเปิดท้ายของของในที่ต่าง ๆ เดือนตุลาคม ปี พ.ศ. 2547 หลังจากเป็นศิลปินใต้ดินมาสองชุด อัลบั้มที่สามจากใต้ดินสู่บนดิน "วันที่ฉันรอ" ถึงแม้จะไม่ใช่บนดินเต็มตัวมากนัก แต่ก็เป็นอัลบั้มที่ธันวาบอกว่าพอใจในระดับหนึ่ง เพราะได้บริษัทไล้ท์มีเดียบางกอก จัดจำหน่าย แต่เจ้าตัวก็ยังคงทำหน้าที่ขายเทปตามตลาดเปิดท้ายเหมือนเดิมตั้งแต่อัลบั้ม แผ่ราศี, นักสู้ของแม่ และล่าสุด วันที่ฉันรอ ก็ยังทำหน้าที่นั้นอยู่ต่อไป จนกระทั่งในเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2549 อัลบั้มชุดที่สี่ "ตำนานนักสู้" ก็ได้ออกมา มีเพลงอยู่เพลงนี้ในอัลบั้มนี้ที่ได้รับความนิยม คือ ไก่ตาฟาง ที่ได้รับความนิยมในหน้าปัดวิทยุทางภาคใต้ ก่อนจะมาได้รับความนิยมในคลื่นลูกทุ่งมหานคร F.M. 95 MHZ ในกรุงเทพ และค่อย ๆ ทวีความนิยมจนกลายมาเป็นเพลงที่หลายคนรู้จักในปัจจุบัน รวมถึงในประเทศเพื่อนบ้านอย่าง กัมพูชา พม่า และจีน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และธันวา ราศีธนู · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารไทยเครดิตเพื่อรายย่อย

นาคารไทยเครดิตเพื่อรายย่อย (Thai Credit Retail Bank) เป็นธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย ในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และธนาคารไทยเครดิตเพื่อรายย่อย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพหลโยธิน

นนพหลโยธิน (Thanon Phahon Yothin) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 สายกรุงเทพมหานคร−แม่สาย (เขตแดน) เป็นถนนสายหลักในกรุงเทพมหานคร และเป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย (ประกอบด้วยถนนพหลโยธิน ถนนมิตรภาพ ถนนสุขุมวิท และถนนเพชรเกษม) สายทางเริ่มต้นที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ผ่านภาคกลาง และมุ่งเข้าสู่ภาคเหนือของประเทศไทย สิ้นสุดที่ด่านพรมแดนแม่สาย อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย บริเวณชายแดนประเทศพม่า รวมระยะทางยาว 994.749 กิโลเมตร บางช่วงของถนนพหลโยธินอยู่ในโครงข่ายทางหลวงเอเชีย ได้แก่ ช่วงบ้านหินกองถึงอำเภอบางปะอินเป็นทางหลวงเอเชียสาย 1, ช่วงแยกหลวงพ่อโอ (เส้นแบ่งเขตจังหวัดชัยนาทกับจังหวัดนครสวรรค์) ถึงอำเภอเมืองตาก เป็นทั้งทางหลวงเอเชียสาย 1 และสาย 2 และช่วงอำเภอเมืองสระบุรีถึงบ้านหินกองเป็นทางหลวงเอเชียสาย 12 นอกจากนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงคุนหมิง–กรุงเทพ ถนนพหลโยธินช่วงตั้งแต่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เส้นทางของถนนจะเบี่ยงไปทิศตะวันออก ผ่านจังหวัดสระบุรีและจังหวัดลพบุรี แล้ววกกลับมายังจังหวัดชัยนาท เนื่องจากในสมัยก่อนต้องการให้ทางหลวงสายหลักผ่านที่ตั้งของกองทหารสำคัญของประเท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และถนนพหลโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

ทองคำ

ทองคำ (gold) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 79 และสัญลักษณ์คือ Au (มาจากภาษาละตินว่า aurum) จัดอยู่ในกลุ่มธาตุโลหะมีสกุลชนิดหนึ่ง ทองคำเป็นธาตุโลหะทรานซิชันสีเหลืองทองมันวาวเนื้ออ่อนนุ่ม สามารถยืดและตีเป็นแผ่นได้ ทองคำไม่ทำปฏิกิริยากับสารเคมีส่วนใหญ่ ทองคำใช้เป็นทุนสำรองทางการเงินของหลายประเทศ ใช้ประโยชน์เป็นเครื่องประดับ งานทันตกรรม และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และทองคำ · ดูเพิ่มเติม »

ทัลก์

ผงทัลก์ ทัลก์ (Talc) (Mg3Si4O10(OH)2) หรือแร่หินสบู่ เป็นแร่ไฮเดรต แมกนิเซียมซิลิเกต.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และทัลก์ · ดูเพิ่มเติม »

ทัวร์ ออฟ สยาม

การแข่งขันจักรยานทางไกลนานาชาติ ทัวร์ ออฟ สยาม (Tour of Siam) เป็นการแข่งขันจักรยานทางไกลในประเทศไทย จัดขึ้นเป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์ ในช่วงกลางเดือนมกราคม การจัดการแข่งขันดำเนินการโดยสมาคมจักรยานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และบรรจุอยู่ในปฏิทินของสหพันธ์จักรยานนานาชาติ (Union Cycliste Internationale - UCI) ตั้งแต่ พ.ศ. 2548 โดยผู้ชนะการแข่งขันจะได้รับถ้วยรางวัลพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และทัวร์ ออฟ สยาม · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 6

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 6 เป็นทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองที่กำลังก่อสร้าง เชื่อมต่อจากกรุงเทพมหานครไปยังภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เส้นทางเริ่มต้นจากอำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาไปสิ้นสุดที่จังหวัดหนองคาย โดยเริ่มก่อสร้างช่วงบางปะอิน–นครราชสีมาเป็นช่วงแรก เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และทางหลวงพิเศษหมายเลข 6 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1069

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1069 (สายบางมูลนาก–ดงขุย) เป็นทางหลวงแผ่นดินในจังหวัดพิจิตรและจังหวัดเพชรบูรณ์ ระยะทางตลอดทั้งสาย 52.009 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1069 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 สายอินทร์บุรี–เชียงใหม่ เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานแนวเหนือ–ใต้ เชื่อมการคมนาคมระหว่างจังหวัดในภาคกลางกับจังหวัดในภาคเหนือของประเทศไทย มีระยะทาง 545.779 กิโลเมตร ปลายทางทิศใต้ของทางหลวงสายนี้อยู่ที่ทางแยกต่างระดับอินทร์บุรี ที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 ในอำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี ส่วนปลายทางทิศเหนืออยู่ที่ถนนสุเทพ ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 113

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 113 เป็นทางหลวงแผ่นดินที่เชื่อมต่อระหว่างจังหวัดเพชรบูรณ์กับจังหวัดพิจิตร สายทางเริ่มต้นที่สามแยกวังชมภู อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ และสิ้นสุดที่สี่แยกเลี่ยงเมืองพิจิตร อำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 107.209 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 113 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 115

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 115 สายกำแพงเพชร – สากเหล็ก เป็นทางหลวงแผ่นดินแนวตะวันตก–ตะวันออก ที่เชื่อมต่อระหว่างจังหวัดกำแพงเพชรกับจังหวัดพิจิตร สายทางเริ่มต้นที่แยกในเขตเทศบาลเมืองกำแพงเพชร อำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร แล้วเริ่มต้นทางหลวงแผ่นดินที่กิโลเมตรที่ 3+600 และสิ้นสุดที่สี่แยกสากเหล็ก อำเภอสากเหล็ก จังหวัดพิจิตร มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 103.641 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 115 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 117

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 117 สายนครสวรรค์ – บ้านม่วงเจ็ดต้น (รวมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1325, 1104 และ 1047 สายคลองเมม – ม่วงเจ็ดต้น) เป็นทางหลวงแผ่นดินสายหลักที่เชื่อมการขนส่งจราจรระหว่างจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดพิจิตร และจังหวัดพิษณุโลก และเป็นทางหลวงสายรองในช่วงจังหวัดพิษณุโลกถึงจังหวัดอุตรดิตถ์ รวมระยะทางตลอดทั้งสาย 396.784 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 117 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 สายแม่สอด (เขตแดน)–มุกดาหาร เป็นทางหลวงแผ่นดินสายรองประธานที่เป็นเส้นทางคมนาคมสำคัญที่เชื่อมระหว่างภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย สายทางเริ่มต้นที่สะพานมิตรภาพไทย-พม่า อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก และสิ้นสุดที่อำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 793.391 กิโลเมตร อีกทั้งรัฐบาลยังวางแผนให้เป็นหนึ่งในถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก ที่เชื่อมระหว่างเมืองเมาะลำเลิง ประเทศพม่า และเมืองดานัง ประเทศเวียดนาม นอกจากนี้เส้นทางหลวงแผ่นดินสายนี้ยังถือเป็นทางหลวงสายเอเชีย ได้แก่ ทางหลวงเอเชียสาย 1 และทางหลวงเอเชียสาย 16 อีกด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21 สายสามแยกพุแค – เลย เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานแนวเหนือ-ใต้ ที่เชื่อมต่อระหว่างจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทยสู่จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดเลย สายทางเริ่มต้นที่สามแยกพุแค อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี และสิ้นสุดที่อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 412.874 กิโลเมตร ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21 อยู่ในความรับผิดชอบของสำนักงานทางหลวงที่ 6 (เพชรบูรณ์) ระยะทางประมาณ 325 กิโลเมตรhttp://bmm.doh.go.th/website/index.php/statistics-for-maintenance/map-distance-control/44-highways-agency-6 แผนที่ระยะทางควบคุม สำนักงานทางหลวงที่ 6 เพชรบูรณ์ และอยู่ในความรับผิดชอบของสำนักงานทางหลวงที่ 9 (ลพบุรี) ระยะทางประมาณ 87 กิโลเมตรhttp://bmm.doh.go.th/website/index.php/statistics-for-maintenance/map-distance-control/49-highways-agency-11 แผนที่ระยะทางควบคุม สำนักงานทางหลวงที่ 11 ลพบุรี มีทางเลี่ยงเมือง 2 จุด ได้แก่ ทางเลี่ยงเมืองเพชรบูรณ์ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 234) และทางเลี่ยงเมืองหล่มสัก (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21).

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 225

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 225 สายแยกบึงบอระเพ็ด–ชัยภูมิ เป็นถนนที่เชื่อมระหว่างภาคเหนือกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เริ่มต้นที่สามแยกบึงบอระเพ็ด ตัดกับถนนพหลโยธินก่อนขึ้นสะพานเดชาติวงศ์ ตัดผ่าน อำเภอชุมแสง อำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์ อำเภอบึงสามพันและอำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ ขึ้นไปสู่จังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เริ่มตั้งแต่อำเภอภักดีชุมพล อำเภอเทพสถิต อำเภอหนองบัวระเหว อำเภอบ้านเขว้า และสิ้นสุดที่วงเวียนอนุสาวรีย์พระยาภักดีชุมพล อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ระยะทางยาวประมาณ 268 กิโลเมตรเป็นทางหลวง 2 จราจรสวนกัน และบางช่วงเป็น 4 ช่องจราจร โดยถนนเส้นนี้อยู่ในส่วนหนึ่งของแผนงานการก่อสร้างทางสายหลักเป็น 4 ช่องจราจร ระยะที่ 2 (โครงข่ายที่ 6 สายนครสวรรค์–ชัยภูมิ–อำเภอบ้านไผ่–มหาสารคาม–ร้อยเอ็ด–ยโสธร–อุบลราชธานี–ช่องแม็ก) ระยะทาง 672 กิโลเมตร ของกรมทางหลวง อย่างไรก็ตาม เส้นทางบางส่วนที่มีความสำคัญสูงมาก เนื่องจากอยู่ใกล้ตัวเมืองใหญ่ หรือเป็นเส้นทางหลักของประเทศ ได้มีการเสนอของบประมาณ และดำเนินการไปบ้างแล้ว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 225 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3004

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3004 (สายแยกค่ายจิรประวัติ–ซับสมอทอด) เป็นทางหลวงแผ่นดินในจังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดเพชรบูรณ์ ระยะทางตลอดทั้งสาย 111.889 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3004 · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์

ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ หรือ สนามบินเพชรบูรณ์ (Phetchabun Airport) ตั้งอยู่ที่ อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ตั้งอยู่ที่ตำบลลานบ่า อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ อยู่ห่างจากตัวอำเภอหล่มสักประมาณ 16 กิโลเมตร และห่างจาก ตัวจังหวัดเพชรบูรณ์ประมาณ 31 กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 4,100 ไร่ เป็นสนามบินที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นลำดับที่สองในประเทศไทย (รองจากสนามบินสุวรรณภูมิ) ทำพิธีเปิดเมื่อ 8 เมษายน..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าข้าม

ท่าข้าม อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และท่าข้าม · ดูเพิ่มเติม »

ขุนอินทรภักดี (ทองอิน ทองมาก)

นอินทรภักดี (ทองอิน ทองมาก) (พ.ศ. 2431 - พ.ศ. 2491) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ 1 สมั.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และขุนอินทรภักดี (ทองอิน ทองมาก) · ดูเพิ่มเติม »

ขุนอนุสรสิทธิกรรม (ทองดี วัชโรทยาน)

นอนุสรสิทธิกรรม (ทองดี วัชโรทยาน) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ 2 สมั.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และขุนอนุสรสิทธิกรรม (ทองดี วัชโรทยาน) · ดูเพิ่มเติม »

ณหทัย พิจิตรา

ณหทัย พิจิตรา (ชื่อเล่น: ต้อม; ชื่อจริง: รัตนสุดา ธำรงค์กิตติชัชวาล; ชื่อเกิด: รัตนสุดา รัตนโชติ) เป็นนักแสดงชาวไทย เกิดเมือวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 มีผลงานการแสดงทางจอเงินในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และณหทัย พิจิตรา · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐรดา ชุมทวียศ

ณัฐรดา ชุมทวียศ หรือ น้องผึ้ง บึงสามพัน เป็นนักร้องแนวลูกทุ่ง โด่งดังจากอัลบั้มสาวนาเปิดใจซึ่งเป็นผลงานเพลงชุดแรก นอกจากนี้ยังได้รับรางวัลมาลัยทอง นักร้องดาวรุ่งหญิงยอดเยี่ยม ปี พ.ศ. 2548 จากผลงานชุดแรกนั้น เพลงที่เป็นที่รู้จักของผู้ฟังก็คือเพลง "กองไว้ตรงนั้น".

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และณัฐรดา ชุมทวียศ · ดูเพิ่มเติม »

ณิชนันทวรรณ ชาทุม

ณิชนันทวรรณ ชาทุม (ชื่อเล่น: แอน; 1 มีนาคม พ.ศ. 2535 —) เป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงชาวไทย ปัจจุบัน เธอสร้างผลงานในระดับอาชีพให้แก่ซัยโจเด็นกิ - นครนนทบุรี โดยเป็นกำลังสำคัญของทีมในตำแหน่งหัวเสา นอกจากนี้ ได้มีการจัดอันดับสาวสวยจากการแข่งขันวอลเลย์บอลไทยแลนด์ลีก 2013 โดยณิชนันทวรรณได้รับการจัดให้อยู่ในอันดับ 1.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และณิชนันทวรรณ ชาทุม · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2537 เป็นคณะที่จัดตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 5 ของมหาวิทยาลัยนเรศวรรังสรรค์ วัฒน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

งูจงอาง

งูจงอาง (King Cobra) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลื้อยคลาน เป็นงูพิษขนาดใหญ่ โดยทั่วไปมีความยาวเฉลี่ยประมาณ 3.5 - 4.5 เมตร จัดเป็นงูพิษที่มีขนาดยาวที่สุดในโลก ซึ่งตัวที่ยาวเป็นสถิติโลกมีความยาวถึง 5.67 เมตร เป็นงูจงอางไทยลำตัวสีชมพู ถูกยิงได้ที่จังหวัดนครศรีธรรมร..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และงูจงอาง · ดูเพิ่มเติม »

ตราผ้าผูกคอลูกเสือประจำจังหวัด

ตราผ้าผูกคอลูกเสือ เป็นตราที่ใช้ในผ้าผูกคอลูกเสือของลูกเสือในแต่ละจังหวัด ซึ่งจะมีความแตกต่างกันในแต่ละจังหวัด ลักษณะของตราแต่ละดวงนั้น เป็นการดัดแปลงจากภาพตราประจำจังหวัดของไทยโดยตรงให้อยู่ในกรอบสี่เหลี่ยมจัตุรัส เกณฑ์การแบ่งภาคของจังหวัดในประเทศไทยในบทความนี้ ถือเอาตามเกณฑ์ของราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และตราผ้าผูกคอลูกเสือประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

ตราประจำจังหวัดของไทย

ตราประจำจังหวัดของไทย มีพัฒนาการมาจากตราประจำตำแหน่งของเจ้าเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และตราประจำธงประจำกองลูกเสือ 14 มณฑล ในสมัยรัชกาลที่ 6 - 7 ในสมัยที่จอมพลแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีนั้น รัฐบาลได้กำหนดให้แต่ละจังหวัดมีตราประจำจังหวัดของตนเองใช้เมื่อ พ.ศ. 2483 โดยกรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบตราตามแนวคิดที่แต่ละจังหวัดกำหนดไว้ ปัจจุบัน เมื่อมีการตั้งจังหวัดขึ้นใหม่ ก็จะมีการออกแบบตราประจำจังหวัดด้วยเสมอ แต่ตราของบางจังหวัดที่ใช้อยู่นั้นบางตราก็ไม่ใช่ตราที่กรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบ บางจังหวัดก็เปลี่ยนไปใช้ตราประจำจังหวัดเป็นแบบอื่นเสียก็มี บางที่ลักษณะของตราก็เพี้ยนไปจากลักษณะที่กรมศิลปากรออกแบบไว้ แต่ยังคงลักษณะหลัก ๆ ของตราเดิมไว้อยู่บ้างก็มี.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และตราประจำจังหวัดของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ตะกั่ว

ตะกั่ว (Lead) เป็นธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 82 และสัญลักษณ์คือ Pb (Plumbum) ตะกั่วเป็นธาตุโลหะ เนื้ออ่อนนุ่มสามารถยืดได้ เมื่อตัดใหม่ๆ จะมีสีขาวอมน้ำเงิน แต่เมื่อถูกกับอากาศสีจะเปลี่ยนเป็นสีเทา ตะกั่วเป็นโลหะหนักที่มีพิษ ใช้ทำวัสดุก่อสร้าง แบตเตอรี่ กระสุนปืน โลหะผสม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และตะกั่ว · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลชนแดน

ตำบลชนแดน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และตำบลชนแดน · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลบ้านกลาง

ตำบลบ้านกลาง สามารถหมายถึงตำบลที่มีชื่อเดียวกันนี้ 10 แห่งในอำเภอและจังหวัดต่าง ๆ คือ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และตำบลบ้านกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลกองทูล

ตำบลกองทูล เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ตั้งอยู่ทางตอนกลางของอำเภอ แบ่งเป็นหมู่บ้านทั้งหมด 8 หมู่บ้าน ตำบลกองทูลมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1 แห่ง คือ องค์การบริหารส่วนตำบลกองทูล มีพื้นที่ครอบคลุมตำบลกองทูลทั้งหมด มีประชากรในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และตำบลกองทูล · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลวังกวาง

ตำบลวังกวาง เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอน้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ แบ่งเป็นหมู่บ้านทั้งหมด 11 หมู่บ้าน ตำบลวังกวางมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1 แห่ง คือ องค์การบริหารส่วนตำบลวังกวาง ซึ่งได้ยกฐานะสภาตำบลเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล เมื่อ ปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และตำบลวังกวาง · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลท่าข้าม

ตำบลท่าข้าม สามารถหมายถึงตำบลที่มีชื่อเดียวกันนี้ 13 แห่งในอำเภอและจังหวัดต่าง ๆ คือ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และตำบลท่าข้าม · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลท่าแดง

ตำบลท่าแดง เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ แบ่งเป็นหมู่บ้านทั้งหมด 15 หมู่บ้าน ตำบลท่าแดงมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1 แห่ง คือ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าแดง โดยรับผิดชอบพื้นทั้งหมดทั้งตำบล มีประชากรในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และตำบลท่าแดง · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลในเมือง

ตำบลในเมือง สามารถหมายถึงตำบลที่มีชื่อเดียวกันนี้ถึง 22 แห่งในอำเภอและจังหวัดต่าง ๆ คือ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และตำบลในเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลเจาทอง

ตำบลเจาทอง อำเภอภักดีชุมพล จังหวัดชัยภูมิ เป็นตำบลที่แยกออกมาจากตำบลบ้านเจียง อำเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และตำบลเจาทอง · ดูเพิ่มเติม »

ประสงค์ โฆษิตานนท์

นายกองเอก ประสงค์ โฆษิตานนท์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช และนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดเพชรบูรณ์ และสมาชิกวุฒิสภาจากการแต่งตั้ง..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และประสงค์ โฆษิตานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเพณีอุ้มพระดำน้ำ

ประเพณีอุ้มพระดำน้ำ เป็นประเพณีที่ชาวจังหวัดเพชรบูรณ์ ได้ร่วมมือกันจัดขึ้นในวันแรมสิบห้าค่ำเดือนสิบ ซึ่งประวัติความเป็นมาของประเพณีอุ้มพระดำน้ำก็คือ เมื่อประมาณ 400 ปีที่ผ่านมามีชาวบ้านกลุ่มหนึ่งมีอาชีพหาปลาขาย และได้ไปหาปลาที่แม่น้ำป่าสักเป็นประจำทุกวัน อยู่มาวันหนึ่งก็ได้เกิดเรื่องที่ไม่มีใครให้คำตอบได้ว่า เกิดอะไรขึ้นเพราะวันนั้น ไม่มีใครจับปลาได้สักตัว จากนั้นก็เกิดเหตุการณ์ประหลาดขึ้นตรงบริเวณ วังมะขามแฟบ (ไม้ระกำ) ซึ่งปกติบริเวณนี้น้ำจะไหลเชี่ยวมาก จู่ ๆ น้ำก็หยุดไหล และมีพลายน้ำผุดขึ้นมา แล้วพระพุทธรูปก็ผลุดขึ้นมาด้วย ชาวบ้านจึงได้อัญเชิญพระพุทธรูปองค์ดังกล่าว ขึ้นจากน้ำและนำไปประดิษฐานไว้ที่วัดไตรภูมิ เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดเพชรบูรณ์ จนกระทั่งถึงวันสารทไทยหรือ วันแรม 15 ค่ำเดือนสิบ พระพุทธรูปองค์ดังกล่าว (พระพุทธมหาธรรมราชา) ก็ได้หายไปจากวัด ชาวบ้านจึงช่วยกันตามหาและเจอพระพุทธรูป อยู่บริเวณวังมะขามแฟบ จากนั้นเป็นต้นมา พอถึงวันแรม 15 ค่ำเดือน 10 ชาวจังหวัดเพชรบูรณ์ ก็จะจัดงานซึ่งเรียกว่า “อุ้มพระดำน้ำ” ตั้งแต่วันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และประเพณีอุ้มพระดำน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อน

ปลาช่อน ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) มีส่วนหัวค่อนข้างโต รูปร่างทรงกระบอกยาว ครีบหางเรียวปลายมน ปากกว้าง ภายในปากมีฟันเขี้ยวบนเพดาน ลำตัวสีคล้ำอมมะกอกหรือน้ำตาลอ่อน มีลายเส้นทแยงสีคล้ำตลอดทั้งลำตัว 6-7 เส้น ด้านท้องสีจางตัดกับด้านบน ครีบสีคล้ำมีขอบสีเหลืองอ่อน ครีบท้องจาง มีขนาดลำตัวประมาณ 30-40 เซนติเมตร ใหญ่สุดได้ถึง 1 เมตร โดยปลาช่อนชนิดนี้มีความพิเศษไปกว่าปลาช่อนชนิดอื่น ๆ คือ สามารถแถกไถตัวคืบคลานไปบนบกเพื่อหาที่อยู่ใหม่ได้ รวมทั้งสามารถหลบอยู่ใต้ดินในฤดูฝนแล้งเพื่อรอฝนมาได้เป็นแรมเดือน โดยสะสมพลังงานและไขมันไว้ ที่เรียกว่า "ปลาช่อนจำศีล" พบอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำทั่วประเทศไทย พบไปจนถึงเอเชียใต้, พม่าและอินโดนีเซีย นิยมนำมาบริโภค ปรุงเป็นอาหารได้หลากหลายทั้งสดและตากแห้ง เป็นปลาน้ำจืดเศรษฐกิจที่สำคัญจนอาจเรียกได้ว่าเป็นปลาน้ำจืดเศรษฐกิจอันดับหนึ่ง เลี้ยงได้ทั้งในบ่อและกระชังตามริมแม่น้ำ นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย โดยเฉพาะตัวที่สีกลายเป็นสีเผือกหรือปลาที่พิการตัวสั้นกว่าปกติ ปลาช่อนในบางพื้นที่ เช่น ที่จังหวัดสิงห์บุรี ขึ้นชื่อมาก เรียกกันว่า "ปลาช่อนแม่ลา" มีประเพณีพื้นถิ่นคือเทศกาลกินปลา โดยลักษณะเฉพาะของปลาช่อนแม่ลา คือ มีครีบหูหรือครีบอกสีชมพู ส่วนหางจะมีลักษณะมนเหมือนใบพัด ลำตัวอ้วน แต่หัวหลิม ไม่เหมือนปลาช่อนทั่วไป โดยเป็นปลาช่อนที่อาศัยอยู่ในแม่น้ำลา อยู่ระหว่างแม่น้ำเจ้าพระยากับแม่น้ำน้อย ในเขตจังหวัดสิงห์บุรี เป็นแหล่งน้ำที่น้ำนิ่ง มีความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งอาหารตามธรรมชาติ ใต้ท้องน้ำปกคลุมไปด้วยพืชน้ำและวัชพืช ทำให้น้ำเย็น ดินก้นลำน้ำยังเป็นโคลนตมที่มีอินทรียวัตถุ แร่ธาตุที่ไหลมารวมกัน สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยที่ทำให้ปลาช่อนแม่ลาถึงมีรสชาติดีกว่าปลาช่อนที่อื่น ๆ ซึ่งปัจจุบันด้วยสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป มีการสร้างเขื่อนและประตูเปิด-ปิดน้ำ ทำให้แม่น้ำลาตื้นเขิน ปลาช่อนแม่ลาที่เคยขึ้นชื่อใกล้จะสูญพันธุ์ แต่ปัจจุบัน กรมประมงสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว และมีการปล่อยคืนสู่ธรรมชาติเพื่อเป็นการอนุรักษ์ ปลาช่อน มีชื่อเรียกตามภาษาถิ่นในแต่ละภาคว่า "ปลาหลิม" ในภาษาเหนือ "ปลาค้อ" หรือ "ปลาก๊วน" ในภาษาอีสาน เป็นต้น และเมื่อไม่นานมานี้มีการค้นพบว่าเนื้อปลาช่อนมีสารที่เป็นส่วนหนึ่งของคอลลาเจน มีฤทธิในการห้ามเลือดและระงับความเจ็บปวดได้คล้ายมอร์ฟีน จึงเหมาะอย่างยิ่งแก่การปรุงเป็นอาหารของผู้ป่วยหรือผู้ที่เพิ่งได้รับการผ่าตัด นอกจากนี้แล้วในหลายพื้นที่ของไทย เช่น อำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์, อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา รวมถึงในพื้นที่ตำบลหัวดวง อำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร และอำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ มีความเชื่อของผู้คนที่อาศัยอยู่ที่นั้นว่า ปลาช่อนสามารถขอฝนได้ โดยต้องทำตามพิธีตามแบบแผนโบราณ ซึ่งจะกระทำกันในช่วงเกิดภาวะแห้งแล้ง ด้วยการเจริญพระพุทธมนต์ของพระสงฆ์เบื้องหน้าองค์พระประธาน และมีการโยงสายสิญจน์กับอ่างที่มีปลาช่อน 9 ตัว และสวดคาถาปลาช่อน เชื่อกันว่าระหว่างทำพิธี หากปลาช่อนดิ้นกระโดดขึ้นมา เป็นสัญญาณว่าฝนจะตกลงมาในเร็ววันนี้ นอกจากนี้แล้ว ที่อินเดียก็มีความเชื่อและพิธีกรรมที่คล้ายคลึงแบบนี้เหมือนกัน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และปลาช่อน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวทอง

ปลาซิวทอง (Brilliant rasbora, Long-band rasbora, Einthoven's rasbora) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rasbora einthovenii อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) จัดเป็นปลาซิวชนิดหนึ่ง ซึ่งมีรูปร่างลักษณะคล้ายปลาซิวพม่า (R. daniconius) ซึ่งอยู่สกุลเดียวกัน แต่มีความแตกต่างกัน คือ ปลาซิวทองมีครีบอกที่ยาวกว่าความยาวหัว เกล็ดที่เส้นข้างลำตัวที่คาดหางมี 7 แถว ในขณะที่ปลาซิวพม่ามีครีบอกสั้นกว่าความยาวส่วนหัว และเกล็ดระหว่างเส้นข้างลำตัวที่คาดหางมี 9 แถว มีลักษณะตำตัวแบนข้าง เรียวยาว นัยน์ตาโต คาดหางยาว หลังมีสีเทา ลำตัวสีขาวเงินสะท้อนแสง เกล็ดมีขอบสีดำ นัยน์ตาสีแดง มีแถบสีดำพาดยาวผ่านนัยน์ตาไปสิ้นสุดที่ปลายครีบหาง มีความยาวเต็มที่ 10 เซนติเมตร นับเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดชนิดหนึ่งในสกุลเดียวกัน พบกระจายพันธุ์ที่แม่น้ำป่าสักที่จังหวัดเพชรบูรณ์ และปัจจุบันจะพบได้ที่ป่าพรุโต๊ะแดง จังหวัดนราธิวาส ในต่างประเทศพบได้จนถึงที่คาบสมุทรมลายู, อินโดนีเซีย และเกาะบอร์เนียว เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และปลาซิวทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปัญจะ เกสรทอง

นายปัญจะ เกสรทอง อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และปัญจะ เกสรทอง · ดูเพิ่มเติม »

ป่า

ป่า ป่าไม้ ตามพระราชบัญญัติป่าไม้ หมายถึง ที่ดินที่ไม่มีบุคคลใดบุคคลหนึ่งได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ครอบครองตามกฎหมายที่ดิน โดยทั่วไป หมายถึง บริเวณที่มีความชุ่มชื้น และปกด้วยใบไม้สีเขียว ขึ้นอยู่อย่างหนาแน่นและกว้างใหญ่พอที่จะมีอิทธิพลต่อสิ่งแวดล้อมในบริเวณนั้น เช่น ความเปลี่ยนแปลงของลมฟ้าอากาศ ความอุดมสมบูรณ์ของดินและน้ำ มีสัตว์ป่าและสิ่งมีชีวิตอื่นซึ่งมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และป่า · ดูเพิ่มเติม »

นกปากซ่อม

นกปากซ่อม (Snipe) เป็นชื่อสามัญของนกจำพวกหนึ่ง ในกลุ่มนกลุยน้ำ ในวงศ์ Scolopacidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับนกอีก๋อย มีลักษณะโดยรวม คือ ลำตัวป้อม ลายน้ำตาลและขาว ปากยาวแหลมเล็ก ขาสั้น หากินในเวลาพลบค่ำและเวลากลางคืน ใช้ปากแทงหาอาหารจำพวกหนอนและไส้เดือนในดิน มักอาศัยอยู่ตามลำพัง.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และนกปากซ่อม · ดูเพิ่มเติม »

นกแอร์

นกแอร์ (อังกฤษ: Nok Air) เป็นสายการบินราคาประหยัดของประเทศไทย เปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 ภายใต้ชื่อบริษัท สกายเอเชีย จำกัด (Sky Asia Ltd.) เริ่มทำการบินครั้งแรกวันที่ 23 กรกฎาคม 2547 และเมื่อวันที่ 16 มกราคม 2549 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท สายการบินนกแอร์ จำกัด (Nok Airlines Co., Ltd.) ต่อมาได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น บริษัทสายการบินนกแอร์ จำกัด (มหาชน) (Nok Airlines Public Company Limited) เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2556 เพื่อเตรียมนำบริษัทเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเริ่มซื้อขายบนกระดานหลักทรัพย์ได้ในวันที่ 20 มิถุนายนปีเดียวกัน สายการบินนกแอร์ ก่อตั้งขึ้นโดยมีบริษัทร่วมทุนดังนี้ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) (ถือหุ้น 49%) บริษัท นกแอร์แมนเนจเม้นท์ฮ่องกง จำกัด (25%) บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด (สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์) (6%) ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) (5%) บริษัท คิง เพาเวอร์ อินเตอร์เนชั่นแนลจำกัด (5%) ผู้ถือหุ้นรายอื่น ๆ (10%) โดยมีนายพาที สารสิน เป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ตั้งแต่ก่อตั้งสายการบิน จนกระทั่งนายพาทีลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2560 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทจึงได้แต่งตั้งนายปิยะ ยอดมณี รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหารแทน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และนกแอร์ · ดูเพิ่มเติม »

นามสกุลพระราชทาน

ป็นนามสกุลที่ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขนานนามสกุลขึ้นเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2455 โดยให้มีผลใช้บังคับในวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2456 อย่างไรก็ตาม ได้มีการเลื่อนเวลาการบังคับใช้กฎหมาย 2 ครั้ง เพื่ออำนวยความการสะดวกแก่เจ้าพนักงานซึ่งจะทำทะเบียนและสะดวกแก่ผู้ที่จะเลือกตั้งนามสกุล โดยพระราชบัญญัติได้บังคับใช้เป็นกฎหมายโดยสมบูรณ์เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามสกุลครั้งแรกเป็นจำนวน 102 นามสกุล เช่น นามสกุล "สุขุม" พระราชทานแก่ เจ้าพระยายมราช (ปั้น), นามสกุล "มาลากุล" พระราชทานแก่ พระยาวิสุทธสุริยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เปีย) และ พระยาอนุรักษ์ราชมณเฑียร (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม) และนามสกุล "พึ่งบุญ" พระราชทานแก่ พระยาประสิทธิ์ศุภการ (หม่อมหลวงเฟื้อ) นามสกุลที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานไว้มีทั้งสิ้น 6464 นามสกุล แยกเป็น.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และนามสกุลพระราชทาน · ดูเพิ่มเติม »

นางพญาเสือโคร่ง

นางพญาเสือโคร่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Prunus cerasoides กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,, สืบค้นวันที่ 21 ก.ย. 2552, Wild Himalayan Cherry) เป็นพืชดอกในสกุล Prunus ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ พบทั่วไปบนภูเขาตั้งแต่ความสูง 1,200-2,400เมตรจากระดับน้ำทะเล เช่น ภูลมโล จังหวัดเลย, ดอยแม่สลอง จังหวัดเชียงราย, ดอยเวียงแหง ดอยอ่างขาง ขุนช่างเคี่ยน ขุนแม่ยะ จังหวัดเชียงใหม่, ขุนสถาน ดอยวาว ดอยภูคา มณีพฤกษ์ จังหวัดน่าน, ภูทับเบิก จังหวัดเพชรบูรณ์, ภูหินร่องกล้า จังหวัดพิษณุโลก ฯลฯ โดยเป็นดอกไม้ประจำอำเภอเวียงแหง นางพญาเสือโคร่ง เป็นพรรณไม้ที่มีการกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติอยู่ที่ตอนเหนือของประเทศไทย ในต่างประเทศ พบในประเทศพม่า รัฐฉานและรัฐคะฉิ่น, ประเทศอินเดียพบบนเทือกเขาหิมาลัย ในรัฐอรุณาจัลประเทศยาวไปจนถึงรัฐหิมาจัลประเทศทางตอนเหนือของอินเดีย หรือที่เรียกว่าHimalayas, ประเทศภูฏาน, ประเทศเนปาล และประเทศจีนพบในมณฑลยูนนาน นางพญาเสือโคร่งถูกนิยมเรียกว่า"ซากุระเมืองไทย" เพราะมีลักษณะคล้ายซากุระในประเทศญี่ปุ่น แม้จะเป็นคนละชนิดกันก็ตาม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และนางพญาเสือโคร่ง · ดูเพิ่มเติม »

นิยม วรปัญญา

นิยม วรปัญญา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคเพื่อไทย ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และนิยม วรปัญญา · ดูเพิ่มเติม »

น้ำอ้อย พรวิเชียร

น้ำอ้อย พรวิเชียร มีชื่อจริงคือ ศรัญญาวี พุทธรัตน์ เป็นนักร้องลูกทุ่งหญิงที่โดดเด่นกับแนวเพลงช้า ๆ หวาน ๆ เธอเคยมีเพลงดังติดหูคอเพลงลูกทุ่งหลายเพลง และหลายเพลงเป็นเพลงที่ร้องแก้กับนักร้องชาย อาทิเช่น "เสียงครวญจากสวนแตง"(สายัณห์ สัญญา ขับร้อง "ลารักจากสวนแตง" ซึ่งเป็นการร้องแก้เพลง"เสียงครวญจากสวนแตง") และ " สัญญารักปากช่อง "(ร้องแก้ "สัญญาเมื่อสายัณห์" ซึ่งขับร้องโดย สัญญา พรนารายณ์).

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และน้ำอ้อย พรวิเชียร · ดูเพิ่มเติม »

น้ำป่า

้านจัดสรรชานเมืองอุตรดิตถ์ถูกน้ำป่าหลากท่วมฉับพลัน Bangkok Post น้ำป่า หรือ น้ำท่วมฉับพลัน (flash flood) คือน้ำท่วมที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วมากในบริเวณที่ลุ่มต่ำ ในแม่น้ำ ลำธารหรือร่องน้ำที่เกิดจากฝนที่ตกหนักมากติดต่อกันหรือจากพายุฝนที่เกิดซ้ำที่เดิมหลายครั้ง น้ำป่าอาจเกิดจากที่สิ่งปลูกสร้างโดยมนุษย์ เช่น เขื่อนหรือฝายพังทล.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และน้ำป่า · ดูเพิ่มเติม »

แฟนเพื่อน

"แฟนเพื่อน" คือซิงเกิลของภคมน บุณยะภูติ หรือ ลูกโป่ง นักร้องหญิงชาวไทยจากรายการทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 4 ได้แต่งขึ้นทีมงานเพลงจาก Together และผลิตขึ้นโดยธนวิตต์ สุตมุขสำหรับอัลบั้มเดี่ยวชุดแรกของลูกโป่ง "แฟนเพื่อน" ได้มีการเปิดครั้งแรกเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 โดยเป็นซิงเกิลที่ 2 จากอัลบั้ม เพลงนี้มีเนื้อหาที่โดนใจของหลายๆคนและมีทำนองเพลงที่ติดหู ทำให้เพลงนี้เป็นเพลงที่ประสบความสำเร็จอย่างมากและเป็นเพลงที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดของลูกโป่ง สามารถเข้าไป 5 อันดับแรกของหลายชาร์ตในประเทศไทยและสามารถขึ้นไปสู่อันดับสูงสุดของชาร์ตทรู มิวสิกท็อป 20, Youth Lady.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และแฟนเพื่อน · ดูเพิ่มเติม »

แก้ว พงษ์ประยูร

ร้อยโท แก้ว พงษ์ประยูร เป็นนักมวยสากลสมัครเล่นทีมชาติไทยในรุ่นพินเวท (45 กิโลกรัม) และไลท์ฟลายเวท (49 กิโลกรัม) ถือได้ว่าเป็นนักมวยสากลสมัครเล่นทีมชาติไทยที่มีประสบการณ์โชกโชน เคยผ่านการชกในหลายระดับมาแล้ว ด้วยการผ่านการแข่งขันซีเกมส์มาถึง 6 สมัย ซึ่งได้เหรียญทอง 4 ครั้ง, เหรียญเงิน 1 ครั้ง และเหรียญทองแดง 1 ครั้ง.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และแก้ว พงษ์ประยูร · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำป่าสัก

แม่น้ำป่าสัก เป็นแม่น้ำที่มีต้นกำเนิดมาจากเทือกเขาเพชรบูรณ์ในเขตพื้นที่อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ไหลลงใต้ผ่าน จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดลพบุรี จังหวัดสระบุรี และ จังหวัดพระนครศรีอ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และแม่น้ำป่าสัก · ดูเพิ่มเติม »

แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์

แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ (13 สิงหาคม พ.ศ. 2494 — 16 เมษายน พ.ศ. 2552) อดีตนักมวยแชมป์โลกชาวไทย รุ่นซูเปอร์ไลท์เวท (140 ปอนด์) ของสภามวยโลก (WBC) มีชื่อจริงว่า บุญส่ง มั่นศรี เป็นชาวตำบลสะเดียง อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ แสนศักดิ์ เป็นนักมวยที่มีช่วงแขนยาวกว่าปกติ และมีหมัดซ้ายหนักโดยธรรมชาติ นับเป็นแชมป์โลกชาวไทยคนที่ 5 และเป็นนักมวยแชมป์โลกรุ่นใหญ่ที่สุดเท่าที่ประเทศไทยเคยมีมา นอกจากนี้แสนศักดิ์ยังเป็นเจ้าของสถิติโลก ที่ชกมวยสากลเพียง 3 ครั้งก็ได้ครองตำแหน่งแชมป์โลกอีกด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และแสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลวิเชียรบุรี

รงพยาบาลวิเชียรบุรี เริ่มต้นมาจากสถานีอนามัยชั้นหนึ่ง อำเภอวิเชียรบุรีสร้างขึ้นครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และโรงพยาบาลวิเชียรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช

รงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช (รพร.) เป็นโรงพยาบาลชุมชนประจำอำเภอสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (ยกเว้นโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสระแก้วและโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดมที่เป็นโรงพยาบาลทั่วไป) มีขีดความสามารถระดับปฐมภูมิ (Primary Care) หรือระดับทุติยภูมิ (Secondary Care) ในบางแห่ง มีจำนวนเตียง 30 - 200 เตียง ดำเนินการโดยมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช โดยโครงการก่อสร้างโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2520 ในสมัยรัฐบาลนายกรัฐมนตรีศาสตราจาย์ธานินทร์ กรัยวิเชียร ซึ่งมีดำริที่จะสร้างโรงพยาบาลอำเภอ ขนาด 30 เตียง ในอำเภอท้องถิ่นทุรกันดารในขณะนั้น จำนวน 20 แห่ง ทั่วทุกภาคของประเทศ เพื่อน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นของขวัญแด่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร) เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีอภิเษกสมรส 3 มกราคม พ.ศ. 2520 ปัจจุบันในประเทศไทยมีโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช 21 แห่ง ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลอานันทมหิดล

รงพยาบาลอานันทมหิดล (Ananda Mahidol Hospital) กรมแพทย์ทหารบก เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของกองทัพบกไทย ให้บริการทั้งข้าราชการทหารและพลเรือนรวมถึงประชาชนทั่วไป และใหญ่เป็นลำดับที่สามรองจากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า และ โรงพยาบาลค่ายสุรนารี ปัจจุบันโรงพยาบาลอานันทมหิดล ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และโรงพยาบาลอานันทมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลในประเทศไทย

รงพยาบาล (หรืออาจใช้ว่า สถานพยาบาล หรือ ศูนย์การแพทย์) เป็นสถานที่สำหรับการบริการทางด้านสุขภาพ โดยมักที่จะมุ่งเน้นทางด้านการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูภาวะความเจ็บป่วย หรือโรคต่างๆ ทั้งทางร่างกายและทางจิตใจ ในประเทศไทยมีการให้บริการทั้งโรงพยาบาลรัฐบาล โรงพยาบาลเอกชน รวมทั้งคลินิกที่เปิดบริการโดยทั่วไป.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และโรงพยาบาลในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบึงสามพันวิทยาคม

รงเรียนบึงสามพันวิทยาคม (อังกฤษ: Bungsamphan Wittayakom School; อักษรย่อ: บ.ว.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ประเภทสหศึกษา และเป็นโรงเรียนประจำอำเภอบึงสามพัน ตั้งอยู่เลขที่ 800 หมู่ 7 ต.ซับสมอทอด อ.บึงสามพัน.เพชรบูรณ์ ติดถนนสระบุรี - หล่มสัก ห่างตัวจังหวัดเพชรบูรณ์ 80 กิโลเมตร มีพื้นที่ 50 ไร่ เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น(ม.1-ม.3)และตอนปลาย(ม.4-ม.6) ปัจจุบันมีครู-อาจารย์ที่ทำการสอนอยู่จำนวน 56 คน มีนักเรียนกำลังศึกษาอยู่จำนวน 1,580 คน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และโรงเรียนบึงสามพันวิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนฤทัยทิพย์

รงเรียนฤทัยทิพย์ (อักษรย่อ: ฤ.ท., RT) เป็นโรงเรียนเอกชน เมื่อแรกก่อตั้งเป็นโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ และเป็นคริสตจักรเพื่อนมัสการพระเจ้า โดยปัจจุบันเป็นโรงเรียนสหศึกษา จึงเป็นที่รู้จักของชาวเพชรบูรณ์และถูกเรียกอย่างแพร่หลายว่าเป็น "โรงเรียนกระโปรงแดง" และเป็นโรงเรียนเอกชนของจังหวัดเพชรบูรณ์ ก่อตั้งในปี พ.ศ. - ปัจจุบันมีอายุ - ปี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่7 หมู่ที่18 ตำบลบ้านกลาง อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ 67110 ประเทศไทย รหัสสถานศึกษา 116700018.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และโรงเรียนฤทัยทิพย์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนหนองไผ่

รงเรียนหนองไผ่ (Nongphai School, อักษรย่อ: น.ผ.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ตั้งอยู่เลขที่ 700 หมู่ 6 ตำบลหนองไผ่ อำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ติดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21 ห่างจากเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ 58 กิโลเมตร มีพื้นที่ 80 ไร่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และโรงเรียนหนองไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก

รงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์ที่จัดตั้งขึ้นจากวัตถุประสงค์ของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อสนองพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ที่ทรงมุ่งมั่นจะส่งเสริมคุณภาพชีวิต ในด้านความเป็นอยู่และการศึกษาของเยาวชนโดยเฉพาะเยาวชนที่อยู่ห่างไกล ปัจจุบันเป็นโรงเรียนที่อยู่ในแผนและยุทธศาสตร์ สำหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์ โดยจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น - ตอนปล.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนไทยรัฐวิทยา

รงเรียนไทยรัฐวิทยา เป็นโรงเรียนรัฐบาล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กรมสามัญศึกษา) อยู่ภายใต้การอุปถัมภ์ของ มูลนิธิไทยรั.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และโรงเรียนไทยรัฐวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเพชรพิทยาคม

รงเรียนเพชรพิทยาคม (อักษรย่อ: พ.ช., PKS) เป็นโรงเรียนรัฐบาล เมื่อแรกก่อตั้งเป็นโรงเรียนประจำมณฑลเพชรบูรณ์ และเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดเพชรบูรณ์โดยเป็นโรงเรียนชายล้วนแต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็นโรงเรียนสหศึกษา จึงเป็นที่รู้จักของชาวเพชรบูรณ์และถูกเรียกอย่างแพร่หลายว่าเป็น "โรงเรียนชาย" และเป็นโรงเรียนรัฐบาลและสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาแห่งแรกของจังหวัดเพชรบูรณ์ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2444 ปัจจุบันมีอายุ 116 ปี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ทิศตะวันออกของถนนสามัคคีชัย(สระบุรี-หล่มสัก) เลขที่ 210 ตำบลในเมือง อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ รหัสไปรษณีย์ 67000 รหัสสถานศึกษา 1067101001.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และโรงเรียนเพชรพิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเมตตาวิทยา

รงเรียนเมตตาวิทยา จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นโรงเรียนเอกชน ประเภทสามัญศึกษาขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ในพื้นที่ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์เขต ๒ เปิดสอนตั้งแต่ระดับเตรียมปฐมวัย ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา (อ.1-ม.6) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2545 โดยมีอาจารย์เรือน ชนะวาที เป็นผู้จัดการ และอาจารย์จิตรา ชนะวาที เป็นผู้รับใบอนุญาตและผู้อำนวยการ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และโรงเรียนเมตตาวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โฮมโปร

มโปร (HomePro) ชื่อเต็ม บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และโฮมโปร · ดูเพิ่มเติม »

โคลนถล่ม

ลนถล่มพัดสะพานและถนนขาด ใน อ.ท่าปลา อุตรดิตถ์ โคลนถล่ม เป็นภัยธรรมชาติ คือ คำเรียกรวมๆของการเคลื่อนที่ของมวลสาร (Mass movement หรือ mass-wasting) ซึ่งคือ กระบวนการเคลื่อนตัวของมวลหิน ดินและทรายลงมาตามความลาดชันภายใต้แรงดึงดูดของโลกเป็นหลัก โดยอาจอาศัยตัวกลางระหว่างการพัดพา ยกตัวอย่างเช่น น้ำ, ลมและธารน้ำแข็ง ซึ่งตัวกลางเหล่านี้เป็นตัวช่วยเสริมการย้ายมวล ดังนั้นหากตะกอนอิ่มตัวด้วยน้ำ แรงเสียดทานระหว่างเม็ดตะกอนจะลดลง การย้ายมวลจึงเกิดได้ดีขึ้น หลายคนเข้าใจว่า การย้ายมวลเกิดเฉพาะบนแผ่นดิน (Continents) เท่านั้น แต่จากการศึกษาทางธรณีฟิสิกส์และการลำดับชั้นหินตะกอนพบว่า บริเวณไหล่ทวีป ของมหาสมุทรหลายแห่ง มีการเคลื่อนตัวของตะกอนเช่นเดียวกับบนแผ่นดิน และจัดเป็นการเคลื่อนตัวอย่างรวดเร็วลงมาตามความลาดชัน เรียกว่า กระแสน้ำขุ่นข้น (turbidity current).

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และโคลนถล่ม · ดูเพิ่มเติม »

ไชยวัฒน์ ไตรยสุนันท์

วัฒน์ ไตรยสุนันท์ (เกิด 4 มิถุนายน พ.ศ. 2483) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ 2 สมัย และอดีตผู้อำนวยการองค์การคลังสินค้.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และไชยวัฒน์ ไตรยสุนันท์ · ดูเพิ่มเติม »

ไพศาล จันทรภักดี

นายไพศาล จันทรภักดี (เกิด 25 มีนาคม พ.ศ. 2492) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ 7 สมั.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และไพศาล จันทรภักดี · ดูเพิ่มเติม »

ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์

.ต.ท.ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกำแพงเพชร สังกัดพรรคความหวังใหม่ พรรคไทยรักไทย และต่อมาได้ย้ายมาลงสมัครในเขตจังหวัดเพชรบูรณ์ สังกัดพรรคพลังประชาชน เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2501 สมรสกับอุดมรัตน์ อาภรณ์รัตน์ ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และไวพจน์ อาภรณ์รัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก

ทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก (Thailand Amateur League) คือลีกฟุตบอลระดับสมัครเล่นของประเทศไทย และนับเป็นลีกลำดับชั้นที่ 5 ของระบบฟุตบอลลีกภายในประเทศ ซึ่งเริ่มแข่งขันเป็นครั้งแรกใน ฤดูกาล 2559 โดยแบ่งการแข่งขันออกเป็นโซนต่างๆ แชมป์ของแต่ละโซนจะได้เลื่อนขั้นขึ้นไปแข่งขันในระดับลีกอาชีพ ไทยลีก 4 ต่อไป.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก · ดูเพิ่มเติม »

ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก ฤดูกาล 2560

ทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก (Thailand Amatuer League) ฤดูกาล 2560 เป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกสมัครเล่นของประเทศไทย ที่จัดขึ้นเป็นฤดูกาลที่ 2 เริ่มการแข่งขันตั้งแต่วันที่ 27 สิงหาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก ฤดูกาล 2560 · ดูเพิ่มเติม »

ไทโคราช

ทเบิ้ง ไทเดิ้ง หรือไทโคราช เป็นกลุ่มชนพื้นถิ่นที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ใน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และไทโคราช · ดูเพิ่มเติม »

ไดโนเสาร์ในประเทศไทย

นื่องจากไดโนเสาร์มีชีวิตอยู่ในช่วงมหายุคมีโซโซอิก ซากดึกดำบรรพ์ไดโนเสาร์จึงอยู่ในชั้นของหินตะกอนที่สะสมตัวกันในช่วงนี้ ซึ่งในประเทศไทย หินที่มีอายุดังกล่าวพบอยู่ทั่วไปในบริเวณที่ราบสูงโคราช และพบอยู่เป็นแห่งๆ ในภาคเหนือและภาคใต้ หินบริเวณที่ราบสูงโคราชนั้น เรียกว่า กลุ่มหินโคราช ซึ่งแบ่งออกเป็นหมวดหินย่อยๆ ได้อีก 6 หมวด คือ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และไดโนเสาร์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เฟรนด์ชิพ เธอกับฉัน

ฟรนด์ชิพ เธอกับฉัน เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 กำกับโดย ไรท์ เบรนทีม ฝีมือเขียนบทของ เหมี่ยว-ปวันรัตน์ นาคสุริยะ นำแสดงโดย มาริโอ้ เมาเร่อ ประกบกับ สายป่าน-อภิญญา สกุลเจริญสุข และนักแสดงรุ่นใหญ่อย่าง เจ-เจตริน วรรธนะสิน, โอ-วรุฒ วรธรรม, ปอ-ปุณยวีร์ สุขกุลวรเศรษฐ์, ก้อย-บุญญิตา งามสรรพศิลป์, ป๋าเต็ด-ยุทธนา บุญอ้อม และดีเจป๋อง-กพล ทองพลับ รวมทั้งนักแสดงหน้าใหม่ ที่คัดเลือกผู้สมัครจากทางบ้าน โดยผ่านเว็บไซต์ ภาพยนตร์เรื่องนี้ยังได้นำ “เพื่อน” เพลงเก่าของ แกรนด์เอ็กซ์ มาเป็นเพลงประกอบภาพยนตร์ โดยมี บอย-ตรัย ภูมิรัตน เป็นผู้ทำดนตรีใหม่ และ บี-เครสเชนโด (พีระพัฒน์ เถรว่อง) รับหน้าที่ขับร้อง.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเฟรนด์ชิพ เธอกับฉัน · ดูเพิ่มเติม »

เพชรบูรณ์ (แก้ความกำกวม)

รบูรณ์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเพชรบูรณ์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

เพ็ญเพ็ชร เพ็ญกุล

็ญเพ็ชร เพ็ญกุล เกิดเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2517 เป็นนักแสดง นักร้องชาวไทย จบการศึกษาจากสถาบันราชภัฏสวนดุสิต คณะวิทยาการจัดการ เอกนิเทศศาสตร์ สาขาวิทยุโทรทัศน์ มีผลงานการแสดงทั้งละครและภาพยนตร์ เคยออกผลงานอัลบั้มเพลงชุด อีกหนึ่งแจ๊บ ในปี พ.ศ. 2540 เคยได้รับรางวัลสุรัสวดี (ตุ๊กตาทอง) ดาวรุ่งฝ่ายชายจากภาพยนตร์ เร็วกว่าใจไกลเกินฝัน ชีวิตส่วนตัว เพ็ญเพ็ชร สมรสกับ ธัญญานุช แก้วประสงค์ ที่จังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อวัน อาทิตย์ ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2555 หลังจากดูใจกันเพียง 6 เดือน ท่ามกลางข่าวลือ ท้องก่อนแต่ง มีบุตรสาว1 คน เกิดในวันที่ 6 กันยายน 2555 ในช่วงปี2558-2559 ภรรยาได้แท้งลูกคนที่ 2.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเพ็ญเพ็ชร เพ็ญกุล · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องเงิน

อื้องเงิน (Dendrobium draconis) หรือ เอื้องตึง เอื้องงุม เป็นกล้วยไม้ที่ลำต้นเจริญทางด้านข้าง ดอกเดี่ยวหรือเป็นช่อดอกแบบกระจุก ดอกสีขาวเป็นมัน กลีบเลี้ยงสีเหลืองหรือสีแดงขอบกลีบบิดเป็นคลื่น ออกดอกช่วงเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม ในไทยพบได้ทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ เช่น ที่ เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน เลย สกลนคร เพชรบูรณ์ สระแก้ว กาญจนบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเอื้องเงิน · ดูเพิ่มเติม »

เอี่ยม ทองใจสด

นายเอี่ยม ทองใจสด (เกิด 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2484) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ เขต 6 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2529 ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเอี่ยม ทองใจสด · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคณะอำเภอ

้าคณะอำเภอเป็นตำแหน่งพระสังฆาธิการปกครองคณะสงฆ์ในระดับอำเภอ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเจ้าคณะอำเภอ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ

้าคณะใหญ่หนเหนือ คือเจ้าคณะใหญ่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์มหานิกายหนเหนือ ตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีเจ้าคณะใหญ่ปฏิบัติหน้าที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์ตามที่กำหนดในกฎมหาเถรสมาคม มหาเถรสมาคมจึงตรา "กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2535) ว่าด้วยระเบียบการปกครองคณะสงฆ์" กำหนดให้เจ้าคณะใหญ่หนเหนือปฏิบัติหน้าที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 4 ภาค 5 ภาค 6 และภาค 7.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเจ้าคณะใหญ่หนเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลลำนารายณ์

ลำนารายณ์ เป็นเทศบาลตำบลแห่งหนึ่งในอำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี เป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอชัยบาดาล มีระยะทางห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 200 กิโลเมตร อาจกล่าวได้ว่าเป็นศูนย์กลางทางราชการ ธุรกิจ และการคมนาคมที่สำคัญในอำเภอชัยบาดาลก็ว่าได้.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเทศบาลตำบลลำนารายณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลหล่มเก่า

หล่มเก่า เป็นเทศบาลตำบลแห่งหนึ่งในอำเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลหล่มเก่า เดิมมีฐานะเป็น "สุขาภิบาลหล่มเก่า" และได้เปลี่ยนแปลฐานะเป็น "เทศบาลตำบลหล่มเก่า" เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเทศบาลตำบลหล่มเก่า · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลหนองบัวบาน

ทศบาลตำบลหนองบัวบาน ตั้งอยู่ที่บ้านหนองบัวบาน อำเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี เป็นพื้นที่ที่มีชาติพันธุ์ซึ่งมีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง แตกต่างจากพื้นที่อื่นในอำเภอหนองวัวซอ เช่น ภาษาในการพูด จะพูดสำเนียงภาษาคล้ายทางภาคเหนือของประเทศลาว จังหวัดเลย และเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเทศบาลตำบลหนองบัวบาน · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลหนองไผ่ (จังหวัดเพชรบูรณ์)

หนองไผ่ เป็นเทศบาลตำบลแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นเมืองศูนย์กลางในอำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ มีประชากรในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเทศบาลตำบลหนองไผ่ (จังหวัดเพชรบูรณ์) · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลท่าข้าม

ทศบาลตำบลท่าข้าม สามารถหมายถึงเทศบาลตำบลที่มีชื่อเดียวกันนี้ในเขตจังหวัดต่าง ๆ คือ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเทศบาลตำบลท่าข้าม · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมือง

ทศบาลเมือง เป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นแบบเทศบาลสำหรับเมืองขนาดกลาง จัดตั้งโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ท้องถิ่นที่จะได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาลเมืองนั้น คือ ท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด เช่น เทศบาลเมืองเพชรบุรี (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดเพชรบุรี) เทศบาลเมืองสระแก้ว (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดสระแก้ว) หรือท้องถิ่นที่มีจำนวนราษฎรมากกว่า 10,000 คน และมีรายได้เพียงพอที่จะปฏิบัติหน้าที่ของเทศบาลเมืองตามที่กฎหมายกำหนดไว้ แต่ก็มีท้องถิ่นบางแห่งที่ไม่ได้เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดและมีจำนวนประชากรไม่ถึง 10,000 คน แต่ก็มีฐานะเป็นเทศบาลเมือง เนื่องจากได้รับการจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเทศบาลสมัยแรก ๆ ซึ่งวางเกณฑ์ต่างจากปัจจุบัน เช่น เทศบาลเมืองเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เทศบาลเมืองหลายแห่งมีฐานะเดิมเป็นเทศบาลตำบล เช่น เทศบาลตำบลหัวหิน เทศบาลตำบลชะอำ ที่ต่อมาได้ยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองหัวหินและเทศบาลเมืองชะอำตามลำดับ แต่ก็มีบางแห่งที่ได้รับการยกฐานะข้ามขั้นจากองค์การบริหารส่วนตำบลขึ้นมาโดยไม่เป็นเทศบาลตำบลมาก่อน เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองปรกฟ้า, องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งตำเสา จังหวัดสงขลา ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ทั้งนี้ หากท้องถิ่นใดได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมืองไปแล้วเป็นเวลา 1 ปี ตำแหน่งกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจำตำบล และสารวัตรกำนันในท้องถิ่นนั้น ๆ จะถูกยกเลิกไปด้วย นอกจากเทศบาลเมืองอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดจะมีชื่อเรียกตามชื่อจังหวัดแล้ว (ยกเว้นตัวจังหวัดที่เป็นเทศบาลนครแล้วจำนวน 22 จังหวัด และตัวจังหวัดสุโขทัยซึ่งมีชื่อว่า เทศบาลเมืองสุโขทัยธานี) เทศบาลเมืองที่ตั้งอยู่ในตัวอำเภอโดยทั่วไปมักมีชื่อตามชื่ออำเภอหรือตำบลที่เทศบาลตั้งอยู่ เช่น เขตเทศบาลเมืองสวรรคโลก ครอบคลุมเขตตำบลเมืองสวรรคโลก อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย แต่ก็มีบางแห่งที่ไม่ใช้ชื่ออำเภอหรือตำบลเป็นชื่อ เช่น เขตเทศบาลเมืองลัดหลวง ครอบคลุมเขตตำบลบางพึ่ง ตำบลบางจาก และตำบลบางครุ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เทศบาลเมืองมีนายกเทศมนตรีทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและมีสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 18 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรในเขตเทศบาล โดยเทศบาลเมืองมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความสะอาด สร้างและบำรุงถนนและท่าเรือ ดับเพลิงและกู้ภัย จัดการศึกษา ให้บริการสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังอาจจัดให้มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอื่น ๆ ได้ตามสมควร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเทศบาลเมือง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองวิเชียรบุรี

วิเชียรบุรี เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลเมือง ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ มีพื้นที่ 26.54 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 2 ตำบล คือ ตำบลท่าโรง และตำบลสระประดู่ มีประชากรในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเทศบาลเมืองวิเชียรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองหล่มสัก

หล่มสัก เป็นเทศบาลเมืองแห่งหนึ่งในจังหวัดเพชรบูรณ์ ตั้งอยู่ที่อำเภอหล่มสัก มีพื้นที่ครอบคลุมตำบลหล่มสักทั้งตำบล มีประชากรในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเทศบาลเมืองหล่มสัก · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองเพชรบูรณ์

รบูรณ์ เป็นเทศบาลเมืองในอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ และเป็นศูนย์กลางของจังหวัด มีประชากรในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เขาทราย แกแล็คซี่

ทราย แกแล็คซี่ (Khaosai Galaxy) เป็นอดีตนักมวยแชมเปี้ยนโลกชาวไทย รุ่นซูเปอร์ฟลายเวท (115 ปอนด์) ของ สมาคมมวยโลก (WBA) เป็นแชมป์โลกคนที่ 9 ของไทย มีชื่อจริงว่า สุระ แสนคำ ได้รับฉายาว่า ซ้ายทะลวงไส้ นอกจากนี้แล้ว เขาทรายยังมีพี่ชายฝาแฝด ซึ่งเป็น อดีตแชมป์โลกเช่นเดียวกันคือ เขาค้อ แกแล็คซี่ อดีตแชมป์โลกรุ่นแบนตั้มเวท WBA โดยมีระยะเวลาที่เป็นแชมป์โลกคู่กัน ซึ่งทำให้นับเป็นแชมป์โลกคู่แฝดรายแรกของโลกอีกด้วย หลังครองตำแหน่งเขาทรายสามารถป้องกันตำแหน่งได้ถึง 19 ครั้งติดต่อกัน นับเป็นสถิติโลกสูงสุด ในรุ่นซูเปอร์ฟลายเวทถึงปัจจุบัน และเป็นสถิติสูงสุดอันดับ 3 ในการป้องกันแชมป์โลกทุกรุ่นในขณะนั้น มีสถิติป้องกันตำแหน่งโดยชนะน็อค 16 ครั้ง ชนะคะแนนเพียง 3 ครั้ง และได้ประกาศแขวนนวมในฐานะ แชมป์โลกผู้ไม่เคยแพ้ใคร ตลอดระยะเวลาที่ครองตำแหน่ง 2,628 วัน หรือ 7 ปี 2 เดือน 30 วัน ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเขาทราย แกแล็คซี่ · ดูเพิ่มเติม »

เขาค้อ แกแล็คซี่

้อ แกแล็คซี่ อดีตแชมป์โลกรุ่นแบนตั้มเวท (118 ปอนด์) ของสมาคมมวยโลก หรือ WBA เป็นคู่แฝดกับเขาทราย แกแล็คซี.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเขาค้อ แกแล็คซี่ · ดูเพิ่มเติม »

เขตพื้นที่การศึกษา

ตพื้นที่การศึกษา (Educational Service Area) เป็นระบบการจัดแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาการปกครองที่จัดแบ่งโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อจัดระบบและกระจายอำนาจการจัดการศึกษาในประเทศไทยให้ครอบคลุมมากขึ้น เดิมมีสำนักงานประจำแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ใช้ชื่อว่า "สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษ..." (สพท.) และต่อมาได้มีการแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาออกเป็น 2 ระดับ คือ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา โดยจัดแบ่งเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเขตพื้นที่การศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

เขตพื้นที่สรรพากร

ตพื้นที่สรรพากร หรือ สรรพากรพื้นที่ เป็นระบบการจัดแบ่งเขตพื้นที่จัดแบ่งโดยกรมสรรพากร กระทรวงการคลัง เพื่อการบริหารงานจัดเก็บภาษีอากรในประเทศไทย ให้เป็นไปตามนโยบาย แผนงาน และเป้าหมายของกรม และสำนักงานสรรพากรภาค กำกับดูแลผู้เสียภาษีเป็นรายผู้ประกอบการ ตรวจปฏิบัติการ และตรวจสอบภาษีอากรสำหรับรายที่อยู่ในความรับผิดชอบ ดำเนินการเกี่ยวกับการเร่งรัดภาษีอากรค้าง และดำเนินคดีแก่ผู้เสียภาษี รวมทั้งตอบข้อหารือทางภาษีอากร กำกับติดตามและควบคุมการปฏิบัติงานของสำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา พิจารณาคืนเงินภาษีอากร ปฏิบัติงานด้านกรรมวิธีภาษี ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข่าวสาร ความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษีอากร ปัจจุบันมีเขตพื้นที่สรรพากรทั่วประเทศ จำนวน 11 พื้นที่ (รวมภาคได้ 12 ภาค).

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเขตพื้นที่สรรพากร · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศไทย

ตการปกครองของประเทศไทย แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบคือ การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค และการปกครองส่วนท้องถิ่น.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเขตการปกครองของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เขตมิสซังนครสวรรค์

ตมิสซังนครสวรรค์ ชาวคาทอลิกเรียงว่าสังฆมณฑลนครสวรรค์ เป็นมุขมณฑลโรมันคาทอลิกในประเทศไทย มีพื้นที่ครอบคลุม 13 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดสระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท อุทัยธานี นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ พิจิตร กำแพงเพชร ตาก พิษณุโลก สุโขทัย และจังหวัดอุตรดิตถ์ นับเป็นมุขมณฑลที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย สำนักมิสซังคาทอลิกนครสวรรค์ ตั้งอยู่ที่ 69/39.ดาวดึงส์ อ.เมือง.นครสวรรค์ 60000 มีมุขนายกยอแซฟ พิบูลย์ วิสิฐนนทชัย เป็นมุขนายกมิสซังองค์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเขตมิสซังนครสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตศาลยุติธรรมไทย

ตศาลยุติธรรมไทย เป็นเขตอำนาจตามที่พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลได้กำหนดไว้ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาทั้งปวงที่อยู่ในขอบเขต.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเขตศาลยุติธรรมไทย · ดูเพิ่มเติม »

เขตตรวจราชการ

ตตรวจราชการในประเทศไทย เขตตรวจราชการ เป็นการแบ่งเขตพื้นที่จังหวัดในประเทศไทย ออกเป็นกลุ่มต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการตรวจ ติดตามผล เร่งรัด แนะนำ สืบสวนสอบสวน สอบข้อเท็จจริง สดับตรับฟังเหตุการณ์ เสนอแนะ ติดต่อประสานงาน ตรวจเยี่ยม หรือดำเนินการอื่นใด เพื่อให้การปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐและเจ้าหน้าที่ของรัฐได้ผลสมประโยชน์ต่อทางราชการ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเขตตรวจราชการ · ดูเพิ่มเติม »

เดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ บนเวทีเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง อย่างเป็นทางการครั้งแรก ที่ลานคนเมือง ใกล้กับเสาชิงช้า และศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร เดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง เป็นกิจกรรมการปราศรัยของพรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) ในวันสุดสัปดาห์ ช่วงกลางปี พ.ศ. 2555 จนถึงปี พ.ศ. 2556 ที่จัดขึ้นในระหว่างที่รัฐสภาปิดสมัยการประชุม โดยเนื้อหาที่ปราศรัยเป็นการเชิญชวนให้ประชาชนต่อต้านกฎหมายนิรโทษกรรมและการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับ ปี พ.ศ. 2550 โดยทางฝ่ายพรรคเพื่อไทย (พท.) และรัฐบาล ที่ทางพรรคประชาธิปัตย์เชื่อว่าเป็นการออกกฎหมายเพื่อนิรโทษกรรมให้แก่ผู้ที่กระทำผิดในช่วงเหตุการณ์วิกฤตทางการเมืองที่เกิดขึ้นมาก่อนหน้านั้น โดยกิจกรรมนี้ ผู้ริเริ่ม คือ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตเลขาธิการพรรคเป็นผู้จัดการและออกค่าใช้จ่ายเองทั้งหมด โดยที่มิได้ใช้งบประมาณของพรรคแต่ประการใด โดยผู้ปราศรัย ส่วนใหญ่จะเป็นสมาชิกพรรคที่สำคัญ อาทิ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ, นายชวน หลีกภัย, นายสุเทพ เทือกสุบรรณ, นายกรณ์ จาติกวณิช และเสริมด้วยบุคคลอื่น ๆ เช่น นักวิชาการ เช่น นายแก้วสรร อติโพธิ, นักศึกษา และผู้จัดรายการสายล่อฟ้า เป็นต้น โดยมีการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ผ่านสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ ได้แก่ บลูสกายแชนแนล, ทีนิวส์ และไทยทีวีดี โดยถ่ายทอดสดทุกวันเสาร์ เวลา 16.30 - 21.00 น. หรือจนกว่าจนจบเวทีการปราศรัยเวทีเดินผ่าความจริง โดยก่อนหน้าที่จะเป็นเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง นั้น กิจกรรมนี้ใช้ชื่อว่า "สานเสวนาเวทีประชาชน" มาก่อน โดยการจัดเวทีปราศรัยได้เริ่มต้นในพื้นที่ภาคใต้ ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง · ดูเพิ่มเติม »

ISO 3166-2:TH

ISO 3166-2:TH เป็นรายการรหัสสำหรับประเทศไทย ในมาตรฐาน ISO 3166-2 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐาน ISO 3166 เผยแพร่โดยองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO) ซึ่งได้กำหนดรหัสสำหรับชื่อของเขตการปกครองระดับท้องถิ่น (เช่น จังหวัด หรือ รัฐ) และกำหนดรหัสสำหรับทั้งประเทศด้วย ISO 3166-1 ในปัจจุบันสำหรับประเทศไทย ISO 3166-2 มีความหมายถึง 1 เขตปกครองพิเศษ 1 เมืองพิเศษ และ 76 จังหวัด โดยเขตปกครองพิเศษกรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงของประเทศมีสถานะพิเศษเทียบเท่าจังหวัด และเมืองพัทยาเป็นนครบริหารตนเอง ในจังหวัดชลบุรี รหัสแต่ละตัวจะแบ่งเป็นสองส่วน ซึ่งคั่นด้วยยติภังค์ (-) ส่วนแรกคือ TH ซึ่งเป็นรหัสประเทศตามมาตรฐาน ISO 3166-1 แบบสองอักขระของประเทศไทย และส่วนที่สองเป็นตัวเลข เว้นแต่เมืองพัทยาที่ใช้ตัวอักษร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และISO 3166-2:TH · ดูเพิ่มเติม »

10 สิงหาคม

วันที่ 10 สิงหาคม เป็นวันที่ 222 ของปี (วันที่ 223 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 143 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และ10 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 สิงหาคม

วันที่ 11 สิงหาคม เป็นวันที่ 223 ของปี (วันที่ 224 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 142 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และ11 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 กุมภาพันธ์

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 56 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 309 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และ25 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

จ.เพชรบูรณ์เพชรบูรณ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »