เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

จักรวรรดิเยอรมัน

ดัชนี จักรวรรดิเยอรมัน

ักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันใน..

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 329 ความสัมพันธ์: บรุนฮัลด์ พอมเซลบัลดูร์ ฟอน ชีรัคฟรันซ์ ฟอน พาเพินฟรันซ์ ฮัลเดอร์ฟริทซ์ เซาค์เคิลฟรีดริช ฟรอมม์ฟรีดริช กุสทัฟ ยาคอบ เฮนเลฟรีดริช ฮอสส์บาคฟรีดริช นีทเชอฟิลิพพ์ ฟอน เบอเซลาแกร์ฟุตบอลทีมชาติรัสเซียพ.ศ. 2413พ.ศ. 2463พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ)พระราชวังแวร์ซายพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซียพระเจ้าลุดวิจที่ 2 แห่งบาวาเรียพระเจ้าวิลเลิมที่ 1 แห่งเนเธอร์แลนด์พระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวายพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 7 แห่งเดนมาร์กพอล เฮาเซอร์พันธมิตรฝรั่งเศส-รัสเซียพันธมิตรอังกฤษ-ญี่ปุ่นพันธมิตรทางการทหารฝรั่งเศส-โปแลนด์พันธมิตรแปดชาติกบฏอาบูชีรีกบฏนักมวยกองทัพบกจักรวรรดิเยอรมันกองทัพบกเยอรมัน (เวร์มัคท์)กองทัพเรือจักรวรรดิเยอรมันการรวมชาติเยอรมันการรวมประเทศเยอรมนีการสงบศึก 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918การทหารของเยอรมนี (แก้ความกำกวม)การทำให้เป็นประชาธิปไตยการปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1918-1919การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2460การแทรกแซงสามฝ่ายการแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก 1905การแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก 1910การแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก 1911การให้เอกราชการเลิกล้มราชาธิปไตยกางเขนเหล็กกึนเทอร์ ฟอน คลูเกอก็อทท์มิทอุนส์ก็อตต์ลีบ เดมเลอร์ฝ่ายมหาอำนาจกลางฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งมักซีมีเลียน ฟอน ไวชส์... ขยายดัชนี (279 มากกว่า) »

บรุนฮัลด์ พอมเซล

รุนฮัลด์ พอมเซล(Brunhilde Pomsel)(11 มกราคม 1911 - 27 มกราคม 2017)เป็นหญิงชาวเยอรมันซึ่งทำงานเป็นเลขานุการส่วนตัวของนายโยเซฟ เกิบเบลส์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงโฆษณาแถลงข่าวและโฆษณาชวนเชื่อแห่งนาซีเยอรมนีตั้งแต่ปี 1942 เป็นต้นม.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและบรุนฮัลด์ พอมเซล

บัลดูร์ ฟอน ชีรัค

ัลดูร์ เบเนอดิคท์ ฟอน ชีรัค (Baldur Benedikt von Schirach) เป็นนักการเมืองนาซี ผู้เป็นที่รู้จักในฐานะผู้นำฝ่ายเยาวชนของพรรคนาซีโดยดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าของยุวชนฮิตเลอร์ ตั้งแต่ปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและบัลดูร์ ฟอน ชีรัค

ฟรันซ์ ฟอน พาเพิน

ฟรันซ์ โยเซฟ แฮร์มัน ไมเคิล มาเรีย ฟอน พาเพิน ซู คอนนิเกน(Franz Joseph Hermann Michael Maria von Papen zu Köningen)(29 ตุลาคม ค.ศ.1879 – 2 พฤษภาคม ค.ศ.1969)เป็นขุนนางเยอรมัน,เจ้าหน้าที่เสนาธิการและนักการเมือง เขาทำหน้าที่นายกรัฐมนตรีของเยอรมนีในปี..1932 และในฐานะรองนายกรัฐมนตรีภายใต้การนำของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในปี..1933–1934 เขาเป็นกลุ่มที่ปรึกษาใกล้ชิดกับประธานาธิบดีเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กในช่วงปลายของสาธารณรัฐไวมาร.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฟรันซ์ ฟอน พาเพิน

ฟรันซ์ ฮัลเดอร์

ฟรันซ์ ฮัลเดอร์ (Franz Halder) เป็นพลเอกเยอรมันและเป็นเสนาธิการกองบัญชาการสูงสุดกองทัพบกเยอรมัน(OKH) ตั้งแต่ปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฟรันซ์ ฮัลเดอร์

ฟริทซ์ เซาค์เคิล

แอนสท์ ฟริซดิซ คริสตอฟ "ฟริทซ์" เซาค์เคิล(27 ตุลาคม ค.ศ. 1894 – 16 ตุลาคม ค.ศ. 1946) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมัน,เกาไลแตร์แห่งทูริงเกียและนายพลผู้มีอำนาจสูงสุดสำหรับโครงการการพัฒนาในการบังคับใช้แรงงานทาส ตั้งแต่เดือนมีนาคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฟริทซ์ เซาค์เคิล

ฟรีดริช ฟรอมม์

ฟรีดริช ฟรอมม์ (Friedrich Fromm; 8 ตุลาคม ค.ศ. 1888 – 12 มีนาคม ค.ศ. 1945) เป็นนายทหารชาวเยอรมัน เกิดที่กรุงเบอร์ลิน เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในยศร้อยโท ต่อมาเมื่อพรรคนาซีขึ้นสู่อำนาจ ฟรอมม์ได้รับตำแหน่งผู้บังคับบัญชากองกำลังสำรอง (Replacement Army) ในช่วงปฏิบัติการบาร์บารอสซา ฟรอมม์ซึ่งมีตำแหน่งเป็นผู้บังคับบัญชากองกำลังสำรอง ก็เป็นหนึ่งในผู้ที่มีอำนาจสูงสุดในกองทัพ เขามีส่วนรู้เห็นถึงแผนลับ 20 กรกฎาคมและปฏิบัติการวาลคิรี แต่เมื่อแผนการล้มเหลว ฟรอมม์ได้สั่งประหารชีวิตผู้สมคบคิดหลายคนเพื่อปิดปากไม่ให้พาดพิงมาถึงตน แต่กระนั้น วันที่ 22 กรกฎาคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฟรีดริช ฟรอมม์

ฟรีดริช กุสทัฟ ยาคอบ เฮนเล

ฟรีดริช กุสทัฟ ยาคอบ เฮนเล (Friedrich Gustav Jakob Henle; 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1809 – 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1885) เป็นพยาธิแพทย์และนักกายวิภาคศาสตร์ชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองเฟือทในราชอาณาจักรบาวาเรีย เข้าเรียนด้านการแพทย์ที่มหาวิทยาลัยไฮเดลแบร์กและมหาวิทยาลัยบอนน์ ก่อนจะทำงานด้านกายวิภาคศาสตร์ที่เบอร์ลิน ต่อมาในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฟรีดริช กุสทัฟ ยาคอบ เฮนเล

ฟรีดริช ฮอสส์บาค

ฟรีดริช ฮอสส์บาค(22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1894 – 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1980) เป็นเจ้าหน้าที่นายทหารเยอรมันในกองทัพเวร์มัคท์ ผู้ที่ได้เป็นนายทหารคนสนิทของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฟรีดริช ฮอสส์บาค

ฟรีดริช นีทเชอ

ฟรีดริช วิลเฮล์ม นีทเชอ (Friedrich Wilhelm Nietzsche) (15 ตุลาคม ค.ศ. 1844 – 25 สิงหาคม ค.ศ. 1900) เป็นนักนิรุกติศาสตร์และนักปรัชญาชาวเยอรมัน นิยมเขียนการวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับเรื่องศาสนา คุณธรรม วัฒนธรรมร่วมสมัย ปรัชญา และวิทยาศาสตร์ เป็นภาษาเยอรมันในแบบเฉพาะตัว เพื่อแสดงถึงคติพจน์ต่าง ๆ งานเขียนของนิชเชอที่โด่งดังคือ"Beyond Good And Evil" และ"คือพจนาซาราทุสตรา".

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฟรีดริช นีทเชอ

ฟิลิพพ์ ฟอน เบอเซลาแกร์

ฟิลิพพ์ ฟอน เบอเซลาแกร์(6 กันยายน ค.ศ. 1917 – 1 พฤษภาคม ค.ศ. 2008) เป็นสมาชิกคนที่สองที่เหลือรอดชีวิตในแผนลับ 20 กรกฎาคม ผู้ส่วมรู้ร่วมคิดระหว่างเจ้าหน้าที่นายทหารแห่งกองทัพเวร์มัคท์ เพื่อลอบสังหารผู้นำเผด็จการเยอรมัน อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฟิลิพพ์ ฟอน เบอเซลาแกร์

ฟุตบอลทีมชาติรัสเซีย

ฟุตบอลทีมชาติรัสเซีย (Сборная России по футболу) เป็นทีมฟุตบอลประจำประเทศรัสเซีย บริหารและควบคุมโดยสหภาพฟุตบอลรัสเซีย และร่วมแข่งขันกับทางยูฟ่า ทีมชาติรัสเซียมีผลงานในฟุตบอลโลก โดยได้ร่วมแข่งขันในฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายสองครั้งใน ฟุตบอลโลก 1994 และ ฟุตบอลโลก 2002 และร่วมแข่งขันในฟุตบอลยูโร สามครั้ง ในปี 1996 2004 และ 2008 ซึ่งผลงานที่ดีที่สุดคือผ่านเข้าสู่รอบสี่ทีมสุดท้ายในปี 2008 ฟีฟ่า ได้พิจารณาให้รัสเซียเป็นทีมชาติที่เป็นทีมต่อมาจากทีมชาติสหภาพโซเวียต และ ทีมชาติเครือรัฐเอกราช ตามลำดั.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฟุตบอลทีมชาติรัสเซีย

พ.ศ. 2413

ทธศักราช 2413 ตรงกั.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและพ.ศ. 2413

พ.ศ. 2463

ทธศักราช 2463 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1920 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและพ.ศ. 2463

พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ)

ันเอก พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) อดีตนายทหารบก ผู้เป็นแกนหลักในเหตุการณ์กบฏบวรเดชเมื่อปี พ.ศ. 2476 พระยาศรีสิทธิสงคราม มีชื่อเดิมว่า ดิ่น ท่าราบ เกิดเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและพระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ)

พระราชวังแวร์ซาย

ระราชวังแวร์ซาย (Château de Versailles) เป็นพระราชวังหลวงแห่งหนึ่งของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ที่แวร์ซาย ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของกรุงปารีส พระราชวังแวร์ซายเป็นพระราชวังที่ยิ่งใหญ่และสวยงามแห่งหนึ่งของโลก.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและพระราชวังแวร์ซาย

พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย

ระเจ้าฟรีดริชที่ 2 (เยอรมัน: Friedrich II.; อังกฤษ: Frederick II หรือ พระเจ้าฟรีดริชมหาราช (24 มกราคม ค.ศ. 1712 - 17 สิงหาคม ค.ศ. 1786 เป็นพระมหากษัตริย์ปรัสเซียจากราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น โดยทรงครองราชย์ระหว่างปีค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย

พระเจ้าลุดวิจที่ 2 แห่งบาวาเรีย

ระเจ้าลุดวิจ ฟรีดริช วิลเฮลมที่ 2 (Ludwig Friedrich Wilhelm II) เป็นกษัตริย์แห่งบาวาเรียระหว่างวันที่ 10 มีนาคม ปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและพระเจ้าลุดวิจที่ 2 แห่งบาวาเรีย

พระเจ้าวิลเลิมที่ 1 แห่งเนเธอร์แลนด์

ระเจ้าวิลเลิมที่ 1 หรือ พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งเนเธอร์แลนด์ (Willem I der Nederlanden; William I of the Netherlands; 24 สิงหาคม พ.ศ. 2315 - 12 ธันวาคม พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและพระเจ้าวิลเลิมที่ 1 แห่งเนเธอร์แลนด์

พระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย

ระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย (Kalākaua) หรือ สมเด็จพระราชาธิบดีเดวิด ลาอาเมอา คามานาคาปูอู มาฮีนูลานี นาไลอาเอฮูโอกาลานี ลูมีอาลานี คาลาคาอัว (David Laamea Kamanakapuu Mahinulani Nalaiaehuokalani Lumialani Kalākaua) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 7 แห่งราชอาณาจักรฮาวาย ต่อจากพระเจ้าลูนาลิโลแห่งฮาวาย พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกในราชวงศ์คาลาคาอัวและถือได้ว่าพระองค์เป็นสมเด็จพระราชาธิบดีพระองค์สุดท้ายของฮาวาย เนื่องจากรัชกาลต่อจากพระองค์ซึ่งเป็นรัชกาลสุดท้ายดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชินีนาถ พระเจ้าคาลาคาอัวทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 1874 จนถึง 20 มกราคม 1891 โดยในระหว่างครองราชย์พระองค์ทรงได้รับฉายาว่า The Merrie Monarch.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและพระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย

พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 7 แห่งเดนมาร์ก

ระเจ้าเฟรเดอริกที่ 7 แห่งเดนมาร์ก (ภาษาเดนมาร์ก: Frederik 7. Konge af Danmark, พระนามเดิม: เฟรเดอริก คาร์ล คริสเตียน) (6 ตุลาคม พ.ศ. 2351 - 15 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 7 แห่งเดนมาร์ก

พอล เฮาเซอร์

อล เฮาเซอร์(7 ตุลาคม ค.ศ. 1880 – 21 ธันวาคม ค.ศ. 1972) เป็นผู้บัญชาการระดับยศสูงในหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สแห่งนาซีเยอรมนี ผู้มีบทบาทสำคัญในช่วงหลังสงครามในความพยายามของเหล่าอดีตสมาชิกของหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สเพื่อฟื้นฟูประวัติศาสตร์และกฏหมาย เฮาเซอร์ได้ทำหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่นายทหารในกองทัพปรัสเซียในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและได้รับตำแหน่งยศเป็นนายพลในไรชส์เฮร์ในช่วงระหว่างสงคราม ภายหลังจากปลดเกษียณ เขาได้เข้าร่วมหน่วยเอ็สเอ็สแห่งนาซีเยอรมนีและได้สร้างประโยชน์ในการจัดตั้งหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้ก้าวถึงระดับผู้บัญชาการกองทัพกลุ่ม เขาได้นำทหารหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สในยุทธการที่คาร์คอฟครั้งที่ 3, ยุทธการที่คูสค์ และการทัพนอร์ม็องดี เฮาเซอร์เป็นเจ้าหน้าที่ระดับสูงในหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สพร้อมกับเซพพ์ ดีทริซ ซึ่งไม่เหมือนกับดีทริซ เฮาเซอร์นั้นเป็นเจ้าหน้าที่นายทหารระดับมืออาชีพก่อนที่จะเข้าร่วมหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส หลังสงคราม เฮาเซอร์ได้กลายเป็นสมาชิกร่วมก่อตั้งและเป็นโฆษกคนแรกของกลุ่ม HIAG กลุ่มล็อบบี้และองค์กรทหารผ่านศึกที่ได้รับการตรวจสอบใหม่ ก่อตั้งโดยเหล่าอดีตเจ้าหน้าที่ระดับสูงในหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สในเยอรมนีตะวันตกในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและพอล เฮาเซอร์

พันธมิตรฝรั่งเศส-รัสเซีย

ันธมิตรฝรั่งเศส-รัสเซีย เป็นพันธมิตรทางการทหารระหว่างสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 กับจักรวรรดิรัสเซีย ซึ่งมีผลตั้งแต..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและพันธมิตรฝรั่งเศส-รัสเซีย

พันธมิตรอังกฤษ-ญี่ปุ่น

ันธมิตรอังกฤษ-ญี่ปุ่น (Anglo-Japanese Alliance, ญี่ปุ่น: 日英同盟 นิชิเอ-โดเม) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ข้อตกลงพันธไมตรีระหว่างบริเตนใหญ่และญี่ปุ่นฉบับที่หนึ่ง ได้รับการลงนามในกรุงลอนดอนเมื่อวันที่ 30 มกราคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและพันธมิตรอังกฤษ-ญี่ปุ่น

พันธมิตรทางการทหารฝรั่งเศส-โปแลนด์

นธิสัญญาพันธมิตรทางการทหารระหว่างฝรั่งเศส-โปแลนด์ มักจะหมายถึง พันธมิตรทางการทหารระหว่างสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สองกับฝรั่งเศส ซึ่งมีผลอยู่ระหว่าง ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและพันธมิตรทางการทหารฝรั่งเศส-โปแลนด์

พันธมิตรแปดชาติ

thumb พันธมิตรแปดชาติ (Eight-Nation Alliance) เป็นชื่อเรียกพันธมิตรของกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น จักรวรรดิเยอรมนี จักรวรรดิรัสเซีย จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ราชอาณาจักรอิตาลี สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และสาธารณรัฐฝรั่งเศส ซึ่งรุกรานจักรวรรดิจีนภายใต้การปกครองของราชวงศ์ชิงสมัยซูสีไทเฮา (Cíxǐ Tàihòu; Empress Dowager Cixi) ช่วงมีกบฏนักมวย และการปิดล้อมสถานอัครราชทูตในกรุงปักกิ่งเมื่อฤดูร้อนของปี 1900.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและพันธมิตรแปดชาติ

กบฏอาบูชีรี

แซนซิบาร์และเยอรมันแอฟริกาตะวันออก, ค.ศ. 1885-90 กบฏอาบูชีรีเป็นชื่อเรียกการจลาจลที่เกิดขึ้นในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและกบฏอาบูชีรี

กบฏนักมวย

กบฏนักมวย (Boxer Rebellion) หรือ ศึกพันธมิตรแปดชาติ เป็นการก่อความไม่สงบเพื่อต่อต้านจักรวรรดินิยมและคริสต์ศาสนานำโดย "สมาคมอี้เหอถวน" ในสมัยศตวรรษที่ 19 ชาวต่างชาติได้เข้ามาค้าขายในประเทศจีนนานเข้า ชาวต่างชาติก็เริ่มเข้ามามีอิทธิพลในจีนและได้ส่งกำลังทหาร อาวุธที่ทันสมัยและมิชชันนารีเข้าไปเผยแพร่ศาสนาคริสต์ เนื่องจากเหตุการณ์ดังกล่าวทำให้เกิดการรวมกลุ่มของชาวจีนผู้รักชาติเรียกว่า "กบฏนักมวย" ขึ้น นักมวยจะฝึกกังฟูซึ่งพวกเขาเชื่อว่าจะสามารถต่อกรกับผู้รุกรานจาก ยุโรป อเมริกาและญี่ปุ่นได้ กบฏนักมวยได้ทำการลอบสังหารมิชชันนารีชาวตะวันตก ประณามชาวต่างชาติ และเผาโบสถ์ ฯลฯ กบฏนักมวยได้รับการสนับสนุนจากซูสีไทเฮามาก ทั้งด้านการส่งทัพหลวงมาช่วยและเสริมอาวุธยุทธโธปกรณ์ต่างๆ ซึ่งหลังจากกลุ่มกบฏนักมวยถูกปราบได้ไม่นานก็เกิดการโค่นล้มราชวงศ์ชิงขึ้น.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและกบฏนักมวย

กองทัพบกจักรวรรดิเยอรมัน

กองทัพบกจักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Heer) เป็นกองทัพบกของจักรวรรดิเยอรมัน.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและกองทัพบกจักรวรรดิเยอรมัน

กองทัพบกเยอรมัน (เวร์มัคท์)

กองทัพบกเยอรมันหรือเรียกว่า เฮร์ (Heer) เป็นกองทัพบกเยอรมันในส่วนหนึ่งของกองทัพเวร์มัคท์,กองทัพประจำของเยอรมันในปี 1935 จนกระทั่งถูกปลดและสลายตัวในเดือนสิงหาคม ปี 1946.กองทัพเวร์มัคฺได้รวมถึงครีกซมารีเนอ (กองทัพเรือ),และลุฟท์วัฟเฟอ (กองทัพอากศ).ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง,จำนวนทหารทั้งหมด 13 ล้านนายรับใช้ในกองทัพเยอรมัน.บุคลากรของกองทัพส่วนใหญ่มาจากการเกณฑ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและกองทัพบกเยอรมัน (เวร์มัคท์)

กองทัพเรือจักรวรรดิเยอรมัน

กองทัพเรือจักรวรรดิเยอรมัน (Kaiserliche Marine ไคแซร์ลีเชอมารีเนอ) เป็นกองทัพเรือแห่งจักรวรรดิเยอรมัน โดยมีรากฐานจากกองทัพเรือปรัสเซีย ต่อมาเมื่อปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและกองทัพเรือจักรวรรดิเยอรมัน

การรวมชาติเยอรมัน

ักรวรรดิเยอรมันระหว่างค.ศ. 1871–1918 การรวมชาติเยอรมัน (Deutsche Einigung) คือการที่รัฐเล็กน้อยต่างๆที่พูดภาษาเยอรมันถูกรวมเข้าด้วยกันเป็นจักรวรรดิเยอรมัน การรวมชาติมีขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 18 มกราคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและการรวมชาติเยอรมัน

การรวมประเทศเยอรมนี

ผู้คนออกมารวมตัว ณ กำแพงเบอร์ลิน การรวมประเทศเยอรมนี (Deutsche Wiedervereinigung) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและการรวมประเทศเยอรมนี

การสงบศึก 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918

ังกล่าวถ่ายขึ้นหลังจากบรรลุข้อตกลงในการสงบศึกซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในภาพ รถไฟโดยสารคันดังกล่าวเป็นของเฟอร์ดินานด์ ฟอค และตำแหน่งอยู่ในป่าคองเปียญ ฟอคเป็นชายคนที่สองนับจากขวามือ การสงบศึกระหว่างฝ่ายพันธมิตรกับเยอรมนีได้มีการลงนามในรถไฟโดยสารในป่ากงเปียญ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและการสงบศึก 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918

การทหารของเยอรมนี (แก้ความกำกวม)

การทหารของเยอรมนี อาจหมายถึง.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและการทหารของเยอรมนี (แก้ความกำกวม)

การทำให้เป็นประชาธิปไตย

การทำให้เป็นประชาธิปไตย หรือ การเปลี่ยนเป็นประชาธิปไตย (Democratization) เป็นการเปลี่ยนระบอบการปกครองให้เป็นประชาธิปไตยยิ่งขึ้น ซึ่งอาจหมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอย่างสำคัญไปในทางประชาธิปไตย การเปลี่ยนจากระบอบอำนาจนิยมไปเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ จากระบอบอำนาจนิยมไปเป็นกึ่งประชาธิปไตย หรือจากกึ่งประชาธิปไตย/อำนาจนิยมไปเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ ซึ่งอาจมีผลเป็นความมั่นคงทางประชาธิปไตย (ดังที่สหราชอาณาจักรเป็นตัวอย่าง) หรืออาจจะกลับไปกลับมาบ่อย ๆ (ดังที่ อาร์เจนตินาเป็นตัวอย่าง) รูปแบบต่าง ๆ ของการเปลี่ยนเป็นประชาธิปไตยมักใช้อธิบายปรากฏการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ เช่น ประเทศจะเริ่มทำสงครามหรือไม่ เศรษฐกิจจะเติบโตหรือไม่ กระบวนการมีปัจจัยหลายอย่างรวมทั้งพัฒนาการทางเศรษฐกิจ ประวัติ และประชาสังคม ผลสูงสุดของกระบวนการนี้ก็เพื่อประกันว่า ประชาชนจะมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง และมีส่วนตัดสินใจในระบอบการปกครอง.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและการทำให้เป็นประชาธิปไตย

การปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1918-1919

การปฏิวัติเดือนพฤศจิกายน (Novemberrevolution) หรือ การปฏิวัติเยอรมัน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและการปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1918-1919

การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2460

ในวันที่ 6 เมษายน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและการประกาศสงครามต่อเยอรมนีของสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2460

การแทรกแซงสามฝ่าย

การแทรกแซงสามฝ่าย (Triple Intervention, ญี่ปุ่น: 三国干渉) คือการแทรงแทรงทางการทูตโดยจักรวรรดิรัสเซีย, จักรวรรดิเยอรมัน และประเทศฝรั่งเศส เมื่อ 23 เมษายน..1895 เกี่ยวกับข้อสัญญาในสนธิสัญญาชิโมะโนะเซะกิ ที่ญี่ปุ่นได้ลงนามกับราชวงศ์ชิงของจีนเพื่อยุติสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง สนธิสัญญาดังกล่าวทำให้ญี่ปุ่นได้เข้าครอบครองคาบสมุทรเหลียวตงตลอดจนเมืองท่าสำคัญอย่างพอร์ทอาเทอร์ รัสเซียซึ่งมีเขตอิทธิพลอยู่ในจีนอยู่แล้วเกิดความกังวลใจถึงการรุกคืบของญี่ปุ่น รัสเซียได้ชักชวนเยอรมันและฝรั่งเศสร่วมกดดันให้ญี่ปุ่นคืนดินแดนดังกล่าวแก่จีนแลกกับการที่ญี่ปุ่นจะได้รับค่าปฏิกรรมสงครามจากจีนมากขึ้นอีก 30 ล้านตำลึง รวมเป็น 230 ล้านตำลึง (จากเดิม 200 ล้านตำลึง) ญี่ปุ่นได้มีปฏิกิริยาตอบโต้การแทรกแซงครั้งนี้และกลายเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้เกิดสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่นในปี 1904Kowner, Historical Dictionary of the Russo-Japanese War, p.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและการแทรกแซงสามฝ่าย

การแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก 1905

การแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก พ.ศ. 2448 จัดขึ้นทั้งหมด 3 สนาม โดยสองสนามแรกจัดขึ้นที่ จักรวรรดิเยอรมัน และ สนามที่ 3 จัดขึ้นที่ สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและการแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก 1905

การแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก 1910

การแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก พ.ศ. 2453 จัดขึ้นทั้งหมด 2 สนาม โดยสนามแรกจัดขึ้นที่ จักรวรรดิเยอรมัน และ สนามที่ 2 จัดขึ้นที่ จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและการแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก 1910

การแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก 1911

การแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก พ.ศ. 2454 จัดขึ้นทั้งหมด 4 สนาม โดยสามสนามแรกจัดขึ้นที่ จักรวรรดิเยอรมัน และ สนามที่ 4 จัดขึ้นที่ จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและการแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก 1911

การให้เอกราช

การให้เอกราช (decolonization หรือ decolonisation) หมายถึงล้มล้างลัทธิล่าอาณานิคม การก่อตั้งวิธีการปกครองหรือองค์กรบริการอำนาจผ่านทางการสร้างข้อตกลงกับประเทศอื่น ๆ หรือเขตอำนาจศาล คำดังกล่าวมักหมายถึงการได้รับเอกราชของอาณานิคมและรัฐในอารักขาของชาติตะวันตกในทวีปเอเชียและแอฟริกาหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง การบรรลุการให้เอกราชเป็นผลมาจากการได้รับเอกราช การผสมผสานเข้ากับอำนาจการบริหารหรือรัฐอื่น หรือการสร้างสถานะ "การรวมตัวเสรี" คณะกรรมการพิเศษด้านการให้เอกราชของสหประชาชาติ ระบุว่า กระบวนการให้เอกราชนั้น ไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากแนวคิดของการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง การให้เอกราชอาจรวมไปถึงการเจรจาอย่างสันติ และ/หรือการปฏิบัติอย่างรุนแรง และการต่อสู้ด้วยกำลังของประชากรพื้นเมือง การให้เอกราชอาจเป็นกิจการภายในหรืออาจเกี่ยวข้องกับการแทรกแซงจากอำนาจต่างประเทศหรือองค์กรระหว่างประเทศ เช่น สันนิบาติชาติหรือสหประชาชาติ ก็ได้ ถึงแม้ว่าตัวอย่างของการให้เอกราชจะพบได้นับแต่สมัยโบราณเป็นต้นมา ในช่วงเวลาสมัยใหม่ มีช่วงเวลาการให้เอกราชที่เฉพาะเป็นจำนวนมาก อาทิ การล่มสลายของจักรวรรดิสเปนในคริสต์ศตวรรษที่ 19 การล่มสลายของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี จักรวรรดิออตโตมัน และจักรวรรดิรัสเซียภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง การล่มสลายของจักรวรรดิอังกฤษ จักรวรรดิฝรั่งเศส จักรวรรดิเยอรมัน และจักรวรรดิอาณานิคมอิตาลี ในช่วงต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง และการล่มสลายของสหภาพโซเวียตภายหลังกำแพงเบอร์ลินถูกพังทลาย ในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและการให้เอกราช

การเลิกล้มราชาธิปไตย

ในประวัติศาสตร์โลก มีการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ในหลายประเทศทั่วโลก สาเหตุการล่มสลายของราชวงศ์อาจเป็นผลมาจากการปฏิวัติ, การตั้งสาธารณรัฐ, การลงประชามติของประชาชน, การรัฐประหาร หรือจากสงคราม.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและการเลิกล้มราชาธิปไตย

กางเขนเหล็ก

กางเขนเหล็กแบบมาตรฐาน รูปหล่อทูตสวรรค์บนรถม้าชูคทามีตรากางเขนเหล็กเหนือประตูบรันเดินบวร์คในกรุงเบอร์ลิน กางเขนเหล็ก (Eisernes Kreuz, ไอเซอร์เนส ครอยซ์) เป็นเครื่องหมายทางทหารที่เกิดขึ้นในสมัยราชอาณาจักรปรัสเซีย ซึ่งใช้เรื่อยมาในยุคจักรวรรดิเยอรมัน (ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและกางเขนเหล็ก

กึนเทอร์ ฟอน คลูเกอ

กึนเทอร์ ฟอน คลูเกอ (Günther von Kluge) เป็นจอมพลเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง คลูเกอได้ถือคำสั่งแนวรบตะวันตกและแนวรบตะวันออกและได้รับเหรียญอัศวินกางเขนเหล็กใบโอ๊กและดาบ แม้ว่าคลูเกอไม่ได้มีส่วนรู้ร่วมคิดในแผนลับ 20 กรกฎาคม เขาได้ฆ่าตัวตายด้วยการกินยาพิษไซยาไนด์เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1944 หลังจากถูกเรียกให้กลับไปยังกรุงเบอร์ลินสำหรับการประชุมกับฮิตเลอร์ในผลพวงการรัฐประหารที่ล้มเหลว จอมพล วัลเทอร์ โมเดิล ได้ทำหน้าที่ต่อจาก.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและกึนเทอร์ ฟอน คลูเกอ

ก็อทท์มิทอุนส์

First World War-era Prussian enlisted man's belt buckle ตราแผ่นดินของปรัสเซีย ปี ค.ศ. 1933–1935 ก็อทท์มิทอุนส์ (Gott mit uns แปล: พระเจ้าอยู่กับเรา) เป็นถ้อยคำวลีที่ใช้กันทั่วไปในการกล่าวคำขวัญประจำในประเทศปรัสเซีย (ตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและก็อทท์มิทอุนส์

ก็อตต์ลีบ เดมเลอร์

ก็อตต์ลีบ วิลเฮล์ม เดมเลอร์ (Gottlieb Wilhelm Daimler; 17 มีนาคม ค.ศ. 1834 – 6 มีนาคม ค.ศ. 1900) เป็นวิศวกรชาวเยอรมัน เป็นผู้บุกเบิกการผลิตเครื่องยนต์สันดาปภายในและพัฒนารถยนต์ และร่วมกับวิลเฮล์ม เมย์บัคผลิตรถจักรยานยนต์เป็นครั้งแรกในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและก็อตต์ลีบ เดมเลอร์

ฝ่ายมหาอำนาจกลาง

ฝ่ายมหาอำนาจกลาง (Central Powers) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจและเป็นพันธมิตรทางการทหารกลุ่มหนึ่งในทวีปยุโรป ซึ่งร่วมมือกันต่อสู้กับฝ่ายสัมพันธมิตรในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นำโดยจักรวรรดิเยอรมัน จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และจักรวรรดิออตโตมัน.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฝ่ายมหาอำนาจกลาง

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

แผนที่โลกแสดงฝ่ายต่าง ๆ ของผู้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สีเขียวคือฝ่ายสัมพันธมิตร สีส้มคือฝ่ายมหาอำนาจกลาง และสีเทาคือประเทศที่เป็นกลาง พันธมิตรทางทหารในทวีปยุโรปก่อนเกิดสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (Forces de l'Entente / Alliés; Alleati; Союзники, Soyuzniki) เป็นประเทศที่ทำสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สมาชิกของข้อตกลงไตรภาคีได้แก่ สาธารณรัฐฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ และจักรวรรดิรัสเซีย ต่อมา อิตาลีเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายไตรภาคีในปี 1915 ส่วนญี่ปุ่น เบลเยียม เซอร์เบีย กรีซ มอนเตเนโกร โรมาเนีย และ ลีเจียนเชกโกสโลวาเกีย เป็นสมาชิกรองของข้อตกลง.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

มักซีมีเลียน ฟอน ไวชส์

มักซีมีเลียน ไรชส์ไฟรแฮร์ ฟอน ไวช์ส (Maximilian Reichsfreiherr von Weichs; 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1881 – 27 กันยายน ค.ศ. 1954) เป็นจอมพลในกองทัพเวร์มัคท์แห่งนาซีเยอรมนี เขาได้บัญชาการหลายกองทัพและกองทัพกลุ่ม รวมทั้งกองทัพที่สองในช่วงปฏิบัติการบาร์บารอสซาและกองทัพกลุ่มบีในช่วงยุทธการที่สตาลินกราดในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและมักซีมีเลียน ฟอน ไวชส์

มักซ์ บอร์น

มักซ์ บอร์น (Max Born, 11 ธันวาคม ค.ศ. 1882 - 5 มกราคม ค.ศ. 1970) เป็นนักฟิสิกส์ผู้มีส่วนพัฒนาทฤษฎีด้านกลศาสตร์ควอนตัม และได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและมักซ์ บอร์น

มักซ์ แอนสท์

มักซ์ แอนสท์ (Max Ernst; 2 เมษายน ค.ศ. 1891 – 1 เมษายน ค.ศ. 1976) เป็นศิลปินชาวเยอรมัน เป็นผู้บุกเบิกงานด้านลัทธิเหนือจริงแล.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและมักซ์ แอนสท์

มันเฟรด ฟอน ริชโธเฟิน

มันเฟรด ฟอน ริชโธเฟิน (2 พฤษภาคม ค.ศ. 1892 - 21 เมษายน ค.ศ. 1918) เป็นนักบินเครื่องบินรบของเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เจ้าของฉายา เรดบารอน (Red Baron) ได้รับการบันทึกสถิติอย่างเป็นทางการว่าสามารถยิงเครื่องบินฝ่ายตรงข้ามตกถึง 80 ลำ โดยมีข้อมูลที่ยังไม่ได้รับการยืนยัน ว่าอาจจะถึง 100 ลำ Franks, Norman L.R.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและมันเฟรด ฟอน ริชโธเฟิน

มาร์ทิน บอร์มันน์

มาร์ติน บอร์มันน์ (Martin Bormann) เกิดวันที่ 17 มิถุนายน.ศ 1900 ที่รัฐซัคเซิน-อันฮัลท์,จักรวรรดิเยอรมันเขาเสียชีวิตด้วยการฆ่าตัวตายในวันที่ 2 พฤษภาคม.ศ 1945ที่ฟือเลอร์บุงเกอร์กรุงเบอร์ลิน เขาเป็นเลขธิการของพรรคนาซีและเพื่อนของฮิตเลอร.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและมาร์ทิน บอร์มันน์

มาลีเอตัว เลาเปปา

มาลีเอตัว เลาเปปา (Malietoa Laupepa) (ค.ศ. 1841 – 22 สิงหาคม ค.ศ. 1898) ทรงเป็นมาลีเอตัวแห่งประเทศซามัว ในปลายศตวรรษที่ 19 มาลีเอตัว เลาเปปา เป็นโอรสในมาลีเอตัว โมลีกับฟาอาลาอิตูอิโอ ฟูอาติโน ซูอา พระองค์ทรงได้เข้ารับศึกษาที่ศาสนาที่วิทยาลัยมาลาอู ทำให้พระองค์ทรงเคร่งศาสนาคริสต์เป็นอย่างมาก พระองค์ทรงอภิเษกสมสกับซิซาวาอิ มาลูโป นิอูวาอาอิมีพระราชโอรส-ธิดาด้วยกัน 3 พระองค์ หนึ่งในนั้นคือมาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 1 พระองค์ทรงครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งซามัว โดยมีจักรวรรดิเยอรมัน สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักรคอยแทรกแทรงทางการเมือง ตามาเซเซไม่ยอมรับพระองค์ และพยายามที่จะทำสงครามชิงราชบัลลังก์ ในที่สุดสงครามก็จบลงด้วยสนธิสัญญาสงบศึก พระองค์ยังคงครองราชย์ต่อไป มาลีเอตัว เลาเปปา เสด็จสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและมาลีเอตัว เลาเปปา

มิชาเอิล วิทท์มันน์

มิชาเอิล วิทท์มันน์ (Michael Wittmann, 22 เมษายน 1914 – 8 สิงหาคม 1944) เป็นทหารชาวเยอรมันในหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส,เป็นผู้บัญชาการรถถังระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.เขาได้รับดำรงตำแหน่งในหน่วยเอสเอสคือ SS-Hauptsturmführer (ร้อยเอก) และได้รับเหรียญกล้าหาญกางเขนเหล็กระดับชั้นอัศวิน.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและมิชาเอิล วิทท์มันน์

มณฑลพอเมอเรเนีย (ค.ศ. 1815–1945)

มณฑลพอเมอเรเนีย (Provinz Pommern; Province of Pomerania) เป็นมณฑลในราชอาณาจักรปรัสเซียและต่อมาเสรีรัฐปรัสเซียระหว่าง ค.ศ. 1815 จนถึง ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและมณฑลพอเมอเรเนีย (ค.ศ. 1815–1945)

ยอน ราเบอ

อน ราเบอ (John Rabe; 23 พฤศจิกายน 1882 — 5 มกราคม 1950) เป็นนักธุรกิจชาวเยอรมันผู้เป็นที่รู้จักกันในความพยายามที่จะหยุดยั้งการสังหารหมู่นานกิงของกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นระหว่างการยึดครองนานกิง และการทำงานของเขาในการป้องกันและช่วยเหลือประชาชนจีนในช่วงเหตุการณ์การสังหารหมู่นานกิง เขตปลอดภัยนานกิงที่เขาช่วยสร้างขึ้นนั้น ได้กลายมาเป็นที่พำนักและช่วยให้ชาวจีนประมาณ 200,000 คน รอดจากการสังหารหมู.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและยอน ราเบอ

ยุทธการที่แวร์เดิง

ทธการที่แวร์เดิง สู้รบกันตั้งแต่วันที่ 21 กุมภาพันธ์ถึง 18 ธันวาคม 1916 เป็นยุทธการที่มีขนาดใหญ่และยืดเยื้อที่สุดครั้งหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งบนแนวรบด้านตะวันตกระหว่างกองทัพเยอรมันและฝรั่งเศส ยุทธการเกิดขึ้นบนเขาทางเหนือของแวร์เดิง-ซูร์-เมิซในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศฝรั่งเศส กองทัพที่ 5 ของเยอรมันโจมตีการป้องกันของ Région Fortifiée de Verdun (RFV) และกองทัพที่ 2 ของฝรั่งเศสบนฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเมิซ ฝ่ายเยอรมันได้รับบันดาลใจจากประสบการณ์แห่งยุทธการที่ช็องปาญครั้งที่สองเมื่อปีก่อน วางแผนยึดที่สูงเมิซอย่างรวดเร็ว ทำให้มีที่ตั้งป้องกันที่ยอดเยี่ยมซึ่งจะยังให้พวกเขาระดมยิงปืนใหญ่ใส่แวร์เดิงโดยการยิงปืนใหญ่แบบสังเกตได้ ฝ่ายเยอรมันหวังว่าฝรั่งเศสจะทุ่มกำลังสำรองยุทธศาสตร์เพื่อยึดตำแหน่งดังกล่าวคืนและประสบความสูญเสียมหาศาลในการยุทธ์แห่งการบั่นทอนกำลัง เนื่องจากเยอรมันจะมีข้อได้เปรียบทางยุทธวิธี ลมฟ้าอากาศที่เลวทำให้เยอรมนีเลื่อนการเริ่มเข้าตีเป็นวันที่ 21 กุมภาพันธ์ แต่เยอรมันประสบความสำเร็จในขั้นต้น โดยยึดค่ายดูโอมง (Fort Douaumont) ได้ภายในสามวันแรกของการบุก จากนั้นการรุกของเยอรมนีช้าลงแม้ฝรั่งเศสเสียรี้พลไปมากมาย เมื่อถึงวันที่ 6 มีนาคม ทหารฝรั่งเศส 20 1/2 กองพลอยู่ใน RFV และมีการก่อสร้างการตั้งรับทางลึกอย่างกว้างขวาง เปแตงสั่งว่าห้ามถอย (On ne passe pas) และให้ตีโต้ตอบ แม้ว่าทหารราบฝรั่งเศสจะเปิดโล่งต่อการยิงจากปืนใหญ่เยอรมัน เมื่อวันที่ 29 มีนาคม ปืนใหญ่ฝรั่งเศศบนฝั่งตะวันตกเริ่มการระดมยิงอย่างต่อเนื่องใส่ที่ตั้งของเยอรมันบนฝั่งตะวันออก ทำให้ทหารราบเยอรมันเสียชีวิตไปเป็นอันมาก ในเดือนมีนาคม การรุกของเยอรมันขยายไปยังฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเมิซ เพื่อให้ได้สังเกตพื้นที่ซึ่งปืนใหญ่ฝรั่งเศสยิงข้ามแม่น้ำใส่ที่สูงเมิซ ฝ่ายเยอรมันสามารถรุกได้ทีแรก แต่กำลังหนุนฝรั่งเศสจำกัดการเข้าตีโดยไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ได้ ต้นเดือนพฤษภาคม ฝ่ายเยอรมันเปลี่ยนยุทธวิธีและทำการโจมตีท้องถิ่นและตีโต้ตอบ ซึ่งทำให้ฝรั่งเศสมีโอกาสโจมตีต่อค่ายดูโอมง ค่ายบางส่วนถูกยึดจนการตีโต้ตอบของเยอรมันยึดค่ายคืนและจับเชลยศึกได้เป็นจำนวนมาก ฝ่ายเยอรมันเปลี่ยนยุทธวิธีอีกครั้ง โดยสลับการเข้าตีบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำเมิซและในเดือนมิถุนายนยึดค่ายโว (Fort Vaux) ได้ ฝ่ายเยอรมันบุกต่อเลยโวมุ่งสู่วัตถุประสงค์ภูมิศาสตร์สุดท้ายของแผนเดิม คือ ที่เฟลอรี-เดอว็อง-ดูโอมง (Fleury-devant-Douaumont) และค่ายโซวีย์ (Fort Souville) ฝ่ายเยอรมันขับการยื่นเด่นเข้าสู่การป้องกันของฝรั่งเศส ยึดเฟลอรีและเข้าใกล้ระยะ 4 กิโลเมตรจากป้อมแวร์เดิง ในเดือนกรกฎาคม 1916 การบุกของเยอรมันลดลงเหลือการจัดส่งกำลังหนุนปืนใหญ่และทหารราบแก่แนวรบซอมและระหว่างปฏอบะติการท้องถิ่น หมู่บ้านเฟลอรีเปลี่ยนมือ 16 ครั้งตั้งแต่วันที่ 23 มิถุนายนถึง 17 สิงหาคม ความพยายามยึดค่ายโซวีย์ในต้นเดือนกรกฎาคมถูกปืนใหญ่และการยิงอาวุธเบาไล่กลับไป เพื่อจัดส่งกำลังหนุนแก่แนวรบซอม การบุกของเยอรมันยิ่งลดลงอีกและมีความพยายามตบตาฝรั่งเศสให้คาดหมายการโจมตีเพิ่มอีกเพื่อให้กำลังหนุนของฝรั่งเศสอยู่ห่างจากซอม ในเดือนสิงหาคมและธันวาคม การตีโต้ตอบของฝรั่งเศสยึดแผ่นดินที่เสียไปบนฝั่งตะวันออกคืนได้มากและยึดค่ายดูโอมงและโวได้ ยุทธการที่แวร์เดิงกินเวลา 303 วันและเป็นยุทธการที่ยืดเยื้อที่สุดและมียอดผู้เสียชีวิตสูงที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ การประเมินในปี 2000 พบว่ามีกำลังพลสูญเสียรวม 714,231 นาย เป็นฝรั่งเศส 377,231 นายและเยอรมัน 337,000 นาย เฉลี่ย 70,000 นายต่อเดือน การประเมินล่ากว่าเพิ่มจำนวนกำลังพลสูญเสียเป็น 976,000 นายระหว่างยุทธการ และมีกำลังพลสูญเสีย 1,250,000 นายที่แวร์เดิงระหว่างสงคราม.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและยุทธการที่แวร์เดิง

ยุทธนาวีที่พอร์ตอาเธอร์

ทธนาวีพอร์ตอาเธอร์ (ญี่ปุ่น: 旅順港海戦 / 旅順口海戦 เรียวจุงโก ไคเซ็ง หรือ 旅順港外海戦, เรียวจุงโกไง ไคเซ็ง) เป็นการรบกันทางทะเลเมื่อวันที่ 8-9 กุมภาพันธ์ ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและยุทธนาวีที่พอร์ตอาเธอร์

ยูลิอุส เชร็ค

ูลิอุส เชร็ค (Julius Schreck) เป็นเจ้าหน้าที่นาซีระดับชั้นอาวุโสและเป็นคนสนิทใกล้ชิดของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เขาเกิดในเมืองมิวนิก,เชร็คได้เข้าเป็นทหารในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและหลังจากนั้นไม่นานก็ได้เข้าร่วมหน่วยกึ่งทหารปีกขว.เขาได้เข้าร่วมพรรคนาซีในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและยูลิอุส เชร็ค

ยูลีอุส ชไตรเชอร์

ูลีอุส ชไตรเชอร์ (Julius Streicher) เป็นสมาชิกระดับแกนนำของพรรคนาซีในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นผู้ก่อตั้งและสำนักพิมพ์ของต่อต้านยิวหนังสือพิมพ์ Der Stürmer ซึ่งกลายเป็นองค์กรโฆษณาชวนเชื่อหลักของพรรคนาซี บริษัทสำนักพิมพ์ของเขายังปล่อยหนังสือสามเล่มที่มีเนื้อหาการต่อต้านยิวสำหรับเด็กรวมทั้ง Der Giftpilz ซึ่งเป็นหนึ่งในผลงานที่ได้แพร่หลายมากที่สุดของการโฆษณาชวนเชื่อซึ่งในเนื้อหานั้นได้กล่าวเตือนเกี่ยวกับอันตรายจากชาวยิวที่มีความร้ายกาจโดยใช้คำอุปมาของเห็ดพิษร้ายแรง.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและยูลีอุส ชไตรเชอร์

รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ

มส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต รัชทายาทที่ได้รับสมมุติแห่งอังกฤษและสกอตแลนด์ ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ (pretender) คือ ผู้อ้างการมีสิทธิ์ในตำแหน่งเกียรติหรือยศที่ไม่มีอยู่แล้ว ใช้กับอดีตพระมหากษัตริย์ หรือผู้สืบเชื้อสายอดีตพระมหากษัตริย์ซึ่งราชบัลลังก์มีผู้ครองแล้วหรือมีคู่แข่งอ้าง หรือถูกเลิกไปแล้วมากที่สุด ภาษาอังกฤษคำว่า “Pretend” มาจากภาษาฝรั่งเศส “prétendre” ที่แปลว่า ยื่นเสนอ เสนอ หรืออ้าง นอกจากนั้นคำว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ” ยังใช้กับกลุ่มผู้ที่พยายามอ้างสิทธิในนามของผู้อื่นไม่ว่าผู้นั้นจะทราบหรือทำการอ้างเองหรือไม่ และเป็นคำที่ใช้ได้ทั้งสำหรับผู้อ้างที่มีสิทธิที่แท้จริงในราชบัลลังก์ เช่น กรณีผู้อ้างหลายคนระหว่างสงครามดอกกุหลาบ หรือผู้ประดิษฐ์ข้ออ้างขึ้นเองในกรณีของแลมเบิร์ต ซิมเนล (Lambert Simnel) ผู้อ้างว่ามีสิทธิในราชบัลลังก์ของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ บุคคลในกลุ่มหลังนี้มักจะอ้างใช้ชื่อของบุคคลที่เสียชีวิตไปแล้วหรือพระญาติพระวงศ์ที่หายสาบสูญไป ซึ่งบางที่ก็จะเรียกว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติเท็จ” (false pretender) รัชทายาทที่ได้รับสมมุติของพระสันตะปาปา เรียก “พระสันตะปาปาเท็จ” (antipope).

ดู จักรวรรดิเยอรมันและรัชทายาทที่ได้รับสมมุติ

รัฐบาลพลัดถิ่น

รัฐบาลพลัดถิ่น (government in exile) เป็นกลุ่มการเมืองซึ่งอ้างตัวเป็นรัฐบาลที่ชอบด้วยกฎหมายของรัฐเอกราชรัฐหนึ่ง แต่ไม่อาจใช้อำนาจตามกฎหมายในรัฐนั้น และจำต้องพำนักอยู่นอกรัฐดังกล่าว รัฐบาลพลัดถิ่นมักคาดหวังว่า วันหนึ่งจะได้กลับคืนบ้านเมืองและครองอำนาจอย่างเป็นทางการอีกครั้ง รัฐบาลพลัดถิ่นต่างจากรัฐตกค้าง (rump state) ตรงที่รัฐตกค้างยังสามารถควบคุมส่วนหนึ่งส่วนใดในดินแดนเดิมได้อยู่ เช่น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง แม้จักรวรรดิเยอรมันเข้ายึดครองประเทศเบลเยียมได้เกือบทั้งประเทศ แต่ประเทศเบลเยียมและพันธมิตรยังครองภาคตะวันตกซึ่งเป็นส่วนน้อยของประเทศได้อยู่ จึงชื่อว่าเป็นรัฐตกค้าง ถ้าเป็นรัฐบาลพลัดถิ่นจะตรงกันข้าม คือ ไม่สามารถครอบครองดินแดนไว้ได้เลย รัฐบาลพลัดถิ่นมักมีขึ้นในช่วงการรบซึ่งดินแดนถูกยึดครองไป หรือมักเป็นผลมาจากสงครามกลางเมือง การปฏิวัติ หรือรัฐประหาร เช่น ระหว่างที่เยอรมนีขยายดินแดนในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐบาลยุโรปหลายชาติได้เข้าลี้ภัยในสหราชอาณาจักรเพื่อไม่ตกอยู่ในกำมือพวกนาซี รัฐบาลพลัดถิ่นยังอาจจัดตั้งขึ้นเนื่องจากเชื่อถือกันอย่างกว้างขวางว่า รัฐบาลซึ่งกำลังผ่านบ้านครองเมืองอยู่นั้นขาดความชอบธรรม เช่น หลังเกิดสงครามกลางเมืองซีเรีย พันธมิตรกองทัพปฏิวัติและฝ่ายค้านซีเรียแห่งชาติ (National Coalition for Syrian Revolutionary and Opposition Forces) ได้รับการจัดตั้งขึ้นโดยมุ่งหมายจะล้มล้างการปกครองของพรรคบะอัธ (Ba'ath Party) ซึ่งกำลังอยู่ในอำนาจ รัฐบาลพลัดถิ่นจะมีประสิทธิภาพหรือไม่ เบื้องต้นขึ้นอยู่กับว่า ได้รับการสนับสนุนมากหรือไม่ ไม่ว่าจะเป็นการสนับสนุนจากรัฐบาลต่างชาติหรือจากพลเมืองประเทศตนเอง รัฐบาลพลัดถิ่นบางชุดกลายเป็นกองกำลังอันน่าเกรงขาม เพราะสามารถท้าทายผู้ปกครองประเทศนั้น ๆ ได้อย่างฉกาจฉกรรจ์ ขณะที่รัฐบาลพลัดถิ่นอื่น ๆ ส่วนใหญ่มักมีสถานะเชิงสัญลักษณ์เท่านั้น ปรากฏการณ์รัฐบาลพลัดถิ่นมีมาก่อนคำว่า "รัฐบาลพลัดถิ่น" จะได้รับการใช้จริง ในยุคกษัตริย์ พระเจ้าแผ่นดินหรือราชวงศ์ที่ถูกอัปเปหิเคยตั้งราชสำนักพลัดถิ่น เช่น ราชวงศ์สจวร์ตซึ่งถูกโอลิเวอร์ ครอมเวล (Oliver Cromwell) ถอดจากบัลลังก์ ก็ไปตั้งราชสำนักพลัดถิ่น และราชวงศ์บูร์บง (House of Bourbon) ก็ทำเช่นเดียวกันในช่วงปฏิวัติฝรั่งเศสและช่วงนโปเลียน (Napoleon) เถลิงอำนาจ ครั้นเมื่อระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญแพร่หลายขึ้น รัฐบาลกษัตริย์พลัดถิ่นก็เริ่มมีนายกรัฐมนตรีด้วยเหมือนกัน เช่น รัฐบาลพลัดถิ่นเนเธอร์แลนด์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองตั้ง Pieter Sjoerds Gerbrandy เป็นนายกรัฐมนตรี.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและรัฐบาลพลัดถิ่น

รัฐกันชน

รัฐกันชน (Buffer state) คือประเทศที่ตั้งอยู่ระหว่างรัฐมหาอำนาจคู่แข่งหรือเป็นปรปักษ์ระหว่างกัน ซึ่งสาเหตุของการคงอยู่มีเพื่อเป็นการป้องกันความขัดแย้งระหว่างรัฐมหาอำนาจด้วยกัน รัฐกันชนที่มีเอกราชอย่างแท้จริง มักจะดำเนินนโยบายต่างประเทศสายกลาง ซึ่งเป็นการป้องกันตนเองจากการตกเป็นรัฐบริวาร ความร่วมมือกันระหว่างรัฐกันชนเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีการถ่วงดุลอำนาจ ซึ่งเข้าสู่ยุทธศาสตร์และการคิดในเชิงการทูตของยุโรปในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 บ่อยครั้งที่การรุกรานรัฐกันชนโดยหนึ่งในมหาอำนาจที่รายล้อมมันอยู่มักจะก่อให้เกิดสงครามระหว่างประเทศ อย่างเช่น การรุกรานเบลเยียมของเยอรมนี ทำให้สหราชอาณาจักรตัดสินใจเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและรัฐกันชน

รัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์ค

รัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์ค (Markgrafschaft Brandenburg) เป็นรัฐมาร์เกรฟที่สำคัญของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและรัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์ค

รัฐหุ่นเชิด

รัฐหุ่นเชิด (Puppet state) หรือ รัฐบาลหุ่นเชิด (Puppet government หรือ Marionette government) ใช้อธิบายถึงสภาพของรัฐที่มีเอกราชแต่เพียงในนาม แต่ถูกควบคุมโดยอำนาจต่างชาติหรือกองทัพอย่างชัดเจน คำว่า รัฐหุ่นเชิด หมายความถึง รัฐบาลที่ถูกควบคุมโดยอีกรัฐบาลหนึ่ง เหมือนกับการเชิดหุ่นกระบอก และยังใช้ในความหมายที่รัฐขาดความเป็นเอกราช หรือมีการปกป้องเอกราชในสิ่งที่เป็นอิทธิพลจากต่างชาติหรือกองทั.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและรัฐหุ่นเชิด

ราชรัฐลิพเพอ

ราชรัฐลิพเพอ (Fürstentum Lippe, Principality of Lippe) เป็นอดีตอาณาจักรที่เดิมเป็นรัฐในเครือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ราชรัฐลิพเพอก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและราชรัฐลิพเพอ

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค (Haus de Habsburg) (House of Habsburg, บางครั้งเขียนว่า Hapsburg) เป็นราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดราชวงศ์หนึ่งในทวีปยุโรป ราชวงศ์นี้ได้ปกครองประเทศสเปนและประเทศออสเตรีย รวมเวลาทั้งหมดถึง 6 ศตวรรษ แต่ที่รู้จักกันดีมากที่สุดคือ การปกครองในตำแหน่งของ จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หลังจากได้มีการสถาปนาจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ขึ้นมา พระราชวงศ์นี้ได้ปกครองรัฐและประเทศต่าง ๆ ถึง 1,800 รั.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค

ราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น

ราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น (Haus Hohenzollern) เป็นราชตระกูลเยอรมันและโรมาเนียของยุโรปที่ปกครองปรัสเซีย, เยอรมนี และ โรมาเนีย บริเวณดั้งเดิมของราชวงศ์อยู่ในบริเวณเมืองเฮ็คคิงเงิน (Hechingen) ในชวาเบินที่ก่อตั้งขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ชื่อราชวงศ์มาจากที่พำนักของตระกูลที่เรียกว่าปราสาทโฮเอินโซลเลิร์น (Burg Hohenzollern) คำขวัญของตระกูลคือ “Nihil Sine Deo” (ไม่มีสิ่งใดถ้าไม่มีพระเจ้า) ตราประจำตระกูลเริ่มใช้ในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น

ราชอาณาจักรบาวาเรีย

ราชอาณาจักรบาวาเรีย (Königreich Bayern; Kingdom of Bavaria) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของเยอรมนีระหว่างปี ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและราชอาณาจักรบาวาเรีย

ราชอาณาจักรฟินแลนด์ (ค.ศ. 1918)

ราชอาณาจักรฟินแลนด์ (Suomen kuningaskunta; Konungariket Finland) เป็นรัฐที่เกิดจากความพยายามจะสถาปนาระบอบราชาธิปไตยขึ้นในประเทศฟินแลนด์ หลังฟินแลนด์ประกาศเอกราชจากรัสเซีย โดยเยอรมนีส่งเจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ลแห่งเฮสส์ ขึ้นเป็นกษัตริย์พระองค์แรกของฟินแลน.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและราชอาณาจักรฟินแลนด์ (ค.ศ. 1918)

ราชอาณาจักรลิทัวเนีย (พ.ศ. 2461)

ราชอาณาจักรลิทัวเนีย (Lietuvos Karalystė) คืออดีตรัฐระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ที่ดำรงสถานะภายหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 เมื่อลิทัวเนียภายใต้การยึดครองของจักรวรรดิเยอรมัน สภาแห่งลิทัวเนียทำการประกาศอิสรภาพเมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและราชอาณาจักรลิทัวเนีย (พ.ศ. 2461)

ราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรซัคเซิน

ราชอาณาจักรซัคเซิน ในปี ค.ศ. 1900 ราชอาณาจักรซัคเซิน Königreich Sachsen) หรือ ราชอาณาจักรแซกโซนี (Kingdom of Saxony) เป็นราชอาณาจักรตั้งอยู่ในบริเวณตะวันตกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐเช็กในปัจจุบันระหว่างปี ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและราชอาณาจักรซัคเซิน

ราชอาณาจักรปรัสเซีย

ราชอาณาจักรปรัสเซีย (Kingdom of Prussia) เป็นราชอาณาจักรหนึ่งของชนชาติเยอรมัน ดำรงอยู่ระหว่างปีค.ศ. 1701 ถึง 1918 ครอบคลุมพื้นที่ในประเทศเยอรมนี โปแลนด์ รัสเซีย ลิทัวเนีย เดนมาร์ก เบลเยียม และเช็กเกียในปัจจุบัน ราชอาณาจักรปรัสเซียกลายเป็นมหาอำนาจของยุโรปในศตวรรษที่ 18 ในรัชสมัยของพระเจ้าฟรีดริชมหาราช และยิ่งทรงอำนาจขึ้นจนสามารถเป็นแกนนำในการชักนำรัฐเยอรมันต่างๆให้ทำการรวมชาติกันเป็นจักรวรรดิเยอรมัน ในปี 1871.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและราชอาณาจักรปรัสเซีย

ราชอาณาจักรโรมาเนีย

ราชอาณาจักรโรมาเนีย (Regatul României (เรกาตูล โรมือเน่); Kingdom of Romania) เป็นรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออก ที่อยู่ในระหว่าง 13 มีนาคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและราชอาณาจักรโรมาเนีย

ราชอาณาจักรโปแลนด์ (ค.ศ. 1916–1918)

ราชอาณาจักรโปแลนด์ (Królestwo Polskie) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแห่งโปแลนด์ (Królestwo Regencyjne), เป็นโปแลนด์ หรือ รัฐหุ่นเชิดของจักรวรรดิเยอรมัน สถาปนาขึ้นระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 พฤศจิกายน..1916 ได้จัดตั้งคณะรัฐบาลโดยสมเด็จพระจักรพรรดิเยอรมัน และ ออสเตรีย-ฮังการี ประกาศใช้รัฐธรรมนูญเมื่อ..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและราชอาณาจักรโปแลนด์ (ค.ศ. 1916–1918)

ราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค

ราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค (Königreich Württemberg) เคยเป็นราชอาณาจักรหนึ่งของจักรวรรดิเยอรมัน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1806 - ค.ศ. 1918 ปัจจุบันอยู่ในเขตของรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทิมแบร์ค ประเทศเยอรมนี.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและรายชื่อสนธิสัญญา

รายชื่ออดีตอาณานิคมของเยอรมนี

"Little Venice" รายชื่ออาณานิคมของเยอรมันและรัฐในอารักขา นอกทวีปยุโรปในสมัยของปรัสเซีย (รวมบรันเดินบวร์ค) และจักรวรรดิเยอรมัน (รวมราชวงศ์ฮับส์บูร์ก).

ดู จักรวรรดิเยอรมันและรายชื่ออดีตอาณานิคมของเยอรมนี

รายชื่อธงในจักรวรรดิเยอรมัน

หน้านี้คือรายชื่อธงต่างๆ ที่ใช้อยู่ใน สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ (ค.ศ. 1866/67–1871) และ จักรวรรดิเยอรมัน (ค.ศ. 1871–1918).

ดู จักรวรรดิเยอรมันและรายชื่อธงในจักรวรรดิเยอรมัน

รายชื่อธงในประเทศเยอรมนี

หน้านี้คือรายชื่อธงต่างๆ ที่ใช้อยู่ในประเทศเยอรมนี.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและรายชื่อธงในประเทศเยอรมนี

รายชื่อดินแดนที่จักรวรรดิญี่ปุ่นยึดครอง

นี่คือดินแดนที่ถูกยึดครองโดยจักรวรรดิญี่ปุ่นจนถึงปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและรายชื่อดินแดนที่จักรวรรดิญี่ปุ่นยึดครอง

รายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปยุโรป

นี่คือรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปยุโรป.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปยุโรป

รายพระนามพระมหากษัตริย์ปรัสเซีย

ตราอาร์มของราชอาณาจักรปรัสเซีย รายพระนามพระมหากษัตริย์ปรัสเซีย (List of monarchs of Prussia) เป็นรายนามและรายพระนามของประมุขของอดีตรัฐเยอรมันแห่งปรัสเซีย ที่เดิมเป็นรัฐอัศวินทิวทอนิก บนฝั่งทะเลบอลติกที่อัศวินทิวทอนิกพิชิตได้มาจากโปแลนด์และลิทัวเนีย ต่อมาเป็นดัชชีภายใต้การปกครองของราชอาณาจักรโปแลนด์ ดัชชีปรัสเซีย ราชอาณาจักรปรัสเซียอิสระ ราชอาณาจักรภายในจักรวรรดิเยอรมัน และเสรีรัฐปรัสเซียของเยอรมนีในที่สุด ประวัติศาสตร์ของปรัสเซียตั้งแต่ปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและรายพระนามพระมหากษัตริย์ปรัสเซีย

รายพระนามพระมหากษัตริย์เยอรมนี

รายพระนามกษัตริย์และจักรพรรดิเยอรมนี (List of German monarchs) รายพระนามข้างล่างเป็นพระนามของพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิที่ปกครองเยอรมนีตั้งแต่การแยกตัวมาเป็นราชอาณาจักรแฟรงค์ตะวันออก ในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและรายพระนามพระมหากษัตริย์เยอรมนี

รายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย

นี่คือ รายชื่อของตัวละครในการ์ตูนชุด พลังอักษะ เฮตาเลี.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย

ริชาร์ด กลืคส์

ริชาร์ด กลืคส์ (Richard Glücks) เป็นเจ้าหน้าที่ระดับสูงในหน่วยเอ็สเอ็ส (ชุทซ์ชทัฟเฟิล) ระหว่างเดือนพฤศจิกายน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและริชาร์ด กลืคส์

รูดอล์ฟ เฮิสส์

รูดอล์ฟ เฮิสส์ (Rudolf Höss) เป็นเจ้าหน้าที่ชุทซ์ชทัฟเฟิลแห่งนาซีเยอรมนี มียศเป็นเอ็สเอ็ส-ชตูร์มบันน์ฟือเรอร์ และปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้บัญชาการค่ายกักกันที่ยาวนานที่สุดของค่ายกักกันเอาชวิทซ์ในสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้ทดสอบและปฏิบัติวิธีการต่างๆเพื่อเร่งลงมือแผนการของฮิตเลอร์ที่จะกำจัดชาวยิวในยุโรปภายใต้การยึดครองของเยอรมันอย่างเป็นระบบหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งคือ มาตราการสุดท้าย (Final Solution).ด้วยความคิดริเริ่มของหนึ่งในผู้ใต้บังคับบัญชาของเขา เอ็สเอ็ส-ฮอฟท์ชตูร์มฟือเรอร์ (ร้อยเอก) Karl Fritzsch,เฮิสส์ได้แนะนำให้ใช้สารกำจัดศัตรูพืช ไซคลอน บี ที่มีสารไฮโดรเจนไซยาไนด์นำไปสู่กระบวนการฆ่า,เพราะฉะนั้นจึงอนุญาตให้เหล่าทหารหน่วยเอสเอสในค่ายกักกันเอาชวิทซ์ทำการสังหารผู้คนประมาณ 2,000 คนต่อชั่วโมง.เขาได้สร้างการติดตั้งขนาดใหญ่สำหรับการทำลายล้างอย่างต่อเนื่องของมนุษยชาติที่เคยรู้จัก.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและรูดอล์ฟ เฮิสส์

ลุฟท์วัฟเฟอ

ลุฟท์วัฟเฟอ (Luftwaffe) เป็นเหล่าทัพการสงครามทางอากาศของกองทัพเยอรมันเวร์มัคท์ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพอากาศเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง, ลุฟท์ชไตรท์แครฟเทอ (Luftstreitkräfte) แห่งกองทัพจักรวรรดิเยอรมัน และหน่วยนักบินทหารเรือ มารีเนอ-ฟีเกอร์อับไทลุงของไคแซร์ลีเชอ มารีเนอ (Kaiserliche Marine), ได้ถูกยุบในเดือนพฤษภาคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและลุฟท์วัฟเฟอ

ลุทซ์ กรัฟ ชเวริน ฟอน โครซิจค์

ันน์ ลุดวิจ กรัฟ ชเวริน ฟอน โครซิจค์ (Johann Ludwig Graf Schwerin von Krosigk) ชื่อเมื่อเกิดว่า โยฮันน์ ลุดวิจ ฟอน โครซิจค์ และรู้จักในชื่อ ลุทซ์ ฟอน โครซิจค์ (22 สิงหาคม ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและลุทซ์ กรัฟ ชเวริน ฟอน โครซิจค์

ลุดวิก แอร์ฮาร์ด

ลุดวิจ แอร์ฮาร์ด (4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2440 - 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2520) มีชื่อเต็มว่า ลุดวิจ วิลเฮม แอร์ฮาร์ด (Ludwig Wilhelm Erhard) เป็นรัฐบุรุษชาวเยอรมัน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจคนแรก และนายกรัฐมนตรีคนที่สองของเยอรมนีตะวันตก เป็นคนสำคัญในการฟื้นฟูเศรษฐกิจเยอรมนีตะวันตกในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สองที่รู้จักในชื่อ "Wirtschaftwunder" หรือ economic miracle ในภาษาอังกฤษ หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและลุดวิก แอร์ฮาร์ด

ลุดวิจ เบค

ลุดวิจ ออกุส ธีโอดอร์ เบค(Ludwig August Theodor Beck; 4 มิถุนาย ค.ศ. 1880 – 21 กรกฏาคม ค.ศ. 1944)เป็นนายพลชาวเยอรมันและเป็นเสนาธิการเยอรมันในช่วงปีแรกของระบอบนาซีในเยอรมนีก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ลุดวิจ เบคไม่เคยเป็นสมาชิกพรรคนาซี อย่างไรก็ตามในช่วงแรกของปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและลุดวิจ เบค

วัลเทอร์ ฟอน ไรเชอเนา

วัลเทอร์ คาร์ล แอนสท์ เอากุสท์ ฟอน ไรเชอเนา (Walter Karl Ernst August von Reichenau) เป็นจอมพลแห่งกองทัพบกของนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นบัญชาการกองทัพที่หกในปฏิบัติการบาร์บารอสซาระหว่างการรุกรานสหภาพโซเวียตใน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและวัลเทอร์ ฟอน ไรเชอเนา

วัลเทอร์ ฟอน เบราชิทช์

วัลเทอร์ ฟอน เบราชิทช์ (Walther von Brauchitsch) เป็นจอมพลเยอรมันและเป็นผู้บัญชาการกองทัพบกเยอรมันในช่วงต้นสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเกิดในครอบครัวทหารและเริ่มเข้ารับราชการทหารในปี 1901 เขามีส่วนร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งโดยประจำแนวรบด้านตะวันตก หลังพรรคนาซีได้ครองอำนาจใน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและวัลเทอร์ ฟอน เบราชิทช์

วัลเทอร์ ฟุงค์

วัลเทอร์ ฟุงค์ (Walter Funk) เป็นนักเศรษฐศาสตร์และเป็นเจ้าหน้าที่สมาชิกของนาซี ซึ่งทำหน้าที่เป็นรัฐมนตรีไรซ์ว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ ตั้งแต่ปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและวัลเทอร์ ฟุงค์

วัลเทอร์ เชลเลินแบร์ก

วัลเทอร์ ฟรีดริช เชลเลินแบร์ก (Walter Friedrich Schellenberg) เป็นเจ้าหน้าที่ในหน่วยชุทซ์ชทัฟเฟิลของนาซีเยอรมนี เขามียศเป็น เอ็สเอ็ส-บริดาเดอฟือเรอร์ และเป็นหนึ่งในบุคลากรระดับสูงสุดในหน่วยบริการความปลอดภัย (SD) และยังมีตำแหน่งเป็นหัวหน้าโดยพฤติการณ์ของฝ่ายข่าวกรองนอกแผ่นดินไรช์ภายกลังจากได้มีการยุบอับเวร์ในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและวัลเทอร์ เชลเลินแบร์ก

วันสงบศึก

วันสงบศึก (หรือ วันที่ระลึก) ตรงกับวันที่ 11 พฤศจิกายน และเฉลิมฉลองการสงบศึกที่ลงนามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรกับเยอรมนีที่คองเปียญ ประเทศฝรั่งเศส ในการยุติความเป็นปรปักษ์บนแนวรบด้านตะวันตก ซึ่งมีผลใช้บังคับเมื่อ "ชั่วโมงที่สิบเอ็ด ของวันที่สิบเอ็ด ของเดือนที่สิบเอ็ด" ของ..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและวันสงบศึก

วิลลี บรันท์

วิลลี บรันท์ (Willy Brandt) ชื่อเกิด แฮร์แบร์ท แอร์นสท์ คาร์ล ฟราห์ม (Herbert Ernst Karl Frahm; 18 ธันวาคม 1913 – 8 ตุลาคม 1992) เป็นรัฐบุรุษชาวเยอรมันเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปไตยสังคมแห่งเยอรมนีระหว่างปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและวิลลี บรันท์

วิลเฮล์ม ฟริค

วิลเฮล์ม ฟริค (12 มีนาคม 1877 - 16 ตุลาคม 1946) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมันที่โดดเด่นที่สุดของพรรคนาซีซึ่งทำหน้าที่เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแห่งไรซ์ในคณะรัฐมนตรีฮิตเลอร์ (1933-1943) และเป็นผู้สำเร็จราชการคนสุดท้ายของรัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและโมราเวี.หลังสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สอง,เขาได้ถูกตั้งข้อกล่าวหาว่ามีส่วนร่วมในการวางแผนและดำเนินการรุกราน,อาชญากรรมสงครามและอาชญากรรมต่อมนุษยชาติในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์กและถูกพบว่ามีความผิดจริงจึงถูกพิพากษาโทษประหารชีวิตด้วยการแขวนคอ ด้วยอายุวัย 69 ปี.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและวิลเฮล์ม ฟริค

วิลเฮล์ม มอนเคอ

วิลเฮล์ม มอนเคอ (Wilhelm Mohnke) (15 มีนาคม 1911 - 6 สิงหาคม 2001) เป็นหนึ่งในหน่วยสมาชิกทหารรักษาการณ์ของหน่วยเอสเอส (ชุทซ์ชทัฟเฟิล) (Stabswache) ในกรุงเบอร์ลินซึ่งถูกก่อตั้งขึ้นในเดือนมีนาคม ปี 1933.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและวิลเฮล์ม มอนเคอ

วิลเฮล์ม ริทเทอร์ ฟอน โทมา

วิลเฮลม์ โยเซฟ ริทเทอร์ ฟอน โทมา (11 กันยายน ค.ศ. 1891 – 30 เมษายน ค.ศ. 1948) เป็นเจ้าหน้าที่นายทหารที่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง, ในสงครามกลางเมืองสเปน และได้เป็นนายพลในสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้รับรางวัลด้วยเหรียญกางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน โทมาเป็นที่รู้จักกันสำหรับความประมาทเลินเล่อของเขาในขณะที่ถูกจับกุมเป็นเชลยศึกของอังกฤษ เมื่อเขาได้เปิดเผยถึงการมีอยู่ของโครงการอาวุธอย่าง ระเบิดบิน วี-1 และจรวดวี-2 อย่างไม่ได้ตั้งใจ เขาได้ถูกคอยจับตาโดยหน่วยสืบราชการลับอังกฤษและ ในขณะที่ได้พูดคุยกับเจ้าหน้าที่เยอรมันคนอื่นๆ ได้มีการบันทึกการกล่าวถึงฐานที่ตั้งจรวดที่ถูกทดสอบอยู่ที่คูมเมอร์ซดอฟ (Kummersdorf) ฝั่งตะวันตก ซึ่งเขาได้สังเกตเห็น ในขณะที่ได้ไปเยี่ยมเยือนถึงจอมพลวัลเทอร์ ฟอน เบราชิทช์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองทัพบก เครื่องบินสอดแนมของอังกฤษได้บินลาดตระเวนไปทั่วศูนย์วิจัยกองทัพ Peenemünde ในช่วงเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและวิลเฮล์ม ริทเทอร์ ฟอน โทมา

วิลเฮล์ม ลิสท์

วิลเฮล์ม ลิสท์ (Wilhelm List) เป็นจอมพลชาวเยอรมันและอาชญากรสงครามในสงครามโลกครั้งที่สอง ในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและวิลเฮล์ม ลิสท์

วิลเฮล์ม คานาริส

วิลเฮลม์ ฟรานซ์ คานาริส(Wilhelm Franz Canaris; 1 มกราคม ค.ศ. 1887 – 9 เมษายน ค.ศ. 1945)เป็นพลเรือเอกเยอรมันและเป็นหัวหน้าแห่งแอปเวร์ สำนักงานหน่วยข่าวกรองเยอรมัน ตั้งแต่ปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและวิลเฮล์ม คานาริส

วิลเฮล์ม ไคเทิล

วิลเฮล์ม โยดีวิน โยฮันท์ กุสตาฟ ไคเทิล (Wilhelm Bodewin Johann Gustav Keitel) เป็นจอมพลเยอรมันซึ่งดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองบัญชาการใหญ่แห่งเวร์มัคท์ ตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ตำแหน่งของเขาเทียบได้กับรัฐมนตรีกลาโหม หลังสิ้นสุดสงคราม เขาถูกนำตัวเข้ารับการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์กของสัมพันธมิตร เขาได้พยายามต่อสู้คดีแต่กลับถูกตัดสินโทษประหารชีวิตด้วยการแขวนคอ เขาถือเป็นหนึ่งในสามผู้บัญชาการทหารระดับสูงสุดของเยอรมันที่ถูกนำตัวขึ้นพิจารณาคดี.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและวิลเฮล์ม ไคเทิล

วินด์ฮุก

กรุงวินด์ฮุก วินด์ฮุกในตอนท้ายของวันที่ 19 ศตวรรษ ที่ประทับของจักรพรรดิโพสต์เยอรมันตะวันตกเฉียงใต้แอฟริกาประทับตราไปรษณีย์วินด์ฮุก วินด์ฮุก (Windhoek) เป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐนามิเบีย เมืองตั้งอยู่ในบริเวณ Khomas มีประชากร 230,000 คน และเป็นศูนย์กลางการค้าใหญ่ของหนังแก.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและวินด์ฮุก

ว็อล์ฟกัง เพาล์

ว็อล์ฟกัง เพาล์ (Wolfgang Paul; 10 สิงหาคม ค.ศ. 1913 – 7 ธันวาคม ค.ศ. 1993) เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองโลเร็นทซ์เคียร์ชในแซกโซนี เป็นบุตรคนที่ 4 จากทั้งหมด 6 คนของทีโอดอร์และอลิซาเบธ (นามสกุลเดิม รัปเปิล) เพาล์ เพาล์เติบโตที่เมืองมิวนิกและเรียนที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งมิวนิก ก่อนจะย้ายไปเรียนที่มหาวิทยาลัยเทคนิคแห่งเบอร์ลินและตามฮันส์ ค็อพเฟอร์มันน์ ที่ปรึกษาระดับปริญญาเอกไปที่มหาวิทยาลัยคีล เพาล์เรียนจบปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยเทคนิคแห่งเบอร์ลินในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและว็อล์ฟกัง เพาล์

ศาลาประชาคมร้อยปี

ลาประชาคมร้อยปี (Centennial Hall, Jahrhunderthalle, Hala Stulecia) ชื่อเดิม ฮาราลูดอวา (Hala Ludowa) เป็นอาคารทางประวัติศาสตร์ในวรอตสวัฟ, ประเทศโปแลนด์ ได้รับการสร้างขึ้นตามแผนของสถาปนิกที่มีชื่อเสียงชาวเยอรมัน มักซ์ แบร์ก สร้างขึ้นในปี ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและศาลาประชาคมร้อยปี

สมบูรณาญาสิทธิราชย์

มบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) คือ ระบอบการปกครองที่มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครองและมีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ ในระบอบการปกครองนี้ กษัตริย์ก็คือกฎหมาย กล่าวคือ ที่มาของกฎหมายทั้งปวงอยู่ที่กษัตริย์ คำสั่ง ความต้องการต่าง ๆ ล้วนมีผลเป็นกฎหมายอมร รักษาสัตย์, กษัตริย์มีอำนาจในการปกครองแผ่นดินและพลเมืองโดยอิสระ โดยไม่มีกฎหมายหรือองค์กรตามกฎหมายใด ๆ จะห้ามปรามได้ แม้องค์กรทางศาสนาอาจทัดทานกษัตริย์จากการกระทำบางอย่างและองค์รัฏฐาธิปัตย์ (กษัตริย์) นั้นจะถูกคาดหวังว่าจะปฏิบัติตามธรรมเนียม แต่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น ไม่มีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายใด ๆ ที่จะอยู่เหนือกว่าคำชี้ขาดของรัฏฐาธิปัตย์ ตามทฤษฎีพลเมืองนั้น ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มอบความไว้วางใจทั้งหมดให้กับพระเจ้าแผ่นดินที่ดีพร้อมทางสายเลือดและได้รับการเลี้ยงดูฝึกฝนมาอย่างดีตั้งแต่เกิด ในทางทฤษฎี กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จะมีอำนาจทั้งหมดเหนือประชาชนและแผ่นดิน รวมทั้งเหนืออภิชนและบางครั้งก็เหนือคณะสงฆ์ด้วย ส่วนในทางปฏิบัติ กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มักจะถูกจำกัดอำนาจ โดยทั่วไปโดยกลุ่มที่กล่าวมาหรือกลุ่มอื่น กษัตริย์บางพระองค์ (เช่นจักรวรรดิเยอรมนี ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสมบูรณาญาสิทธิราชย์

สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ

มาพันธรัฐเยอรมันเหนือ (Norddeutscher Bund) คือชื่อของรัฐชาติเยอรมันซึ่งดำรงอยู่ระหว่าง กรกฎาคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร

นายร้อยโท สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร หรือ สมเด็จพระบรมราชปิตุลาธิบดี เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ (27 มิถุนายน พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร

สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ

อมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (3 มีนาคม พ.ศ. 2426-13 มิถุนายน พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุล "จักรพงษ์" เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 40 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้เข้าศึกษาในโรงเรียนนายร้อยมหาดเล็กตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย หลังจากสำเร็จการศึกษา ทรงรับราชการทหารเป็นเสนาธิการทหารบก โดยทรงริเริ่มจัดตั้งโรงเรียนเสนาธิการ ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบินในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่า "พระบิดาแห่งกองทัพอากาศไทย" และ "พระบิดาแห่งการบินไทย" ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 เกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งขึ้น มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยศจากนายพลเอกเป็นจอมพล และทรงเป็นผู้ที่จัดส่งทหารอาสาเขาทำการรบในสงครามครั้งนั้น ต่อมาสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ เสด็จทิวงคตด้วยพระโรคพระปับผาสะ ขณะเสด็จไปประทับพักผ่อนพระวรกายที่สิงคโปร์ พระชนม์เพียง 37 พรรษา เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ

สมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 (8 เมษายน ค.ศ. 1875 - 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1934) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียมตั้งแต่ปีค.ศ. 1909 ถึงค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม

สมเด็จพระเจ้าคาโรลที่ 1 แห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชาธิบดีคาโรลที่ 1 แห่งโรมาเนีย (20 เมษายน พ.ศ. 2382 - 10 ตุลาคม พ.ศ. 2457) ประสูติในพระอิศริยยศ เจ้าชายแห่งโฮเฮนโซลเลิร์น - ซิกมาริงเง็น ทรงครองราชย์เป็นเจ้าผู้ครองนครและสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งราชอาณาจักรโรมาเนียตั้งแต..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสมเด็จพระเจ้าคาโรลที่ 1 แห่งโรมาเนีย

สหพันธรัฐ

แผนที่ประเทศสหพันธรัฐอย่างเป็นทางการ รัฐเดี่ยว สหพันธรัฐ (federation) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า รัฐสหพันธ์ เป็นรัฐอธิปไตยประเภทหนึ่งซึ่งมีลักษณะของสหภาพรัฐหรือภูมิภาคที่ปกครองตนเองบางส่วน ที่รวมเข้าด้วยกันโดยรัฐบาลกลาง หรือรัฐบาลสหพันธ์ ในสหพันธรัฐ สถานะการปกครองตนเองของรัฐองค์ประกอบนั้นตามแบบได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญและไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้โดยการตัดสินใจฝ่ายเดียวของรัฐบาลกลาง ระบอบการปกครองหรือโครงสร้างตามรัฐธรรมนูญที่พบในสหพันธรัฐนั้นทราบกันในชื่อ ระบอบสหพันธรัฐ เป็นระบอบการปกครองที่ตรงข้ามกับรูปแบบรัฐอีกประเภทหนึ่ง คือ รัฐเดี่ยว ตัวอย่างสหพันธรัฐ เช่น ประเทศเยอรมนี ซึ่งประกอบด้วยสิบหกรัฐ (Länder) ที่รวมเข้ากันเป็นสหพันธ์ สหพันธรัฐนั้นอาจประกอบไปด้วยประชาชนที่หลากหลายทางเชื้อชาติ และมีพื้นที่กว้างใหญ่ (ดังเช่น ความหลากหลายอย่างที่สุดในอินเดีย) แม้สหพันธรัฐจะไม่จำเป็นต้องประกอบด้วยทั้งสองประการที่กล่าวมาก็ตาม สหพันธรัฐนั้นส่วนมากก่อตั้งขึ้นจากความตกลงแต่เดิมระหว่างรัฐอธิปไตยจำนวนหนึ่งโดยตั้งอยู่บนความกังวลหรือผลประโยชน์ร่วมกัน ความตกลงแรกเริ่มได้สร้างเสถียรภาพซึ่งเกื้อหนุนผลประโยชน์ร่วมกันข้ออื่น นำดินแดนที่แตกต่างกันสิ้นเชิงมาใกล้ชิดกัน และให้ดินแดนทั้งหมดมีหลักความเห็น (common ground) กว่าแต่ก่อน ในขณะเดียวกัน ความตกลงนี้ได้รับการรับรองและมีการจัดขบวนการเพื่อผสานรวมกันให้ใกล้ชิดยิ่งขึ้น แต่ก็มีบางช่วง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อปัจจัยวัฒนธรรมร่วมเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น เชื้อชาติหรือภาษา บางขั้นตอนในแบบนี้ถูกเร่งให้เร็วขึ้นหรือบีบอัด องค์การระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศสหพันธรัฐ คือ องค์ประชุมกลุ่มประเทศสหพันธรัฐ (Forum of Federations) มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงออตตาวา รัฐออนตาริโอ ประเทศแคนาดา ซึ่งมีจุดประสงค์ในการแบ่งปันแนวคิดและแนวปฏิบัติในการจัดการระบบการปกครองแบบสหพันธ์ ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 9 ประเท.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสหพันธรัฐ

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสหราชอาณาจักร

สันนิบาตสามจักรพรรดิ

ักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย จักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี สันนิบาตสามจักรพรรดิ (League of the Three Emperors) เป็นพันธมิตรอันไม่มั่นคงระหว่างจักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย จักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย และจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสันนิบาตสามจักรพรรดิ

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 (Troisième République Française บางครั้งเขียนย่อว่า La IIIe République) (พ.ศ. 2413 -10 กรกฎาคม พ.ศ. 2483) เป็นชื่อของระบอบการปกครองของประเทศฝรั่งเศส ซึ่งอยู่ระหว่างยุคจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 กับรัฐบาลฝรั่งเศสวิชี เกิดขึ้นหลังจากการพ่ายแพ้ของฝรั่งเศสต่อจักรวรรดิเยอรมัน ในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย เมื่อ พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3

สาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)

รณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในเอเชียตะวันออกตั้งแต่ปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)

สาธารณรัฐของสหภาพโซเวียต

รณรัฐแห่งสหภาพโซเวียต หรือ สาธารณรัฐสหภาพ (союзные республики, soyuznye respubliki, Republics of the Soviet Union) ของสหภาพโซเวียตชึ่งแบ่งตามเชื้อชาติ การบริหารจะขึ้นตรงไปยังรัฐบาลของสหภาพโซเวียตในประวัติศาสตร์ สหภาพโซเวียตเป็นประเทศที่มีรัฐรวมมากเป็นจำนวนมาก; การปฏิรูปการกระจายอำนาจในยุคของเปเรสตรอยคา ("การปรับโครงสร้าง") และกลัสนอสต์ ("การเปิดกว้าง") ดำเนินการของมีฮาอิล กอร์บาชอฟ จนนำไปสู่การล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสาธารณรัฐของสหภาพโซเวียต

สาธารณรัฐไวมาร์

รณรัฐไวมาร์ (Weimarer Republik) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกประเทศเยอรมนีในยุคสาธารณรัฐระหว่างปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสาธารณรัฐไวมาร์

สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง

นิโต มุสโสลินีกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ สองผู้นำเผด็จการในทวีปยุโรปก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง สาเหตุเบื้องต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง คือ ความตึงเครียดเกี่ยวกับชาตินิยม ประเด็นปัญหาที่ไม่ได้รับการแก้ไข และความไม่พอใจอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และสมัยระหว่างสงครามในทวีปยุโรป รวมทั้งผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ลงเอยด้วยการปะทุของสงคราม ซึ่งมักเป็นที่เข้าใจว่าเป็นการบุกครองโปแลนด์ โดยนาซีเยอรมนี ความก้าวร้าวทางทหารนี้เป็นผลมาจากการตัดสินใจของผู้นำของเยอรมนีและญี่ปุ่น สงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้นจากการปฏิบัติอันก้าวร้าวและบรรจบกับการประกาศสงคราม และ/หรือ การต่อต้านด้วยกำลัง.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง

สงครามกลางเมืองรัสเซีย

งครามกลางเมืองรัสเซีย (Grazhdanskaya voyna v Rossiyi)Mawdsley, pp.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสงครามกลางเมืองรัสเซีย

สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย

งครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย หรือ สงครามฝรั่งเศส-เยอรมนี หรือ สงครามฟรังโก - ปรัสเซีย (Franco-Prussian War หรือ Franco-German War) ในฝรั่งเศสเรียกกันว่า "สงคราม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย

สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น

งครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น (Russo-Japanese War) เป็น สงครามครั้งใหญ่ครั้งแรกในศตวรรษที่ 20 อันเนื่องมาจากลัทธิจักรวรรดินิยมของจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิญี่ปุ่น ในบริเวณทางใต้ของแมนจูเรียในพื้นที่คาบสมุทรเหลียวตง, เสิ่นหยาง และบริเวณเกาหลีในพื้นที่คาบสมุทรเกาหลี, ทะเลเหลือง รัสเซียได้ร้องขอท่าเรือน้ำอุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิกไว้ เพื่อใช้งานด้านกองทัพเรือและการค้าทางทะเลของรัสเซีย เนื่องจากนครวลาดิวอสต็อกของรัสเซียสามารถเปิดดำเนินการได้อย่างเต็มที่เฉพาะในฤดูร้อนเท่านั้น แต่เมืองพอร์ตอาเธอร์ (ลวี่ชุนเกาในปัจจุบัน) สามารถเปิดดำเนินการได้ตลอดทั้งปี ซึ่งตั้งแต่สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 1 ยุติลง ในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น

สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง

งครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง (Second Sino-Japanese War;; 日中戦争) ระหว่างวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 ถึงวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2488 เป็นสงครามระหว่างจีนกับญี่ปุ่น เกิดขึ้นก่อนสงครามโลกครั้งที่สองต่อมากลายเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สองเรียกว่า "สงครามแปซิฟิก" และดำเนินเรื่อยมาจนยุติลงพร้อมกับสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นสงครามที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชียในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ย้อนกลับไปใน พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสงครามโลกครั้งที่สอง

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

สนธิสัญญาลอนดอน (1915)

กติกาสัญญาลอนดอน (London Pact) หรือ สนธิสัญญาลอนดอน (Treaty of London) ใน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสนธิสัญญาลอนดอน (1915)

สนธิสัญญาแบร์น

นธิสัญญาแบร์น (Traité de Berne.; Treaty of Bern.) ซึ่งมีการลงนามเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสนธิสัญญาแบร์น

สนธิสัญญาแวร์ซาย

''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสนธิสัญญาแวร์ซาย

สนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919)

นธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล เป็นสนธิสัญญาที่ลงนามเมื่อวันที่ 10 กันยายน ค.ศ. 1919 โดยพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งผู้เป็นฝ่ายที่ได้รับชัยชนะในสงคราม กับสาธารณรัฐออสเตรียอีกฝ่ายหนึ่ง สนธิสัญญานี้ก็เช่นเดียวกับสนธิสัญญาแวร์ซายกับจักรวรรดิเยอรมันที่เป็นสนธิสัญญาที่มีเนื้อหาที่ร่างโดยสันนิบาตชาติ และผลก็มิได้รับการรับรองจากสหรัฐอเมริกา สนธิสัญญาประกาศการยุบเลิกจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี สาธารณรัฐใหม่ของออสเตรียประกอบด้วยบริเวณแอลป์ที่พูดภาษาเยอรมันของอดีตจักรวรรดิออสเตรีย, ยอมรับอิสรภาพของฮังการี, เชโกสโลวาเกีย, โปแลนด์ และรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ สนธิสัญญารวมการจ่ายค่าปฏิกรรมหรือค่าเสียหายที่เกิดขึ้นจากสงครามเป็นจำนวนมหาศาลโดยตรงต่อฝ่ายพันธมิตร ดินแดนในครอบครองของออสเตรียถูกลดลงไปเป็นเชโกสโลวาเกีย โปแลนด์ และยูโกสลาเวีย และดินแดนส่วนอื่นให้แก่อิตาลี และโรมาเนีย แต่เบอร์เกนแลนด์ที่เดิมเป็นของฮังการีกลับมาเป็นของออสเตรีย ข้อสำคัญของสนธิสัญญาระบุยับยั้งออสเตรียจากการเปลี่ยนสถานะภาพของความเป็นอิสรภาพ ที่หมายถึงสาธารณรัฐใหม่เยอรมันออสเตรียที่เป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนี ออสเตรียไม่สามารถเข้าทำการรวมตัวไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจหรือทางการเมืองร่วมกับเยอรมนีโดยมิได้รับความเห็นชอบกับสันนิบาตชาติ กองทัพออสเตรียถูกจำกัดจำนวนลงเหลือเพียงกองทหารอาสาสมัคร 30,000 คน นอกจากนั้นก็ยังมีข้อปลีกย่อยที่เกี่ยวกับการเดินเรือบนลำแม่น้ำดานูบ, การเปลี่ยนมือของระบบการรถไฟ และการแบ่งแยกจักรวรรดิออกเป็นรัฐอิสระย่อย ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919)

สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์

นธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่ลงนามเมื่อวันที่ 3 มีนาคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์

สนธิสัญญาเบอร์ลิน (1878)

นธสัญญาเบอร์ลิน เป็นบัญญัติสุดท้ายแห่งการประชุมใหญ่เบอร์ลิน (13 มิถุนายน – 13 กรกฎาคม ค.ศ. 1878) ซึ่งสหราชอาณาจักร ออสเตรีย-ฮังการี ฝรั่งเศส อิตาลี รัสเซียและจักรวรรดิออตโตมันภายใต้สุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2 ทบทวนสนธิสัญญาซันเสตฟาโนซึ่งลงนามเมื่อวันที่ 3 มีนาคม ปีเดียวกัน ภาระสำคัญที่สุดของการประชุมใหญ่นี้คือ ตัดสินชะตาของราชรัฐบัลแกเรียซึ่งสถาปนาขึ้นในสนธิสัญญาซันสเตฟาโน แม้บัลแกเรียเองจะไม่ได้รับเชิญให้เข้าร่วมประชุมเพราะการยืนกรานของรัสเซีย ในขณะนั้น บัลแกเรียยังไม่มีอยู่บนแผนที่โลก จึงไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายระหว่างประเทศ เช่นเดียวกับชาวบัลแกเรีย การกีดกันนี้เคยมีขึ้นแล้วในการประชุมมหาอำนาจคอนสแตนติโนเปิล ซึ่งจัดขึ้นเมื่อหนึ่งปีก่อน โดยบัลแกเรียไม่ได้เข้าร่วมเช่นกัน สนธิสัญญาดังกล่าวรับรองเอกราชของราชรัฐเอกราชโดยพฤตินัยโรมาเนีย เซอร์เบียและมอนเตเนโกร ร่วมกับอัตตาณัติของบัลแกเรีย แม้บัลแกเรียจะทำหน้าที่เป็นเอกราชโดยพฤตินัยและถูกแบ่งเป็นสามส่วน คือ ราชรัฐบัลแกเรีย จังหวัดปกครองตนเองรูเมเลียตะวันออก และมาซิโดเนีย ซึ่งคืนให้แก่ออตโตมัน ฉะนั้นจึงทำลายแผนการของรัสเซียสำหรับ "เกรทเทอร์บัลแกเรีย" เอกราชที่นิยมรัสเซีย สนธิสัญญาซันสเตฟาโนได้สร้างรัฐบัลแกเรีย ซึ่งเป็นสิ่งที่บริเตนใหญ่และออสเตรีย-ฮังการีเกรงมากที.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและสนธิสัญญาเบอร์ลิน (1878)

หมู่เกาะมาเรียนา

แผนที่แสดงหมู่เกาะมาเรียนา ทางตอนใต้แสดงดินแดนเกาะกวมของสหรัฐ และทางตอนเหนือแสดงดินแดนหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนาของสหรัฐ และเครื่องหมายสามเหลี่ยมสีแดงคือตำแหน่งภูเขาไฟที่ปะทุอยู่ หมู่เกาะมาเรียนา (Mariana Islands) เป็นหมู่เกาะที่เรียงตัวเป็นรูปพระจันทร์เสี้ยว ประกอบไปด้วยเกาะที่เกิดจากภูเขาไฟจำนวน 15 เกาะ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเหนือเส้นศูนย์สูตรของมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างเส้นพาราเซลเหนือที่ 12 และ 21 ในคาบเส้นเมริเดียนที่ 145 องศาตะวันออก หมู่เกาะแห่งนี้ถูกตั้งชื่อตามพระนามของพระนางมาเรียนาโดยชาวสเปน ซึ่งเป็นคนกลุ่มแรกที่ได้มาถึงยังหมู่เกาะนี้ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และเข้ายึดครองหมู่เกาะแห่งนี้เป็นอาณานิคมจากชนพื้นเมืองที่เรียกตัวเองว่าชาวจามอร์โร จากการค้นคว้าของนักโบราณคดีพบว่า ชนพื้นเมืองบนหมู่เกาะนี้ได้มาตั้งรกรากตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ และอาศัยอยู่อย่างต่อเนื่องเป็นเวลากว่านับพันปี โดยสันนิฐานว่าเกาะแรกที่พวกเขาเข้ามาตั้งรกรากคือเกาะติเนียน หนึ่งในสามเกาะหลักของหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา ซึ่งจะถือว่าเป็นการตั้งรกรากครั้งแรกของมนุษย์ในภูมิภาคโอเชียเนีย สแตมป์ของมาเรียนาในยุคเยอรมันปกครอง เดิมหมู่เกาะนี้เป็นอาณานิคมของสเปน ภายใต้กำกับของรัฐบาลข้าหลวงใหญ่สเปนประจำฟิลิปปินส์ จนกระทั่งในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและหมู่เกาะมาเรียนา

ออสคาร์ เดียร์เลวังงาร์

ออสคาร์ เดียร์เลอวังงาร์ (Oskar Dirlewanger) เป็นเจ้าหน้าที่นายทหารเยอรมัน ผู้ทำหน้าที่เป็นผู้ก่อตั้งและผู้บัญชาการของหน่วยทหารนักโทษนาซีแห่งเอ็สเอ็สที่แสนเลวร้าย โหดเหี้ยม และป่าเถื่อนคือกองพลน้อยเดียร์เลอวังงาร์ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและออสคาร์ เดียร์เลวังงาร์

ออทโท ฟอน บิสมาร์ค

ออทโท อีดวร์ท เลโอโพลด์ ฟอน บิสมาร์ค-เชินเฮาเซิน (Otto Eduard Leopold von Bismarck-Schönhausen) หรือที่นิยมเรียกว่า ออทโท ฟอน บิสมาร์ค เป็นรัฐบุรุษและนักการทูตแห่งราชอาณาจักรปรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน เขาเป็นผู้นำทางการเมืองที่ทรงอิทธิพลที่สุดในยุโรประหว่างทศวรรษ 1860 ถึง 1890 และดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกแห่งจักรวรรดิเยอรมันระหว่าง 1871 ถึง 1890 ในปี 1862 พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ทรงแต่งตั้งบิสมาร์คเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งปรัสเซีย ซึ่งเขาดำรงตำแหน่งนี้จนถึงปี 1890 เขานำพาปรัสเซียเข้าสู่สงครามสามครั้งอันได้แก่ สงครามชเลสวิจครั้งที่สอง, สงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย และสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย และได้รับชัยชนะในสงครามทั้งสาม หลังชนะในสงครามกับออสเตรีย บิสมาร์คได้ยุบสมาพันธรัฐเยอรมันทิ้ง และจัดตั้งสมาพันธรัฐเยอรมันเหนืออันมีปรัสเซียเป็นแกนนำขึ้นมาแทน ศูนย์อำนาจทางการเมืองของยุโรปภาคพื้นทวีปได้ย้ายจากกรุงเวียนนาของออสเตรียไปยังกรุงเบอร์ลินของปรัสเซีย และเมื่อปรัสเซียมีชัยชนะเหนือฝรั่งเศสแล้ว บิสมาร์คก็ได้สถาปนาสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือขึ้นเป็นจักรวรรดิเยอรมัน โดยทูลเชิญพระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 ขึ้นดำรงตำแหน่งจักรพรรดิเยอรมันพระองค์แรกในปี 1871 บิสมาร์คจึงกลายเป็นทั้งนายกรัฐมนตรีแห่งปรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน ความสำเร็จในการรวมชาติเยอรมันในปี 1871 บิสมาร์คได้ใช้ทักษะทางการทูตของเขารักษาดุลอำนาจของเยอรมันในยุโรปไว้ บิสมาร์คได้อุทิศตนเองในการพยายามรักษาสันติภาพในบรรดามหาอำนาจเป็นเวลากว่าสองทศวรรษ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากที่เยอรมันผนวกแคว้นอัลซัค-ลอแรน (Alsace-Lorraine) มาจากฝรั่งเศส ได้จุดชนวนขบวนการชาตินิยมขึ้นในฝรั่งเศส การเรืองอำนาจของเยอรมันทำให้เกิดภาวะ "กลัวเยอรมัน" (Germanophobia) ขึ้นในฝรั่งเศส เป็นความครุกครุ่นก่อนปะทุเป็นสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นโยบาย realpolitik ของบิสมาร์คประกอบกับบารมีที่มากล้นของเขาทำให้บิสมาร์คได้รับสมญาว่า นายกฯเหล็ก ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ก้าวกระโดดของเยอรมันถือเป็นรากฐานของนโยบายเหล่านี้ บิสมาร์คเป็นคนไม่ชอบการล่าอาณานิคมแต่เขาก็จำยอมฝืนใจต้องสร้างจักรวรรดิอาณานิคมเยอรมันขึ้นจากเสียงเรียกร้องของบรรดาชนชั้นนำและมวลชนในจักรวรรดิ บิสมาร์คมีชั้นเชิงทางการทูตชนิดหาตัวจับได้ยาก เขาเล่นกลการเมืองด้วยการจัดการประชุม การเจรจา และการร่วมเป็นพันธมิตรที่สอดประสานกันอย่างซับซ้อนหลายครั้งเพื่อถ่วงดุลอำนาจในทวีปยุโรปให้เกิดสันติสุขตลอดช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 และ 1880 ได้สำเร็จ ไม่เพียงด้านการทูตและการต่างประเทศเท่านั้น บิสมาร์คยังเป็นปรมาจารย์ด้านการเมืองในประเทศ เขาริเริ่มรัฐสวัสดิการเป็นครั้งแรกในโลกสมัยใหม่ มีเป้าหมายเพื่อดึงการสนับสนุนของมวลชนจากชนชั้นแรงงาน ซึ่งมิเช่นนั้นแล้วมวลชนเหล่านี้อาจไปเข้าร่วมกับสังคมนิยมซึ่งเป็นศัตรูของเขาได้ ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 เขาเข้าเป็นพันธมิตรกับเสรีนิยม (ผู้นิยมอัตราภาษีศุลกากรระดับต่ำและต่อต้านคาทอลิก) และต่อสู้กับศาสนจักรคาทอลิกที่ซึ่งถูกขนานนามว่า คุลทูร์คัมพฟ์ (Kulturkampf; การต่อสู้ทางวัฒนธรรม) แต่พ่ายแพ้ โดยฝ่ายศาสนจักรตอบโต้ด้วยการจัดตั้งพรรคกลาง (Centre Party) อันทรงพลังและใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปของชายเพื่อให้ได้ที่นั่งในสภา ด้วยเหตุนี้บิสมาร์คจึงกลับลำ ล้มเลิกปฏิบัติการคุลทูร์คัมพฟ์ ตัดขาดกับฝ่ายเสรีนิยม กำหนดภาษีศุลกากรแบบคุ้มกัน และร่วมเป็นพันธมิตรทางการเมืองกับพรรคกลางเพื่อต่อกรกับฝ่ายสังคมนิยม บิสมาร์คเป็นผู้เลื่อมใสศรัทธาในนิกายลูเทอแรนอย่างมาก จึงจงรักภักดีต่อกษัตริย์ของตนผู้ซึ่งมีทัศนะขัดแย้งกับเขา แต่ท้ายที่สุดก็ทรงโอนอ่อนและสนับสนุนเขาจากคำแนะนำของพระมเหสีและพระรัชทายาท ในขณะนั้นสภาไรชส์ทาคมาจากเลือกตั้งแบบสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปของชายชาวเยอรมัน แต่ไรชส์ทาคไม่มีอำนาจควบคุมนโยบายของรัฐบาลมากนัก บิสมาร์คไม่เชื่อในระบอบประชาธิปไตยจึงปกครองผ่านระบบข้าราชการประจำที่แข็งแกร่งและได้รับการฝึกฝนมาดีในอุ้งมือของอภิชนยุงเคอร์เดิมซึ่งประกอบด้วยขุนนางเจ้าที่ดินในปรัสเซียตะวันออก ในรัชกาลพระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 เขาเป็นผู้ควบคุมกิจการในประเทศและต่างประเทศเสียเป็นส่วนใหญ่ จนเมื่อจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ถอดเขาจากตำแหน่งในปี 1890 เมื่อเขาอายุได้ 75 ปี บิสมาร์คผู้เป็นขุนนางศักดินา ยุงเคอร์ มีบุคคลิกเด่น ๆ คือหัวรั้น ปากกล้า และบางครั้งเอาแต่ใจ แต่ในขณะเดียวกันก็สุภาพ มีเสน่ห์ และมีไหวพริบด้วยเช่นกัน ในบางโอกาสเขาก็เป็นคนที่มีอารมณ์รุนแรง บิสมาร์ครักษาอำนาจของเขาด้วยการเล่นละครแสดงบทบาทอ่อนไหวพร้อมขู่ว่าจะลาออกจากตำแหน่งอยู่ซ้ำ ๆ ซึ่งมักจะทำให้พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 ทรงเกรงกลัว นอกจากนี้บิสมาร์คไม่เพียงแต่มีวิสัยทัศน์เกี่ยวกับกิจการภายในและต่างประเทศอันยาวไกลเท่านั้น แต่ยังมีทักษะที่สามารถเล่นกลทางการเมืองเพื่อแทรกแซงสถานการณ์อันซับซ้อนที่กำลังดำเนินไปในระยะสั้นได้ด้วย จนกลายเป็นผู้นำที่ถูกนักประวัติศาสตร์ขนานนามว่าเป็น "ฝ่ายอนุรักษนิยมสายปฏิวัติ" (revolutionary conservatism) สำหรับนักชาตินิยมเยอรมัน บิสมาร์คคือวีรบุรุษของพวกเขา มีการจัดสร้างอนุสาวรีย์ของบิสมาร์คหลายแห่งเพื่อเชิดชูเกียรติผู้ก่อตั้ง จักรวรรดิไรซ์ ยุคใหม่ นักประวัติศาสตร์หลายคนเองก็ชื่นชมเขาในฐานะผู้มีวิสัยทัศน์ไกล ผู้ซึ่งมีส่วนสำคัญในการรวมเยอรมนีให้เป็นหนึ่งเดียวและช่วยให้ยุโรปดำรงสันติภาพเอาไว้ได้ผ่านการทูตอันชาญฉลาดของ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและออทโท ฟอน บิสมาร์ค

ออทโท กึนเชอ

ออทโท กึนเชอ (Otto Günsche) เป็นนายทหารระดับกลางในหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สของนาซีเยอรมนีในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและออทโท กึนเชอ

ออทโท สตรัสเซอร์

ออทโท โยฮานน์ แม็กซิมีเลียม สตรัสเซอร์ (also Straßer, see ß; 10 กันยายน 1897 – 27 สิงหาคม 1974) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมันและเป็นสมาชิกตั้งแต่ต้นของพรรคนาซี.ออทโท สตรัสเซอร์ได้ร่วมมือกับเกรกอร์ สตรัสเซอร์ผู้เป็นพี่ชายซึ่งเป็นสมาชิกชั้นแนวหน้าของกลุ่มฝ่ายซ้ายและได้แยกออกจากพรรคเนื่องจากเกิดเหตุพิพาทกับฝ่ายที่นิยมฮิตเลอร.เขาได้ก่อตั้งแนวร่วมดำ (Black Front),เป็นกลุ่มที่มีเจตนาที่จะแยกตัวออกจากพรรรคนาซีและถูกจับกุมโดยกลุ่มฝ่ายของฮิตเลอร.กลุ่มนี้ยังคงเคลื่อนไหวต่อไปในช่วงระหว่างถูกเนรเทศและในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ได้เป็นกลุ่มต่อต้านอย่างลั.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและออทโท สตรัสเซอร์

ออทโท ฮาน

ออทโท ฮาน (Otto Hahn) เป็นนักเคมีชาวเยอรมัน เขาเป็นผู้บุกเบิกสาขากัมมันตภาพรังสีและรังสีเคมี และได้รับการยอมรับนับถือเป็น "บิดาแห่งเคมีนิวเคลียร์" เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและออทโท ฮาน

ออตโต ซีเลียกส์

ออตโต ซีเลียกส์ (30 ตุลาคม ค.ศ. 1891 – 12 ธันวาคม ค.ศ. 1964) เป็นเจ้าหน้าที่นายทหารเรือเยอรมันที่ได้ทำหน้าที่ในกองทัพเรือแห่งจักรวรรดิเยอรมัน สาธารณรัฐไวมาร์ และนาซีเยอรมนี ในฐานะพลเรือเอกในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้บัญชาการในเรือประจัญบานเยอรมัน เขาได้รับเหรียญกางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน หมวดหมู่:ชาวเยอรมัน หมวดหมู่:ทหารเรือชาวเยอรมัน.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและออตโต ซีเลียกส์

อัลแบร์ท ชเปียร์

แบร์โทลด์ คอนราด แฮร์มันน์ อัลแบร์ท ชเปียร์ (Berthold Konrad Hermann Albert Speer;; 19 มีนาคม ค.ศ. 1905 – 1 กันยายน ค.ศ. 1981) เป็นสถาปนิกชาวเยอรมัน เป็นหัวหน้าสถาปนิกของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ก่อนได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงสรรพาวุธของนาซีเยอรมนี ชเปียร์ยอมรับผิดในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ทำให้ได้รับฉายา "นาซีผู้กล่าวคำขอโทษ" (the Nazi who said sorry) อย่างไรก็ตาม ชเปียร์ปฏิเสธไม่รู้เห็นเกี่ยวกับฮอโลคอสต์ ชเปียร์เกิดเมื่อปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและอัลแบร์ท ชเปียร์

อัลแบร์ท เคสเซิลริง

อัลแบร์ท เคสเซิลริง(30 พฤศจิกายน 1885 – 16 กรกฏาคม 1960) เป็นจอมพลชาวเยอรมันแห่งกองทัพอากาศลุฟท์วัฟเฟอ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ในอาชีพทหารที่มีมาในสงครามโลกทั้งสองครั้ง เคสเซิลริงได้กลายเป็นหนึ่งในผู้บัญชาการที่มีพรสวรรค์มากที่สุดของนาซีเยอรมนี และเป็นหนึ่งในผู้ที่ได้รับการยกย่องมากที่สุด เป็นหนึ่งในนายทหารที่ได้รับรางวัลเหรียญกางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊คและดาบประดับเพชร มีชื่อเล่นว่า"อัลแบร์ทจอมยิ้ม"("Smiling Albert")โดยฝ่ายสัมพันธมิตรและ"ลุงอัลแบร์ท"โดยทหารของเขา เขาเป็นหนึ่งในนายพลที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในสมัยสงครามโลกครั้งที่สองด้วยทหารระดับชั้นต่ำกว่าสัญบัตร(rank and file) เคสเซิลริงได้เข้าร่วมกองทัพบาวาเรียในฐานะเจ้าหน้าที่นักเรียนทหาร และได้ปฏิบัติหน้าที่ในแผนกปืนใหญ่ เขาได้จบการฝึกเป็นผู้คอยสังเกตการณ์บอลลูนในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและอัลแบร์ท เคสเซิลริง

อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์

แอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein, อัลแบร์ท ไอน์ชไตน์; 14 มีนาคม พ.ศ. 2422 – 18 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎี ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2428 ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว (ตามลำดับ) ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาเป็นผู้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพ และมีส่วนร่วมในการพัฒนากลศาสตร์ควอนตัม สถิติกลศาสตร์ และจักรวาลวิทยา เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ใน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์

อัลเฟรด โยเดิล

อัลเฟรด โยเซฟ เฟอร์ดินานด์ โยเดิล (Alfred Josef Ferdinand Jodl; 10 พฤษภาคม 1890 - 16 ตุลาคม 1946) เป็นนายพลเยอรมันซึ่งทำหน้าที่เป็นหัวหน้าของเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการของกองบัญชาการสูงสุดแห่งเวร์มัคท์ และเป็นอาชญากรสงครามในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาได้เซ็นสัญญาการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขต่อสัมพันธมิตรจากประธานาธิบดีคาร์ล เดอนิทซ์ ในปี 1945 หลังสงคราม โยเดิลมีความผิดในข้อหาสมรู้ร่วมคิดในการกระทำอาชญากรรมต่อสันติภาพ, การวางแผนการเริ่มต้นและขับเคี่ยวสงครามรุกราน, อาชญากรรมสงคราม และก่ออาชญากรรมต่อมนุษยชาติ ในการพิจารณาคดีนูเรมเบิร์ก คำสั่งหลักของเขาที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับลายเซ็นของเขาที่มีต่อคำสั่งคอมมานโดและผู้บังคับการตำรวจ พบว่ามีความผิดจริง จึงถูกตัดสินโทษให้ประหารชีวิตด้วยการแขวนคอ เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 1946 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและอัลเฟรด โยเดิล

อัลเฟรด เวเกเนอร์

อัลเฟรด โลธาร์ เวเกเนอร์หรืออัลเฟรด โลธาร์ เวเกแนร์ (Alfred Lothar Wegener, 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1880 - พฤศจิกายน ค.ศ. 1930) เป็นนักวิทยาศาสตร์ นักธรณีฟิสิกส์และนักอุตุนิยมวิทยาชาวเยอรมัน เขามีชื่อเสียงมากที่สุดจากทฤษฎีทวีปเลื่อนของเขา ซึ่งเสนอใน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและอัลเฟรด เวเกเนอร์

อันชลุสส์

ตำรวจชายแดนเยอรมัน-ออสเตรียกำลังรื้อถอนที่กั้นชายแดนในเหตุการณ์อันชลุสส์ ปี 1938. อันชลุสส์ (Anschluss, Anschluß, ท. การผนวก หรือ การเชื่อมโยง) เป็นคำโฆษณาชวนเชื่อนาซีสำหรับการบุกครองและการรวมประเทศออสเตรียเข้ากับเยอรมนีในเดือนมีนาคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและอันชลุสส์

อันฮัลท์

อันฮัลท์ (Anhalt) เดิมเป็นอาณาจักรเคานท์ที่ได้รับการเลื่อนฐานะขึ้นเป็นดัชชีในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและอันฮัลท์

อันตอน เชคอฟ

อันตอน ปัฟโลวิช เชคอฟ (Анто́н Па́влович Че́хов Anton Pavlovich Chyekhov, Anton Chekhov) (29 มกราคม ค.ศ. 1860 - (15 กรกฎาคม ค.ศ. 1904) อันตอน เชคอฟเป็นนายแพทย์, นักเขียนเรื่องสั้น และ นักเขียนบทละครคนสำคัญชาวรัสเซีย ผู้ถือกันว่าเป็นนักเขียนผู้มีความสามารถมากที่สุดคนหนึ่งของวรรณกรรมเรื่องสั้น เชคอฟเขียนบทละครสี่เรื่องที่ถือกันว่าเป็นงานคลาสสิกโดยนักเขียนและนักวิพากษ์วรรณกรรม"Stories… which are among the supreme achievements in prose narrative." George Steiner's review of The Undiscovered Chekhov, in The Observer, 13 May 2001.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและอันตอน เชคอฟ

อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย

ฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์ คาร์ล ลุดวิก โยเซฟ มารีอา (Franz Ferdinand Carl Ludwig Joseph Maria) ทรงเป็นอาร์ชดยุกแห่งออสเตรีย-เอสเต และยังทรงเป็นราชกุมารแห่งฮังการีและโบฮีเมีย และเป็นรัชทายาทลำดับหนึ่งแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีอีกด้วย พระองค์ทรงเป็นองค์รัชทายาทจวบจนถูกลอบปลงพระชนม์โดยนักชาตินิยมหัวรุนแรงชาวเซอร์เบีย ที่เมืองซาราเยโวในแคว้นบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (ขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี) หลังพระองค์และพระชายาสิ้นพระชนม์ก็ทำให้จักรวรดริออสเตรีย-ฮังการี ประกาศสงครามกับราชอาณาจักรเซอร์เบียทันที ถือเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่ 1.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและอาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย

อาร์ทูร์ อักซ์มันน์

อาร์ทูร์ อักซ์มันน์ (Artur Axmann) เป็นชาวเยอรมัน ดำตงตำแหน่งเป็นไรชส์ยูเกินด์ฟือเรอร์ของยุวชนฮิตเลอร์ ตั้งแต่ปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและอาร์ทูร์ อักซ์มันน์

อาร์ทูร์ โชเพนเฮาเออร์

อาร์ทูร์ โชเพนเฮาเออร์ (Arthur Schopenhauer) เป็นนักปรัชญาชาวเยอรมันที่เป็นที่รู้จักกันดีในความแจ่มแจ้งทางปรัชญาและทุทรรศนนิยมของความไม่มีพระเจ้า เมื่ออายุ 25 ปีโชเพนเฮาเออร์พิมพ์ปริญญานิพนธ์ “มูลบัญญัติสี่ประการของเหตุผล” (Über die vierfache Wurzel des Satzes vom zureichenden Grunde) ที่เป็นปรัชญาที่พิจารณาคำถามที่ว่าเหตุผลเพียงอย่างเดียวจะสามารถให้คำตอบเกี่ยวกับโลกได้หรือไม่ งานชิ้นที่มีอิทธิพลที่สุดของโชเพนเฮาเออร์ “Die Welt als Wille und Vorstellung” (The World as Will and Representation) เน้นบทบาทของแรงบันดาลใจ (motivation) ของมนุษย์ที่โชเพนเฮาเออร์เรียกว่า “เจตจำนง” (Will) การวิจัยของโชเพนเฮาเออร์นำไปสู่การสรุปว่าความต้องการทางอารมณ์, ทางร่างกาย และทางเพศ เป็นสิ่งที่ไม่อาจจะตอบสนองได้อย่างเต็มที่ ฉะนั้นโชเพนเฮาเออร์จึงนิยมวิถีชีวิตที่ลดความต้องการของมนุษย์ ที่คล้ายคลึงกับปรัชญาของศาสนาพุทธและเวทานต.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและอาร์ทูร์ โชเพนเฮาเออร์

อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

อาคารไรชส์ทาค

อาคารไรชส์ทาค (Reichstagsgebäude) หรือมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า อาคารที่ประชุมใหญ่ไรชส์ทาค (Plenarbereich Reichstagsgebäude) เป็นสิ่งก่อสร้างทางประวัติศาสตร์ในกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี สร้างขึ้นในสมัยจักรวรรดิเยอรมันเพื่อเป็นประชุมของรัฐสภาเยอรมัน (''ไรชส์ทาค'') อาคารนี้เริ่มใช้งานในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและอาคารไรชส์ทาค

อิลเซอ คอค

อิลเซอ คอค (née Margarete Ilse Köhler; 22 กันยายน 1906 – 1 กันยายน 1967) เป็นภรรยาของคาร์ล ออทโท คอค,ผู้บัญชาการของค่ายกักกันนาซี ได้แก่ ค่ายบูเคนวัลด์ (1937-1941) และค่ายไมดาเนก (1941-1943).ในปี 1947 เธอได้กลายเป็นหนึ่งในคนแรกที่มีความโดดเด่นของนาซีจากการต่อสู้คดีในการพิจารณาคดีโดยกองทัพสหรั.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและอิลเซอ คอค

อุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมัน

อุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมัน (Pan-Germanism) เป็นความคิดทางการเมืองอุดมการณ์รวมกลุ่มชาตินิยม (pan-nationalist) อย่างหนึ่ง นักอุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมันเดิมมุ่งรวมประชากรที่พูดภาษาเยอรมันในทวีปยุโรปในรัฐชาติเดียว ที่เรียกว่า กรอสส์ดอยท์ชลันด์ (มหาเยอรมนี) อุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมันมีอิทธิพลอย่างสูงในการเมืองเยอรมนีในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ระหว่างการรวมประเทศเยอรมนี เมื่อจักรวรรดิเยอรมันถูกประกาศเป็นรัฐชาติใน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและอุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมัน

อีริก อีริกสัน

อีริก อีริกสัน (15 มิถุนายน 2445 – 12 พฤษภาคม 2537) เป็นชาวเยอรมันโดยกำเนิด เป็นนักจิตวิทยาพัฒนาการ และ นักจิตวิเคราะห์ เขาเป็นที่รู้จักันอย่างกว้างขว้างในทฤษฎีขั้นพัฒนาการทางจิตสังคม (Erikson's stages of psychosocial development).

ดู จักรวรรดิเยอรมันและอีริก อีริกสัน

อดอล์ฟ บูเทนันต์

อดอล์ฟ ฟรีดริช โยฮันน์ บูเทนันต์ (Adolf Friedrich Johann Butenandt; 24 มีนาคม ค.ศ. 1903 – 18 มกราคม ค.ศ. 1995) เป็นนักชีวเคมีชาวเยอรมัน เกิดที่ใกล้เมืองเบรเมอร์ฮาเฟิน เป็นบุตรของออทโท หลุยส์ มักซ์ บูเทนันต์และวิลเฮล์มินา ทอมฟอห์ด บูเทนันต์ เรียนที่มหาวิทยาลัยมาร์บูร์กและมหาวิทยาลัยเกิททิงเงิน บูเทนันต์มีโอกาสได้เรียนกับอดอล์ฟ วินเดาส์ นักเคมีรางวัลโนเบลที่มหาวิทยาลัยทือบิงเงิน หลังเรียนจบ บูเทนันต์เป็นอาจารย์สอนที่มหาวิทยาลัยทือบิงเงินและดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยเทคนิกดานซิก ในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและอดอล์ฟ บูเทนันต์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ไอชมันน์

ออทโท อดอล์ฟ ไอชมันน์ (Otto Adolf Eichmann, 19 มีนาคม ค.ศ. 1906 - 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1962) เป็นสมาชิกพรรคนาซี และ โอเบอร์ชตูร์มบันน์ฟือเรอร์ (พันโท) ของหน่วยเอ็สเอ็ส และหนึ่งในผู้จัดการการล้างชาติโดยนาซีคนสำคัญ เพราะความสามารถพิเศษในการจัดการเป็นระบบและความน่าเชื่อถือทางอุดมการณ์ ไอชมันน์จึงได้รับมอบหมายจากไรน์ฮาร์ด ฮายดริชให้ปฏิบัติงานอำนวยความสะดวกและจัดการพลาธิการการเนรเทศชาวยิวขนานใหญ่ไปยังเก็ตโตและค่ายมรณะในยุโรปตะวันออกภายใต้การยึดครองของเยอรมนี หลังสงครามยุติ เขาบินไปยังอาร์เจนตินาโดยใช้บัตรอนุญาต (laissez-passer) ออกโดย กาชาดสากล ที่ได้มาโดยตลบแตลง เขาอาศัยอยู่ในอาร์เจนตินาภายใต้รูปพรรณปลอม ทำงานให้กับเมอร์ซิเดสเบนซ์ถึง..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและอดอล์ฟ ไอชมันน์

อเมริกันซามัว

อเมริกันซามัว (American Samoa; ซามัว: Amerika Samoa) เป็นดินแดนของสหรัฐอเมริกา ซามัวและอเมริกันซามัวถูกแบ่งแยกโดยส่วนของประเทศซามัวในปัจจุบันเคยอยู่ในการครอบครองของประเทศเยอรมนี ต่อมาก็ได้ถูกครอบครองโดยประเทศนิวซีแลนด์ ส่วนของอเมริกันซามัวก็ได้ถูกครอบครองโดยสหรัฐอเมริกา จนถึงปัจจุบัน.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและอเมริกันซามัว

ฮยัลมาร์ ชัคท์

ัลมาร์ โฮราเซอ เกรลี ชัคท์ (Hjalmar Horace Greeley Schacht) เป็นนักเศรษฐศาสตร์, นายธนาคาร, นักการเมืองฝ่ายขวา-กลางและผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์เยอรมันในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฮยัลมาร์ ชัคท์

ฮอสท์ เวสเซิล

อสท์ ลุดวิจ เกอร์ก แอริช เวสเซิล (9 ตุลาคม ค.ศ. 1907 – 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1930) เป็นผู้นำท้องถิ่นในกรุงเบอร์ลินของพรรคนาซีในหน่วยชตูร์มับไทลุง (ทหารกองพันพายุ) หรือหน่วยเอ็สเอ ที่ได้เป็นที่รู้จักกันดีสำหรับผู้พลีชีพเสียสละเพื่อนาซีโดยโยเซฟ เกิบเบลส์ ภายหลังจากเวสเซิลถูกสังหารในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฮอสท์ เวสเซิล

ฮันส์ บาเออร์

ันส์ บาเออร์ (Hans Baur) เป็นนักบินของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในระหว่างช่วงที่ฮิตเลอร์ได้เข้าชิงตำแหน่งทางการเมืองในช่วงต้นปี 1930.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฮันส์ บาเออร์

ฮันส์ ฟรังค์

ันส์ มิคาเอล ฟรังค์ (Hans Michael Frank) เป็นชาวเยอรมัน เกิดวันที่ 23 พฤษภาคม ปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฮันส์ ฟรังค์

ฮันส์ โอสเตอร์

ันส์ เพา โอสเตอร์ (Hans Paul Oster) เป็นพลตรีแห่งกองทัพบกเยอรมัน เขาเป็นหนึ่งในแกนนำของการต่อต้านนาซีในเยอรมนี ตั้งแต่ปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฮันส์ โอสเตอร์

ฮันส์ เบเทอ

ันส์ อัลเบร็คท์ เบเทอ (Hans Albrecht Bethe) เป็นนักฟิสิกส์นิวเคลียร์สัญชาติเยอรมัน-อเมริกัน เขาเป็นบุคคลสำคัญของวงการฟิสิกส์ดาราศาสตร์ พลศาสตร์ไฟฟ้าควอนตัม และฟิสิกส์ของแข็ง เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฮันส์ เบเทอ

ฮันส์ เคร็บส์ (นายพลเวร์มัคท์)

ันส์ เครบส์ (Hans Krebs) เป็นนายพลทหารราบแห่งกองทัพบกเยอรมันระหว่างก่อนและหลังสงครามโลกครั้งที่สองในช่วงยุทธการที่เบอร์ลิน เครบส์พยายามเจรจาสงบศึกแบบมีเงื่อนไขกับนายพลวาซีลี ชุยคอฟของกองทัพแดงแต่ไม่เป็นผล เครบส์ได้กระทำอัตวินิบาตกรรมที่ฟือเรอร์บุงเคอร์ในวันที่ 2 พฤษภาคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฮันส์ เคร็บส์ (นายพลเวร์มัคท์)

ฮันส์-อูลริช รูเดิล

ันส์-อูลริช รูเดิล (Hans-Ulrich Rudel) เป็นนักบินเยอรมันในการโจมตีทางภาคพื้นดินในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง หลังสงคราม เขาเป็นนักเคลื่อนไหวนีโอ-นาซีที่โด่งดังที่สุดในละตินอเมริกาและเยอรมนีตะวันตก ในช่วงสงคราม รูเดิลได้มีชื่อเสียงด้วยการทำลายรถถังจำนวน 519 คัน พอๆกับจำนวนเรือ เขาได้อ้างว่า ได้รับชัยชนะทางอากาศ 9 ครั้งและทำลายยานพาหนะ 800 คันจากทุกประเภท เขาได้บินในภารกิจโจมตีทางภาคพื้นดินจำนวน 2,530 ครั้งโดยเฉพาะแนวรบด้านตะวันออกโดยปกติจะบินด้วยเครื่องบินทิ้งระเบิดรุ่นยุงเคอร์ เจยู-87"ชตูคา"และภารกิจ 430 ครั้งสำหรับเครื่องบินรบขับไล่ รูเดิลเป็นผู้ที่ได้รับการยกย่องมากที่สุดสำหรับนักบินชาวเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่สอง ได้รับเหรียญกางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊คและดาบประดับเพชรเคลือบทองในเดือนมกราคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฮันส์-อูลริช รูเดิล

ฮั่ว หยวนเจี่ย

ั่ว หยวนเจี่ย ฮั่ว หยวนเจี่ย (เยฺว่พิน: Fok Yuen Gap; ค.ศ. 1868–ค.ศ. 1910) คือนักสู้ชาวจีนและผู้ร่วมก่อตั้งสมาคมชิงอู่ โรงเรียนสอนศิลปะการป้องกันตัวในเซี่ยงไฮ้ เขาได้รับการยกย่องว่าเป็นวีรบุรุษจากการต่อสู้กับชาวต่างชาติในช่วงที่ประเทศจีนถูกคุกคามโดยชาวต่างชาติ ทำให้เรื่องราวของเขายากต่อการแยกแยะจริงเท็.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฮั่ว หยวนเจี่ย

ฮูโก ชแปร์เริล

ูโก ชแปร์เริล(7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1885 – 2 เมษายน ค.ศ. 1953)เป็นจอมพลเยอรมันแห่งลุฟท์วัฟเฟอในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง กองกำลังของเขาได้ปฏิบัติการรบได้เฉพาะบนแนวรบด้านตะวันตกและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในช่วงตลอดสงคราม โดยปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฮูโก ชแปร์เริล

ฮูโก้ กัทมันนท์

ูโก้ กัทมันนท์ (Hugo Gutmann) หรือชื่อหลังย้ายไปอยู่ในสหรัฐคือ เฮนรี่ จี.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและฮูโก้ กัทมันนท์

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ หรือ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน (regent) เป็นผู้ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ของประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ หรือทรงพระประชวร หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศ หรือทรงบริหารพระราชกิจไม่ได้ไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม ทั้งนี้ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ยังมีขึ้นได้ในกรณีที่ระบอบพระมหากษัตริย์ยังมิได้มีพระมหากษัตริย์ที่เหมาะสม เช่น เมื่อประเทศฟินแลนด์ประกาศเอกราชจากจักรวรรดิรัสเซียแล้วมีการสถาปนาราชอาณาจักรฟินแลนด์ขึ้น แต่ยังไม่มีเชื้อพระวงศ์ต่างประเทศพระองค์ใดเหมาะสม จึงให้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ทำหน้าที่ไปพลางก่อน จนรัฐสภาฟินแลนด์เลือกเจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ลแห่งเฮสส์ แห่งแคว้นเฮสส์จากจักรวรรดิเยอรมันขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งฟินแลนด์ ตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จึงสิ้นสุดลง.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

จอห์น ดัลเบิร์ก-แอกตัน บารอนแอกตันที่ 1

อห์น เอเมอริช เอดเวิร์ด ดัลเบิร์ก-แอกตัน บารอนแอกตันที่ 1 (John Emerich Edward Dalberg-Acton, 1st Baron Acton; 10 มกราคม 1834 – 19 มิถุนายน 1902) หรือมักเรียกกันว่า ลอร์ดแอกตัน (Lord Acton) เป็นนักประวัติศาสตร์ นักการเมือง และนักเขียนชาวอังกฤษ เป็นบุตรคนเดียวของเซอร์เฟอร์ดินันด์ ดัลเบิร์ก-แอกตัน บารอเนตที่ 7 (Sir Ferdinand Dalberg-Acton, 7th Baronet) และเป็นหลานของพลเรือเอก เซอร์จอห์น แอกตัน บารอเนตที่ 6 (Sir John Acton, 6th Baronet)Chambers Biographical Dictionary, ISBN 0-550-16010-8, p.6Chisholm, Hugh.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและจอห์น ดัลเบิร์ก-แอกตัน บารอนแอกตันที่ 1

จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 แห่งเยอรมนี

ฟริดริชที่ 3 (Friedrich III) (18 ตุลาคม ค.ศ. 1831 – 15 มิถุนายน ค.ศ. 1888) จักรพรรดิแห่งเยอรมนี (ไกเซอร์) กษัตริย์แห่งปรัสเซีย ในปี..1888 พระองค์เป็นโอรสของ เจ้าชายวิลเฮล์มแห่งปรัสเซีย และ ออกัสตาแห่งแซ็กซ์-ไวมาร.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและจักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 แห่งเยอรมนี

จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี

วิลเฮล์ม ฟรีดริช ลุดวิจ ฟอน โฮเอินโซลเลิร์น (Wilhelm Friedrich Ludwig von Hohenzollern) เป็นกษัตริย์แห่งปรัสเซียและจักรพรรดิเยอรมันจากราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น ภายใต้การปกครองของพระองค์ร่วมกับนายกรัฐมนตรีออทโท ฟอน บิสมาร์ค สามารถนำพาราชอาณาจักรปรัสเซียมีชัยเหนือสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียและนำไปสู่การรวมชาติเยอรมันขึ้นเป็นจักรวรรดิเยอรมันในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี

จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี

ักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี (Wilhelm II หรือ Friedrich Wilhelm Albert Viktor von Preußen 27 มกราคม พ.ศ. 2402 - 4 มิถุนายน พ.ศ. 2484) หรือ พระเจ้าไกเซอร์วิลเฮล์มที่ 2 เป็นพระราชโอรสใน พระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 กับพระราชธิดาในสมเด็จพระราชินีวิกตอเรีย ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์สุดท้ายแห่งจักรวรรดิเยอรมัน และพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งปรัสเซีย ทรงดำรงวาระตั้งแต่วันที่ 27 มกราคม พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี

จักรพรรดิแม็กซีมีเลียนที่ 1 แห่งเม็กซิโก

ักรพรรดิแม็กซีมีเลียนที่ 1 แห่งเม็กซิโก (Emperador Maximiliano I de México, Maximilian I, Emperor of Mexico, Maximilian I, Kaiser von Mexiko) (พระนามเต็ม: แฟร์ดีนันด์ แม็กซีมีเลียน โยเซฟ, Ferdinand Maximilian Joseph von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นอาร์ชดยุกแห่งออสเตรีย และทรงเป็นจักรพรรดิแห่งเม็กซิโก โดยทรงจัดตั้งคณะรัฐบาลของพระองค์เอง แต่หลายประเทศได้ปฏิเสธที่จะยอมรับการจัดตั้งคณะรัฐบาลของพระองค์ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา อันนำไปสู่การก่อรัฐประหาร และปฏิรูปการปกครอง นำโดยเบนิโต ยัวเรซ ซึ่งต่อมาเป็นประธานาธิบดีคนแรกของเม็กซิโก การก่อรัฐประหารครั้งนี้ เป็นเหตุทำให้พระองค์ทรงต้องถูกประหารชีวิตโดยคณะรัฐประหารในเมืองคัวเรทาโร่ ในปี พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและจักรพรรดิแม็กซีมีเลียนที่ 1 แห่งเม็กซิโก

จักรพรรดิเยอรมัน

ักรพรรดิเยอรมัน (Deutscher Kaiser) เป็นพระอิสริยยศของพระประมุขแห่งจักรวรรดิเยอรมัน เริ่มใช้ตั้งแต่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย เฉลิมพระปรมาภิไธยพระองค์เองเป็น "ดอยท์เชอร์ไกเซอร์" ในวันที่ 18 มกราคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและจักรพรรดิเยอรมัน

จักรวรรดิสเปน

ักรวรรดิสเปน (Imperio Español, Spanish Empire) เป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โลก และเป็นหนึ่งในจักรวรรดิโลก (global empire) จักรวรรดิแรก ที่มีดินแดนและอาณานิคมในยุโรป, อเมริกา, เอเชีย และ โอเชียเนีย มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ส่วนอาณานิคมในแอฟริกาเป็นดินแดนที่ได้มาในตอนปลายของคริสต์ศตวรรษที่ 20 สเปนก่อตัวขึ้นเป็นสหอาณาจักรในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและจักรวรรดิสเปน

จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

จักรวรรดิอาณานิคมเยอรมัน

ักรวรรดิอาณานิคมเยอรมัน (German colonial empire) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของจักรวรรดินิยมเยอรมัน ซึ่งเยอรมันมีความพยายามในการสร้างอาณานิคมที่เริ่มมาตั้งแต่ก่อนหน้านั้โดยนครรัฐต่างๆ ในเยอรมนีไม่ประสบความสำเร็จเท่าใดนัก เยอรมันมีอาณานิคมโพ้นทะเลอยู่ในทวีปแอฟริกา, เอเชีย และโอเชียเนี.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและจักรวรรดิอาณานิคมเยอรมัน

จักรวรรดินิยมในเอเชีย

ักรวรรดินิยมในเอเชียซึ่งนำเสนอในบทความนี้ว่าด้วยการเข้ามายังบริเวณที่เดิมเรียก หมู่เกาะอินเดียตะวันออก ของชาติยุโรปตะวันตก จักรวรรดินิยมในเอเชียเริ่มขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยการค้นเส้นทางการค้ากับประเทศจีนซึ่งนำไปสู่ยุคแห่งการสำรวจโดยตรง และนำการสงครามสมัยใหม่ตอนต้นมาสู่บริเวณซึ่งขณะนั้นเรียก ตะวันออกไกล เมื่อถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ยุคแห่งการเดินเรือขยายอิทธิพลของยุโรปตะวันตกและพัฒนาการค้าเครื่องเทศภายใต้ลัทธิอาณานิคมอย่างมาก มีจักรวรรดิอาณานิคมยุโรปตะวันตกและจักรวรรดินิยมในเอเชียตลอดหกศตวรรษแห่งลัทธิอาณานิคม จนสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการเมื่อติมอร์-เลสเต ซึ่งเป็นอาณานิคมสุดท้ายของจักรวรรดิโปรตุเกส ได้รับเอกราชใน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและจักรวรรดินิยมในเอเชีย

ธีโอดอร์ โมเรล

ีโอดอร์ กิลเบิร์ต โมเรล (22 กรกฎาคม 1886 – 26 พฤษภาคม 1948) เป็นแพทย์ชาวเยอรมันซึ่งเป็นที่รู้จักคือเป็นแพทย์ส่วนตัวของอดอล์ฟ ฮิตเลอร.โมเรลเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีในประเทศเยอรมนีสำหรับการรักษาแบบนอกคอกของ.เขาได้ช่วยเหลือฮิตเลอร์เป็นประจำวันในสิ่งที่เขาทำเป็นเวลาหลายปีและอยู่เคียงข้างกับฮิตเลอร์จนถึงช่วงสุดท้ายของยุทธการที่เบอร์ลิน ธีโอดอร์ โมเรล เป็นแพทย์ที่ได้สั่งจ่ายยาให้กับฮิตเลอร์ทั้งหมดเพื่อที่จะรักษาโรคหลายโรคที่ฮิตเลอร์เป็นอยู่และฮิตเลอร์ก็ทานยาหลายเม็ดต่อวัน ซึ่งยาที่โมเรลได้จ่ายยานั้นจะมีดังต่อไปนี้.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและธีโอดอร์ โมเรล

ธีโอดอร์ ไอค์เคอ

ีโอดอร์ ไอค์เคอ(17 ตุลาคม 1892 – 26 กุมภาพันธ์ 1943)เป็นผู้บัญชาการระดับสูงในหน่วยเอสเอสแห่งนาซีเยอรมนี.เขาได้บัญชาการในค่ายกักกันดาเคาและเอ็สเอ็ส-โทเทินคอฟเฟอร์แบนเดอ(หน่วยหัวกะโหลก) ของวัฟเฟิน-เอ็สเอ็.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและธีโอดอร์ ไอค์เคอ

ธงชาติบูร์กินาฟาโซ

งชาติบูร์กินาฟาโซ เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในแบ่งครึ่งตามแนวนอน ครึ่งบนพื้นสีแดง ครึ่งล่างพื้นสีเขียว กลางธงมีรูปดาวห้าแฉกสีเหลือง 1 ดวง ธงนี้เริ่มใช้มาตั้งแต่วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและธงชาติบูร์กินาฟาโซ

ธงชาติซามัว

งชาติซามัว มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นสีแดง ที่มุมบนด้านคันธงมีสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีน้ำเงินขนาดเล็ก ภายในรูปดังกล่าวมีดาวห้าแฉกสีขาวดวงใหญ่ 4 ดวง ดวงเล็ก 1 ดวง เรียงกันเป็นกลุ่มดาวกางเขนใต้ เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและธงชาติซามัว

ธงชาติปาปัวนิวกินี

งชาติปาปัวนิวกินี เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 3 ส่วน ยาว 4 ส่วน ภายในธงแบ่งครึ่งธงตามแนวทแยง จากมุมบนด้านคันธงไปยังมุมล่างด้านปลายธง ครึ่งบนเป็นพื้นสีแดง มีภาพเงาสีทองของนกปักษาสวรรค์ ครึ่งล่างเป็นพื้นสีดำ มีดาวห้าแฉกสีขาวดวงใหญ่ 4 ดวง ดวงเล็ก 1 ดวง เรียงกันเป็นรูปกลุ่มดาวกางเขนใต้ ธงนี้เป็นแบบธงที่ชนะเลิศการประกวดแบบธงชาติในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและธงชาติปาปัวนิวกินี

ธงชาตินามิเบีย

งชาตินามิเบีย เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในธงถูกแบ่งเป็น 2 ส่วนด้วยแถบสีแดงขอบขาว ซึ่งพาดเป็นแนวทแยงมุมจากมุมธงด้านปลายธงมายังมุมบนด้านปลายธง ส่วนที่ถูกแบ่งนั้นเป็นสีน้ำเงินที่ด้านคันธงและเป็นสีเขียวที่ด้านปลายธง ที่มุมบนของพื้นสีน้ำเงินนั้นเป็นรูปดวงอาทิตย์สีเหลืองมีรัศมี 12 แฉก ธงนี้มีที่มาจากธงขององค์การประชาชนแอฟริกาตะวันตกเฉียงใต้ (South West African People's Organization - SWAPO) ซึ่งเป็นองค์กรที่มีบทบาทในการเรียกร้องเอกราชของนามิเบีย และได้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและธงชาตินามิเบีย

ธงชาตินาซีเยอรมนี

งชาติจักรวรรดิเยอรมันซึ่งเป็นธงชาติอย่างถูกต้องตามกฎหมายในนาซีเยอรมนี (ระหว่างปี ค.ศ. 1933-1935) แต่ต่อมาประกาศเลิกใช้ ธงชาตินาซีเยอรมนี เป็นธงชาติประจำรัฐมหาจักรวรรดิเยอรมัน ระหว่างปี ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและธงชาตินาซีเยอรมนี

ธงชาติเยอรมนี

งชาติเยอรมนี มีลักษณะเป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน แบ่งเป็นแถบสี 3 แถบ ตามแนวนอน คือ สีดำ สีแดง และสีทอง มีชื่อเรียกในภาษาเยอรมันว่า "Schwarz-Rot-Gold" แปลว่า ธงดำ-แดง-ทอง ตามสีของธง.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและธงชาติเยอรมนี

ทวิพันธมิตร

ทวิพันธมิตร (Dual Alliance) เป็นพันธมิตรป้องกันระหว่างเยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการี ซึ่งสถาปนาขึ้นตามสนธิสัญญาลงวันที่ 7 ตุลาคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและทวิพันธมิตร

ดรีทริซ ฟอน โคลทิซ

รีทริซ ฮูโก้ แฮร์มัน ฟอน โคลทิซ (9 พฤศจิกายน 1894-4 พฤศจิกายน 1966) เป็นนายทหารมืออาชีพที่รับใช้กองทัพจักรวรรดิเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและกองทัพเวร์มัคในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและดรีทริซ ฟอน โคลทิซ

ดอบรอแจญ

อบรอแจญ (Dobrodzień; Guttentag) เป็นเมืองทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศโปแลนด์ อยู่ในเขตจังหวัดออปอแล มีเนื้อที่ 19.46 ตารางกิโลเมตร ในปี.ศ 2006 มีประชากร 4,168 คน ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง นาซีเยอรมนีได้เข้ามาประกอบอาชีพในเมืองนี้ เมืองได้เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิฮับส์บูร์กจนกระทั่งในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและดอบรอแจญ

ดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลีย

ัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลีย (Ducatus Curlandiæ et Semigalliæ, Księstwo Kurlandii i Semigalii, Herzogtum Kurland und Semgallen, Kurzemes un Zemgales hercogiste) เป็นดัชชีในภูมิภาคบอลติก โดยก่อตั้งขึ้นในปี 1561 จนในปี 1569 ดัชชีนี้ได้กลายเป็นเครือรัฐของแกรนด์ดัชชีลิทัวเนีย และ เครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย ตั้งแต่ปี 1569 ถึงปี 1726 ดัชชีได้เข้าร่วมกับ เครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย โดย Sejm ในปี 1726 จนในวันที่ 28 มีนาคม 1795 ดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลียได้ถูกผนวกกับจักรวรรดิรัสเซียในการแบ่งโปแลนด์ครั้งที่สาม ต่อมาดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลียได้จัดตั้งรัฐอายุสั้นขึ้นในวันที่ 8 มีนาคม ถึงวันที่ 22 กันยายน 1918 โดยใช้ชื่อเดียวกัน โดยเป็นแผนที่จะจัดตั้งสหดัชชีบอลติก (United Baltic Duchy) โดย จักรวรรดิเยอรมัน จนเยอรมนียอมจำนนในภูมิภาคบอลติกในช่วงสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง พื้นที่ดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลียได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของประเทศลัตเวีย หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งจบลง; ดูเพิ่มที่ ดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลีย (ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลีย

ดัชชีเบราน์ชไวค์

ัชชีเบราน์ชไวค์ (Duchy of Brunswick; Herzogtum Braunschweig) เป็นอดีตอาณาจักรของเยอรมนี เดิมดินแดนเบราน์ชไวค์-โวลเฟนบึทเทิลเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่มาก่อตั้งเป็นดัชชีอิสระตามข้อตกลงในการประชุมแห่งเวียนนาในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและดัชชีเบราน์ชไวค์

ดัสลีดแดร์ดอยท์เชิน

ลงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีมีชื่อว่า ดัสลีดแดร์ดอยท์เชิน (Das Lied der Deutschen, แปลว่า "เพลงแห่งชาวเยอรมัน) หรือในอีกชื่อหนึ่ง คือ ดัสดอยท์ชลันด์ลีด (Das Deutschlandlied, แปลว่า "เพลงแห่งเยอรมนี") สำหรับในต่างประเทศในบางครั้งจะรู้จักกันในชื่อ "ดอยท์ชลันด์อือเบอร์อัลเลส" (Deutschland über alles, แปลว่า "เยอรมนีเหนือทุกสิ่ง") ซึ่งเป็นวรรคแรกและท่อนแยกของเพลงนี้ในบทที่ 1 แต่ชื่อดังกล่าวไม่ใช่ชื่อของเพลงนี้อย่างแท้จริง ทำนองของเพลงนี้ประพันธ์โดย โจเซฟ ไฮเดิน เมื่อปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและดัสลีดแดร์ดอยท์เชิน

คริสต์สหัสวรรษที่ 2

ริสต์สหัสวรรษที่ 2 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นในวันที่ 1 มกราคม..1001 และจบลงในวันที่ 31 ธันวาคม..2000 ตามปฏิทินเกรกอเรียนUnited States Naval Observatory, (Washington, DC, June 14, 2011).

ดู จักรวรรดิเยอรมันและคริสต์สหัสวรรษที่ 2

ความสัมพันธ์เยอรมนี-ญี่ปุ่น

ระชิมะ กรุงเบอร์ลิน เดิมสร้างตั้งแต่ ค.ศ. 1938 ถึง 1942 ปรับปรุงใหม่ในคริสต์ทศวรรษ 1990 และเป็นสัญลักษณ์แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเยอรมนีและญี่ปุ่นตั้งแต่นั้นมา สถานทูตเยอรมนีในประเทศญี่ปุ่น ความสัมพันธ์ระหว่างเยอรมนีและญี่ปุ่นเริ่มขึ้นใน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและความสัมพันธ์เยอรมนี-ญี่ปุ่น

ความตกลงอังกฤษ-รัสเซีย

การกำหนดพรมแดน: ดินแดนเปอร์เซีย (สีน้ำเงิน) อยู่ในการควบคุมของรัสเซีย; ดินแดนทางตะวันออกเฉียงใต้ (สีชมพู) เป็นของอังกฤษ ความตกลงอังกฤษ-รัสเซีย (Anglo-Russian Entente) ลงนามเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและความตกลงอังกฤษ-รัสเซีย

คองเกรสโปแลนด์

ราชอาณาจักรคองเกรสโปแลนด์, ค.ศ. 1815-1830 แผนที่คองเกรสดปแลนด์ (จักรวรรดิรัสเซีย) ค.ศ. 1902 ราชอาณาจักรโปแลนด์ (Królestwo Polskie; Королевство Польское, Царство Польское, Korolevstvo Polskoye, Tsarstvo Polskoye,, Carstwo Polskie, translation: อาณาจักรซาร์โปแลนด์) มีชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า คองเกรสโปแลนด์ (Królestwo Kongresowe หรือ รัสเซียโปแลนด์) สถาปนาเมื่อ..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและคองเกรสโปแลนด์

คอนชตันทิน ฟอน นอยรัท

อนชตันทิน เฮอร์มันน์ คาร์ล ไฟร์แฮร์ ฟอน นอยรัท (Konstantin Hermann Karl Freiherr von Neurath) เป็นนักการทูตชาวเยอรมันผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งไรช์แห่งเยอรมนี ระหว่างปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและคอนชตันทิน ฟอน นอยรัท

คอนราด อเดเนาร์

อนราด อเดนาวร์ (5 มกราคม พ.ศ. 2419 - 19 เมษายน พ.ศ. 2510) มีชื่อเต็มว่า คอนราด แฮร์มันน์ โยเซฟ อเดนาวร์ (Konrad Hermann Josef Adenauer) เป็นรัฐบุรุษชาวเยอรมัน อัครมหาเสนาบดีหรือนายกรัฐมนตรีแห่งเยอรมนี คนแรกของเยอรมนีตะวันตก (First Chancellor) ผู้สร้างชาติเยอรมนีตะวันตกภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง พรรคการเมืองที่มีชื่อว่า “พรรคสหภาพคริสเตียน - เดโมแครต” (CDU) อีกทั้งยังเป็นนายกรัฐมนตรีที่อายุยืนที่สุดในโลกอีกด้ว.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและคอนราด อเดเนาร์

คาร์ล ชูมันน์

ร์ล ชูมันน์ (Carl Schuhmann; 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1869 — 24 มีนาคม ค.ศ. 1946) นักกีฬามวยปล้ำชาย, ยิมนาสติกและยกน้ำหนักจากประเทศเยอรมนี ระหว่างปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและคาร์ล ชูมันน์

คาร์ล ฟรีดริช เกอร์เดแลร์

ร์ล ฟรีดริช เกอร์เดแลร์(31 กรกฎาคม ค.ศ. 1884 – 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1945) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมันฝ่ายอนุรักษนิยมของระบอบราชาธิปไตย ผู้บริหาร นักเศรษฐศาสตร์ ข้าราชการพลเรือน และฝ่ายปรปักษ์กับระบอบนาซี เขาได้มีส่วนร่วมในแผนลับ 20 กรกฎาคมคือการลอบสังหารฮิตเลอร์ในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและคาร์ล ฟรีดริช เกอร์เดแลร์

คาร์ล ฟอน ออสซิเอ็ดซกี

ร์ล ฟอน ออสซิเอ็ดซกี (3 ตุลาคม ค.ศ. 1889 – 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1938) เป็นชาวเยอรมันผู้รักสันติภาพและได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ เมื่อปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและคาร์ล ฟอน ออสซิเอ็ดซกี

คาร์ล อันโทน เจ้าชายแห่งโฮเอินโซลเลิร์น

ร์ล อันโทน องค์อธิปัตย์แห่งโฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน (Karl Anton Joachim Zephyrinus Friedrich Meinrad Fürst von Hohenzollern-Sigmaringen) เป็นประมุขแห่งราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน ตั้งแต่ปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและคาร์ล อันโทน เจ้าชายแห่งโฮเอินโซลเลิร์น

คาร์ล เดอนิทซ์

ร์ล เดอนิทซ์ (Karl Dönitz; 16 กันยายน 1891 – 24 ธันวาคม 1980) เป็นจอมพลเรือชาวเยอรมันผู้มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์กองทัพเรือสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เดอนิทซ์สืบทอดตำแหน่งประมุขแห่งรัฐเยอรมนีต่อจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เขาเริ่มอาชีพในกองทัพเรือจักรวรรดิเยอรมันก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในปี 1918 ขณะที่เขาบังคับการเรือดำน้ำ UB-68 เรือถูกกองทัพบริติชจมและเดอนิทซ์ถูกจับเป็นเชลย ระหว่างอยู่ในค่ายเชลยศึก เขาสรุปสิ่งที่ต่อมาเขาเรียกว่ารูเดลทักทิค ("ยุทธวิธีฝูง" หรือเรียกทั่วไปว่า "ฝูงหมาป่า") เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองอุบัติ เขาเป็นนายทหารเรือดำน้ำอาวุโสในครีกส์มารีเนอ ในเดือนมกราคม 1943 เขาได้ยศกรอสส์อัดมีรัล (จอมพลเรือ) และสืบตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือจากจอมพลเรือ เอริช แรดเดอร์ วันที่ 30 เมษายน 1945 หลังอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ถึงแก่อสัญกรรมและตามพินัยกรรมฉบับหลังสุดของฮิตเลอร์ เดอนิทซ์ถูกเสนอชื่อเป็นผู้สืบทอดประมุขแห่งรัฐจากฮิตเลอร์ ทั้งตำแหน่งประธานาธิบดีเยอรมนีและผู้บัญชาการทหารสูงสุด วันที่ 7 พฤษภาคม 1945 เขาสั่งให้อัลเฟรด โยเดิล หัวหน้าเสนาธิการของกองบัญชาการทหารสูงสุด ลงนามตราสารยอมจำนนในแรมส์ ประเทศฝรั่งเศส เดอนิทช์ยังเป็นหัวหน้ารัฐบาลเฟลนซ์บุร์กจนถูกฝ่ายสัมพันธมิตรยุบเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม ที่การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก เขาถูกพิพากษาลงโทษฐานอาชญากรรมสงครามและตัดสินลงโทษจำคุกสิบปี หลังการปล่อยตัว เขาใช้ชีวิตเงียบ ๆ ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งใกล้ฮัมบุร์กจนเสียชีวิตในปี 1980.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและคาร์ล เดอนิทซ์

คาร์ล-ไฮน์ริช ฟอน ชตึลพ์นาเกิล

ร์ล-ไฮน์ริช ฟอน ชตึลพ์นาเกิล (Carl-Heinrich von Stülpnagel; 2 มกราคม ค.ศ. 1886 – 30 สิงหาคม ค.ศ. 1944) เป็นนายพลชาวเยอรมันในกองทัพเวร์มัคท์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองซึ่งเป็นผู้บัญชาการในกองทัพบก ในขณะที่ทำหน้าที่เป็นผู้บัญชาการทหารของเยอรมันในเขตการยึดครองฝรั่งเศสและเป็นผู้บัญชาการกองทัพที่สิบเจ็ดในสหภาพโซเวียตในช่วงปฏิบัติการบาร์บารอสซา ชตึลพ์นาเกิลได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการก่ออาชญากรรมสงคราม,รวมทั้งการได้ออกอนุมัติให้จัดการกับพลเรือนและให้ความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับหน่วยไอน์ซัทซกรุพเพนในการสังหารหมู่ชาวยิว เขาได้มีส่วนร่วมในเหตุการณ์แผนลับ 20 กรกฎาคมในการลอบสังหารอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เป็นผู้รับผิดชอบของการกระทำของผู้สมรู้ร่วมคิดในฝรั่งเศส ภายหลังจากแผนการล้มเหลว เขาถูกเรียกตัวให้กลับไปยังกรุงเบอร์ลินและในระหว่างทาง เขาได้พยายามจะฆ่าตัวตายแต่ไม่สำเร็จ ต่อมาเขาได้ถูกขึ้นศาลในวันที่ 30 สิงหาคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและคาร์ล-ไฮน์ริช ฟอน ชตึลพ์นาเกิล

คูร์ท เมเยอร์

ูร์ท เมเยอร์(23 ธันวามคม ค.ศ. 1910 – 23 ค.ศ. 1961) เป็นสมาชิกระดับชั้นสูงในหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สแห่งนาซีเยอรมนี ผู้บัญชาการของกองพลเอ็สเอ็ส ฮิตเลอร์ยูเกินด์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้เข้าร่วมรบในยุทธการที่ฝรั่งเศส ปฏิบัติการบาร์บารอสซาและยุทธการที่นอร์ม็องดี อื่นๆอีกมากมาย และได้รับการปูนบำเหน็จด้วยเหรียญกางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊คและดาบ เมเยอร์ได้ถูกตั้งข้อกล่าวหาสำหรับบทบาทของเขาในการสังหารหมู่ที่อาร์เดน แอบบีย์(Ardenne Abbey massacre) การสังหารหมู่เชลยศึกทหารชาวแคนนาดาในนอร์ม็องดี เขาถูกตัดสินโทษประหารชีวิต ต่อมาก็ได้เปลี่ยนการตัดสินโทษเป็นจำคุกในเรือนจำ เมเยอร์เป็นหนึ่งในอาชญากรสงครามคนสุดท้ายที่ได้รับการปล่อยตัวจากเรือนจำ ภายหลังจากที่เขาได้ออกจากคุก เมเยอร์ได้กลายเป็นนักเคลื่อนไหวใน HIAG กลุ่มจัดตั้งล็อบบี้โดยเหล่าอดีตสมาชิกระดับชั้นสูงของหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส เขาได้รับการบรรยายโดยนักประวัติศาสตร์ว่าเป็นผู้นำของหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สและเป็นโฆษกของกลุ่ม HIAG ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด ภาพลักษณ์ส่วนใหญ่ของวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สที่ไม่สนใจการเมือง กล้าหาญชาญชัยเยี่ยงนักรบ ผู้ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในอาชญากรรมของระบอบนาซี.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและคูร์ท เมเยอร์

ตราแผ่นดินของเยอรมนี

ตราแผ่นดินของเยอรมนี (Bundesadler) เป็นตราอาร์มของประเทศเยอรมนีที่ประกอบด้วยเหยี่ยว สีของตราคลายกับสีของธงชาติเยอรมนี (ดำ แดง และ ทอง) และเป็นตราประจำชาติที่เก่าที่สุดตราหนึ่งของยุโรป และของโลก.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและตราแผ่นดินของเยอรมนี

ตำนานแทงข้างหลัง

ประกอบจากไปรษณียบัตรออสเตรีย ค.ศ. 1919 เป็นภาพล้อยิวกำลังแทงทหารเยอรมันทางด้านหลังด้วยมีด การยอมจำนนถูกกล่าวโทษแก่ประชาชนที่ไม่รักชาติ พวกสังคมนิยม พวกบอลเชวิค สาธารณรัฐไวมาร์ และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยิว การ์ตูนการเมืองเยอรมันฝ่ายขวา ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและตำนานแทงข้างหลัง

ตียงวีล

ตียงวีล (Thionville) หรือชื่อในภาษาเยอรมันคือ ดีเดินโฮเฟิน (Diedenhofen) เป็นเทศบาลในจังหวัดมอแซล แคว้นกร็องแต็สต์ของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ใกล้กับพรมแดนประเทศลักเซมเบิร์กและประเทศเยอรมนี เมื่อจักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลายลงในศตวรรษที่ 5 ชนอลามันน์เชื้อสายเยอรมันก็เข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณเมืองแห่งนี้ หลังจากนั้น เมืองแห่งนี้ก็พัฒนาขึ้นและเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ตั้งแต่ศตวรรษที่ 10 เป็นต้นมา อย่างไรก็ตาม เมื่อปรัสเซียได้รับชัยชนะในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและตียงวีล

ซัคเซิน-อัลเทนบูร์ก

ัชชีซัคเซิน-อัลเทนบูร์ก (Herzogtum Sachsen-Altenburg, Saxe-Altenburg) เป็นอดีตดัชชีซัคเซินที่เป็นส่วนหนึ่งของดัชชีเอิร์นเนสทีนสาขาของราชวงศ์เวททินที่ในปัจจุบันอยู่ในทือริงเงิน.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและซัคเซิน-อัลเทนบูร์ก

ซัคเซิน-ไมนิงเงิน

ัชชีซัคเซิน-ไมนิงเงิน (Herzogtum Sachsen-Meiningen, Saxe-Meiningen) เป็นหนึ่งในดัชชีเอิร์นเนสทีน (Ernestine duchies) ที่ปกครองโดยตระกูลเว็ททิน ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและซัคเซิน-ไมนิงเงิน

ซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัค

แกรนด์ดัชชีซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัค (Großherzogtum Sachsen-Weimar-Eisenach, Saxe-Weimar-Eisenach) ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1809 จากการรวมดัชชีซัคเซิน-ไวมาร์และซัคเซิน-ไอเซนัคที่รวมตัวเป็นสหอาณาจักร (personal union) มาตั้งแต่ปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัค

ประยูร ภมรมนตรี

รองอำมาตย์เอก นายพลโท ประยูร ภมรมนตรี ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เป็นหนึ่งในคณะผู้ก่อการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ฝ่ายพลเรือน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นเหลนของพระยาราชมนตรี (ภู่ ภมรมนตรี) เสนาบดีพระคลังในรัชกาลที่๓ เป็นบุตรของ พันตรี พระชำนาญคุรุวิทย์ (แย้ม ภมรมนตรี) ทูตทหารประจำจักรวรรดิเยอรมัน กับมารดาที่เป็นชาวเยอรมัน ซึ่งเป็นครูสอนภาษาเยอรมันให้กับนักเรียนในจักรวรรดิเยอรมันขณะนั้น2475: สองฝั่งประชาธิปไตย, สารคดี: ทีวีไทย พฤหัสบดีที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและประยูร ภมรมนตรี

ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส

ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส

ประวัติศาสตร์ยุโรป

ทความนี้ว่าด้วยประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรปโดยรวม.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและประวัติศาสตร์ยุโรป

ประวัติศาสตร์รัสเซีย

ประวัติศาสตร์รัสเซีย เริ่มต้นขึ้นเมื่อชาวสลาฟตะวันออกก่อตั้งจักรวรรดิเคียฟรุส และรับเอาศาสนาคริสต์มาจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ในปี พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและประวัติศาสตร์รัสเซีย

ประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน

ริเวณที่เป็นประเทศอัฟกานิสถานในอดีตในยุคเปอร์เซียเรืองอำนาจ (559–330ก่อน ค.ศ.) '''พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช''' ผู้เข้ามายึดครองจักรวรรดิเปอร์เซียและนำอิทธิพลของกรีกเข้ามา ประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน เป็นประวัติศาสตร์ของประเทศอัฟกานิสถาน ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณรอยต่อระหว่างเอเชียกลาง เอเชียตะวันตก และเอเชียใต้ ทำให้ในประวัติศาสตร์ของอัฟกานิสถานเกี่ยวข้องกับการอพยพของผุ้คนกลุ่มต่างๆ เข้ามาในบริเวณนี้ ชนกลุ่มใหญ่ในอัฟกานิสถานเป็นชนเชื้อสายอิหร่านที่พูดภาษากลุ่มอิหร่าน เช่น ภาษาพาซตู ภาษาดารีเปอร์เซีย อิทธิพลของชาวอาหรับที่เข้ามาพร้อมกับศาสนาอิสลามมีผลต่ออัฟกานิสถานยุคใหม่ นอกจากนั้น อัฟกานิสถานในยุคโบราณยังได้รับอิทธิพลจากกรีซ เอเชียกลาง ชาวปะกัน ชาวพุทธในอินเดีย และชาวฮินดู รวมทั้งผู้นับถือศาสนาโซโรแอสเตอร์ที่เข้ามาในบริเวณนี้ หลังจากสิ้นสุดยุคจักรวรรดิ อัฟกานิสถานปกครองด้วยระบอบกษัตริย์ตั้งแต..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน

ประวัติศาสตร์เยอรมนี

ประวัติศาสตร์เยอรมนี เริ่มต้นด้วยการต้านทานการยึดครองโดยชาวโรมันของชนเจอร์มานิค ซึ่งเมื่อจักรวรรดิโรมันล่มสลายชนชาติเยอรมันก็กลายเป็นกลุ่มชนผู้มีอำนาจในยุโรปเข้าแทนที่ชาวโรมัน จนนำไปสู่กำเนิดจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หรือ จักรวรรดิที่ 1 ในสมัยกลาง จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ธำรงอยู่กว่าพันปีแต่ก็เป็นเพียงจักรวรรดิที่มองไม่เห็น เพราะรัฐต่าง ๆ ในเยอรมันร้อยกว่ารัฐต่างแยกตัวเป็นอิสระจากพระจักรพรรดิ จนนโปเลียนยกเลิกจักรวรรดินี้ไปกลายเป็นสมาพันธรัฐเยอรมัน เป็นกลุ่มของรัฐต่าง ๆ จนราชอาณาจักรปรัสเซียสามารถรวมประเทศเยอรมนีได้โดยการนำของบิสมาร์ก ก็กลายเป็นจักรวรรดิเยอรมัน หรือ จักรวรรดิที่ 2 แต่ด้วยการปฏิวัติล้มระบอบกษัตริย์หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ทำให้เยอรมนีกลายเป็นสาธารณรัฐไวมาร์ แต่ถูก อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำลัทธินาซียึดอำนาจเปลี่ยนเป็นระบอบเผด็จการและแผ่ขยายดินแดนไปทั่วยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สองหรือ จักรวรรดิที่ 3 แต่ฮิตเลอร์พ่ายแพ้สงคราม เยอรมนีจึงถูกแบ่งเป็นสองส่วน คือ เยอรมนีตะวันออก และ เยอรมนีตะวันตก จนรวมกันกลายเป็นประเทศเยอรมนีอีกครั้งใน ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและประวัติศาสตร์เยอรมนี

ประวัติศาสตร์เดนมาร์ก

ตราแผ่นดินเดนมาร์ก ประวัติศาสตร์เดนมาร์ก (History of Denmark) ประวัติศาสตร์ราชอาณาจักรเดนมาร์กมีจุดเริ่มต้นเมื่อย้อนกลับไป 12,000 ปีก่อน ในช่วงการสิ้นสุดยุคน้ำแข็งช่วงสุดท้าย ด้วยจากหลักฐานการตั้งถิ่นฐานที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษย์ เรื่องราวของชาวเดนส์ได้มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรในเอกสารครั้งแรกในช่วงปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและประวัติศาสตร์เดนมาร์ก

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและประเทศอิตาลี

ประเทศนาอูรู

นาอูรู หรือชื่ออย่างเป็นทางการ สาธารณรัฐนาอูรู (Republic of Nauru; Ripublik Naoero) เป็นประเทศเกาะตั้งอยู่ในภูมิภาคไมโครนีเซีย ทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศนาอูรูตั้งอยู่ใกล้กับเกาะบานาบาของประเทศคิริบาสมากที่สุด โดยอยู่ห่างกัน 300 กิโลเมตร ไปทางตะวันออก ประเทศนาอูรูเป็นประเทศที่มีขนาดเล็กที่สุดในมหาสมุทรแปซิฟิกและเล็กเป็นอันดับ 3 ของโลกรองจากประเทศโมนาโกและนครรัฐวาติกัน โดยมีพื้นที่ และมีประชากรอาศัยอยู่ทั้งสิ้น 9,488 คนcvv ดินแดนที่เป็นประเทศนาอูรูในปัจจุบันมีชาวไมโครนีเซียและโพลินีเซียเข้ามาอยู่อาศัย ในระยะเวลาต่อมาจักรวรรดิเยอรมนีได้ผนวกดินแดนนาอูรูเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุด นาอูรูกลายเป็นดินแดนในอาณัติของสันนิบาตชาติโดยมีออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และสหราชอาณาจักรเป็นผู้บริหารกิจการต่าง ๆ ในเกาะแห่งนี้ร่วมกัน ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 จักรวรรดิญี่ปุ่นได้เข้ามายึดครองนาอูรู เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุด นาอูรูกลายเป็นดินแดนในภาวะทรัสตีและได้รับเอกราชในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและประเทศนาอูรู

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและประเทศเยอรมนี

ปรัสเซีย

ปรัสเซีย (Prussia) หรือ พร็อยเซิน (Preußen) หรือ โบรุสเซีย (ละติน: Borussia) เป็นรัฐที่รุ่งเรืองที่สุดในบรรดารัฐทั้งหลายของชนชาติเยอรมัน มีจุดกำเนิดจากดัชชีปรัสเซียและรัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์ค อันเป็นรัฐหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ซึ่งตั้งอยู่ตอนกลางของภูมิภาคที่ชื่อว่าพร็อยเซิน รัฐแห่งนี้ถูกปกครองโดยราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์นเป็นเวลาหลายศตวรรษ การมีกองทัพที่เข็มแข็งทำให้ปรัสเซียประสบความสำเร็จในการแผ่ขยายดินแดน ปรัสเซียมีเมืองหลวงเดิมอยู่ที่เคอนิจส์แบร์กก่อนที่จะย้ายเมืองหลวงไปยังเบอร์ลินในปี 1701 ในการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา (ปี 1814–15) ซึ่งจัดระเบียบทวีปยุโรปเสียใหม่ภายหลังถูกทำให้ปั่นป่วนจากสงครามนโปเลียน ปรัสเซียได้รับดินแดนส่วนใหญ่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเยอรมนีซึ่งรวมถึงรัฐร่ำรวยถ่านหินอย่างรัฐรูร์ (Ruhr) อิทธิพลทางเศรษฐกิจและทางการเมืองของปรัสเซียได้เติบโตอย่างรวดเร็ว ปรัสเซีบกลายเป็นหัวใจของสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือในปี 1867 และของจักรวรรดิเยอรมันในปี 1871 ปรัสเซียในยุคจักรวรรดิเยอรมนี้มีอาณาเขตไพศาลมากกว่ารัฐเยอรมันที่เหลือรวมกันเสียอีก ชนชั้นนำของปรัสเซียมักจะระบุว่าตัวเองนั้นเป็น "ชาวเยอรมัน" มากกว่าบอกว่าตัวเองนั้นเป็น "ชาวปรัสเซีย".

ดู จักรวรรดิเยอรมันและปรัสเซีย

ปราสาทโฮเอินโซลเลิร์น

ปราสาทโฮเอินโซลเลิร์น ปราสาทโฮเอินโซลเลิร์น (Burg Hohenzollern) เป็นปราสาทโบราณซึ่งตกทอดกันในราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์นซึ่งเคยปกครองภูมิภาคชวาเบิน ตั้งอยู่บนเขาโฮเอินโซลเลิร์น ทางทิศใต้ของเมืองเฮ็คคิงเงิน ในรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทิมแบร์ค ประเทศเยอรมนี เป็นหนึ่งในสี่ปราสาทที่มีผู้เช้าชมมากที่สุดในเยอรมนี แต่ละปีมีผู้เข้าชมกว่า 350,000 แสนคน ปัจจุบัน กรรมสิทธิ์ในปราสาทหลังนี้ยังเป็นของทายาทราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น ปราสาทแห่งนี้เริ่มก่อสร้างเพื่อใช้เป็นป้อมปราการในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 11 ต่อมาในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและปราสาทโฮเอินโซลเลิร์น

ปราสาทเคอนิจส์แบร์ก

ปราสาทเคอนิจส์แบร์ก พ.ศ. 2438 ปราสาทเคอนิจส์แบร์กฝั่งทิศตะวันออก พ.ศ. 2453 ปราสาทเคอนิจส์แบร์ก (Königsberger Schloss; Кёнигсбергский замок) คือปราสาทในเมืองเคอนิจส์แบร์ก เยอรมนี (คาลินินกราด สหพันธรัฐรัสเซีย ในปัจจุบัน) และเป็นหนึ่งในสถานที่สำคัญของเมือง ซึ่งในอดีตเคยเป็นเมืองหลวงของจังหวัดปรัสเซียตะวันออก (คาลินินกราดโอบลาสต์ ในปัจจุบัน).

ดู จักรวรรดิเยอรมันและปราสาทเคอนิจส์แบร์ก

ปลาสอด

ปลาสอด (Molly, Moonfish) เป็นปลาน้ำจืดและน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาสอด (Poeciliida) ปลาสอดเป็นปลาพื้นเมืองดั้งเดิมมาจากเม็กซิโกจนถึงเวเนซุเอลา ที่สีสันในธรรมชาติจะเป็นสีน้ำเงินทึม ๆ หรือสีเขียววาว ๆ มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ย 10-15 เซนติเมตร โดยที่ตัวผู้จะมีสีที่สวยกว่าตัวเมีย รวมทั้งครีบต่าง ๆ ที่ใหญ่ยาวกว่า ขณะที่ลำตัวของตัวเมียนั้นจะใหญ่กว่า ท้องอูมป่องกว่าอย่างเห็นได้ชัดเจน เป็นปลาที่อาศัยและหากินอยู่บริเวณผิวน้ำเป็นฝูง โดยกินตะไคร่น้ำ, สาหร่าย, พืชน้ำขนาดเล็ก รวมทั้งตัวอ่อนของแมลงต่าง ๆ เช่น ลูกน้ำ เป็นต้น โดยบางครั้งอาจพบได้จนถึงแหล่งน้ำกร่อย จนกระทั่งในปี ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและปลาสอด

ปัญหาเยอรมัน

ำถามเยอรมัน (Deutsche Frage; German Question) คือประเด็นการอภิปรายในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเฉพาะในช่วงการปฏิวัติ พ.ศ. 2391 ถึงวิธีการที่ดีที่สุดในการรวมชาติเยอรมัน (Unification of Germany) โดยตั้งแต..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและปัญหาเยอรมัน

ปัตชกุฟ

ปัตชกุฟ (Paczków; Patschkau) เป็นเมืองในจังหวัดออปอแล มีเนื้อที่ 6.6 ตารางกิโลเมตร ในปี 2006 มีประชากร 8,147 คน เมืองยังคงเก็บรักษาป้อมปราการในยุคกลางของเมืองไว้ ในช่วงปลายศตวรรษที่ 15 เมืองได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เมืองมีอาคารโบราณเป็นจำนวนมากเช่นป้อมปราการ ในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและปัตชกุฟ

ปีเตอร์ โฮเกล

ปีเตอร์ โฮเกล (Peter Högl) (19 สิงหาคม 1897 - 2 พฤษภาคม 1945) เป็นเจ้าหน้าที่ทหารเยอรมันที่ครองยศตำแหน่งเป็นเอสเอส(ชุทซ์ชทัฟเฟิล)-Obersturmbannführer (พันโท) ซึ่งเป็นสมาชิกคนหนึ่งในหน่วยคุ้มกันของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เขาใช้เวลาอยู่ในฟือเรอร์บุงเคอร์ ณ.กรุงเบอร์ลินในช่วงท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและปีเตอร์ โฮเกล

ป่ากงเปียญ

ป่ากงเปียญ (Forêt de Compiègne) เป็นป่าใหญ่ในแคว้นปีการ์ดี ประเทศฝรั่งเศส ใกล้กับเมืองกงเปียญและอยู่ห่างจากกรุงปารีสขึ้นมาทางเหนือประมาณ 60 กิโลเมตร.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและป่ากงเปียญ

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและนาซีเยอรมนี

แฟร์ดีนันด์ เชอร์เนอร์

แฟร์ดีนันด์ เชอร์เนอร์ (Ferdinand Schörner) เป็นนายพลและต่อมาเป็นจอมพลในกองทัพเวร์มัคท์แห่งนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้บัญชาการในกองทัพหลายกลุ่มและเป็นผู้บัญชาการคนสุดท้ายแห่งกองบัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองทัพบก (Oberkommando des Heeres-OKH) เชอร์เนอร์เป็นผู้มีความเชื่อมั่นในลัทธินาซีและกลายเป็นที่รู้จักกันดีสำหรับความโหดร้ายของเขา ในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นผู้บัญชาการที่เป็นที่โปรดปรานของฮิตเลอร์ ภายหลังสงคราม เขาถูกตัดสินว่ามีความผิดในข้อหาก่ออาชญากรรมสงครามโดยศาลในสหภาพโซเวียตและเยอรมนีตะวันตกและถูกคุมขังในดินแดนสหภาพโซเวียต เยอรมนีตะวันออกและเยอรมนีตะวันตก เขาได้เสียชีวิตลงในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแฟร์ดีนันด์ เชอร์เนอร์

แกรนด์ดัชชีออลเดนบูร์ก

แกรนด์ดัชชีออลเดนบูร์ก (Groß Herzogtum Oldenburg หรือ เยอรมันใต้ 'Ollnborg', Oldenburg) เป็นอดีตรัฐในเครือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ออลเดนบูร์กก่อตั้งขึ้นในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแกรนด์ดัชชีออลเดนบูร์ก

แกรนด์ดัชชีเฮ็สเซิน

แกรนด์ดัชชีเฮ็สเซิน (Großherzogtum Hessen) เคยเป็นแกรนด์ดัชชีหรือของจักรวรรดิเยอรมัน ได้รับการสถาปนาขึ้นในปี ค.ศ. 1806 หลังจากที่จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ล่มสลายจากการบุกโจมตีของนโปเลียน นโปเลียนยกฐานะจากรัฐลันด์กราฟแห่งเฮ็สเซิน-ดาร์มชตัดท์ (Landgraviate of Hesse-Darmstadt) ซึ่งเป็นรัฐหนึ่งในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ให้กลายเป็นแกรนด์ดัชชีอย่างเต็มตัว จากเหตุผลนี้ในบางครั้งผู้คนจึงเรียกอาณาจักรดยุกนี้ว่า แกรนด์ดัชชีเฮ็สเซิน - ดาร์มชตัดท์ (Hesse-Darmstadt).

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแกรนด์ดัชชีเฮ็สเซิน

แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก (Maria Adelheid Theresia Hilda Antonia Wilhelmina vu Lëtzebuerg, Marie Adélaïde Thérèse Hilda Antonie Wilhelmine, พระนามเต็ม: มารี อเดเฮด เทเรซ ฮิลดา วิลเฮลมิเน ฟอน นัสเซา-ไวล์บวร์ก; 14 มิถุนายน พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดิวคัลไฮเนส

แกรนด์ดิวคัลไฮเนส (Grand Ducal Highness) หรือ แกรนด์ดิวคัลไฮนิส (/ˈhʌɪnɪs/) เป็นฐานันดรศักดิ์ของสมาชิกราชวงศ์บางชั้นในทวีปยุโรป มักใช้นำพระนามเจ้าชายหรือเจ้าหญิงที่เป็นพระราชบุตรในสมเด็จพระราชาธิบดี,สมเด็จพระราชินีนาถ,สมเด็จพระจักรพรรดิ ฐานันดรศักดิ์แกรนด์ดิวคัลไฮเนสมีศักดิ์ต่ำกว่า "อิมพีเรียลไฮเนส" "รอยัลไฮเนส" แต่สูงกว่า "ไฮเนส" และ "เซอรีนไฮเนส" เป็นต้น ฐานันดรศักดิ์แกรนด์ดิวคัลไฮเนสมักพบในพระราชวงศ์ของจักรวรรดิเยอรมันและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแกรนด์ดิวคัลไฮเนส

แกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์

ร์ล รูดอล์ฟ แกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์ (Karl Rudolf Gerd von Rundstedt; 12 ธันวาคม ค.ศ. 1875 - 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1953) เป็นจอมพลแห่งกองทัพบกเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ผู้ได้รับสมญานามว่า "อัศวินดำ" (Black Knight).

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์

แวร์เนอร์ ฟอน บลอมแบร์ก

แวร์เนอร์ เอดวร์ด ฟริทซ์ ฟอน บลอมแบร์ก (Werner Eduard Fritz von Blomberg) เป็นจอมพลเยอรมัน รัฐมนตรีว่าการสงครามแห่งไรช์และผู้บัญชาการทหารเหล่าทัพเยอรมันจนถึง..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแวร์เนอร์ ฟอน บลอมแบร์ก

แวร์เนอร์ ฟอน ฟริทช์

ลเอก โทมัส ลุดวิจ แวร์เนอร์, ไฟร์แฮร์ ฟอน ฟริทช์(Thomas Ludwig Werner, Freiherr von Fritsch) เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองทัพเยอรมัน ตั้งแต่ ปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแวร์เนอร์ ฟอน ฟริทช์

แวร์เนอร์ ฟอน แฮฟเทิน

แวร์เนอร์ คาร์ล ฟอน แฮฟเทิน (Werner Karl von Haeften) เป็นร้อยโทในกองทัพบกเยอรมัน แฮฟเทินเป็นเป็นผู้ช่วยของเคลาส์ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์ก เสนาธิการกองกำลังสำรองประจำกรุงเบอร์ลิน เขาร่วมมือกับชเตาฟ์เฟนแบร์กในแผนลับ 20 กรกฎาคมเพื่อสังหารอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เมื่อแผนการล้มเหลว แฮฟเทินพร้อมผู้ก่อการฝ่ายทหารคนอื่นๆถูกนำตัวไปประหารชีวิตพร้อมๆกันที่ลานกว้างนอกกองบัญชาการสูงสุดกองทัพบกเยอรมัน เขาได้รับการรำลึกยกย่องว่าเป็นวีรบุรุษของขบวนการชาวเยอรมันผู้ต่อต้านนาซี.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแวร์เนอร์ ฟอน แฮฟเทิน

แวร์เนอร์ ไฮเซินแบร์ก

แวร์เนอร์ ไฮเซินแบร์ก (Werner Heisenberg; 5 ธันวาคม พ.ศ. 2444-1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวเยอรมันซึ่งเป็นหนึ่งในผู้วางหลักการพื้นฐานของกลศาสตร์ควอนตัม มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในฐานะผู้คิดค้นหลักความไม่แน่นอนของทฤษฎีควอนตัม นอกจากนี้ยังเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในสาขาวิชาฟิสิกส์นิวเคลียร์ ทฤษฎีสนามควอนตัม และฟิสิกส์อนุภาค ไฮเซินแบร์ก ร่วมกับมักซ์ บอร์น และ พาสควอล จอร์แดน ได้ร่วมกันวางหลักการของเมทริกซ์เพื่อใช้ในกลศาสตร์ควอนตัมในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแวร์เนอร์ ไฮเซินแบร์ก

แหนบรับไฟ

แหนบรับไฟแบบมีแขนลักษณะรูปเพชร ของทางรถไฟในสวิสเซอร์แลนด์ แหนบรับไฟ (Pantograph) หรือศัพท์เก่าคือ สาลี่ เป็นอุปกรณ์ที่ติดตั้งบนหลังคาของตู้รถไฟ, รถราง หรือยานพาหนะไฟฟ้า มีแปรงถ่านแกรไฟต์ซึ่งมีคุณสมบัตินำไฟฟ้า เพื่อใช้แตะกับสายส่งไฟฟ้าในระบบจ่ายไฟฟ้าเหนือหัว แหนบรับไฟถูกคิดค้นขึ้นในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแหนบรับไฟ

แอฟริกาตะวันออกของเยอรมนี

แอฟริกาตะวันออกของเยอรมนี (German East Africa; Deutsch-Ostafrika) เป็นอาณานิคมของจักรวรรดิเยอรมันและจักรวรรดิอาณานิคมเยอรมันมาตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแอฟริกาตะวันออกของเยอรมนี

แอกุกกา (จักรวรรดิเกาหลี)

"เพลงชาติจักรวรรดิเกาหลี" (literally "Korean Empire Aegukga") เป็นเพลงชาติเกาหลีฉบับแรกในช่วงต้นของศตวรรษที่ 20 มีสถานะเป็นเพลงสรรเสริญพระบารมีสำหรับบรรเลงในงานพระราชพิธี รัฐพิธีของราชวงศ์โชซอน.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแอกุกกา (จักรวรรดิเกาหลี)

แอริช ฟอน มันชไตน์

ฟริทซ์ แอริช เกออร์ก แอดวร์ด ฟอน เลอวินสกี (Fritz Erich Georg Eduard von Lewinski) หรือเป็นที่รู้จักกันคือ แอริช ฟอน มันชไตน์ (Erich von Manstein) เป็นผู้บัญชาการในเวร์มัคท์ กองทัพของนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้ดำรงตำแหน่งยศจอมพล เขายังมีศักดิ์เป็นหลานอาของจอมพลเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก ประธานาธิบดีเยอรมันคนที่สอง หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแอริช ฟอน มันชไตน์

แอริช แรเดอร์

แอริช โยฮันท์ อัลแบร์ท แรเดอร์ (Erich Johann Albert Raeder) เป็นผู้นำกองทัพเรือเยอรมันที่มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ยุทธนาวีในสงครามโลกครั้งที่ 2 แรเดอร์ได้บรรลุไปอยู่ตำแหน่งสูงสุดของกองทัพเรือคือ จอมพลเรือ (Großadmiral) ในปี 1939 กลายเป็นคนแรกที่จะถือยศเทียบเท่า อัลเฟรด ฟอน เทียร์พิตส์ แรเดอร์บัญชาการนำ ครีกซมารีเนอ ในช่วงครึ่งแรกของสงคราม เขาลาออกในปี 1943 และถูกแทนที่ด้วย คาร์ล โดนิทซ์ เขาถูกตัดสินให้ จำคุกตลอดชีวิตในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก แต่ได้รับการปล่อยตัวในช่วงต้นเนื่องจากสุขภาพของเขาไม่ดี.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแอริช แรเดอร์

แอร์วิน รอมเมิล

แอร์วิน โยฮันเนส ออยเกิน รอมเมิล (Erwin Johannes Eugen Rommel) สมญา จิ้งจอกทะเลทราย เป็นจอมพลที่โด่งดังที่สุดของกองทัพนาซีเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่สอง ได้รับความนับถือจากทั้งทหารฝ่ายเดียวกันและข้าศึก รอมเมิลเป็นนายทหารที่ได้รับการเชิดชูเกียรติขั้นสูงในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยได้รับเหรียญกล้าหาญ ''ปัวร์เลอแมริท'' สำหรับการปฏิบัติหน้าที่อันกล้าหาญในแนวรบอิตาลี ในสงครามโลกครั้งที่สอง เขามีชื่อเสียงโด่งดังจากการบังคับบัญชากองพลพันเซอร์ที่ 7 สมญากองพลผี ระหว่างการบุกครองฝรั่งเศสใน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแอร์วิน รอมเมิล

แอร์ฮาร์ด มิลช์

แอร์ฮาร์ด มิลช์ (30 มีนาคม ค.ศ. 1892 – 25 มกราคม ค.ศ. 1972) เป็นจอมพลเยอรมันที่คอยดูแลการพัฒนาของลุฟท์วัฟเฟอ(กองทัพอากาศเยอรมัน)ที่เป็นส่วนหนึ่งของการสร้างเสริมอาวุธยุทธภัณฑ์ของนาซีเยอรมนีภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นผู้รับผิดชอบในการผลิตเครื่องบินรบ ด้วยการบริหารที่ไร้ประสิทธิภาพของเขาได้ส่งผลทำให้กองทัพอากาศเยอรมันลดลงและสูญเสียอำนาจเหนือน่านฟ้าในขณะที่สงครามดำเนิน เขาได้ถูกตั้งข้อกล่าวว่าเป็นอาชญากรสงครามในช่วงการพิจารณาคดีมิลช์ที่ถูกจัดขึ้นก่อนศาลทหารสหรัฐในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแอร์ฮาร์ด มิลช์

แอร์นสท์ กึนเทอร์ เชนค์

แอนสท์-กึนเทอร์ เชงค์ (Ernst Günther Schenck; 3 ตุลาคม 1904 — 21 ธันวาคม 1998) เป็นแพทย์ชาวเยอรมันและเป็นสมาชิกของหน่วยเอสเอส(ชุทซ์ชทัฟเฟิล) เนื่องจากมีโอกาสได้พบครั้งสุดท้ายกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในช่วงท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง,บันทึกความทรงจำของเขาได้รับการพิสูจน์ว่ามีคุณค่าต่อทางประวัติศาสตร์ บัญชีของเขาในช่วงเวลานั่นมีความโดดเด่นในผลงานของโจอาคิม เฟส (Joachim Fest) และเจมส์ พี.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแอร์นสท์ กึนเทอร์ เชนค์

แอนสท์ บุช (จอมพล)

แอนสท์ แบร์นฮาร์ด วิลเฮล์ม บุช (Ernst Bernhard Wilhelm Busch; 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1885 – 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1945) เป็นจอมพลชาวเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งได้เป็นผู้บัญชาการในกองทัพที่ 16 และต่อมาอยู่ในกองทัพกลุ่มกลาง.เขาได้รับเหรียญกางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแอนสท์ บุช (จอมพล)

แอนสท์ ฟรีดริช ชูมาเคอร์

แอนสท์ ฟรีดริช "ฟริทซ์" ชูมาเคอร์ (Ernst Friedrich "Fritz" Schumacher; 19 สิงหาคม ค.ศ. 1911 – 4 กันยายน ค.ศ. 1977) เป็นผู้มีอิทธิพลระดับนานาชาติ ในการเป็นนักคิดทางสถิติและเศรษฐศาสตร์ในสหราชอาณาจักร เป็นที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจและเป็นหัวหน้าคณะกรรมการถ่านหินแห่งสหราชอาณาจักรBiography on the inner dustjacket of Small Is Beautiful ความคิดของเขากลายเป็นที่พูดถึงไปในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 และเขาเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดสำหรับบทวิจารณ์เศรษฐกิจตะวันตกและข้อเสนอเกี่ยวกับสำหรับเทคโนโลยีระดับมนุษย์ เทคโนโลยีการกระจายอำนาจ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแอนสท์ ฟรีดริช ชูมาเคอร์

แอนสท์ รัสกา

กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนที่สร้างโดยรัสกาในปี ค.ศ. 1933 แอนสท์ เอากุสต์ ฟรีดริช รัสกา (Ernst August Friedrich Ruska; 25 ธันวาคม ค.ศ. 1906 – 27 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแอนสท์ รัสกา

แอนสท์ ฮันฟ์ชเต็งเงิล

แอนสท์ ฟรันซ์ เซ็จวิก ฮันฟ์ชเต็งเงิล (Ernst Franz Sedgwick Hanfstaengl; 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1887 – 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1975) เป็นนักธุรกิจชาวเยอรมันเชื้อสายอเมริกันและคนสนิทของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ซึ่งเป็นผู้อยู่เบื้องหลังของความสำเร็จในการเติบโตอย่างรวดเร็วของพรรคนาซีและสามารถยึดครองเยอรมนีได้อย่างเบ็ดเสร็จ ต่อมาเขาเกิดความรู้สึกอึดอัดกับพฤติกรรมของฮิตเลอร์จึงได้หลบหนีไปยังประเทศอังกฤษ ต่อมาเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองได้เกิดขึ้น เขาถูกอังกฤษจับกุมและถูกคุมขังเอาไว้ แต่ฮันฟ์ชเต็งเงิลได้เขียนจดหมายไปถึงประธานาธิบดี แฟรงกลิน ดี.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแอนสท์ ฮันฟ์ชเต็งเงิล

แอนสท์ เริม

แอนสท์ ยูเลียส กุนเทอร์ เริม (Ernst Julius Günther Röhm; 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1887 - 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1934) เป็นนายทหารเยอรมันและสมาชิกผู้ร่วมก่อตั้งของพรรคนาซี ในฐานะที่เป็นหนึ่งในสมาชิกแรกของพรรคกรรมกรเยอรมัน เขาเป็นเพื่อนสนิทและพันธมิตรเริ่มต้นของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และผู้ร่วมก่อตั้งของชตูร์มมับไทลุงหรือเอสเอ (SA, "กองพันพายุ") ซึ่งเป็นอาสาสมัครของพรรคนาซีและต่อมาเป็นผู้บัญชาการ ปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแอนสท์ เริม

แอนสท์-โรเบิร์ต กราวิทซ์

แอนสท์-โรเบิร์ต กราวิทซ์ (Ernst-Robert Grawitz; 8 มิถุนายน 1899 - 24 เมษายน 1945) เป็นแพทย์ชาวเยอรมัน (และเป็นเจ้าหน้าที่เอสเอสในหน่วย Reichsarzt "Arzt" แปลความหมายว่า "แพทย์") ในเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเกิดในชาล็อตเทนเบิร์ก และเสียชีวิตในพอสดัม-บาเบลเบิร์ก (Potsdam-Babelsberg) แอนสท์-โรเบิร์ต กราวิทซ์ เป็นแพทย์และตำรวจในหน่วยเอสเอส เขาเป็นผู้ได้รับการสนับสนุนจากพรรคนาซีในการพยายามกำจัดกลุ่มคนรักร่วมเพศและวิจัยหาทางรักษาคนที่มีพฤติกรรมรักร่วม.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแอนสท์-โรเบิร์ต กราวิทซ์

แฮร์มันน์ กึนเทอร์ กรัสส์มันน์

แฮร์มันน์ กึนเทอร์ กรัสส์มันน์ (Hermann Günther Graßmann) เป็นผู้รอบรู้ชาวเยอรมัน มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในฐานะนักภาษาศาสตร์ในยุคของเขา ปัจจุบันได้รับการยกย่องว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ เขายังเป็นนักฟิสิกส์ นักมนุษยวิทยาสมัยใหม่ นักวิชาการทั่วไป และนักหนังสือพิมพ์ แต่งานทางคณิตศาสตร์ของเขาไม่เป็นที่น่าสังเกตหรือน่าจดจำจนกระทั่งเขาอายุหก.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแฮร์มันน์ กึนเทอร์ กรัสส์มันน์

แฮร์มันน์ มินคอฟสกี

แฮร์มันน์ มินคอฟสกี (Hermann Minkowski) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน เกิดที่หมู่บ้านอเล็กโซตา (Aleksota) ในจักรวรรดิรัสเซีย (ปัจจุบันคือเมืองเคานัส ประเทศลิทัวเนีย) ในครอบครัวชาวยิว ในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแฮร์มันน์ มินคอฟสกี

แฮร์มันน์ เฟเกิลไอน์

ันส์ ออทโท เกออร์ก แฮร์มันน์ เฟเกิลไอน์ (Hans Otto Georg Hermann Fegelein) เป็นผู้บัญชาการระดับสูงของหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สแห่งนาซีเยอรมนี เขาเป็นหนึ่งในคณะผู้ติดตามของฮิตเลอร์และมีศักดิ์เป็นน้องเขยของเอฟา เบราน์ ภริยาของฮิตเลอร์ เดิมเขาเป็นทหารในไรชส์เวร์ ก่อนที่จะโอนย้ายมาสังกัดหน่วยเอ็สเอ็สใน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแฮร์มันน์ เฟเกิลไอน์

แฮร์มันน์ เกอริง

แฮร์มันน์ วิลเฮล์ม เกอริง (Hermann Wilhelm Göring) เป็นผู้นำทางทหารของไรช์ที่สามที่ตำแหน่งจอมพลไรช์ และยังเป็นผู้นำระดับสูงของพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (พรรคนาซี) เขามีบทบาทสำคัญในการขยายระบบเผด็จการของพรรคนาซีให้ครอบคลุมทั่วเยอรมนี รวมทั้งสร้างเสริมแสนยานุภาพทางทหารของเยอรมนีโดยเฉพาะกองทัพอากาศให้มีความแข็งแกร่ง ภายหลังนาซีล่มสลาย เขาถูกตัดสินประหารชีวิตในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก แต่เขาก็จบชีวิตตนเองด้วยการกลืนไซยาไนด์ก่อนหน้าการประหารชีวิตไม่กี่ชั่วโมง และก่อนกลืนไซยาไนด์เขาได้ตระโกนว่า "ไฮล์ ฮิตเลอร์".

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแฮร์มันน์ เกอริง

แปซิฟิกใต้ในอาณัติ

แปซิฟิกใต้ในอาณัติ (South Pacific Mandate) เป็นดินแดนภายใต้การดูแลของสันนิบาตชาติ ซึ่งปัจจุบันมีพื้นที่ครอบคลุม 3 ประเทศ 1 ดินแดน คือ สาธารณรัฐปาเลา สาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์ สหพันธรัฐไมโครนีเซียและดินแดนหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา ซึ่งเป็นดินแดนของสหรัฐอเมริกาในปัจจุบัน แปซิฟิกใต้ในอาณัติเป็นชื่อทางการของอาณานิคมหมู่เกาะมหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลางเหนือเส้นศูนย์สูตร ซึ่งสันนิบาตชาติมอบหมู่เกาะในภูมิภาคไมโครนีเซียอันเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคมเยอรมันนิวกินีให้กับจักรวรรดิญี่ปุ่นหลังจากเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุดFifield, Russell.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแปซิฟิกใต้ในอาณัติ

แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันออกเป็นเขตสงครามหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง มีอักษะประเทศในทวีปยุโรป และคู่สงครามร่วมฟินแลนด์ฝ่ายหนึ่ง กับสหภาพโซเวียต โปแลนด์และชาติสัมพันธมิตรจำนวนหนึ่งอีกฝ่ายหนึ่งเป็นคู่สงคราม เขตสงครามนี้กินอาณาบริเวณยุโรปตะวันออก บางส่วนของยุโรปเหนือและยุโรปใต้ สู้รบกันระหว่างวันที่ 22 มิถุนายน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)

แนวรบด้านตะวันตก (Western Front) คือเขตสงครามหลักในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งตั้งแต่เดือนสิงหาคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)

แนวซีกฟรีด

แผนที่แนวซีกฟรีด แนวซีกฟรีด (Siegfriedstellung) เดิมเป็นแนวค่ายทหารถาวรป้องกันและการป้องกันรถถังที่เยอรมนีสร้างขึ้น เป็นส่วนหนึ่งของแนวฮินเดนบูร์ก..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและแนวซีกฟรีด

โยอาคิม ไพร์เพอร์

อาคิม ไพร์เพอร์ (30 มกราคม ค.ศ. 1915 – 14 กรกฏาคม ค.ศ. 1976), ยังเป็นที่รู้จักอีกชื่อว่า โยฮันน์ ไพร์เพอร์ เป็นเจ้าหน้าที่นายทหารภาคสนามในหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส และเป็นนายทหารคนสนิทส่วนตัวของไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็ส ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ ในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและโยอาคิม ไพร์เพอร์

โยฮันเรส เบลสโกวิตซ์

ันเรส อัลแบร์ เบลสโกวิตซ์(10 กรกฎาคม 1883 - 5 กุมภาพันธ์ 1948) เป็นนายพลเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 และได้รับเหรียญกางเขนเหล็กอัศวินกางเขนเหล็กใบโอ๊คและดาบ เขาได้เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดในการครอบครองโปลแลนด์ในปี 1939-1940 เขาได้เขียนบันทึกหลายข้อความต่อไปยังกองบัญชาการทหารสูงสุดเยอรมันให้ประท้วงความโหดร้ายของเอสเอ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและโยฮันเรส เบลสโกวิตซ์

โยเซฟ แทร์โบเฟิน

ซฟ อันโทนีอุส ไฮน์ริช แทร์โบเฟิน (Josef Antonius Heinrich Terboven) เป็นเจ้าหน้าที่ระดับสูงของนาซี ที่ได้เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้ตรวจการไรช์ประจำดินแดนนอร์เวย์ในยึดครอง ซึ่งเป็นช่วงที่ประเทศนอร์เวย์ถูกยึดครองโดยนาซีเยอรมนีและได้บริหารการปกครองร่วมกับรัฐบาลควิสลิง(Quisling regime) ในช่วงที่แทร์โบเฟินปกครองในนอร์เวย์ได้กระทำผิดเอาไว้มากมายด้วยการสังหารหมู่และการสร้างค่ายกักกันในนอร์เวย์ ภายหลังสงครามได้ยุติลงและเยอรมนีได้ยอมจำนน แทร์โบเฟินได้ตัดสินใจฆ่าตัวตาย เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและโยเซฟ แทร์โบเฟิน

โยเซฟ เบร็คโทลด์

ซฟ เบร็คโทลด์ (Joseph Brechtold) เป็นสมาชิกพรรคนาซีระดับชั้นอาวุโสช่วงแรกและเป็นผู้ร่วมก่อตั้งกองกำลังกึ่งทหารทั้งสองหน่วยได้แก่ หน่วยชตูร์มับไทลุง(SA) และหน่วยชุทซ์ชทัฟเฟิล(SS).

ดู จักรวรรดิเยอรมันและโยเซฟ เบร็คโทลด์

โยเซฟ เกิบเบลส์

ล์ โยเซฟ เกิบเบลส์ (Paul Joseph Goebbels) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ โยเซฟ เกิบเบลส์ นักจิตวิทยามวลชน และแกนนำคนสำคัญฝ่ายพลเรือนของพรรคนาซี ผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งจักรวรรดิที่สามหลังจากที่อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ฆ่าตัวตาย ได้ชื่อว่าเป็นเสมือนมือซ้ายของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (ขณะที่มือขวาคือ ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์).

ดู จักรวรรดิเยอรมันและโยเซฟ เกิบเบลส์

โรคุส มิสช์

รคุส มิสช์ (Rochus Misch) เป็นเจ้าหน้าที่ในหน่วยชุทซ์ชทัฟเฟิล มียศเป็นเอ็สเอ็ส-โอเบอร์ชาร์ฟือเรอร์ (เทียบเท่าจ่าสิบตรี) ในหน่วยกองพลเอ็สเอ็ส-พันเซอร์ที่ 1 (LSSAH) เขาได้รับบาดเจ็บสาหัสในระหว่างกาารทัพโปแลนด์ในช่วงเดือนแรกของสงครามโลกครั้งที่สองในยุโรป หลังการฟื้นตัว,ตั้งแต่ปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและโรคุส มิสช์

โรแบร์ท ริทเทอร์ ฟอน ไกรม์

รแบร์ท ริทเทอร์ ฟอน ไกรม์ (Robert Ritter von Greim) เป็นจอมพลและนักบินเยอรมันในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สอง ฮิตเลอร์ได้มอบหมายแต่งตั้งให้ไกรม์เป็นผู้บัญชาการแห่งลุฟท์วัฟเฟอ (กองทัพอากาศ) แทนที่แฮร์มันน์ เกอริง ซึ่งถูกปลดออกจากตำแหน่งโทษฐานทรยศ และเมื่อเยอรมันได้ยอมจำนนต่อสัมพันธมิตร ไกรม์ถูกจับเป็นเชลยโดยกองทัพสหรัฐ เขาได้ฆ่าตัวตายในเรือนจำเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและโรแบร์ท ริทเทอร์ ฟอน ไกรม์

โรแบร์ท ลาย

รแบร์ท ลาย (Robert Ley) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมันในช่วงยุคนาซี ผู้ซึ่งดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าแห่งแนวร่วมแรงงานเยอรมัน(Deutsche Arbeitsfront, DAF) ตั้งแต่ปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและโรแบร์ท ลาย

โลทาริงเกีย

ลทาริงเกีย (Lotharingia) เป็นดินแดนทางตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปที่ประกอบด้วยกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ, ทางตะวันตกของไรน์แลนด์, ดินแดนที่ในปัจจุบันอยู่ระหว่างพรมแดนระหว่างฝรั่งเศสและเยอรมนี, และดินแดนทางตะวันตกของสวิตเซอร์แลนด์ โลทาริงเกียเกิดจากการแบ่งออกเป็นสามส่วนในปี ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและโลทาริงเกีย

โวลฟรัม ฟอน ริชโธเฟิน

วลฟรัม ฟอน ริชโธเฟิน (Wolfram Freiherr von Richthofen) เป็นจอมพลแห่งลุฟท์วัฟเฟอ (กองทัพอากาศเยอรมัน) ของนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ริชโธเฟินเกิดในปี 1895 โดยเกิดในครอบครัวชาวปรัสเซีย ต่อมาริชโธเฟินได้ไปเข้าร่วมกับกองทัพจักรวรรดิเยอรมัน โดยเรื่มต้นจากการเป็นทหารม้า ในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและโวลฟรัม ฟอน ริชโธเฟิน

โอลิมปิกฤดูร้อน 1916

อลิมปิกฤดูร้อน 1916 (1916 Summer Olympics) เป็นกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน ที่จะถูกกำหนดให้จัดขึ้นในปี พ.ศ. 2459 (ค.ศ. 1916) ณ กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี แต่ต้องยกเลิกการแข่งขันเพราะเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ขึ้นเสียก่อน.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและโอลิมปิกฤดูร้อน 1916

โฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน

ราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน (Fürstentum Hohenzollern-Sigmaringen, Hohenzollern-Sigmaringen) ราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงินเป็นสาขาอาวุโสของสาขาชวาเบินของราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น ที่ไม่เป็นที่รู้จักกันมากเท่ากับสาขาฟรังโคเนียที่กลายมาเป็นเบอร์กราฟแห่งเนิร์นแบร์กและต่อมาปกครองบรันเดนบูร์ก-ปรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน ราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงินปกครอง" รัฐเคานต์แห่งโฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน" (Grafschaft Hohenzollern-Sigmaringen) ที่ต่อมาได้รับเลื่อนฐานะขึ้นเป็น "ราชรัฐ" (Fürstentum Hohenzollern-Sigmaringen).

ดู จักรวรรดิเยอรมันและโฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน

โทรเลขจากเมืองเอมส์

ทรเลขจากเมืองเอมส์ โทรเลขจากเมืองเอมส์ (Ems Telegram, Ems Dispatch; Dépêche d'Ems; Emser Depesche) เป็นโทรเลขที่เจ้าหน้าที่กระทรวงการต่างประเทศปรัสเซียส่งถึงออทโท ฟอน บิสมาร์ค (Otto von Bismark) อัครมหาเสนาบดีปรัสเซีย เพื่อรายงานเหตุการณ์ที่เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสเข้าเฝ้าพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 (ต่อมาทรงได้รับสถาปนาเป็นไกเซอร์วิลเลียมที่ 1 จักพรรดิองค์แรกแห่งจักรวรรดิเยอรมัน) เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและโทรเลขจากเมืองเอมส์

โทรเลขซิมแมร์มันน์

ทรเลขซิมแมร์มันน์ขณะถูกส่งจากวอชิงตัน ดี.ซี. ไปยังเอกอัครราชทูตไฮน์ริช ฟอน เอคคาดท์ (เอกอัครราชทูตเยอรมนีประจำเม็กซิโกในขณะนั้น) อาณาเขตของเม็กซิโกในปี พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและโทรเลขซิมแมร์มันน์

ไรชส์ทาค (รัฐสภาเยอรมัน)

รชส์ทาคในปี ค.ศ. 1889 ไรชส์ทาค (Reichstag) คือรัฐสภาของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และต่อมาของสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือและของเยอรมนี จนกระทั่งถึง..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและไรชส์ทาค (รัฐสภาเยอรมัน)

ไรชส์ทาค (จักรวรรดิเยอรมัน)

รชส์ทาค (Reichstag) ของจักรวรรดิเยอรมันดำรงอยู่ระหว่าง..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและไรชส์ทาค (จักรวรรดิเยอรมัน)

ไรช์

รช์ (Reich) เป็นคำในภาษาเยอรมัน โดยทั่วไปมีความหมายว่า "ประเทศ" หรือ "อาณาจักร" แต่คำว่าไรช์ในฉบับดั้งเดิมนั้นถูกใช้เพื่อสื่อถึงประเทศของชาวโรมัน โดยเฉพาะจักรวรรดิโรมันHarper's magazine, Volume 63.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและไรช์

ไรช์เยอรมัน

รช์เยอรมัน (Deutsches Reich ดอยท์เชิสไรช์) เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของประเทศเยอรมนีระหว่าง..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและไรช์เยอรมัน

ไรน์ฮาร์ด ฮายดริช

รน์ฮาร์ด ทรีสทัน ออยเกิน ฮายดริช (Reinhard Tristan Eugen Heydrich) เป็นเจ้าหน้าที่ระดับสูงของนาซีเยอรมันอย่างเป็นทางการในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและผู้ออกแบบหลักในการล้างชาติโดยนาซี.เขาเป็นเจ้าหน้าที่แห่งเอสเอส (ชุทซ์ชทัฟเฟิล) ระดับโอแบร์กรุพเพนฟือแรร์ (พลโท) และเป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจสามัญ (หัวหน้ากลุ่มระดับอาวุโสและอธิบดีกรมตำรวจ) เช่นเดียวกันกับหัวหน้าของสำนักความมั่นคงหลักของรัฐไรซ์ (Reich Main Security Office) (รวมทั้งเกสตาโพ, ครีมิไนโพลีไซ (Kripo), ซีแชร์ไฮท์สดีนสท์ (SD) และซีแชร์ไฮท์สโพลีไซ(sipo)) นอกจากนั้นเขายังเป็น Stellvertretender Reichsprotektor (รองผู้รักษาการป้องกันแห่งไรซ์-ผู้พิทักษ์) ของโบฮีเมียและโมราเวียในดินแดนสาธารณรัฐเช็ก.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและไรน์ฮาร์ด ฮายดริช

ไฮล์เดียร์อิมซีเกอร์ครันซ์

ล์เดียร์อิมซีเกอร์ครันซ์ เป็นชื่อของเพลงชาติจักรวรรดิเยอรมันอย่างไม่เป็นทางการ นับตั้งแต่ พ.ศ. 2414 ถึง พ.ศ. 2461 รวมระยะเวลา 47 ปี เดิมเพลงนี้เป็นเพลงชาติของราชอาณาจักรปรัสเซีย แต่ท่วงทำนองเพลงนั้นคล้ายคลึงกับเพลงก็อดเซฟเดอะควีน ซึ่งด้วยเหตุผลดังกล่าวทั้ง 2 ข้อนี่เอง ทำให้บทเพลงนี้เป็นที่ได้รับความนิยมในบางมณฑลของเยอรมนี แต่อย่างไรก็ตาม เพลงนี้กลับไม่ได้รับความนิยมในกลุ่มชาตินิยมเยอรมัน และไม่ได้รับการยอมรับจากบรรดารัฐเยอรมันตอนใต้ เช่น รัฐบาวาเรีย รัฐเวือร์ทเทมแบร์ก เป็นต้น หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 จักรวรรดิเยอรมันได้ล่มสลายลง และมีการสถาปนาสาธารณรัฐไวมาร์ขึ้นมาแทนที่ จึงได้มีการยกเลิกเพลงชาติเดิม และให้ใช้เพลง "ดาสลีดแดร์ดอยท์เชน" เป็นเพลงชาติใหม่ของเยอรมนีแทน อนึ่ง เพลง "Die Wacht am Rhein" เป็นเพลงสรรเสริญ (hymn) อีกเพลงหนึ่งที่มีการใช้ในจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งควรนับว่าเป็นเพลงชาติเยอรมนีอีกเพลงหนึ่งในยุคนั้นด้ว.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและไฮล์เดียร์อิมซีเกอร์ครันซ์

ไฮนซ์ กูเดเรียน

นซ์ วิลเฮล์ม กูเดเรียน (Heinz Wilhelm Guderian) เป็นพลเอกแห่งกองทัพบกเยอรมันในสมัยนาซีเยอรมนี เขาโด่งดังจนได้รับการยกย่องจากคนทั้งโลกว่าเป็นบิดาแห่งยานเกราะ และมีสมญาว่า ไฮนซ์สายฟ้าแลบ (Schneller Heinz) จากการเป็นผู้คิดค้นยุทธวิธีสายฟ้าแลบ (บลิทซครีก) ที่ทำให้สามารถเข้ายึดโปแลนด์ได้สำเร็จและต่อมาก็ทำให้ฝรั่งเศสยอมจำนนต่อเยอรมันในการรุกที่แม่น้ำเมิซและเป็นผู้สร้างรถถังที่มีชื่อเสียง เช่น รถถังพันเทอร์, รถถังไทเกอร์ 2 เป็นต้น หน่วยของกูเดเรียนยอมจำนนต่อกองกำลังสหรัฐในวันที่ 10 พฤษภาคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและไฮนซ์ กูเดเรียน

ไฮนซ์ แลงก์

นซ์ แลงก์ (Heinz Linge; 23 มีนาคม 1913 — 9 มีนาคม 1980) เป็นพันโทในหน่วยเอ็สเอ็ส (ชุทซ์ชทัฟเฟิล) ซึ่งทำหน้าที่เป็นพนักงานคนขับรถสำหรับฟือเรอร์ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ แลงก์เป็นหนึ่งในบุคคลที่อยู่ในฟือเรอร์บุงเคอร์ เมื่อวันที่ 30 เมษายน 1945 ในช่วงที่ฮิตเลอร์กระทำอัตวินิบาตกรรม.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและไฮนซ์ แลงก์

ไฮน์ริช มึลเลอร์ (เกสตาโพ)

น์ริช มึลเลอร์ (Heinrich Müller) เป็นตำรวจชาวเยอรมันในช่วงสาธารณรัฐไวมาร์และนาซีเยอรมนี เขาได้เป็นผู้บัญชาการของ เกสตาโพ หน่วยตำรวจลับของนาซีเยอรมนี และเป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการทำฮอโลคอสต์ชาวยิว เขามีชื่อเรียกว่า "เกสตาโพมึลเลอร์" เมื่อไม่ให้สับสนกับนายพลในหน่วยเอ็สเอ็สอีกคนที่ชื่อ ไฮน์ริช มึลเลอร์ เหมือนกัน เขาถูกพบเห็นครั้งสุดท้ายในคืนวันที่ 1 พฤษภาคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและไฮน์ริช มึลเลอร์ (เกสตาโพ)

ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์

น์ริช ลุทโพลด์ ฮิมม์เลอร์ (Heinrich Luitpold Himmler) เป็นหนึ่งในผู้นำพรรคนาซีในเยอรมนี และเป็น ไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็ส ของหน่วย ชุทซ์ชทัฟเฟิล (เอ็สเอ็ส) รับผิดชอบด้านการคุมกำลังหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สทั้งหมดในไรช์ เขาเป็นหนึ่งในผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในไรช์ และเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงในการทำฮอโลคอสต์ชาวยิวSource: Der Spiegel, Issue dated 3 November 2008: Hitlers Vollstrecker – Aus dem Leben eines Massenmörders ฮิมม์เลอร์เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์

ไทรอัมพ์มอเตอร์ไซเคิลส์

ทรอัมพ์มอเตอร์ไซเคิลส์ (Triumph Motorcycles) เป็นบริษัทผู้ผลิตรถจักรยานยนต์รายใหญ่ที่สุดของอังกฤษ ปัจจุบันมีฐานการผลิตอยู่ในประเทศอังกฤษและประเทศไทย ในปีงบประมาณ 2017 ไทรอัมพ์ได้จำหน่ายจักรยานยนต์กว่า 63,400 คัน.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและไทรอัมพ์มอเตอร์ไซเคิลส์

ไตรพันธมิตร

ตรพันธมิตร เป็นพันธมิตรทางการทหารระหว่างเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการีและอิตาลี ซึ่งจัดตั้งขึ้นตั้งแต..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและไตรพันธมิตร

ไตรภาคี

ันธมิตรทางทหารในยุโรป ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ไตรภาคี (Triple entente; มาจากภาษาฝรั่งเศส entente หมายถึง "ข้อตกลง") คือ ชื่อเรียกของพันธมิตรระหว่างอังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เพื่อเป็นพันธมิตรเพื่อยับยั้งฝ่ายมหาอำนาจกลาง และยังเป็นแผนการของฝรั่งเศสซึ่งต้องการโอบล้อมจักรวรรดิเยอรมัน พันธมิตรของอำนาจทั้งสามมีเพิ่มมากขึ้นจากการทำข้อตกลงหลายฉบับกับโปรตุเกส ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และสเปน ทำให้เกิดเป็นอำนาจที่แข็งแกร่งเพื่อถ่วงดุล ไตรพันธมิตร อันประกอบด้วยเยอรมนี จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและไตรภาคี

ไซลีเซีย

ูมิภาคในประวัติศาสตร์ (ในวงสีฟ้าและเหลือง) และเขตแดนประเทศต่าง ๆ ในปัจจุบัน ไซลีเซีย (Silesia; ไซลีเซีย: Ślůnsk; Śląsk; Slezsko; Schlesien) เป็นภูมิภาคในประวัติศาสตร์ของยุโรปกลาง ปัจจุบันตั้งอยู่ในประเทศโปแลนด์ สาธารณรัฐเช็ก และเยอรมนี ไซลีเซียเป็นดินแดนที่เต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติและมีบริเวณสำคัญทางอุตสาหกรรมหลายแห่ง เมืองที่ใหญ่ที่สุดในบริเวณนี้ได้แก่วรอตสวัฟ (Wrocław) ซึ่งเป็นเมืองหลวงในประวัติศาสตร์ คาโตวีตเซในโปแลนด์ และออสตราวา (Ostrava) ในสาธารณรัฐเช็ก แม่น้ำสำคัญคือแม่น้ำโอเดอร์ เขตแดนของไซลีเซียเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างมากตลอดมาในประวัติศาสตร์ทั้งตั้งแต่ยังเป็นของขุนนางในสมัยศักดินา มาจนถึงหลังจากการรุ่งเรืองของรัฐชาติสมัยใหม่ รัฐแรกที่เป็นที่ทราบว่ามีอำนาจในบริเวณนี้คือเกรตเตอร์โมราเวีย (Greater Moravia) และโบฮีเมีย ในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐโปแลนด์สมัยแรก แต่ต่อมาก็แยกตัวออกไปเป็นดัชชีอิสระแต่ตกเข้ามาอยู่ภายใต้อิทธิพลของเยอรมนีมากขึ้นทุกขณะ ในที่สุดไซลีเซียก็ตกมาเป็นของราชบัลลังก์โบฮีเมีย ที่ผ่านต่อไปยังออสเตรียในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและไซลีเซีย

เบอร์ลิน

อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเบอร์ลิน

เบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุค

ือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุค หรือ ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน เป็นประมวลกฎหมายแพ่งของประเทศเยอรมนีซึ่งเริ่มร่างเมื่อ ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุค

เฟลิกซ์ ชไตเนอร์

ฟลิกซ์ มาร์ทิน ยูลีอุส ชไตเนอร์ (Felix Martin Julius Steiner) เป็นโอเบอร์กรุพเพินฟือเรอร์ (พลโท)ในหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นผู้บังคับบัญชาหลายหน่วยกองพลและเหล่าเอ็สเอ็ส เขาได้รับกางเขนเหล็กกางเขนอัศวินประดับด้วยใบโอ๊คและดาบร่วมกับพอล เฮาเซอร์ เขามีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส เป็นกองกำลังทหารที่สร้างขึ้นจากอาสาสมัครและทหารเกณฑ์จากทั้งสองดินแดนที่ยึดครองและไม่ถูกยึดครอง.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเฟลิกซ์ ชไตเนอร์

เฟดอร์ ฟอน บอค

ฟดอร์ ฟอน บอค (Fedor von Bock) เป็นจอมพลแห่งกองทัพบกเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาบัญชาการกองทัพบกกลุ่มเหนือระหว่างการบุกครองโปแลนด์ในปี 1939 และบัญชาการกองทัพบกกลุ่มบีในยุทธการที่ฝรั่งเศสในปี 1940 และต่อมาได้บัญชาการกองทัพบกกลุ่มกลางในการโจมตีสหภาพโซเวียตในปี 1941 และได้บัญชาการกองทัพบกกลุ่มใต้ในปี 1942 ซึ่งเป็นตำแหน่งบัญชาการครั้งสุดท้าย บอคเกิดในเมืองคืชตริง (ปัจจุบันอยู่ในโปแลนด์) ในครอบครัวทหารชาวปรัสเซีย บิดาเป็นผู้บัญชาการหน่วยทหารในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ส่วนมารดาเป็นน้องสาวของเอริช ฟอน ฟัลเคินไฮย์ (Erich von Falkenhayn) ผู้บัญชาการทหารสูงสุดในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง บอคเข้าศึกษาที่วิทยาลัยการทหารในกรุงเบอร์ลิน และต่อมาได้เข้าร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ด้วยความที่เกิดในครอบครัวทหารทำให้เขามีค่านิยมทหารมากกว่าคนอื่น ในสงครามครั้งนั้นเขาได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นทหารที่องอาจถึงขนาดพร้อมตายเพื่อปิตุภูมิจนได้รับสมญาว่า พระเพลิงแห่งคืชตริง และได้รับเหรียญปัวร์เลอแมริทของจักรวรรดิเยอรมัน ในปี 1935 อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ แต่งตั้งบอคให้เป็นแม่ทัพใหญ่กองทัพบกกลุ่มที่สาม และเป็นหนึ่งในนายพลที่ไม่ถูกโยกย้ายเมื่อครั้งฮิตเลอร์ปฏิรูปกองทัพครั้งใหญ่เพื่อสั่งสมแสนยานุภาพก่อนสงครามโลกครั้งที่สองอุบัติ บอคเป็นพวกนิยมระบอบกษัตริย์และมักจะไปเยี่ยมเยือนวังของอดีตไกเซอร์เสมอ บอคบัญชาการการบุกเวียนนาในปี 1938 และเมื่อเยอรมันผนวกออสเตรียแล้ว บอคก็บัญชาการการรุกรานเชโกสโลวาเกีย ฮิตเลอร์ไม่ค่อยชอบนิสัยการพูดจาตรงไปตรงมาขวานผ่าซากของบอค สิ่งที่ฮิตเลอร์ชอบในตัวบอคอย่างเดียวคือเขาเป็นผู้บัญชาการมือฉกาจที่ประสบความสำเร็จในการรบBattle of Russia, Battlefield: Battles that Won the Second World War—Series 2.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเฟดอร์ ฟอน บอค

เกรกอร์ สตรัสเซอร์

กรกอร์ สตรัสเซอร์ (Gregor Strasser) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมันและเป็นหนึ่งในผู้นิยมนาซี เกิดในปี 1892 ในราชอาณาจักรบาวาเรีย สตรัสเซอร์รับใช้ในกองทหารปืนใหญ่ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.ได้รับการเลื่อนขั้นยศเป็นนายร้อยตรี.เขาได้เข้าร่วมกับพรรคนาซี(NSDAP)ในปี 1920 และกลายเป็นผู้ทรงอิทธิพลและมีความสำคัญได้อย่างรวดเร็ว.เขาได้มีส่วนร่วมในการก่อรัฐประหารในมิวนิกในปี 1923 และถูกจับเข้าคุก,แต่ได้รับการปล่อยตัวในช่วงต้นด้วยเหตุผลทางการเมือง.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเกรกอร์ สตรัสเซอร์

เกอร์ดา คริสเตียน

เกรด้า "ดารา" คริสเตียน née Daranowski (13 ธันวาคม 1913 - 14 เมษายน 1997)เป็นหนึ่งในเลขานุการส่วนตัวของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในช่วงก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเกอร์ดา คริสเตียน

เกออร์ก วิททิก

กออร์ก วิททิก (Georg Wittig; 16 มิถุนายน ค.ศ. 1897 – 26 สิงหาคม ค.ศ. 1987) เป็นนักเคมีชาวเยอรมัน เป็นผู้ค้นพบปฏิกิริยาวิททิก ซึ่งเป็นการสังเคราะห์อินทรีย์เพื่อเตรียมแอลคีน รวมถึงค้นพบปฏิกิริยาเรียงตัวใหม่ 1,2-วิททิก ปฏิกิริยาเรียงตัวใหม่ 2,3-วิททิกและการเตรียมฟีนิลลิเทียม วิททิกได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีร่วมกับเฮอร์เบิร์ต ซี.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเกออร์ก วิททิก

เยือร์เกิน ชโตรพ์

ือร์เกิน ชโตรพ์ (ชื่อเดิมตั้งแต่เกิดว่า โยเซฟ ชโตรพ์, 26 กันยายน ปี ค.ศ. 1895 ใน เดทมอลด์, เยอรมนี – 6 มีนาคม 1952 ใน วอร์ซอ, โปแลนด์)เป็นนายพลหน่วยเอสเอสในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.เขาได้เป็นผู้บัญชาการในช่วงเหตุการณ์การก่อจลาจลที่วอร์ซอเกตโตและได้เขียนรายงานขึ้นภายใต้ชื่อว่า "รายงานของชโตรพ์" เป็นหนังสือที่ได้ทำการบันทึกอย่างยาวเหยียดของการปฏิบัติการ.หลังความพ่ายแพ้ของนาซีเยอรมนี,ชโตรพ์ถูกจับกุมและดำเนินคดีในระหว่างการพิจารณาคดีดาเคาและถูกตัดสินว่ามีความผิดจากการสังหารหมู่เชลยศึกทหารอเมริกัน 9 น.ต่อมาภายหลังเขาได้ถูกส่งตัวในฐานะผู้ร้ายข้ามแดนไปยังสาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์,เขาได้พยายามสู้คดีแต่กลับถูกตัดสินว่ามีความผิดและแขวนคอในข้อหาอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเยือร์เกิน ชโตรพ์

เรือยิงตอร์ปิโดยูโกสลาเวีย ที 5

รือยิงตอร์ปิโดยูโกสลาเวีย ที 5 (T5) เป็นเรือยิงตอร์ปิโดประจำการในราชนาวียูโกสลาเวียระหว่างปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเรือยิงตอร์ปิโดยูโกสลาเวีย ที 5

เลเบนสเราม์

year.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเลเบนสเราม์

เสรีนครลือเบ็ค

รีนครลือเบ็ค หรือ เสรีนครฮันเซอแห่งลือเบ็ค (Freie und Hansestadt Lübeck) เป็นนครรัฐที่รุ่งเรืองระหว่างปี ค.ศ. 1226 ถึงปี ค.ศ. 1937 ที่ตั้งอยู่ในรัฐชเลสวิช-ฮ็อลชไตน์และรัฐเมคเลินบวร์ค-ฟอร์พ็อมเมิร์นในประเทศเยอรมนีปัจจุบัน.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเสรีนครลือเบ็ค

เอฟา เบราน์

อฟา อันนา เพาลา ฮิตเลอร์ (Eva Anna Paula Hitler) สกุลเดิม เบราน์ เป็นเพื่อนเก่าแก่ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และเป็นภรรยาของเขาในช่วง 40 ชั่วโมงสุดท้ายของชีวิต เบราน์พบฮิตเลอร์ในมิวนิกขณะที่เธอมีอายุได้ 17 ปี ขณะที่ทำงานเป็นผู้ช่วยและนางแบบของช่างถ่ายภาพส่วนตัวของเขาและเริ่มพบฮิตเลอร์บ่อยครั้งขึ้นในอีกราวสองปีถัดมา เธอเคยพยายามฆ่าตัวตายสองครั้งในความสัมพันธ์ระยะแรกระหว่างทั้งสอง ใน..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเอฟา เบราน์

เอริช เฟ็ลล์กีเบิล

ฟริทซ์ เอริช เฟ็ลล์กีเบิล (Fritz Erich Fellgiebel; 4 ตุลาคม ค.ศ. 1886 – 4 กันยายน ค.ศ. 1944) เป็นนายทหารในกองทัพเยอรมัน เกิดที่เมืองโปโปวิตเซ (ปัจจุบันอยู่ในประเทศโปแลนด์) เมื่ออายุ 18 ปี เขาเข้าร่วมหน่วยทหารสื่อสารในกองทัพบกปรัสเซีย ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เฟ็ลล์กีเบิลอยู่สังกัดหน่วยเสนาธิการทหารบก หลังสงคราม เขาประจำอยู่ที่กรมเสนาธิการไรชส์เวร์ในเบอร์ลิน ในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเอริช เฟ็ลล์กีเบิล

เอริช เค็สท์เนอร์

อมีล เอริช เค็สท์เนอร์ (Emil Erich Kästner) เป็นนักเขียนชาวเยอรมัน มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลกจากวรรณกรรมเยาวชนเรื่อง เอมีล ยอดนักสืบ (Emil and the Detectives; Emil und die Detektive) ที่ได้รับการแปลเป็นภาษาต่างประเทศมากกว่าห้าสิบเก้าภาษาทั่วโลก.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเอริช เค็สท์เนอร์

เอากุสตาแห่งซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัค

อากุสตาแห่งซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัค (Augusta von Saxe-Weimar-Eisenach) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากดัชชีซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัค ซึ่งอภิเษกเข้าสู่ราชวงศ์ปรัสเซีย เมื่อพระราชสวามีได้ขึ้นเป็นพระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ทำให้พระนางมียศเป็นพระราชินีแห่งปรัสเซีย ต่อมาเมื่อพระราชสวามีได้ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมัน ทำให้พระนางมียศตามขึ้นเป็นจักรพรรดินีเยอรมัน ในปี 1826 ขณะที่ทรงมีพระชนม์เพียง 14 ชันษา พระนางได้พบกับเจ้าชายวิลเฮล์มแห่งปรัสเซีย ว่าที่พระสวามีซึ่งแก่กว่าถึง 14 ปี เมื่อพบกันครั้งนั้น เจ้าชายวิลเฮล์มทรงดำริว่าเจ้าหญิงเอากุสตาเป็นสตรีที่ยอดเยี่ยม แต่ไม่น่าดึงดูดใจเท่าเจ้าหญิงมารีผู้เป็นพี่สาวของพระนาง ทั้งสองจำยอมต้องหมั้นกันทั้งที่เจ้าชายวิลเฮล์มทรงมีคนรักอยู่ก่อน (เจ้าหญิงเอลิซา รัดซีวีล แห่งโปแลนด์) ทั้งสองอภิเษกสมรสกันในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเอากุสตาแห่งซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัค

เอดิธ คาเวล

อดิธ คาเวล (Edith Louisa Cavell, 4 ธันวาคม ค.ศ. 1865 – 12 ตุลาคม ค.ศ. 1915) เป็นนางพยาบาลและสายลับชาวอังกฤษ มีชื่อเสียงจากการช่วยช่วยชีวิตทหารทุกฝ่ายโดยไม่แบ่งแยก และในการช่วยทหารฝ่ายสัมพันธมิตรราว 200 นาย ให้หลบหนีจากเบลเยียมที่ถูกเยอรมนียึดครองไว้ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ก่อนถูกจับกุมหลังจากนั้น เธอถูกตัดสินว่ามีความผิดในข้อหากบฏหลังมีการพิจารณาโดยศาลทหาร เธอได้รับโทษประหารชีวิตและถูกยิงด้วยชุดยิง เธอเป็นที่รู้จักกันดีจากคำกล่าวของเธอที่ว่า "ความรักชาตินั้นไม่เพียงพอ" (patriotism is not enough) ความเชื่ออย่างแรงกล้าในนิกายแองกลิกันของเธอทำให้เธอช่วยเหลือทุกคนที่ต้องการความช่วยเหลือ ทั้งทหารเยอรมันและฝ่ายสัมพันธมิตร คำคมหนึ่งของเธอมีว่า "ฉันหยุดไม่ได้ในเมื่อมีชีวิตอีกมากที่ต้องช่วยเหลือ" (I can’t stop while there are lives to be saved) คาเวลยังเป็นผู้บุกเบิกในการพยาบาลสมัยใหม่ในเบลเยียมผู้ทรงอิทธิพลอีกด้ว.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเอดิธ คาเวล

เอดิท ชไตน์

อดิท ชไตน์ (Edith Stein) หรือนักบุญเทเรซา เบเนดิกตา แห่งไม้กางเขน (Saint Teresa Benedicta of the Cross) เป็นนักพรตหญิงนิกายโรมันคาทอลิกชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ท่านได้ถูกขังที่ค่ายกักกันเอาชวิทซ์ และถึงแก่มรณกรรมจากการถูกรมด้วยก๊าซพิษ คริสตจักรโรมันคาทอลิกยกย่องท่านเป็นพรหมจารีและมรณสักขี และได้รับการประกาศเป็นนักบุญโดยสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเอดิท ชไตน์

เอดูอาร์ด บุชเนอร์

อดูอาร์ด บุชเนอร์ (Eduard Buchner; 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1860 – 13 สิงหาคม ค.ศ. 1917) เป็นนักชีวเคมีชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองมิวนิก เป็นบุตรของแอนสท์และฟรีเดริเก (นามสกุลเดิม มาร์ติน) บุชเนอร์ มีพี่ชายที่ต่อมาเป็นนักวิทยาแบคทีเรียชื่อ ฮันส์ แอนสท์ เอากุสต์ บุชเนอร์ ในปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเอดูอาร์ด บุชเนอร์

เฮลมุท คาร์ล แบร์นฮาร์ด ฟอน มอลท์เคอ

ลมุท คาร์ล แบร์นฮาร์ด ฟอน มอลท์เคอ (Helmuth Karl Bernhard von Moltke) เป็นจอมพลเยอรมันและเป็นเสนาธิการกองทัพปรัสเซียเป็นเวลากว่า 30 ปีในสามรัชกาลของกษัตริย์ปรัสเซีย เขาเป็นผู้ริเริ่มใช้การบังคับบัญชาสมัยใหม่ในการทัพ เขาได้รับการยกย่องเป็น "ผู้วางระเบียบกองทัพและนักกลยุทธ์อันเยี่ยมยอด" รวมอยู่ในตัวคนเดียว เขามักถูกเรียกว่า "มอลเคอคนโต" (Moltke der Ältere) เพื่อไม่ให้สับสนกับ เฮลมุท โยฮันน์ ลุดวิจ ฟอน มอลท์เคอ จอมพลเยอรมันอีกคนในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งที่มีศักดิ์เป็นหลานลุงซึ่งถูกเรียกว่า "มอลเคอคนเล็ก" (Moltke der Jüngere) เขาได้รับแต่งตั้งเป็น กราฟ ฟอน มอลท์เคอ (Graf von Moltke) อันเป็นตำแหน่งเทียบเท่าเคานต์ มอลท์เคอเริ่มดำรงตำแหน่งเสนาธิการกองทัพปรัสเซียเมื่อปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเฮลมุท คาร์ล แบร์นฮาร์ด ฟอน มอลท์เคอ

เฮลมุท ไวด์ลิง

ลมุท ออทโท ลุดวิจ ไวด์ลิง (Helmuth Otto Ludwig Weidling) เป็นนายพลในกองทัพบกเยอรมันระหว่างก่อนและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ต่อมาไวด์ลิงได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการกองทัพในการป้องกันกรุงเบอร์ลินในพื้นที่การต่อสู้ในยุทธการเบอร์ลินในปี 1945 ต่อมาหลังจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้กระทำอัตวินิบาตกรรมในฟือเรอร์บุงเคอร์ ไวด์ลิงตัดสินใจประกาศยอมจำนนต่อกองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียต ทำให้เป็นอันสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป หลังสงคราม ไวด์ลิงถูกจับกุมและกลายเป็นนักโทษสงครามของโซเวียต เขาถูกส่งตัวไปยังกรุงมอสโก  ศาลทหารโซเวียตได้ตัดสินให้จำคุก 25 ปีให้ข้อหาก่ออาชญากรรมสงครามในดินแดนสหภาพโซเวียต ต่อมาเขาได้เสียชีวิตในค่ายกักกันเชลยศึกชาวเยอรมันในเมืองวลาดิเมียร์ภายใต้การควบคุมของหน่วยเคจีบีด้วยสภาวะหัวใจวายล้มเหลว เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 1955.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเฮลมุท ไวด์ลิง

เฮนนิง ฟอน เทรสคอว์

แฮร์มันน์ เฮนนิง คาร์ล โรแบร์ท ฟอน เทรสคอว์ (Hermann Henning Karl Robert von Tresckow) หรือ เฮนนิง ฟอน เทรสคอว์ (10 มกราคม ค.ศ. 1901 – 21 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเฮนนิง ฟอน เทรสคอว์

เจ้าชายวิลเฮล์ม มกุฎราชกุมารแห่งปรัสเซีย

ฟรีดริช วิลเฮล์ม วิคเตอร์ ออกุสต์ แอร์นส์ (ภาษาเยอรมัน:Friedrich Wilhelm Victor August Ernst; ประสูติ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2425 - 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2494) ทรงเป็นมกุฎราชกุมารพระองค์สุดท้ายของราชอาณาจักรปรัสเซีย และจักรวรรดิเยอรมัน เจ้าชายวิลเฮล์มประสูติ ณ เมืองพอทสดัม รัฐบรานเดนบวร์ก พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์โตในสมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี และพระมเหสีพระองค์แรกเจ้าหญิงออกัสตา วิคตอเรียแห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์ หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ยุติลง สมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี พระราชบิดาทรงสละราชสมบัติ เจ้าชายวิลเฮล์มทรงถูกเนรเทศไปยังประเทศเนเธอร์แลนด์ และเสด็จกลับมายังเยอรมันในปี พ.ศ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเจ้าชายวิลเฮล์ม มกุฎราชกุมารแห่งปรัสเซีย

เจ้าชายแบร์นฮาร์ดแห่งลิพเพอ-บีสเตอร์เฟลด์

้าชายแบร์นฮาร์ดแห่งลิพเพอ-บีสเตอร์เฟลด์ (29 มิถุนายน พ.ศ. 2454 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2547) ต่อมาคือ เจ้าชายแบร์นฮาร์ดแห่งเนเธอร์แลนด์ เป็นพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์ และเป็นพระราชบิดาของพระธิดา 4 พระองค์ รวมทั้งอดีตสมเด็จพระราชินีนาถแห่งเนเธอร์แลนด์ เจ้าหญิงเบียทริกซ.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเจ้าชายแบร์นฮาร์ดแห่งลิพเพอ-บีสเตอร์เฟลด์

เจ้าหญิงคริสตินา-มาร์เกรเธอแห่งเฮสส์

ระองค์สมรสครั้งแรกกับ เจ้าชายแอนดรูว์แห่งยูโกสลาเวีย เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2499 ณ พระราชวังโคบอร์ก อันเป็นพระราชวังที่พระองค์ประสูติ โดยมีพระบุตรร่วมกัน ดังนี้.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเจ้าหญิงคริสตินา-มาร์เกรเธอแห่งเฮสส์

เจ้าหญิงโยเซฟินแห่งบาเดิน

้าหญิงโยเซฟิน ฟรีเดอรีเกอ ลุยเซอ แห่งบาเดิน (ประสูติ:11 ตุลาคม ค.ศ. 1813 — สิ้นพระชนม์ 19 มิถุนายน ค.ศ. 1900) ประสูติที่มันไฮม์ แกรนด์ดัชชีแห่งบาเดิน เป็นพระธิดาของแกรนด์ดยุกชาลส์แห่งบาเดิน กับสเตฟานีแห่งโบอาร์แน ทรงเป็นพระบรมอรรคราชบรรพบุรุษของราชวงศ์โรมาเนีย และราชวงศ์ยูโกสลาเวียผ่านทางพระโอรส เจ้าชายเลโอโปลด์แห่งโฮเฮนซอลเลิร์น และของราชวงศ์เบลเยียม และลักเซมเบิร์ก ผ่านทางพระธิดา คือ เจ้าหญิงมารีแห่งโฮเฮนซอลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเจ้าหญิงโยเซฟินแห่งบาเดิน

เขตการปกครองของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2

Administrative division of Second Polish Republic, 1930. Colors denote voivodeships, division into powiats visible on the lower level. จังหวัดในสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2, 1922–1939. เขตการปกครองของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2 เป็นการจัดการปกครองท้องถิ่นใหม่หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งด้วยรวมตัวระหว่างดินแดนของจักรวรรดิเยอรมัน,จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและจักรวรรดิรัสเซี.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเขตการปกครองของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2

เขตผู้ว่าการคูร์ลันด์

ตผู้ว่าการคูร์ลันด์, หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ จังหวัดคูร์ลันด์, Governorate of Kurland (Курля́ндская губерния), และ รัฐบาลคูร์ลันด์ (Kurländisches Gouvernement) เป็นส่วนหนึ่งของ เขตผู้ว่าการบอลติกของจักรวรรดิรัสเซีย พื้นที่ของเขตผู้ว่าการคูร์ลันด์ในอดีตปัจจุบันปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศลัตเวีย เขตผู้ว่าการคูร์ลันด์ก่อตั้งขึ้นในปี 1795 โดยได้ดินแดนส่วนหนึ่งจาก ดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลีย ซึ่งผนวกเข้ากับจักรวรรดิรัสเซีย โดยได้รวมเป็นจังหวัดคูร์ลันด์ซึ่งมีเมืองหลักที่ เยลกาวา (หรือ Mitau ในอดีต) ทั้งนี้เป็นผลสืบเนื้องจากการแบ่งเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนียครั้งที่สาม จนในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 เขตผู้ว่าการไม่เคยถูกจักรวรรดิรัสเซียปกครองเต็ม แต่เป็นการปกครองแบบกึ่งอิสระโดยกลุ่มชาวบอลติกเยอรมันภายใต้ Regional Council (Landtag) เขตผู้ว่าการคูร์ลันด์มีเขตชายแดนติดกับ ทะเลบอลติก, อ่าวริกา และ เขตผู้ว่าการลิโวเนีย ทางทิศเหนือ ทางตะวันตกติดกับทะเลบอลติก; ทางใต้ติดกับVilna Governorate และ ปรัสเซีย และทางตะวันออกติดกับ Vitebsk Governorate และ เขตผู้ว่าการมินสค์ โดยที่จำนวนประชากรของเขตผู้ว่าการนี้อยู่ที่ 553,300 ในปี 1846 เขตผู้ว่าการคูร์ลันด์สิ้นสภาพลงในช่วง สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หลังจากที่ จักรวรรดิเยอรมัน เข้าปกครองภูมิภาคในปี 1915 และรัสเซียยอมจำนนและยกดินแดนตาม สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ ในวันที่ 3 มีนาคม 1918.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเขตผู้ว่าการคูร์ลันด์

เคลาส์ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์ก

ันเอก เคลาส์ ฟีลิพพ์ มาเรีย เชงค์ กรัฟ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์ก (Claus Philipp Maria Schenk Graf von Stauffenberg) เป็นทหารบกและสมาชิกตระกูลขุนนางชาวเยอรมันซึ่งเป็นสมาชิกผู้นำคนหนึ่งของแผนลับ 20 กรกฎาคม..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเคลาส์ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์ก

เซพพ์ ดีทริซ

ซฟ "เซพพ์" ดีทริซ (28 พฤษภาคม ค.ศ. 1892 – 21 เมษายน ค.ศ. 1966) เป็นเอ็สเอ็ส-โอเบิร์ช-กรุพเพินฟือเรอร์(พลเอก)ในหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส กองกำลังติดอาวุธของหน่วยชุทซ์ชทัฟเฟิล (SS) ผู้บัญชาการของหน่วยไปยังถึงระดับกองทัพในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ก่อนปี..

ดู จักรวรรดิเยอรมันและเซพพ์ ดีทริซ

18 มกราคม

วันที่ 18 มกราคม เป็นวันที่ 18 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 347 วันในปีนั้น (348 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู จักรวรรดิเยอรมันและ18 มกราคม

20 พฤศจิกายน

วันที่ 20 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 324 ของปี (วันที่ 325 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 41 วันในปีนั้น.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและ20 พฤศจิกายน

23 สิงหาคม

วันที่ 23 สิงหาคม เป็นวันที่ 235 ของปี (วันที่ 236 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 130 วันในปีนั้น.

ดู จักรวรรดิเยอรมันและ23 สิงหาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Deutsches ReichGerman EmpireGerman colonial empireอาณาจักรเยอรมัน

มักซ์ บอร์นมักซ์ แอนสท์มันเฟรด ฟอน ริชโธเฟินมาร์ทิน บอร์มันน์มาลีเอตัว เลาเปปามิชาเอิล วิทท์มันน์มณฑลพอเมอเรเนีย (ค.ศ. 1815–1945)ยอน ราเบอยุทธการที่แวร์เดิงยุทธนาวีที่พอร์ตอาเธอร์ยูลิอุส เชร็คยูลีอุส ชไตรเชอร์รัชทายาทที่ได้รับสมมุติรัฐบาลพลัดถิ่นรัฐกันชนรัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์ครัฐหุ่นเชิดราชรัฐลิพเพอราชวงศ์ชิงราชวงศ์ฮาพส์บวร์คราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์นราชอาณาจักรบาวาเรียราชอาณาจักรฟินแลนด์ (ค.ศ. 1918)ราชอาณาจักรลิทัวเนีย (พ.ศ. 2461)ราชอาณาจักรอิตาลีราชอาณาจักรซัคเซินราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรโรมาเนียราชอาณาจักรโปแลนด์ (ค.ศ. 1916–1918)ราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ครายชื่อสนธิสัญญารายชื่ออดีตอาณานิคมของเยอรมนีรายชื่อธงในจักรวรรดิเยอรมันรายชื่อธงในประเทศเยอรมนีรายชื่อดินแดนที่จักรวรรดิญี่ปุ่นยึดครองรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปยุโรปรายพระนามพระมหากษัตริย์ปรัสเซียรายพระนามพระมหากษัตริย์เยอรมนีรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลียริชาร์ด กลืคส์รูดอล์ฟ เฮิสส์ลุฟท์วัฟเฟอลุทซ์ กรัฟ ชเวริน ฟอน โครซิจค์ลุดวิก แอร์ฮาร์ดลุดวิจ เบควัลเทอร์ ฟอน ไรเชอเนาวัลเทอร์ ฟอน เบราชิทช์วัลเทอร์ ฟุงค์วัลเทอร์ เชลเลินแบร์กวันสงบศึกวิลลี บรันท์วิลเฮล์ม ฟริควิลเฮล์ม มอนเคอวิลเฮล์ม ริทเทอร์ ฟอน โทมาวิลเฮล์ม ลิสท์วิลเฮล์ม คานาริสวิลเฮล์ม ไคเทิลวินด์ฮุกว็อล์ฟกัง เพาล์ศาลาประชาคมร้อยปีสมบูรณาญาสิทธิราชย์สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมารสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถสมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียมสมเด็จพระเจ้าคาโรลที่ 1 แห่งโรมาเนียสหพันธรัฐสหราชอาณาจักรสันนิบาตสามจักรพรรดิสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3สาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)สาธารณรัฐของสหภาพโซเวียตสาธารณรัฐไวมาร์สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สองสงครามกลางเมืองรัสเซียสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่นสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสนธิสัญญาลอนดอน (1915)สนธิสัญญาแบร์นสนธิสัญญาแวร์ซายสนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919)สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์สนธิสัญญาเบอร์ลิน (1878)หมู่เกาะมาเรียนาออสคาร์ เดียร์เลวังงาร์ออทโท ฟอน บิสมาร์คออทโท กึนเชอออทโท สตรัสเซอร์ออทโท ฮานออตโต ซีเลียกส์อัลแบร์ท ชเปียร์อัลแบร์ท เคสเซิลริงอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์อัลเฟรด โยเดิลอัลเฟรด เวเกเนอร์อันชลุสส์อันฮัลท์อันตอน เชคอฟอาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรียอาร์ทูร์ อักซ์มันน์อาร์ทูร์ โชเพนเฮาเออร์อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)อาคารไรชส์ทาคอิลเซอ คอคอุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมันอีริก อีริกสันอดอล์ฟ บูเทนันต์อดอล์ฟ ฮิตเลอร์อดอล์ฟ ไอชมันน์อเมริกันซามัวฮยัลมาร์ ชัคท์ฮอสท์ เวสเซิลฮันส์ บาเออร์ฮันส์ ฟรังค์ฮันส์ โอสเตอร์ฮันส์ เบเทอฮันส์ เคร็บส์ (นายพลเวร์มัคท์)ฮันส์-อูลริช รูเดิลฮั่ว หยวนเจี่ยฮูโก ชแปร์เริลฮูโก้ กัทมันนท์ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จอห์น ดัลเบิร์ก-แอกตัน บารอนแอกตันที่ 1จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 แห่งเยอรมนีจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนีจักรพรรดิแม็กซีมีเลียนที่ 1 แห่งเม็กซิโกจักรพรรดิเยอรมันจักรวรรดิสเปนจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีจักรวรรดิอาณานิคมเยอรมันจักรวรรดินิยมในเอเชียธีโอดอร์ โมเรลธีโอดอร์ ไอค์เคอธงชาติบูร์กินาฟาโซธงชาติซามัวธงชาติปาปัวนิวกินีธงชาตินามิเบียธงชาตินาซีเยอรมนีธงชาติเยอรมนีทวิพันธมิตรดรีทริซ ฟอน โคลทิซดอบรอแจญดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลียดัชชีเบราน์ชไวค์ดัสลีดแดร์ดอยท์เชินคริสต์สหัสวรรษที่ 2ความสัมพันธ์เยอรมนี-ญี่ปุ่นความตกลงอังกฤษ-รัสเซียคองเกรสโปแลนด์คอนชตันทิน ฟอน นอยรัทคอนราด อเดเนาร์คาร์ล ชูมันน์คาร์ล ฟรีดริช เกอร์เดแลร์คาร์ล ฟอน ออสซิเอ็ดซกีคาร์ล อันโทน เจ้าชายแห่งโฮเอินโซลเลิร์นคาร์ล เดอนิทซ์คาร์ล-ไฮน์ริช ฟอน ชตึลพ์นาเกิลคูร์ท เมเยอร์ตราแผ่นดินของเยอรมนีตำนานแทงข้างหลังตียงวีลซัคเซิน-อัลเทนบูร์กซัคเซิน-ไมนิงเงินซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัคประยูร ภมรมนตรีประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสประวัติศาสตร์ยุโรปประวัติศาสตร์รัสเซียประวัติศาสตร์อัฟกานิสถานประวัติศาสตร์เยอรมนีประวัติศาสตร์เดนมาร์กประเทศอิตาลีประเทศนาอูรูประเทศเยอรมนีปรัสเซียปราสาทโฮเอินโซลเลิร์นปราสาทเคอนิจส์แบร์กปลาสอดปัญหาเยอรมันปัตชกุฟปีเตอร์ โฮเกลป่ากงเปียญนาซีเยอรมนีแฟร์ดีนันด์ เชอร์เนอร์แกรนด์ดัชชีออลเดนบูร์กแกรนด์ดัชชีเฮ็สเซินแกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีดแห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดิวคัลไฮเนสแกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์แวร์เนอร์ ฟอน บลอมแบร์กแวร์เนอร์ ฟอน ฟริทช์แวร์เนอร์ ฟอน แฮฟเทินแวร์เนอร์ ไฮเซินแบร์กแหนบรับไฟแอฟริกาตะวันออกของเยอรมนีแอกุกกา (จักรวรรดิเกาหลี)แอริช ฟอน มันชไตน์แอริช แรเดอร์แอร์วิน รอมเมิลแอร์ฮาร์ด มิลช์แอร์นสท์ กึนเทอร์ เชนค์แอนสท์ บุช (จอมพล)แอนสท์ ฟรีดริช ชูมาเคอร์แอนสท์ รัสกาแอนสท์ ฮันฟ์ชเต็งเงิลแอนสท์ เริมแอนสท์-โรเบิร์ต กราวิทซ์แฮร์มันน์ กึนเทอร์ กรัสส์มันน์แฮร์มันน์ มินคอฟสกีแฮร์มันน์ เฟเกิลไอน์แฮร์มันน์ เกอริงแปซิฟิกใต้ในอาณัติแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)แนวซีกฟรีดโยอาคิม ไพร์เพอร์โยฮันเรส เบลสโกวิตซ์โยเซฟ แทร์โบเฟินโยเซฟ เบร็คโทลด์โยเซฟ เกิบเบลส์โรคุส มิสช์โรแบร์ท ริทเทอร์ ฟอน ไกรม์โรแบร์ท ลายโลทาริงเกียโวลฟรัม ฟอน ริชโธเฟินโอลิมปิกฤดูร้อน 1916โฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงินโทรเลขจากเมืองเอมส์โทรเลขซิมแมร์มันน์ไรชส์ทาค (รัฐสภาเยอรมัน)ไรชส์ทาค (จักรวรรดิเยอรมัน)ไรช์ไรช์เยอรมันไรน์ฮาร์ด ฮายดริชไฮล์เดียร์อิมซีเกอร์ครันซ์ไฮนซ์ กูเดเรียนไฮนซ์ แลงก์ไฮน์ริช มึลเลอร์ (เกสตาโพ)ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ไทรอัมพ์มอเตอร์ไซเคิลส์ไตรพันธมิตรไตรภาคีไซลีเซียเบอร์ลินเบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุคเฟลิกซ์ ชไตเนอร์เฟดอร์ ฟอน บอคเกรกอร์ สตรัสเซอร์เกอร์ดา คริสเตียนเกออร์ก วิททิกเยือร์เกิน ชโตรพ์เรือยิงตอร์ปิโดยูโกสลาเวีย ที 5เลเบนสเราม์เสรีนครลือเบ็คเอฟา เบราน์เอริช เฟ็ลล์กีเบิลเอริช เค็สท์เนอร์เอากุสตาแห่งซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัคเอดิธ คาเวลเอดิท ชไตน์เอดูอาร์ด บุชเนอร์เฮลมุท คาร์ล แบร์นฮาร์ด ฟอน มอลท์เคอเฮลมุท ไวด์ลิงเฮนนิง ฟอน เทรสคอว์เจ้าชายวิลเฮล์ม มกุฎราชกุมารแห่งปรัสเซียเจ้าชายแบร์นฮาร์ดแห่งลิพเพอ-บีสเตอร์เฟลด์เจ้าหญิงคริสตินา-มาร์เกรเธอแห่งเฮสส์เจ้าหญิงโยเซฟินแห่งบาเดินเขตการปกครองของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2เขตผู้ว่าการคูร์ลันด์เคลาส์ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์กเซพพ์ ดีทริซ18 มกราคม20 พฤศจิกายน23 สิงหาคม