เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

ดัชนี จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ.

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 216 ความสัมพันธ์: บอร์เนียวเหนือบาบอรุฟฟรันซิสกา ดอเนอร์ฟรันเซสกา ฟอน ฮับส์บูร์กฟรานซ์ คาฟคาฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์ฟรานซ์โจเซฟแลนด์ฟุตบอลทีมชาติออสเตรียฟุตบอลทีมชาติฮังการีฟุตบอลทีมชาติโครเอเชียฟุตบอลทีมชาติเช็กเกียพ.ศ. 2457พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยาชลยุทธโยธินทร์ (อองเดร ดู เปลซี เดอ ริเชอลิเออ)พระราชวังฮอฟบวร์คพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งเซอร์เบียพระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวายพระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรียพอล มุนีพอล ลูคัสพอล แอร์ดิชพันธมิตรฝรั่งเศส-รัสเซียพันธมิตรแปดชาติพิธีสารนักมวยกบฏนักมวยกัฟรีโล ปรินซีปการบุกครองแอลเบเนียของอิตาลีการทัพบอลข่าน (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)การแสดงนิทรรศการนานาชาติการแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก 1910การแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก 1911การให้เอกราชการเลิกล้มราชาธิปไตยการเสด็จประพาสยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกาเรล ชาเปกกุสตาฟ ยานีกุสตาว ฮูซากฝ่ายมหาอำนาจกลางฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งภาษาฮังการีมาเรีย มันเดอมาเรียแห่งเท็คมิกโลช โฮร์ตีมิลตัน ฟรีดแมนมีชาเอลา ฟอน ฮับส์บูร์กมีป คีสมงแต็สกีเยอยอซีป บรอซ ตีโตยอเซ็ฟ ติซอยัน เอวังเกลิสตา ปูร์กิเญ... ขยายดัชนี (166 มากกว่า) »

บอร์เนียวเหนือ

อร์เนียวเหนือ เป็นรัฐในอารักขาในการดูแลของบริษัทบอร์เนียวเหนือของอังกฤษ (British North Borneo Company) ระหว่างปีค.ศ. 1882 - 1946 หลังจากนั้นจึงได้เปลี่ยนสถานะเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรโดยใช้ชื่อว่าบอร์เนียวเหนือของอังกฤษจนถึงปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและบอร์เนียวเหนือ

บาบอรุฟ

อรุฟ (Baborów; Bauerwitz) เป็นเมืองในประเทศโปแลนด์ อยู่ในเขตจังหวัดออปอแล ห่างจากเมืองหลักออปอแล 40 กิโลเมตร และมีพรมแดนติดกับสาธารณรัฐเช็ก มีเนื้อที่ 11.73 ตารางกิโลเมตร ในปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและบาบอรุฟ

ฟรันซิสกา ดอเนอร์

ฟรันเชสกา มาเรีย บาร์บารา ดอเนอร์ (Francesca Maria Barbara Donner; 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 19 มีนาคม พ.ศ. 2535) หรือรู้จักในนาม ฟรันซิสกา ดอเนอร์ (Franziska Donner; 프란체스카 도너) มีชื่อเกาหลีว่า อี พู-รัน หรือ รี พู-รัน เป็นสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งคนแรกของเกาหลีใต้ ด้วยเป็นภริยาของอี ซึง-มัน ประธานาธิบดีคนแรกของประเท.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและฟรันซิสกา ดอเนอร์

ฟรันเซสกา ฟอน ฮับส์บูร์ก

ฟรันเซสกา ฟอน ฮับส์บูร์ก (ชื่อเต็ม: ฟรานเซสกา แอนน์ ฟรีอินน์; Francesca Anne Freiin von Habsburg-Lothringen, ราชสกุลเดิม ทิสเซน-บอร์เนอมิสซา เดอ คาสซอน; Thyssen-Bornemisza de Kászon) เกิดเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและฟรันเซสกา ฟอน ฮับส์บูร์ก

ฟรานซ์ คาฟคา

ลายเซ็นของฟรานซ์ คาฟคา ฟรานซ์ คาฟคา (Franz Kafka) (3 กรกฎาคม ค.ศ. 1883 - 3 มิถุนายน ค.ศ. 1924) ฟรานซ์ คาฟคาเป็นนักเขียนชาวยิวคนสำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 20 คาฟคาถือกำเนิดมาในครอบครัวที่พูดภาษาเยอรมัน ผู้มีฐานะปานกลางในกรุงปรากใน ราชอาณาจักรโบฮีเมีย ที่ขณะนั้นเป็นส่วนหนึ่งของออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันสาธารณรัฐเช็ก) ผลงานเขียนอันเป็นเอกลักษณ์ของคาฟคาที่ส่วนใหญ่เป็นงานที่เขียนค้างไว้ และส่วนใหญ่ตีพิมพ์หลังจากที่เสียชีวิตไปแล้วถือว่าเป็นงานที่มีอิทธิต่องานวรรณกรรมตะวันตกมากที่สุดContijoch, Francesc Miralles (2000) "Franz Kafka".

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและฟรานซ์ คาฟคา

ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์

ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์ เป็นวงอาร์ตร็อกจากกลาสโกว์ สก็อตแลนด์ตั้งชื่อตามอาร์คดยุคชาวออสโตร-ฮังการ์เรียนที่ถูกลอบปลงพระชนม์จนเป็นชนวนของสงครามโลกครั้งที่ 1.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์

ฟรานซ์โจเซฟแลนด์

ฟรานซ์โจเซฟแลนด์ (Franz Josef Land, Franz Joseph Land, หรือ Francis Joseph's Land) หรือ ซิมเลียฟรันต์ซาโยซีฟา (Земля Франца-Иосифа, Zemlya Frantsa-Iosifa) เป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรอาร์กติก เป็นส่วนหนึ่งของอาร์คันเกลสค์โอบลาสต์ ในประเทศรัสเซียในส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรป ทางตอนเหนือของเกาะโนวายาเซมเลีย ทางตะวันออกของหมู่เกาะสฟาลบาร์ ประกอบด้วยเกาะที่ปกคลุมด้วยน้ำแข็ง 191 เกาะ มีพื้นที่รวม 16,134 กม2 (6,229 ตร.ไมล์) ตั้งอยู่ละติจูด 80.0° ถึง 81.9° เหนือ จูเลียส ฟอนปาเยอร์ และคาร์ล เวเปรชต์ นักสำรวจจากจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีเป็นผู้ค้นพบใน ค.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและฟรานซ์โจเซฟแลนด์

ฟุตบอลทีมชาติออสเตรีย

ฟุตบอลทีมชาติออสเตรีย (Österreichische Fußballnationalmannschaft) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนในระดับทีมชาติของออสเตรีย ประเทศในภูมิภาคยุโรปกลาง ปัจจุบันอยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลออสเตรี.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและฟุตบอลทีมชาติออสเตรีย

ฟุตบอลทีมชาติฮังการี

ฟุตบอลทีมชาติฮังการี (ฮังการี: Magyar labdarúgó-válogatott) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนทีมชาติจากประเทศฮังการี ประเทศในแถบยุโรปกลาง ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลฮังการี.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและฟุตบอลทีมชาติฮังการี

ฟุตบอลทีมชาติโครเอเชีย

ฟุตบอลทีมชาติโครเอเชีย (Croatia national football team; Hrvatska nogometna reprezentacija) เป็นฟุตบอลทีมชาติจากประเทศโครเอเชีย ภายใต้การดูแลของสหพันธ์ฟุตบอลโครเอเชีย เคยเข้าร่วมฟุตบอลโลก 3 ครั้ง และฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 4 ครั้ง ผลงานที่ดีที่สุดในฟุตบอลโลกคือได้ที่ 3 ในปี ค.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและฟุตบอลทีมชาติโครเอเชีย

ฟุตบอลทีมชาติเช็กเกีย

2014 ฟุตบอลทีมชาติเช็กเกีย เป็นทีมฟุตบอลประจำ ประเทศเช็กเกีย โดยอยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลแห่งสาธารณรัฐเช็ก โดยผลงานที่ดีที่สุดในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปของเช็กคือ การเข้าไปถึงรอบรองชนะเลิศใน ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2004 แต่ก็แพ้ กรีซไป 1-0 หลังต่อเวลาพิเศษ ทั้งที่ทำผลงานทั้งในรอบแบ่งกลุ่มและรอบ 8 ทีมสุดท้ายได้ดีแล้ว และส่วนฟุตบอลโลกเช็กในปี 1996 เช็กเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศ แต่ก็พ่ายแพ้ให้กับ "อินทรีเหล็ก" เยอรมนีไป 2-1 หลังต่อเวลาพิเศษ ปัจจุบันอยู่ภายใต้การคุมทีมของ มิชาล บิเล็ค ทีมชาติก่อตั้งขึ้นในปี 1901 ในสมัยราชอาณาจักรโบฮีเมียที่ถูกปกครองโดยจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ต่อมาได้ก่อตั้งเชโกสโลวาเกีย ก่อนจะแยกประเทศกับสโลวาเกียในปี 1992 การแข่งขันระหว่างประเทศของพวกเขาเป็นครั้งแรกที่สาธารณรัฐเช็กคือยูโร 1996 ที่พวกเขาเสร็จสิ้นการวิ่งขึ้นเสร็จที่ดีที่สุดของพวกเขาในการแข่งขันระหว่างประเทศใด ๆ แม้จะมีความสำเร็จแรกของพวกเขาที่พวกเขาได้ให้ความสำคัญเฉพาะในฟุตบอลโลก 2006 ทัวร์นาเมนต์ที่พวกเขาถูกกำจัดในรอบแรกของการแข่งขัน พวกเขาเผชิญชะตากรรมเดียวกันที่ ยูโร 2008 ลักษณะที่ปรากฏล่าสุดของพวกเขาในขั้นตอนสุดท้ายของการแข่งขันที่สำคัญ ล่าสุดผลงานในศึก ยูโร 2012 ที่โปแลนด์และยูเครนเป็นเจ้าภาพร่วมกัน เช็กสามารถผ่านรอบคัดเลือกและทะลุมาถึงรอบ 8 ทีมสุดท้าย ได้ โดยในกลุ่ม เช็กอยู่สายเดียวกับ รัสเซีย,กรีซ และ เจ้าภาพ โปแลนด์ โดยเช็กเป็นแชมป์กลุ่ม ซึ่ง ชนะ 2 เสมอ 0 แพ้ 1 และผ่านเข้าไปสู่รอบ 8 ทีมสุดท้ายไปเจอกับ รองแชมป์กลุ่ม B คือ โปรตุเกส ซึ่งเช็กเน้นในเกมส์รับมาตลอดและจะรุกเป็นบางครั้ง แต่สุดท้ายก็พ่ายแพ้ให้กับ โปรตุเกส ไป 1-0 แต่ มิชาล บิเล็ค ผู้จัดการทีมของเช็ก ยอมรับว่าทีมของตนสู้เต็มที่แล้วและทำผลงานได้ดีกว่าความคาดหม.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและฟุตบอลทีมชาติเช็กเกีย

พ.ศ. 2457

ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและพ.ศ. 2457

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระยาชลยุทธโยธินทร์ (อองเดร ดู เปลซี เดอ ริเชอลิเออ)

ลเรือโท พระยาชลยุทธโยธินทร์ (อองเดร ดูว์ เปลซี เดอ รีเชอลีเยอ) หรือ กัปตัน ริเชอลิเออ (André du Plessis de Richelieu, 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและพระยาชลยุทธโยธินทร์ (อองเดร ดู เปลซี เดอ ริเชอลิเออ)

พระราชวังฮอฟบวร์ค

ปีกเนือนบวร์ค เบื้องหน้าคือพระราชานุสาวรีย์ เจ้าชายยูจีนแห่งซาวอย พระราชวังฮอฟบวร์ค (Hofburg Palace) เป็นอดีตพระราชวังหลวงใจกลางกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ส่วนหนึ่งของพระราชวังในปัจจุบันเป็นที่พำนักและทำเนียบของประธานาธิบดีออสเตรีย พระราชวังสร้างในศตวรรษที่ 13 และมีการต่อเติมขยายส่วนเรื่อยมา พระราชวังแห่งนี้เป็นเสมือนหนึ่งศูนย์รวมอำนาจการปกครองที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุโรปและประวัติศาสตร์ออสเตรีย โดยเฉพาะในยุคของราชวงศ์ฮับส์บูร์กซึ่งปกครองจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี สมาชิกพระราชวงศ์มักจะพำนักที่พระราชวังแห่งนี้ในฤดูหนาว และพำนักที่พระราชวังเชินบรุนน์ในฤดูร้อน.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและพระราชวังฮอฟบวร์ค

พระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งเซอร์เบีย

ระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งเซอร์เบีย หรือ อเล็๋กซานเดอร์ โอเบรโนวิก (เซอร์เบีย: Александар Обреновић; 14 สิงหาคม ค.ศ. 1876 - 11 มิถุนายน ค.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งเซอร์เบีย

พระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย

ระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย (Kalākaua) หรือ สมเด็จพระราชาธิบดีเดวิด ลาอาเมอา คามานาคาปูอู มาฮีนูลานี นาไลอาเอฮูโอกาลานี ลูมีอาลานี คาลาคาอัว (David Laamea Kamanakapuu Mahinulani Nalaiaehuokalani Lumialani Kalākaua) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 7 แห่งราชอาณาจักรฮาวาย ต่อจากพระเจ้าลูนาลิโลแห่งฮาวาย พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกในราชวงศ์คาลาคาอัวและถือได้ว่าพระองค์เป็นสมเด็จพระราชาธิบดีพระองค์สุดท้ายของฮาวาย เนื่องจากรัชกาลต่อจากพระองค์ซึ่งเป็นรัชกาลสุดท้ายดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชินีนาถ พระเจ้าคาลาคาอัวทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 1874 จนถึง 20 มกราคม 1891 โดยในระหว่างครองราชย์พระองค์ทรงได้รับฉายาว่า The Merrie Monarch.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและพระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย

พระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย

ระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2404 — 10 กันยายน พ.ศ. 2491; พระนามเมื่อประสูติ: เจ้าชายเฟอร์ดินานด์ แม็กซิมิลเลียน คาร์ล ลีโอโปลด์ มาเรียแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา-โคฮารี) ทรงเป็นองค์อธิปัตย์แห่งบัลแกเรีย และหลังจากนั้นทรงดำรงเป็นพระเจ้าซาร์แห่งบัลแกเรีย ทรงเป็นทั้งนักประพันธ์,นักพฤกษาศาสตร์,นักกีฏวิทยาและเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านแสตมป.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและพระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย

พอล มุนี

ฟรดริช เมชีแลม ไมเออร์ เวย์เซนฟรอนด์ (Frederich Meshilem Meier Weisenfreund; 22 กันยายน ค.ศ. 1895 – 25 สิงหาคม ค.ศ. 1967) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน เกิดในลวีฟและเติบโตในชิคาโก มีผลงานการแสดงภาพยนตร์ทั้งหมด 25 เรื่อง เข้าชิงรางวัลออสการ์ 4 ครั้ง และได้รับรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม จากการรับบทเป็นหลุยส์ ปาสเตอร์ ในภาพยนตร์เรื่อง The Story of Louis Pasteur (1936)Osborne, Robert; Miller, Frank.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและพอล มุนี

พอล ลูคัส

อล ลูคัส (Paul Lukas; 26 พฤษภาคม ค.ศ. 1891 – 15 สิงหาคม ค.ศ. 1971) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน เกิดในครอบครัวชาวยิวที่เมืองบูดาเปสต์ จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ในปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและพอล ลูคัส

พอล แอร์ดิช

อล แอร์ดิช (Paul Erdős บางครั้งสะกด Erdos หรือ Erdös; Erdős Pál; 26 มี.ค. พ.ศ. 2456 - 20 ก.ย. พ.ศ. 2539) เป็นนักคณิตศาสตร์ผู้โดดเด่น ทั้งในด้านผลงาน และพฤติกรรมอันแปลกประหลาด ผลงานตีพิมพ์ของเขามีจำนวนมหาศาล มีผู้ร่วมตีพิมพ์รวมแล้วนับร้อยคน และเกี่ยวพันกับหลาย ๆ สาขาในคณิตศาสตร์ อาทิ คณิตศาสตร์เชิงการจัด ทฤษฎีกราฟ ทฤษฎีจำนวน การวิเคราะห์แบบคลาสสิก ทฤษฎีการประมาณ ทฤษฎีเซต และ ทฤษฎีความน่าจะเป็น.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและพอล แอร์ดิช

พันธมิตรฝรั่งเศส-รัสเซีย

ันธมิตรฝรั่งเศส-รัสเซีย เป็นพันธมิตรทางการทหารระหว่างสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 กับจักรวรรดิรัสเซีย ซึ่งมีผลตั้งแต..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและพันธมิตรฝรั่งเศส-รัสเซีย

พันธมิตรแปดชาติ

thumb พันธมิตรแปดชาติ (Eight-Nation Alliance) เป็นชื่อเรียกพันธมิตรของกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น จักรวรรดิเยอรมนี จักรวรรดิรัสเซีย จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ราชอาณาจักรอิตาลี สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และสาธารณรัฐฝรั่งเศส ซึ่งรุกรานจักรวรรดิจีนภายใต้การปกครองของราชวงศ์ชิงสมัยซูสีไทเฮา (Cíxǐ Tàihòu; Empress Dowager Cixi) ช่วงมีกบฏนักมวย และการปิดล้อมสถานอัครราชทูตในกรุงปักกิ่งเมื่อฤดูร้อนของปี 1900.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและพันธมิตรแปดชาติ

พิธีสารนักมวย

ีสารนักมวย (Boxer Protocol) หรือชื่ออย่างเป็นทางการในโลกตะวันตกว่า พิธีสารสุดท้ายว่าด้วยการระงับความวุ่นวายระหว่างออสเตรีย-ฮังการี เบลเยียม ฝรั่งเศส เยอรมนี บริเตนใหญ่ อิตาลี ญี่ปุ่น เนเธอร์แลนด์ รัสเซีย สเปน สหรัฐ กับจีน..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและพิธีสารนักมวย

กบฏนักมวย

กบฏนักมวย (Boxer Rebellion) หรือ ศึกพันธมิตรแปดชาติ เป็นการก่อความไม่สงบเพื่อต่อต้านจักรวรรดินิยมและคริสต์ศาสนานำโดย "สมาคมอี้เหอถวน" ในสมัยศตวรรษที่ 19 ชาวต่างชาติได้เข้ามาค้าขายในประเทศจีนนานเข้า ชาวต่างชาติก็เริ่มเข้ามามีอิทธิพลในจีนและได้ส่งกำลังทหาร อาวุธที่ทันสมัยและมิชชันนารีเข้าไปเผยแพร่ศาสนาคริสต์ เนื่องจากเหตุการณ์ดังกล่าวทำให้เกิดการรวมกลุ่มของชาวจีนผู้รักชาติเรียกว่า "กบฏนักมวย" ขึ้น นักมวยจะฝึกกังฟูซึ่งพวกเขาเชื่อว่าจะสามารถต่อกรกับผู้รุกรานจาก ยุโรป อเมริกาและญี่ปุ่นได้ กบฏนักมวยได้ทำการลอบสังหารมิชชันนารีชาวตะวันตก ประณามชาวต่างชาติ และเผาโบสถ์ ฯลฯ กบฏนักมวยได้รับการสนับสนุนจากซูสีไทเฮามาก ทั้งด้านการส่งทัพหลวงมาช่วยและเสริมอาวุธยุทธโธปกรณ์ต่างๆ ซึ่งหลังจากกลุ่มกบฏนักมวยถูกปราบได้ไม่นานก็เกิดการโค่นล้มราชวงศ์ชิงขึ้น.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและกบฏนักมวย

กัฟรีโล ปรินซีป

กัฟรีโล ปรินซีป (อักษรซีริลลิก: Гаврило Принцип Gavrilo Printsip; Gavrilo Princip; 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1894 — 28 เมษายน ค.ศ. 1918) เป็นคนชาวเซอร์เบีย กลุ่มยิว และเป็นสมาชิกกลุ่ม "มือดำ" ปรินซีปเป็นผู้ลอบปลงพระชนม์ อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย มกุฎราชกุมารแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และโซฟี ดัชเชสแห่งโฮเฮนเบิร์กพระชายาที่ เมืองซาราเยโว ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซึ่งขณะนั้น ยังเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีอยู่ ในวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและกัฟรีโล ปรินซีป

การบุกครองแอลเบเนียของอิตาลี

การรุกรานแอลเบเนียของอิตาลี (7-12 เมษายน ค.ศ. 1939) เป็นการรบระยะสั้นระหว่างราชอาณาจักรอิตาลีกับราชอาณาจักรแอลเบเนีย ซึ่งสิ้นสุดลงด้วยความพ่ายแพ้ของแอลเบเนีย ความขัดแย้งเป็นผลมาจากนโยบายขยายตัวของผู้เผด็จการอิตาลี มุสโสลินี แอลเบเนียถูกยึดครองอย่างรวดเร็วโดยกองกำลังอิตาลี พระเจ้าซ็อกที่ 1 ทรงถูกเนรเทศ และแอลเบเนียกลายเป็นรัฐในอารักขาของอิตาลีหลังจากสงคราม แอลเบเนียมีความสำคัญทางยุทธศาสตร์อย่างมากสำหรับราชอาณาจักรอิตาลี โดยที่นักยุทธศาสตร์มองว่า โวโรร่าและเกาะซาแซน ที่ทางเข้าอ่าวโวโรร่า จะเป็นประโยชน์แก่อิตาลีอย่างมากในการควบคุมทางเข้าทะเลเอเดรียติก นอกจากนี้ แอลเบเนียยังสามารถเป็นหัวหาดของอิตาลีในแถบบอลข่าน ก่อนหน้าสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง อิตาลีและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ได้ควบคุมการสร้างรัฐแอลเบเนียอิสระ เมื่อสงครามอุบัติขึ้น อิตาลีได้ทำลายโอกาสที่จะยึดครองส่วนใต้ของแอลเบเนีย เพื่อหลีกเลี่ยงมิให้มันถูกยึดครองโดยออสเตรีย-ฮังการี แต่ความสำเร็จของออสเตรีย-ฮังการีก็ไม่ยืนยาว ปัญหาภายในหลังสงครามและการต่อต้านของแอลเบเนียที่ยุทธการโวโรร่าได้ทำให้อิตาลีต้องถอนตัวออกในปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและการบุกครองแอลเบเนียของอิตาลี

การทัพบอลข่าน (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)

การทัพบอลข่านหรือเขตสงครามบอลข่านในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเป็นการสู้รบระหว่างฝ่ายมหาอำนาจกลาง ประกอบด้วยออสเตรีย-ฮังการี บัลแกเรีย เยอรมนี และจักรวรรดิออตโตมันบนฝ่ายหนึ่ง และฝ่ายสัมพันธมิตรประกอบด้วยฝรั่งเศส มอนเตเนโกร รัสเซีย เซอร์เบีย และสหราชอาณาณาจักร (และต่อมาโรมาเนียและกรีซที่อยู่ข้างฝ่ายสัมพันธมิตร) บนอีกฝ่ายหนึ่ง.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและการทัพบอลข่าน (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)

การแสดงนิทรรศการนานาชาติ

สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร เสด็จเปิดงานเวิลด์ เอ็กซ์โปครั้งแรกในกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ในปี ค.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและการแสดงนิทรรศการนานาชาติ

การแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก 1910

การแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก พ.ศ. 2453 จัดขึ้นทั้งหมด 2 สนาม โดยสนามแรกจัดขึ้นที่ จักรวรรดิเยอรมัน และ สนามที่ 2 จัดขึ้นที่ จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและการแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก 1910

การแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก 1911

การแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก พ.ศ. 2454 จัดขึ้นทั้งหมด 4 สนาม โดยสามสนามแรกจัดขึ้นที่ จักรวรรดิเยอรมัน และ สนามที่ 4 จัดขึ้นที่ จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและการแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก 1911

การให้เอกราช

การให้เอกราช (decolonization หรือ decolonisation) หมายถึงล้มล้างลัทธิล่าอาณานิคม การก่อตั้งวิธีการปกครองหรือองค์กรบริการอำนาจผ่านทางการสร้างข้อตกลงกับประเทศอื่น ๆ หรือเขตอำนาจศาล คำดังกล่าวมักหมายถึงการได้รับเอกราชของอาณานิคมและรัฐในอารักขาของชาติตะวันตกในทวีปเอเชียและแอฟริกาหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง การบรรลุการให้เอกราชเป็นผลมาจากการได้รับเอกราช การผสมผสานเข้ากับอำนาจการบริหารหรือรัฐอื่น หรือการสร้างสถานะ "การรวมตัวเสรี" คณะกรรมการพิเศษด้านการให้เอกราชของสหประชาชาติ ระบุว่า กระบวนการให้เอกราชนั้น ไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากแนวคิดของการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง การให้เอกราชอาจรวมไปถึงการเจรจาอย่างสันติ และ/หรือการปฏิบัติอย่างรุนแรง และการต่อสู้ด้วยกำลังของประชากรพื้นเมือง การให้เอกราชอาจเป็นกิจการภายในหรืออาจเกี่ยวข้องกับการแทรกแซงจากอำนาจต่างประเทศหรือองค์กรระหว่างประเทศ เช่น สันนิบาติชาติหรือสหประชาชาติ ก็ได้ ถึงแม้ว่าตัวอย่างของการให้เอกราชจะพบได้นับแต่สมัยโบราณเป็นต้นมา ในช่วงเวลาสมัยใหม่ มีช่วงเวลาการให้เอกราชที่เฉพาะเป็นจำนวนมาก อาทิ การล่มสลายของจักรวรรดิสเปนในคริสต์ศตวรรษที่ 19 การล่มสลายของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี จักรวรรดิออตโตมัน และจักรวรรดิรัสเซียภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง การล่มสลายของจักรวรรดิอังกฤษ จักรวรรดิฝรั่งเศส จักรวรรดิเยอรมัน และจักรวรรดิอาณานิคมอิตาลี ในช่วงต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง และการล่มสลายของสหภาพโซเวียตภายหลังกำแพงเบอร์ลินถูกพังทลาย ในปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและการให้เอกราช

การเลิกล้มราชาธิปไตย

ในประวัติศาสตร์โลก มีการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ในหลายประเทศทั่วโลก สาเหตุการล่มสลายของราชวงศ์อาจเป็นผลมาจากการปฏิวัติ, การตั้งสาธารณรัฐ, การลงประชามติของประชาชน, การรัฐประหาร หรือจากสงคราม.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและการเลิกล้มราชาธิปไตย

การเสด็จประพาสยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

การเสด็จประพาสยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นการเสด็จพระราชดำเนินไปยังต่างประเทศในทวีปยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรสยาม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสานสัมพันธไมตรีแก่ประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป เพื่อให้ประเทศที่พระองค์เสด็จประพาสเหล่านั้นมองเห็นว่าประเทศสยามเป็นประเทศที่มีการพัฒนาตนเองและไม่ได้ล้าหลังป่าเถื่อน และเพื่อโอกาสในการร่วมกันแก้ไขปัญหาความมั่นคงและส่งเสริมความเป็นเอกราชของประเทศสยาม แม้จะอยู่ในช่วงท่ามกลางยุคล่าอาณานิคมก็ตาม ทั้งนี้ก็เพราะมีมูลเหตุมาจากกรณีพิพาทระหว่างสยามกับฝรั่งเศสในเหตุการณ์วิกฤตการณ์ ร.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและการเสด็จประพาสยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

กาเรล ชาเปก

กาเรล ชาเปก (Karel Čapek,; 9 มกราคม พ.ศ. 2433 – 25 ธันวาคม พ.ศ. 2481) เป็นนักเขียนชาวเช็ก ผู้ริเริ่มใช้คำว่า robot (หุ่นยนต์) ซึ่งปรากฏอยู่ในบทละครเรื่อง R.U.R.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและกาเรล ชาเปก

กุสตาฟ ยานี

วิเตซ กุสตาฟ ยานี (Gusztáv Jány) เป็นผู้บัญชาการฮังการีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้บังคับบัญชากองทัพฮังการีที่สองในยุทธการที่สตาลินกราดต่อมาเขาถูกตัตสินว่ามีความผิดในข้อหาก่ออาชญากรรมสงครามและประหารชีวิต.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและกุสตาฟ ยานี

กุสตาว ฮูซาก

กุสตาว ฮูซาก (Gustáv Husák) เป็นนักการเมืองชาวสโลวัก ประธานาธิบดีแห่งเชโกสโลวาเกีย และเลขาธิการกลางแห่งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเชโกสโลวาเกีย สมัยที่เขาปกครองมีชื่อเรียกว่า สมัยปรับให้เป็นปกติ (Normalization) หลังจากปรากสปริง โดยในสมัยนี้ฮูซากปกครองประเทศอย่างเข้มงวดและใกล้ชิดกับทางมอสโกมากขึ้น ก่อนที่จะถูกขับออกจากตำแหน่งประธานาธิบดีในเหตุการณ์การปฏิวัติกำมะหยี่ หมวดหมู่:ชาวสโลวาเกีย หมวดหมู่:นักลัทธิคอมมิวนิสต์ หมวดหมู่:วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและกุสตาว ฮูซาก

ฝ่ายมหาอำนาจกลาง

ฝ่ายมหาอำนาจกลาง (Central Powers) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจและเป็นพันธมิตรทางการทหารกลุ่มหนึ่งในทวีปยุโรป ซึ่งร่วมมือกันต่อสู้กับฝ่ายสัมพันธมิตรในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นำโดยจักรวรรดิเยอรมัน จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และจักรวรรดิออตโตมัน.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและฝ่ายมหาอำนาจกลาง

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

แผนที่โลกแสดงฝ่ายต่าง ๆ ของผู้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สีเขียวคือฝ่ายสัมพันธมิตร สีส้มคือฝ่ายมหาอำนาจกลาง และสีเทาคือประเทศที่เป็นกลาง พันธมิตรทางทหารในทวีปยุโรปก่อนเกิดสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (Forces de l'Entente / Alliés; Alleati; Союзники, Soyuzniki) เป็นประเทศที่ทำสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สมาชิกของข้อตกลงไตรภาคีได้แก่ สาธารณรัฐฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ และจักรวรรดิรัสเซีย ต่อมา อิตาลีเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายไตรภาคีในปี 1915 ส่วนญี่ปุ่น เบลเยียม เซอร์เบีย กรีซ มอนเตเนโกร โรมาเนีย และ ลีเจียนเชกโกสโลวาเกีย เป็นสมาชิกรองของข้อตกลง.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

ภาษาฮังการี

ษาฮังการี (Magyar nyelv: มอดยอร นแยลฟ) เป็นภาษากลุ่มฟินโน-อูกริคมีผู้พูดในประเทศฮังการีและในประเทศเพื่อนบ้าน มีผู้พูดภาษาฮังการีประมาณ 14.7ล้านคน จำนวน 10ล้านคนอาศัยอยู่ในประเทศฮังการี ในประเทศฮังการีและประเทศเพื่อนบ้าน ภาษาฮังการีเป็นภาษาทางการหนึ่งใน 24ภาษาของสหภาพยุโรป ภายนอกประเทศฮังการี มีผู้พูดภาษานี้ในกลุ่มชนชาวฮังการี (Magyarok: มอดยอโร็ค) ในประเทศสโลวาเกีย แถบตะวันตกของประเทศยูเครน ประเทศสโลวีเนียตอนเหนือ อาณาเขตตะวันตกและตอนกลางของประเทศโรมาเนีย (ทรานซิลเวเนีย) ประเทศเซอร์เบียตอนเหนือในเขตวอยโวดีนา และประเทศโครเอเชียตอนเหนือในเขตวอยโวดีนา เนื่องจากการถูกแยกประเทศราชอาณาจักรฮังการี ภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและภาษาฮังการี

มาเรีย มันเดอ

มาเรีย มันเดอ(Maria Mandl) (เช่นเดียวกับการสะกดว่า Mandel; 10 มกราคม ค.ศ. 1912 – 24 มกราคม ค.ศ. 1948) เป็นเจ้าหน้าที่เอ็สเอ็ส-เฮลเฟอริน(SS-Helferin)หรือผู้ช่วยหญิงเอ็สเอ็ส ชาวออสเตรียที่มีชื่อเสียงที่เลวร้ายที่สุดสำหรับบทบาทสำคัญของเธอในการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ของนาซีหรือฮอโลคอสต์ในฐานะเจ้าหน้าที่ระดับสูงที่ค่ายมรณะเอาชวิทซ์-เบียร์เคเนา ที่เชื่อว่าเธอมีส่วนร่วมอย่างโดยตรงในการเสียชีวิตของนักโทษหญิงทั้งหมด 500,000 คน ภายหลังสงคราม เธอได้พยายามหลบหนีไปบ้านเกิดแต่กลับถูกจับกุมได้และถูกคุมขังเอาไว้ จนกระทั่งในปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและมาเรีย มันเดอ

มาเรียแห่งเท็ค

มาเรียแห่งเท็ค (Maria von Teck) หรือ เจ้าหญิงวิกตอเรีย แมรี ออกัสตา ลูอิส โอลกา พอลีน คลอดีน แอกเนสแห่งเท็ค (Princess Victoria Mary Augusta Louise Olga Pauline Claudine Agnes of Teck) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค ผู้ซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ พระนางเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าจอร์จที่ 5 จึงถูกออกพระนามว่า สมเด็จพระราชินีแมรี (Queen Mary) พระนางยังทรงมีพระยศเป็นจักรพรรดินีแห่งอินเดียและพระราชินีแห่งไอร์แลนด์อีกด้วย หกสัปดาห์ภายหลังจากการหมั้นหมายกับเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์ รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ เจ้าชายสิ้นพระชนม์ด้วยโรคปวดบวม ในปีต่อมาเจ้าหญิงแมรีทรงหมั้นหมายกับรัชทายาทพระองค์ใหม่ พระอนุชาในเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ คือ เจ้าชายจอร์จ ในฐานะสมเด็จพระราชินีอัครมเหสีตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและมาเรียแห่งเท็ค

มิกโลช โฮร์ตี

วิเตซ มิกโลช โฮร์ตี แห่งน็อจบาญอ (nagybányai Horthy Miklós,; Nikolaus Horthy Ritter von Nagybánya) เป็นพลเรือเอกและรัฐบุรุษชาวฮังการี เขาดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแห่งราชอาณาจักรฮังการีในสมัยระหว่างสงคราม.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและมิกโลช โฮร์ตี

มิลตัน ฟรีดแมน

มิลตัน ฟรีดแมน มิลตัน ฟรีดแมน (Milton Friedman; 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2455-16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549) เจ้าของประโยคที่โด่งดัง “โลกนี้ไม่มีอะไรที่ได้มาฟรี ๆ” (There's no such thing as a free lunch.) เป็นนักเศรษฐศาสตร์ประจำสำนักเศรษฐศาสตร์เสรีนิยมของมหาวิทยาลัยชิคาโก สหรัฐอเมริกา ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ ในปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและมิลตัน ฟรีดแมน

มีชาเอลา ฟอน ฮับส์บูร์ก

อาร์คดัชเชสไมเคิลล่าแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: ไมเคิลล่า มาเรีย เมเดอลีน คีเลียน่า; Michaela Maria Madeleine Kiliana von Habsburg-Lothringen) ทรงเป็นอาร์คดัชเชสแห่งออสเตรีย และเจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการี เป็นพระราชธิดาองค์ที่ 3 ในออตโต มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย และเจ้าหญิงเรจิน่าแห่งแซ็กซ์-ไมนินเจน ประสูติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและมีชาเอลา ฟอน ฮับส์บูร์ก

มีป คีส

แฮร์มีเนอ ซันทรูชิทซ์ (Hermine Santruschitz; 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2452 – 11 มกราคม พ.ศ. 2553) หรือเป็นที่รู้จักทั่วใปในภาษาดัตช์ว่า มีป คีส (Miep Gies) คือหนึ่งในชาวดัตช์ผู้ช่วยเหลืออันเนอ ฟรังค์, ครอบครัวของเธอ และชาวยิวอีกสี่คนในการหลบซ่อนตัวจากนาซีเยอรมัน ซึ่งทั้งหมดซ่อนตัวอยู่ในส่วนต่อเติมอาคารที่ทำการของบริษัทค้าขายของออทโท ฟรังค์ บิดาของอันเนอ ฟรังค์ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เดิมทีมีป คีส ถือสัญชาติออสเตรียโดยกำเนิด แต่ในปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและมีป คีส

มงแต็สกีเยอ

ร์ล-หลุยส์ เดอ เซอกงดา บารอนแห่งลาแบรดและมงแต็สกีเยอ (Charles-Louis de Secondat, baron de La Brède et de Montesquieu) หรือรู้จักกันในชื่อ มงแต็สกีเยอ (Montesquieu) เป็นนักวิพากษ์สังคมและนักคิดทางการเมืองชาวฝรั่งเศสผู้มีชีวิตอยู่ในยุคเรืองปัญญา มีชื่อเสียงเกี่ยวกับทฤษฎีการแบ่งแยกอำนาจที่พูดถึงในการปกครองสมัยใหม่และใช้ในรัฐธรรมนูญในหลายประเทศ และเป็นผู้ที่ทำให้คำว่าระบบเจ้าขุนมูลนายและจักรวรรดิไบแซนไทน์ใช้กันอย่างแพร่หล.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและมงแต็สกีเยอ

ยอซีป บรอซ ตีโต

อซีป บรอซ (Јосип Броз/Josip Broz) หรือ ตีโต (Тито/Tito, พ.ศ. 2435-2523) เป็นรัฐบุรุษและประธานาธิบดีของประเทศยูโกสลาเวีย (พ.ศ. 2496-2523) เกิดที่เมืองคุมรอเวตส์ อาณาจักรโครเอเชีย-สลาโวเนียซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันเมืองนี้อยู่ในประเทศโครเอเชีย) คำว่า "ตีโต" แปลว่า "นั่น-นี่" เป็นสมญานามที่ได้มาจากการชอบสั่งนั่นสั่งนี่เป็นประจำของเขาเมื่อมีอำนาจ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 ตีโตเข้าประจำการเป็นทหารในกองทัพบกออสเตรีย-ฮังการี ถูกจับเป็นเชลยโดยกองทัพรัสเซียและได้กลายเป็นคอมมิวนิสต์ในเวลาต่อมา ตีโตถูกจองจำเนื่องจากการสมรู้ร่วมคิดต่อต้านระบอบการปกครองในยูโกสลาเวีย (..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและยอซีป บรอซ ตีโต

ยอเซ็ฟ ติซอ

อเซ็ฟ ติซอ (Jozef Tiso; 13 ตุลาคม ค.ศ. 1887 – 18 เมษายน ค.ศ. 1947) เป็นนักบวชโรมันคาทอลิกชาวสโลวักและนักการเมืองจากพรรคประชาชนสโลวัก ระหว่างปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและยอเซ็ฟ ติซอ

ยัน เอวังเกลิสตา ปูร์กิเญ

ัน เอวังเกลิสตา ปูร์กิเญ (Jan Evangelista Purkyně,; 17 ธันวาคม ค.ศ. 1787 – 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1869) หรือ โยฮันน์ เอวังเกลิสท์ พูร์คินเยอ (Johann Evangelist Purkinje) เป็นนักกายวิภาคศาสตร์และนักสรีรวิทยาชาวเช็ก.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและยัน เอวังเกลิสตา ปูร์กิเญ

ยาโนช กาดาร์

นช กาดาร์ (János Kádár) เป็นผู้นำคอมมิวนิสต์ฮังการีและเป็นเลขาธิการกลางพรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี เขาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของประเทศตั้งแต..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและยาโนช กาดาร์

ยุทธนาวีที่พอร์ตอาเธอร์

ทธนาวีพอร์ตอาเธอร์ (ญี่ปุ่น: 旅順港海戦 / 旅順口海戦 เรียวจุงโก ไคเซ็ง หรือ 旅順港外海戦, เรียวจุงโกไง ไคเซ็ง) เป็นการรบกันทางทะเลเมื่อวันที่ 8-9 กุมภาพันธ์ ค.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและยุทธนาวีที่พอร์ตอาเธอร์

ระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ

การจราจรซ้ายมือ จุดเปลี่ยนเส้นทางจราจรที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาว การจราจรซ้ายมือ (left-hand traffic (LHT)) และการจราจรขวามือ (right-hand traffic (RHT)) เป็นกฎระเบียบที่กำหนดสำหรับการจราจรแบบสองทิศทางทุกรูปแบบให้ขับยานพาหนะชิดซ้ายหรือชิดขวาบนถนนยกเว้นในกรณีอื่น ๆ ที่กำหนด การจราจรนี้เป็นพื้นฐานของทิศทางจราจรซึ่งในบางครั้งถูกเรียกว่าเป็นกฎของถนน มี 163 ประเทศและดินแดนที่ใช้การจราจรขวามือ ในขณะที่ 76 ประเทศที่เหลือใช้การจราจรซ้ายมือ ประเทศที่ใช้การจราจรซ้ายมือคิดเป็น 1 ใน 6 ของพื้นที่และ 1 ใน 4 ของถนนบนโลก ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 บางประเทศรวมถึงแคนาดา สเปน และบราซิลมีกฎของการจราจรที่ต่างกันในแต่ละพื้นที่ของประเทศ และระหว่างทศวรรษที่ 1900 หลายประเทศได้กำหนดมาตรฐานในเขตอำนาจรัฐและเปลี่ยนจากการจราจรซ้ายมือเป็นขวามือเพื่อให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมในแต่ละภูมิภาค ใน..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ

รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ

มส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต รัชทายาทที่ได้รับสมมุติแห่งอังกฤษและสกอตแลนด์ ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ (pretender) คือ ผู้อ้างการมีสิทธิ์ในตำแหน่งเกียรติหรือยศที่ไม่มีอยู่แล้ว ใช้กับอดีตพระมหากษัตริย์ หรือผู้สืบเชื้อสายอดีตพระมหากษัตริย์ซึ่งราชบัลลังก์มีผู้ครองแล้วหรือมีคู่แข่งอ้าง หรือถูกเลิกไปแล้วมากที่สุด ภาษาอังกฤษคำว่า “Pretend” มาจากภาษาฝรั่งเศส “prétendre” ที่แปลว่า ยื่นเสนอ เสนอ หรืออ้าง นอกจากนั้นคำว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ” ยังใช้กับกลุ่มผู้ที่พยายามอ้างสิทธิในนามของผู้อื่นไม่ว่าผู้นั้นจะทราบหรือทำการอ้างเองหรือไม่ และเป็นคำที่ใช้ได้ทั้งสำหรับผู้อ้างที่มีสิทธิที่แท้จริงในราชบัลลังก์ เช่น กรณีผู้อ้างหลายคนระหว่างสงครามดอกกุหลาบ หรือผู้ประดิษฐ์ข้ออ้างขึ้นเองในกรณีของแลมเบิร์ต ซิมเนล (Lambert Simnel) ผู้อ้างว่ามีสิทธิในราชบัลลังก์ของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ บุคคลในกลุ่มหลังนี้มักจะอ้างใช้ชื่อของบุคคลที่เสียชีวิตไปแล้วหรือพระญาติพระวงศ์ที่หายสาบสูญไป ซึ่งบางที่ก็จะเรียกว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติเท็จ” (false pretender) รัชทายาทที่ได้รับสมมุติของพระสันตะปาปา เรียก “พระสันตะปาปาเท็จ” (antipope).

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและรัชทายาทที่ได้รับสมมุติ

รัฐประหารเดือนพฤษภาคม

การโค่นล้มอำนาจเดือนพฤษภาคม หรือ รัฐประหารเดือนพฤษภาคม (อังกฤษ: May Overthrow; May Coup; เซอร์เบีย: Мајски преврат, Majski prevrat) เป็นเหตุการณ์รัฐประหารในเซอร์เบีย ที่ซึ่งพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 โอเบรโนวิชและสมเด็จพระราชินีดรากาถูกลอบปลงพระชนม์ภายในพระราชวังหลวง กรุงเบลเกรด ในกลางดึกของวันที่ 28 - 29 พฤษภาคม..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและรัฐประหารเดือนพฤษภาคม

รัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ

รัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ (State of Slovenes, Croats and Serbs) เป็นรัฐที่ก่อตั้งขึ้นเพียงในระยะเวลาอันสั้น โดยตั้งอยู่ทางตอนใต้สุดของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บก่อตั้งขึ้นหลังจากการยุบตัวของจักรวรรดิหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยประชาชนชาวสโลวีน ชาวโครเอเชีย และชาวเซอร์เบีย รวมไปถึงชาวบอสนีแอก.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค (Haus de Habsburg) (House of Habsburg, บางครั้งเขียนว่า Hapsburg) เป็นราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดราชวงศ์หนึ่งในทวีปยุโรป ราชวงศ์นี้ได้ปกครองประเทศสเปนและประเทศออสเตรีย รวมเวลาทั้งหมดถึง 6 ศตวรรษ แต่ที่รู้จักกันดีมากที่สุดคือ การปกครองในตำแหน่งของ จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หลังจากได้มีการสถาปนาจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ขึ้นมา พระราชวงศ์นี้ได้ปกครองรัฐและประเทศต่าง ๆ ถึง 1,800 รั.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค

ราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรแดลเมเชีย

ราชอาณาจักรแดลเมเชีย (Königreich Dalmatien; Kraljevina Dalmacija; Kingdom of Dalmatia) เป็นราชอาณาจักรหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรียระหว่าง ค.ศ. 1815 จนถึง ค.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและราชอาณาจักรแดลเมเชีย

ราชอาณาจักรโบฮีเมีย

ราชอาณาจักรโบฮีเมีย (Kingdom of Bohemia; České království; Königreich Böhmen; Regnum Bohemiae) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในตอนกลางของทวีปยุโรปที่ได้รับการก่อตั้งโดยสารตราทองแห่งซิซิลีที่ออกโดยจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปี ค.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและราชอาณาจักรโบฮีเมีย

ราชอาณาจักรโรมาเนีย

ราชอาณาจักรโรมาเนีย (Regatul României (เรกาตูล โรมือเน่); Kingdom of Romania) เป็นรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออก ที่อยู่ในระหว่าง 13 มีนาคม..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและราชอาณาจักรโรมาเนีย

ราชอาณาจักรโปแลนด์ (ค.ศ. 1916–1918)

ราชอาณาจักรโปแลนด์ (Królestwo Polskie) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแห่งโปแลนด์ (Królestwo Regencyjne), เป็นโปแลนด์ หรือ รัฐหุ่นเชิดของจักรวรรดิเยอรมัน สถาปนาขึ้นระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 พฤศจิกายน..1916 ได้จัดตั้งคณะรัฐบาลโดยสมเด็จพระจักรพรรดิเยอรมัน และ ออสเตรีย-ฮังการี ประกาศใช้รัฐธรรมนูญเมื่อ..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและราชอาณาจักรโปแลนด์ (ค.ศ. 1916–1918)

ราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค

ราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค (Königreich Württemberg) เคยเป็นราชอาณาจักรหนึ่งของจักรวรรดิเยอรมัน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1806 - ค.ศ. 1918 ปัจจุบันอยู่ในเขตของรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทิมแบร์ค ประเทศเยอรมนี.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและรายชื่อสนธิสัญญา

รายชื่อธงในประเทศออสเตรีย

นี่คือธงต่างๆ ที่ใช้ในประเทศออสเตรีย สำหรับข้อมูลเกี่ยวกับธงชาติ ดูที่ ธงชาติออสเตรี.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและรายชื่อธงในประเทศออสเตรีย

รายชื่อธงในประเทศฮังการี

นื้อหาต่อไปนี้ว่าด้วยธงประเภทต่างๆ ที่ใช้ในฮังการี.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและรายชื่อธงในประเทศฮังการี

รายชื่อธงในประเทศโครเอเชีย

ตารางข้างล่างนี้แสดงภาพของธงต่างๆ ที่ใช้ใน สาธารณรัฐโครเอเชีย หรือใช้โดย ชาวโครแอท.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและรายชื่อธงในประเทศโครเอเชีย

รายชื่อทหารผ่านศึกคนสุดท้ายในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

นี่คือ รายชื่อทหารผ่านศึกคนสุดท้ายในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ที่เสียชีวิตแบ่งตามประเทศ บุคคลที่มีชีวิตรอดในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (28 กรกฎาคม 1914 – 11 พฤศจิกายน 1918) คนสุดท้ายคือ Florence Green, เป็นพลเมืองจาก จักรวรรดิบริติช ชึ่งอยู่ใน ฝ่ายสัมพันธมิตร เธอเสียชีวิตในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2012 ด้วยอายุ 110 ปี ส่วนทหารเรือที่ร่วมรบคนสุดท้ายคือ Claude Choules เขาสังกัด กองทัพเรือสหราชอาณาจักร (ต่อมาคือ กองทัพเรือออสเตรเลีย) เขาเสียชีวิตในวันที่ 5 พฤษภาคม 2011 ด้วยอายุ 110 ปี ส่วนทหารที่ร่วมรบใน สนามเพลาะ คนสุดท้ายคือ Harry Patch (กองทัพสหราชอาณาจักร) เขาเสียชีวิตในวันที่ 25 กรกฎาคม 2009 ด้วยอายุ 111 ปี และทหารผ่านศึกในฝ่ายมหาอำนาจกลาง ที่รอตชีวิดคนสุดท้ายคือ Franz Künstler จาก จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เขาเสียชีวิตในวันที่ 27 พฤษภาคม 2008 ด้วยอายุ 107 ปี จากข้อมูลของสารานุกรมบริตานิกา พบว่ามีทหารร่วมรบในสงครามรวม 65,038,810 นาย และมีทหารเสียชีวิตไป 9,750,103 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและรายชื่อทหารผ่านศึกคนสุดท้ายในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

รายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปยุโรป

นี่คือรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปยุโรป.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปยุโรป

รายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล

นี่คือ รายพระนามของพระมหากษัตริย์ที่ยังทรงครองราชย์อยู่ในปัจจุบัน เรียงตามลำดับปีที่ขึ้นครองราชสมบัติ รายพระนามนี้ ไม่ได้จำกัดเฉพาะประมุขของรัฐ ตัวอย่างเช่น สุลต่าน อับดุล เฮลิม มูอาดซัม ชา ไม่ได้เป็นประมุขที่มีอำนาจอธิปไตยของรัฐ, รายพระนามดังกล่าวลำดับไม่นับรวมถึงผู้ปกครองที่สถานะความเป็นพระมหากษัตริย์ยังคงพิสูจน์ไม่ได้ อย่างเช่น ดาไล ลามะ เทนซิน กัทโซ และพระมหากษัตริย์ที่ถูกขับออกจากราชสมบัติ อย่างเช่น สมเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 1 แห่งออสเตรีย ซึ่งอ้างว่าเป็นกษัตริย์แห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี นับตั้งแต่เดือนเมษายน..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและรายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล

รายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาล

นี่คือรายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาล ซึ่งเรียงลำดับพระมหากษัตริยที่ทรงครองราชย์ 60 ปีขึ้นไปตามรัชกาล.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและรายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาล

รายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย

นี่คือ รายชื่อของตัวละครในการ์ตูนชุด พลังอักษะ เฮตาเลี.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย

รายนามประมุขแห่งรัฐฮังการี

รายนามประมุขแห่งรัฐของประเทศฮังการี ตั้งแต่การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1848จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบันประมุขแห่งรัฐฮังการีเป็นตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ (Magyarország köztársasági elnöke) ประธานาธิบดีนั้นมาจากการเลือกตั้งโดยสมาชิกของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 5 ปี ซึ่งบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฮังการี ประธานาธิบดีคนปัจจุบันคือ ยาโนช อาแดร์ เป็นผู้ได้รับเลือกคนล่าสุดโดยเริ่มดำรงตำแหน่งวันที่ 10 พฤษภาคม..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและรายนามประมุขแห่งรัฐฮังการี

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (Nobels fredspris, Nobel Peace Prize) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

รางวัลเวียนนาครั้งที่หนึ่ง

รางวัลเวียนนาครั้งที่หนึ่งเป็นการลงนามสนธิสัญญา เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและรางวัลเวียนนาครั้งที่หนึ่ง

รูดอล์ฟ ชไตเนอร์

รูดอล์ฟ โยเซฟ ลอเรินซ์ ชไตเนอร์ (Rudolf Joseph Lorenz Steiner) เป็นนักปรัชญา, นักปฏิรูปสังคม และสถาปนิกชาวออสเตรีย เขามีชื่อเสียงขึ้นมาในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 จากการวิจารณ์แนวคิดและตีพิมพ์ผลงานด้านปรัชญาต่างๆ ผลงานชิ้นเด่นคือหนังสือ The Philosophy of Freedom เขากลายเป็นผู้ก่อตั้งองค์กรลับด้านเจตนิยมซึ่งต่อมาคือสำนักมานุษยวิทยา แนวคิดขององค์กรนี้ได้รับอิทธิพลมาจากเทวปรัชญาและอุดมคติเยอรมัน.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและรูดอล์ฟ ชไตเนอร์

ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์อดีตออสเตรีย-ฮังการี

นี่คือลำดับการสืบสันตติวงศ์แห่งราชบัลลังก์อิมพีเรียลออสเตรีย-ฮังการี ประมุขแห่งราชวงศ์ฮับส์บูร์กองค์ปัจจุบันคืออาร์คดยุคคาร์ล มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย-ฮังการี พระราชโอรสองค์แรกในสมเด็จพระจักรพรรดิอ๊อตโต้ที่ 1 แห่งออสเตรีย (สมเด็จพระราชาธิบดีอ๊อตโต้ที่ 2 แห่งฮังการี)กับ เจ้าหญิงเรจิน่าแห่งแซ็กซ์-ไมนินเจน.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและลำดับการสืบราชสันตติวงศ์อดีตออสเตรีย-ฮังการี

ลี สตราสเบิร์ก

ลี สตราสเบิร์ก (17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1901 - 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1982) เป็นนักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์ และครูสอนการแสดงชาวอเมริกัน เป็นผู้ก่อตั้งกลุ่มละครเวที The Group Theatre ร่วมกับแฮโรลด์ เคลอร์แมน ในปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและลี สตราสเบิร์ก

ลีเยพานาชาดอมอวีนอ

ลีเยพานาชาดอมอวีนอ เป็นเพลงชาติแห่งสาธารณรัฐโครเอเชีย โดยบทนำคือคำว่า Lijepa naša หมายถึง ความงดงามของข้า ใช้กันแพร่หลายในประเทศโครเอเชีย คำร้องต้นฉบับประพันธ์โดย อันทุน มีฮานอวิช (Antun Mihanović) ถูกตีพิมพ์ภายใต้ชื่อ "Horvatska domovina" ("Croatian homeland") ในปี 1835 เพลงเป็นผู้ประพันธ์โดย ยอซิป รุนยานิน (Josip Runjanin) ในปี 1846 บทเพลงได้เสร้จสิ้นลงตามที่เขียนไว้บนโน้ต และ ได้ประสานงานงานกับ วาโตรสลาฟ ลิชเติร์นเนกเกอร์ (Vatroslav Lichtenegger) ในปี 1861 และได้ไปดำเนินการเคารพเพลงชาติโครเอเชีย ในแต่ละปี มีความแตกต่างกัน เพลงชาติฉบับดั้งเดิมมี 15 บท รัฐสภาโครเอเชียยังมิได้รับรองการประกาศใช้เพลงชาติอย่างเป็นทางการ ในปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและลีเยพานาชาดอมอวีนอ

ลีเซอ ไมท์เนอร์

ลีเซอ ไมท์เนอร์ (Lise Meitner) เป็นนักฟิสิกส์สัญชาติออสเตรีย-สวีเดน ซึ่งศึกษาในด้านการสลายให้กัมมันตรังสีและฟิสิกส์นิวเคลียร์ เธอร่วมกับออทโท ฮาน เป็นผู้นำนักวิทยาศาสตร์กลุ่มเล็กๆที่ค้นพบนิวเคลียร์ฟิชชันของยูเรเนียมซึ่งเกิดขึ้นเมื่อได้รับนิวตรอนเพิ่มเข้าไป ไมท์เนอร์และฮานสามารถเข้าใจกระบวนการฟิชชันซึ่งแบ่งอะตอมนิวเคลียสของยูเรเนียมออกเป็น 2 อะตอมนิวเคลียสที่มีขนาดเล็กกว่า ซึ่งการจะเกิดขึ้นได้จำเป็นต้องปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมา นิวเคลียร์ฟิชชั่นจากเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์นั้น สามารถใช้สร้างความร้อนและแปรเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า การเข้าใจถึงกระบวนการนี้ได้เป็นรากฐานของการสร้างอาวุธนิวเคลียร์โดยสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ลีเซอ ไมท์เนอร์ เกิดในครอบครัวยิวในกรุงเวียนนา เมื่อแรกเกิดเธอมีชื่อว่า อลีเซอ บิดาของเธอเป็นนักกฎหมายชาวยิวกลุ่มแรกๆในออสเตรีย ตลอดช่วงการทำงานตลอดชีวิตเธอ เธอใช้เวลาอยู่ในกรุงเบอร์ลินยาวนานที่สุด โดยเป็นอาจารย์และหัวหน้าภาควิชาประจำสถาบันไคเซอร์วิลเฮล์ม เธอเป็นสตรีคนแรกที่ได้รับตำแหน่งศาสตร์จารย์ด้านฟิสิกส์ในประเทศเยอรมนี อย่างไรก็ตาม เธอถูกถอดออกจากตำแหน่งนี้เมื่อกฎหมายเนือร์นแบร์กเพื่อต่อต้านยิวถูกตราขึ้นโดยรัฐบาลนาซีในปี 1935 ภัยคุกคามจากระบอบนาซีทำให้เธอตัดสินใจอพยพไปยังสวีเดนในปี 1938 และอาศัยอยู่ที่นั่นเป็นเวลาหลายปีจนได้สัญชาติสวีเดน.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและลีเซอ ไมท์เนอร์

วัฒนธรรม

วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและวัฒนธรรม

วันเอกราช

วันประกาศเอกราช หรือ วันได้รับเอกราช เป็นวันเฉลิมฉลองเพื่อระลึกถึงสถานภาพความเป็นรัฐของชาติ โดยทั่วไปเกิดขึ้นหลังจากรอดพ้นจากการตกเป็นอาณานิคมของรัฐอื่น ส่วนใหญ่กำหนดให้เป็นวันหยุดของชาต.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและวันเอกราช

สมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม (การออกเสียงภาษาอื่น: His Majesty King Philippe of the Belgians; Sa Majesté le Roi Philippe des Belges; Zijne Majesteit de Koning Filip der Belgen; Seine Majestät der König Philipp der Belgier, เสด็จพระราชสมภพ 15 เมษายน ค.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม

สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย หรือ เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินเบอระ (มารี อเล็กซานดรา วิกตอเรีย, 27 ตุลาคม ค.ศ. 1875 - 18 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย

สมเด็จพระราชินีเจรัลดีนแห่งแอลเบเนีย

มเด็จพระราชินีเจรัลดีนแห่งแอลเบเนีย ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีใน พระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนีย และพระราชมารดาในเจ้าชายเลกาที่ 1 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนี.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสมเด็จพระราชินีเจรัลดีนแห่งแอลเบเนีย

สมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย

มเด็จพระราชาธิบดีอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย (เซอร์เบีย-โครเอเชีย: Aleksandar I Karađorđević) (16 ธันวาคม พ.ศ. 2431 - 9 ตุลาคม พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย

สมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชาธิบดีเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย (24 สิงหาคม พ.ศ. 2408 - 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2470) ทรงเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งราชอาณาจักรโรมาเนียตั้งแต่ 10 ตุลาคม พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย

สันนิบาตสามจักรพรรดิ

ักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย จักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี สันนิบาตสามจักรพรรดิ (League of the Three Emperors) เป็นพันธมิตรอันไม่มั่นคงระหว่างจักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย จักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย และจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสันนิบาตสามจักรพรรดิ

สาธารณรัฐเยอรมันออสเตรีย

รณรัฐเยอรมัน-ออสเตรีย หรือ เยอรมัน-ออสเตรีย (Republik Deutschösterreich หรือ Deutsch-Österreich, Republic of German-Austria หรือ German-Austria) เดิมเป็นรัฐหลงเหลือ (rump state) ของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งของบริเวณของผู้พูดภาษาเยอรมัน (ไม่ใช่ออสเตรียของเยอรมนี) กล่าวกันว่ามีเนื้อที่ทั้งหมด 118,311 ตารางกิโลเมตรและมีประชากร 10.4 คนที่รวมบริเวณที่ปัจจุบันคือออสเตรียและบริเวณของผู้พูดภาษาเยอรมัน (ซิสไลทาเนีย) ของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ซึ่งรวมทั้งจังหวัดโบลซาโน-โบลเซน และเมืองทาร์วิซิโอที่ปัจจุบันอยู่ในอิตาลี; ทางตอนใต้ของจังหวัดคารินเทีย และทางตอนใต้ของสไตเรียที่ปัจจุบันอยู่ในสโลวีเนียและซูเดเทินลันด์ (Sudetenland) และเยอรมันโบฮีเมีย (ต่อมาเป็นส่วนหนึ่งของซูเดเทินลันด์) ที่ปัจจุบันอยู่ในสาธารณรัฐเช็ก ออสเตรียของเยอรมัน.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสาธารณรัฐเยอรมันออสเตรีย

สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง

นิโต มุสโสลินีกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ สองผู้นำเผด็จการในทวีปยุโรปก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง สาเหตุเบื้องต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง คือ ความตึงเครียดเกี่ยวกับชาตินิยม ประเด็นปัญหาที่ไม่ได้รับการแก้ไข และความไม่พอใจอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และสมัยระหว่างสงครามในทวีปยุโรป รวมทั้งผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ลงเอยด้วยการปะทุของสงคราม ซึ่งมักเป็นที่เข้าใจว่าเป็นการบุกครองโปแลนด์ โดยนาซีเยอรมนี ความก้าวร้าวทางทหารนี้เป็นผลมาจากการตัดสินใจของผู้นำของเยอรมนีและญี่ปุ่น สงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้นจากการปฏิบัติอันก้าวร้าวและบรรจบกับการประกาศสงคราม และ/หรือ การต่อต้านด้วยกำลัง.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง

สำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ

ำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ (International Bureau of Weights and Measures, Bureau international des poids et mesuresอ่านว่า บูโรแองแตร์นาเซียนาลเดปัวเซเมอซูร์ แปลตรงตัวคือ สำนักระหว่างประเทศว่าด้วยการชั่งและการวัด ย่อ BIPM เบอีเปเอ็ม หรือบีไอพีเอ็ม) เป็นองค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐานหน่วยชั่งตวงวัด จัดตั้งขึ้นตามอนุสัญญาเมตริก เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ

สุลต่านอับดุล อะซีซ

ลต่านอัลดุล อะซีซ สุลต่านอัลดุล อะซีซ (Abdul Aziz; (ภาษาตุรกีออตโตมัน: عبد العزيز / `Abdü’l-`Azīz) เป็นสุลต่านแห่งจักรวรรดิออตโตมาน ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสุลต่านอับดุล อะซีซ

สุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2

ลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2 ตราของสุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2 สุลต่านอับดุลฮามิดที่สอง (Abdul Hamid II; ภาษาตุรกีออตโตมาน: عبد الحميد ثانی, İkinci Abdülhamit)) พระองค์เป็นสุลต่านระหว่าง พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2

สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น

งครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น (Russo-Japanese War) เป็น สงครามครั้งใหญ่ครั้งแรกในศตวรรษที่ 20 อันเนื่องมาจากลัทธิจักรวรรดินิยมของจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิญี่ปุ่น ในบริเวณทางใต้ของแมนจูเรียในพื้นที่คาบสมุทรเหลียวตง, เสิ่นหยาง และบริเวณเกาหลีในพื้นที่คาบสมุทรเกาหลี, ทะเลเหลือง รัสเซียได้ร้องขอท่าเรือน้ำอุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิกไว้ เพื่อใช้งานด้านกองทัพเรือและการค้าทางทะเลของรัสเซีย เนื่องจากนครวลาดิวอสต็อกของรัสเซียสามารถเปิดดำเนินการได้อย่างเต็มที่เฉพาะในฤดูร้อนเท่านั้น แต่เมืองพอร์ตอาเธอร์ (ลวี่ชุนเกาในปัจจุบัน) สามารถเปิดดำเนินการได้ตลอดทั้งปี ซึ่งตั้งแต่สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 1 ยุติลง ในปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น

สงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย

งครามออสเตรีย-ปรัสเซีย (Austro-Prussian War) หรือ สงครามเจ็ดสัปดาห์ (Seven Weeks' War) หรือ สงครามรวมชาติ (Unification War) หรือ สงครามพี่น้อง (Brothers War) เป็นสงครามในปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสงครามโลกครั้งที่สอง

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

สตาญิสวัฟ แลม

ตาญิสวัฟ แลม (Stanisław Lem; 12 กันยายน ค.ศ. 1921 – 27 มีนาคม ค.ศ. 2006) เป็นนักเขียนชาวโปแลนด์ มีผลงานที่เป็นที่รู้จักคือ Solaris ที่ถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์แล้ว 3 ครั้ง ผลงานของเขาได้รับการแปลไปแล้วกว่า 41 ภาษาและขายได้มากกว่า 45 ล้านเล่มทั่วโลก.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสตาญิสวัฟ แลม

สนธิสัญญาลอนดอน (1915)

กติกาสัญญาลอนดอน (London Pact) หรือ สนธิสัญญาลอนดอน (Treaty of London) ใน..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสนธิสัญญาลอนดอน (1915)

สนธิสัญญาประกันพันธไมตรี

นธิสัญญาประกันพันธไมตรี (Reinsurance Treaty) ลงนามเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสนธิสัญญาประกันพันธไมตรี

สนธิสัญญาแบร์น

นธิสัญญาแบร์น (Traité de Berne.; Treaty of Bern.) ซึ่งมีการลงนามเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสนธิสัญญาแบร์น

สนธิสัญญาแวร์ซาย

''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสนธิสัญญาแวร์ซาย

สนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919)

นธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล เป็นสนธิสัญญาที่ลงนามเมื่อวันที่ 10 กันยายน ค.ศ. 1919 โดยพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งผู้เป็นฝ่ายที่ได้รับชัยชนะในสงคราม กับสาธารณรัฐออสเตรียอีกฝ่ายหนึ่ง สนธิสัญญานี้ก็เช่นเดียวกับสนธิสัญญาแวร์ซายกับจักรวรรดิเยอรมันที่เป็นสนธิสัญญาที่มีเนื้อหาที่ร่างโดยสันนิบาตชาติ และผลก็มิได้รับการรับรองจากสหรัฐอเมริกา สนธิสัญญาประกาศการยุบเลิกจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี สาธารณรัฐใหม่ของออสเตรียประกอบด้วยบริเวณแอลป์ที่พูดภาษาเยอรมันของอดีตจักรวรรดิออสเตรีย, ยอมรับอิสรภาพของฮังการี, เชโกสโลวาเกีย, โปแลนด์ และรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ สนธิสัญญารวมการจ่ายค่าปฏิกรรมหรือค่าเสียหายที่เกิดขึ้นจากสงครามเป็นจำนวนมหาศาลโดยตรงต่อฝ่ายพันธมิตร ดินแดนในครอบครองของออสเตรียถูกลดลงไปเป็นเชโกสโลวาเกีย โปแลนด์ และยูโกสลาเวีย และดินแดนส่วนอื่นให้แก่อิตาลี และโรมาเนีย แต่เบอร์เกนแลนด์ที่เดิมเป็นของฮังการีกลับมาเป็นของออสเตรีย ข้อสำคัญของสนธิสัญญาระบุยับยั้งออสเตรียจากการเปลี่ยนสถานะภาพของความเป็นอิสรภาพ ที่หมายถึงสาธารณรัฐใหม่เยอรมันออสเตรียที่เป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนี ออสเตรียไม่สามารถเข้าทำการรวมตัวไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจหรือทางการเมืองร่วมกับเยอรมนีโดยมิได้รับความเห็นชอบกับสันนิบาตชาติ กองทัพออสเตรียถูกจำกัดจำนวนลงเหลือเพียงกองทหารอาสาสมัคร 30,000 คน นอกจากนั้นก็ยังมีข้อปลีกย่อยที่เกี่ยวกับการเดินเรือบนลำแม่น้ำดานูบ, การเปลี่ยนมือของระบบการรถไฟ และการแบ่งแยกจักรวรรดิออกเป็นรัฐอิสระย่อย ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919)

สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์

นธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่ลงนามเมื่อวันที่ 3 มีนาคม..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์

สนธิสัญญาเบอร์ลิน (1878)

นธสัญญาเบอร์ลิน เป็นบัญญัติสุดท้ายแห่งการประชุมใหญ่เบอร์ลิน (13 มิถุนายน – 13 กรกฎาคม ค.ศ. 1878) ซึ่งสหราชอาณาจักร ออสเตรีย-ฮังการี ฝรั่งเศส อิตาลี รัสเซียและจักรวรรดิออตโตมันภายใต้สุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2 ทบทวนสนธิสัญญาซันเสตฟาโนซึ่งลงนามเมื่อวันที่ 3 มีนาคม ปีเดียวกัน ภาระสำคัญที่สุดของการประชุมใหญ่นี้คือ ตัดสินชะตาของราชรัฐบัลแกเรียซึ่งสถาปนาขึ้นในสนธิสัญญาซันสเตฟาโน แม้บัลแกเรียเองจะไม่ได้รับเชิญให้เข้าร่วมประชุมเพราะการยืนกรานของรัสเซีย ในขณะนั้น บัลแกเรียยังไม่มีอยู่บนแผนที่โลก จึงไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายระหว่างประเทศ เช่นเดียวกับชาวบัลแกเรีย การกีดกันนี้เคยมีขึ้นแล้วในการประชุมมหาอำนาจคอนสแตนติโนเปิล ซึ่งจัดขึ้นเมื่อหนึ่งปีก่อน โดยบัลแกเรียไม่ได้เข้าร่วมเช่นกัน สนธิสัญญาดังกล่าวรับรองเอกราชของราชรัฐเอกราชโดยพฤตินัยโรมาเนีย เซอร์เบียและมอนเตเนโกร ร่วมกับอัตตาณัติของบัลแกเรีย แม้บัลแกเรียจะทำหน้าที่เป็นเอกราชโดยพฤตินัยและถูกแบ่งเป็นสามส่วน คือ ราชรัฐบัลแกเรีย จังหวัดปกครองตนเองรูเมเลียตะวันออก และมาซิโดเนีย ซึ่งคืนให้แก่ออตโตมัน ฉะนั้นจึงทำลายแผนการของรัสเซียสำหรับ "เกรทเทอร์บัลแกเรีย" เอกราชที่นิยมรัสเซีย สนธิสัญญาซันสเตฟาโนได้สร้างรัฐบัลแกเรีย ซึ่งเป็นสิ่งที่บริเตนใหญ่และออสเตรีย-ฮังการีเกรงมากที.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสนธิสัญญาเบอร์ลิน (1878)

สนธิสัญญาเบาว์ริง

หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีประเทศอังกฤษและประเทศสยาม (Treaty of Friendship and Commerce between the British Empire and the Kingdom of Siam) หรือบนปกสมุดไทย ใช้ชื่อว่า หนังสือสัญญาเซอยอนโบวริง หรือที่มักเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาเบาว์ริง (Bowring Treaty) เป็นสนธิสัญญาที่ราชอาณาจักรสยามทำกับสหราชอาณาจักร ลงนามเมื่อ 18 เมษายน..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและสนธิสัญญาเบาว์ริง

ออสการ์ ชินด์เลอร์

ออสการ์ ชินด์เลอร์ (Oskar Schindler; 28 เมษายน พ.ศ. 2451 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2517) คือนักอุตสาหกรรมและนักจารกรรมชาวเยอรมัน อดีตสมาชิกพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (พรรคนาซี) ผู้ได้รับการกล่าวขานว่าช่วยชีวิตชาวยิวกว่า 1,200 คน ในช่วงการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิว ด้วยการรับเข้าทำงานเป็นลูกจ้างในโรงงานภาชนะเคลือบและโรงงานผลิตอาวุธสงครามที่เขาเป็นเจ้าของอยู่ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตยึดครองโปแลนด์ของเยอรมนีและรัฐในอารักขาแห่งโบฮีเมียและโมราเวีย นอกจากนี้เขายังเป็นที่มาของนวนิยายเรื่อง Schindler's Ark ปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและออสการ์ ชินด์เลอร์

ออทโท ฟอน ฮับส์บูร์ก

ออทโท ฟอน ฮับส์บูร์ก มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย ฮังการี โครเอเชีย และโบฮีเมีย (Otto von Habsburg; พระนามเต็ม: ฟรันซ์ โยเซฟ ออทโท โรเบิร์ต มาเรีย แอนตัน คาร์ล แมกซ์ เฮ็นริค ซิกส์ตัส เซเวอร์ เฟลิกซ์ เรเนตัส ลุดวิก แกตัน พิอุส อิกเนเชียส ฟอน ฮับส์บูร์ก-ลอแรน; Franz Joseph Otto Robert Maria Anton Karl Max Heinrich Sixtus Xaver Felix Renatus Ludwig Gaetan Pius Ignatius von Habsburg-Lorraine) (20 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและออทโท ฟอน ฮับส์บูร์ก

ออทโท สกอร์เซนี

ออทโท สกอร์เซนี(12 มิถุนายน 1908 - 5 กรกฎาคม 1975) เป็นทหารชาวออสเตรียในหน่วยเอสเอส ดำรงตำแหน่งยศเป็นโอแบร์สทุร์มบันน์ฟือแรร์ (พันโท)ในหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.ในช่วงสงคราม,เขาได้มีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ, รวมทั้งภารกิจช่วยเหลือในการปลดปล่อยผู้นำเผด็จการฟาสซิสต์อิตาลี เบนิโต มุสโสลินีออกจากการถูกคุมขัง.สกอร์เซนีได้นำการปฏิบัติการกรีฟ,ซึ่งทหารเยอรมันได้ทำการแทรกซึมเข้าไปในแนวข้าศึกโดยใช้ภาษาของฝ่ายข้าศึก, เครื่องแบบ, และศุลกากร.สำหรับเรื่องนี้ เขาได้ถูกตั้งข้อหากล่าวหาจากศาลทางทหารที่ดาเคาจากการละเมิดอนุสัญญานครเฮก ฉบับปี 1907(พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและออทโท สกอร์เซนี

อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์

แอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein, อัลแบร์ท ไอน์ชไตน์; 14 มีนาคม พ.ศ. 2422 – 18 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎี ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2428 ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว (ตามลำดับ) ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาเป็นผู้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพ และมีส่วนร่วมในการพัฒนากลศาสตร์ควอนตัม สถิติกลศาสตร์ และจักรวาลวิทยา เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ใน..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์

อังเกอลา ฮิตเลอร์

อังเกอลา ฟรันซิสกา โยฮันท์ ฮัมมิซช์ (Angela Franziska Johanna Hammitzsch) หรือชื่อเกิดคือ อังเกอลา ฮิตเลอร์ เป็นพี่สาวต่างมารดาของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เธอเป็นลูกสาวของอาลัวส์ ฮิตเลอร์กับภรรยาคนที่สอง Franziska Matzelsberger มีน้องชายชื่อ อาลัวส์ ฮิตเลอร์ จูเนียร์แต่ต่อมาแม่ของเธอเสียชีวิต เธอกับน้องชายได้ถูกรับการเลี้ยงดูจากนางคราลา(Pölzl)ฮิตเลอร์ ภรรยาคนที่สามของอาลัวส์และเป็นมารดาของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ หลังจากอาลัวส์ กับนางคราลา ฮิตเลอร์ได้เสียชีวิตไปแล้ว เธอได้กลายเป็นผู้ปกครองดูแลของฮิตเลอร์ตลอดมาทำให้เธอกลายเป็นญาติคนเดียวที่ใกล้ชิดของอดอลฟ์ ฮิตเลอร์ อังเกอลา ฮิตเลอร์แต่งงานมาสองครั้ง ครั้งแรกกับนายลีโอ รูดอลฟ์ เราบัล เธอมีลูกชายคนแรกคือลีโอ รูดอลฟ์ เราบัล จูเนียร์ ลูกสาวคนที่สอง เกลี เราบัล ลูกชายคนที่สามคนสุดท้อง Elfriede (Friedl) เราบัล สามีของเธอเสียชีวิตในปี 1910 ต่อมาเธอได้แต่งงานกับสถาปนิก ศาสตราจารย์มารติน แฮมมิซแต่สามีของเธอได้ฆ่าตัวตาย หลังจากความพ่ายแพ้สงครามของเยอรมนี หลังสงคราม เธอได้ถูกคุมตัวและสอบถามเกี่ยวกับประวัติของฮิตเลอร์จากสัมพันธมิตรตะวันตกแต่เธอไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุของนาซีเลยและได้รับการปล่อยตัวให้เป็นอิสระ ต่อมาเธอได้เสียชีวิตเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 1949 ณ ฮันโนเฟอร์ เยอรมนีตะวันตก.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและอังเกอลา ฮิตเลอร์

อัปแซ็งต์

แก้วและช้อนที่ใช้เพื่อละลายน้ำตาลก้อนลงไปในอัปแซ็งต์ ภาพเขียน ''ภูตเขียว'' โดยอาลแบร์ แมญ็อง (ค.ศ. 1895) แสดงภาพกวีคนหนึ่งที่ตกอยู่ภายใต้อำนาจของภูตเขียว อัปแซ็งต์ (absinthe) เป็นเหล้าอาหนีชนิดหนึ่ง กลั่นจากสมุนไพรหลายชนิด ได้แก่ ดอกและใบของพรรณไม้ชนิด Artemisia absinthium ร่วมกับเมล็ดเทียนสัตตบุษย์, เมล็ดผักชีล้อม และสมุนไพรชนิดอื่น ๆ ที่ใช้เป็นยาหรือทำอาหาร แต่เดิมจะมีสีเขียวตามธรรมชาติ แต่อาจไม่มีสีก็ได้ วรรณคดีตะวันตกเรื่องต่าง ๆ มักเรียกเหล้าชนิดนี้ว่า "เจ้าภูตเขียว" (la fée verte) ตามธรรมเนียมแล้ว อัปแซ็งต์จะถูกบรรจุขวดโดยมีปริมาณแอลกอฮอล์โดยปริมาตรในระดับสูง โดยได้รับการอธิบายว่าเป็นเครื่องดื่มกลั่นที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ร้อยละ 45–74 โดยปริมาตร แต่ตามปกติก็ถูกทำให้เจือจางด้วยน้ำก่อนบริโภค แม้ว่าบางครั้งอัปแซ็งต์จะถูกเข้าใจผิดว่าเป็นเหล้าหวาน (liqueur) แต่ก็ไม่มีการบรรจุอัปแซ็งต์ลงขวดโดยเติมน้ำตาลเพิ่ม ดังนั้นจึงจัดว่าเป็นเหล้า (spirit) ชนิดหนึ่ง อัปแซ็งต์มีต้นกำเนิดในรัฐเนอชาแตลของสวิตเซอร์แลนด์ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 และได้รับความนิยมอย่างสูงในฐานะเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในฝรั่งเศสช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหมู่ศิลปินและนักเขียนชาวปารีส แต่เนื่องจากเหล้าชนิดนี้มีความเกี่ยวข้องบางอย่างกับวัฒนธรรมโบฮีเมีย การบริโภคอัปแซ็งต์จึงถูกต่อต้านจากนักอนุรักษนิยมทางสังคมและผู้นิยมหลักการห้าม (prohibitionism) แต่ก็เป็นที่ทราบกันดีว่านักเขียน กวี จิตรกร และนักประพันธ์ดนตรีหลายคนต่างเป็นนักดื่มอัปแซ็งต์ เช่น เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์, เจมส์ จอยซ์, ชาร์ล โบดแลร์, ปอล แวร์แลน, อาร์ตูร์ แร็งโบ, อ็องรี เดอ ตูลูซ-โลแทร็ก, อาเมเดโอ โมดิลยานี, ปาโบล ปีกัสโซ, ฟินเซนต์ ฟัน โคค, ออสการ์ ไวลด์, มาร์แซล พรุสต์, แอลัสเตอร์ โครว์ลีย์, เอริก ซาตี, เอดการ์ แอลลัน โพ, ลอร์ด ไบรอน, อาลแฟรด ฌารี เป็นต้น, Sarasota Herald-Tribune, September 18, 2008 ในอดีต อัปแซ็งต์มักได้รับการพรรณนาว่าเป็นยาเสพติดที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทและสารก่อประสาทหลอนที่มีอันตรายมาก โดยเชื่อกันว่าสารประกอบเคมีชนิดหนึ่งชื่อทูโจน (thujone) เป็นตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดผลดังกล่าว เมื่อถึงปี ค.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและอัปแซ็งต์

อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย

ฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์ คาร์ล ลุดวิก โยเซฟ มารีอา (Franz Ferdinand Carl Ludwig Joseph Maria) ทรงเป็นอาร์ชดยุกแห่งออสเตรีย-เอสเต และยังทรงเป็นราชกุมารแห่งฮังการีและโบฮีเมีย และเป็นรัชทายาทลำดับหนึ่งแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีอีกด้วย พระองค์ทรงเป็นองค์รัชทายาทจวบจนถูกลอบปลงพระชนม์โดยนักชาตินิยมหัวรุนแรงชาวเซอร์เบีย ที่เมืองซาราเยโวในแคว้นบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (ขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี) หลังพระองค์และพระชายาสิ้นพระชนม์ก็ทำให้จักรวรดริออสเตรีย-ฮังการี ประกาศสงครามกับราชอาณาจักรเซอร์เบียทันที ถือเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่ 1.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและอาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย

อาร์ชดยุกกอทท์ฟรีดแห่งออสเตรีย

อาร์ชดยุกกอทท์ฟรีดแห่งออสเตรี.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและอาร์ชดยุกกอทท์ฟรีดแห่งออสเตรีย

อาร์ชดยุกรูดอล์ฟ มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย-ฮังการี

อาร์ชดยุกรูดอล์ฟแห่งออสเตรีย (Archduke Rudolf, Crown Prince of Austria-Hungary, Erzherzog Rudolf, Kronprinz von Österreich-Ungarn) (พระนามเต็ม: รูดอล์ฟ ฟรานซ์ คาร์ล โจเซฟ, Rudolf Franz Karl Joseph von Habsburg-Lothringen) เป็นพระราชโอรสองค์เดียวในสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ โจเซฟที่ 1 และสมเด็จพระจักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย และนอกจากนี้ ทรงเป็นมกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย-ฮังการี จนถึงสิ้นพระชนม์เนื่องจากทรงปลิดพระชนม์ชีพพระองค์เองด้วยพระแสงปืนพร้อมกับนางสนมของพระองค์บารอนเนสแมรี่ เว็ทเซร.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและอาร์ชดยุกรูดอล์ฟ มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย-ฮังการี

อาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิจ แห่งออสเตรีย

อาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิจ แห่งออสเตรีย (อังกฤษ: Archduke Karl Ludwig of Austria, de.: Erzherzog Karl Ludwig von Österreich) (พระนามเต็ม: คาร์ล ลุดวิจ โจเซฟ มาเรีย, Karl Ludwig Joseph Maria von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นอาร์ชดยุกแห่งออสเตรีย และเจ้าฟ้าชายแห่งฮังการี และเป็นพระราชอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ โจเซฟที่ 1 แห่งออสเตรียอีกด้ว.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและอาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิจ แห่งออสเตรีย

อาร์ชดยุกปีเตอร์ เฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรีย

อาร์ชดยุกปีเตอร์ เฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรี.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและอาร์ชดยุกปีเตอร์ เฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรีย

อาร์ชดัชชีออสเตรีย

อาร์ชดัชชีออสเตรีย (Erzherzogtum Österreich, Archduchy of Austria) เป็นรัฐสำคัญที่สุดรัฐหนึ่งในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และเป็นศูนย์กลางของราชวงศ์ฮับส์บูร์กและราชวงศ์ก่อนหน้าที่จะมาเป็นจักรวรรดิออสเตรีย อาร์ชดัชชีออสเตรียที่รุ่งเรืองอยู่ร่วม 700 ปีก่อตัวขึ้นมาจากอาณาจักรมาร์กราฟจนกระทั่งกลายมาเป็นจักรวรรดิ โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่เวียนนา อาณาบริเวณของอาร์ชดัชชีมีศูนย์กลางอยู่ในบริเวณที่เป็นรัฐต่างๆ ของประเทศออสเตรียปัจจุบันของออสเตรียใต้และส่วนใหญ่ของบริเวณในออสเตรียเหนือด้ว.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและอาร์ชดัชชีออสเตรีย

อาร์ชดัชเชสชาร์ลอตแห่งออสเตรีย

อาร์ชดัชเชสชาร์ลอตแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: ชาร์ลอต เฮ็ดวิก ฟรานซิสก้า โจเซฟ่า มาเรีย แอนโตเนีย โรเบิร์ตต้า อ๊อตโตเนีย ปีอา แอนนา อิกเนเชีย; Charlotte Hedwig Franzisca Josepha Maria Antonia Roberta Ottonia Pia Ignatia von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย และเจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการี (Her Imperial and Royal Highness Archduchess Charlotte, The Princess Imperial of Austria, and the Princess Royal of Hungary).

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและอาร์ชดัชเชสชาร์ลอตแห่งออสเตรีย

อาร์ชดัชเชสเอลิซาเบธ มารีแห่งออสเตรีย

อาร์ชดัชเชสเอลิซาเบธ มารีแห่งออสเตรีย (en.: Archduchess Elisabeth Marie of Austria, de.: Erzherzogin Elisabeth Marie von Österreich) (พระนามเต็ม: เอลิซาเบธ มารี เฮ็นเรียต สเตฟานี่ กิเซล่า, Elisabeth Marie Henriette Stephani Gisela von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย เจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการีและโบฮีเมี.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและอาร์ชดัชเชสเอลิซาเบธ มารีแห่งออสเตรีย

อาร์ทูร์ ไซสส์-อินคัวร์ท

อาร์ทูร์ ไซสส์-อินคัวร์ท (Arthur Seyss-Inquart) เป็นนักการเมืองนิยมนาซีชาวออสเตรีย เป็นผู้ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งประเทศออสเตรียเป็นเวลาเพียงสองวัน ตั้งแต่ 11-13 มีนาคม ปี 1938 ก่อนที่จะมีการอันชลุสส์ (Anschluss) คือการผนวกออสเตรียเข้ารวมกับนาซีเยอรมนี,เขาได้ลงนามในกฎหมายรัฐธรรมนูญในฐานะประมุขแห่งรัฐ หลังจากที่ประธานาธิบดีวิลเฮล์ม มิคลัสได้ลาออก.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและอาร์ทูร์ ไซสส์-อินคัวร์ท

อาร์คดัชเชสอาเดลเลดแห่งออสเตรีย

อาร์คดัชเชสอาเดลเลดแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: อาร์คดัชเชส อาเดลเลด มาเรีย โจเซฟ่า ซิกซ์ต้า แอนโตเนีย โรเบิร์ตต้า อ๊อตโตเนีย ซีต้า ชาร์ลอต หลุยส์ อิมมาคูลาต้า ปีอา เธเรเซีย เบียทริกซ์ ฟรานซิสก้า อิสซาเบล เฮ็นเรียต แม็กซิมิเลียน เจโนวีน่า อิกเนเทีย ภาษาอังกฤษ: Adelheid Maria Josepha Sixta Antonia Roberta Ottonia Zita Charlotte Luise Immakulata Pia Theresia Beatrix Franziska Isabelle Henriette Maximiliane Genoveva Ignatia von Habsburg-Lorraine) ประสูติเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและอาร์คดัชเชสอาเดลเลดแห่งออสเตรีย

อาลัวส์ ฮิตเลอร์

อาลัวส์ ฮิตเลอร์, ซีเนียร. (ชื่อตั้งแต่เกิดว่า อาลัวส์ ชิคล์กรูเบอร์; 7 มิถุนายน 1837 – 3 มกราคม 1903)เป็นข้าราชการพลเรือนชาวออสเตรียและเป็นบิดาของ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ นักการเมืองเยอรมันและหัวหน้าพรรคนาซี หมวดหมู่:ชาวออสเตรีย หมวดหมู่:ครอบครัวฮิตเลอร์.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและอาลัวส์ ฮิตเลอร์

อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

อาโมน เกิท

อามอน ลีโอโพลด์ เกิธ (Amon Leopold Göth; 11 ธันวาคม พ.ศ. 2451 – 13 กันยายน พ.ศ. 2489) คือนายทหารสัญญาบัตรเชื้อสายออสเตรีย ผู้ประจำการอยู่ในกองกำลังอารักขา ชุทซ์ชทัฟเฟิล ของพรรคนาซี และผู้บังคับบัญชาการแห่งค่ายกักกันกรากุฟ-ปวาซอฟในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ใกล้กับในเมืองปวาซอฟ สาธารณรัฐโปแลนด์ หลังสงครามเกิธถูกจับกุมเป็นอาชญากรสงครามจากบทบาทของเขาในค่ายกักกัน ซึ่งต่อมาศาลฎีกาสูงสุดแห่งโปแลนด์ได้พิพากษาว่าเขามีความผิดในโทษฐาน มีส่วนรับผิดชอบต่อการทำให้พิการ การทรมาน และการฆาตกรรมผู้คนในจำนวนที่ไม่อาจระบุแน่ชัดได้ และถูกประหารชีวิตด้วยการแขวนคอ ณ บริเวณซึ่งไม่ไกลจากที่ตั้งเดิมของค่ายกักกันปวาซอฟ หมวดหมู่:บุคคลจากเวียนนา.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและอาโมน เกิท

อุนเทอร์เด็มดอปเปลออาดเดลอร์

อุนเทอร์ เด็ม ดอปเปลออาดเดลอร์, โอปุสที่ 159 (Unter dem Doppeladler; Under the Double Eagle) เป็นเพลงมาร์ชที่แต่งขึ้นในปี ค.ศ. 1893โดยโยเซฟ ฟรานซ์ วากเนอร์ (ค.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและอุนเทอร์เด็มดอปเปลออาดเดลอร์

อดอล์ฟ ลูส

อดอล์ฟ ลูส (Adolf Loos) (10 ธันวาคม ค.ศ. 1870 - 23 สิงหาคม ค.ศ. 1933) เป็นสถาปนิกชาวออสเตรียที่เกิดในเชค เขามีอิทธิพลต่อวงการสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ของยุโรป บทความของเขาที่ชื่อ Ornament and Crime ที่เขาปฏิเสธศิลปะหรูหราแบบเวียนนาซีเซสชัน หรืออาร์ตนูโวในแบบออสเตรีย ในหลายบทความเขาสนับสนุนตัวบททฤษฎีที่คิดอย่างรอบขอบและการวิจารณ์ในเรื่องสมัยใหม่นิยมของสถาปัตยกรรม.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและอดอล์ฟ ลูส

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อนุสัญญาคอนสแตนติโนเปิล

อนุสัญญาคอนสแตนติโนเปิล (Convention of Constantinople) เป็นสนธิสัญญาซึ่งลงนามโดยสหราชอาณาจักร เยอรมนี จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี สเปน ฝรั่งเศส อิตาลี เนเธอร์แลนด์ รัสเซีย และจักรวรรดิออตโตมัน เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและอนุสัญญาคอนสแตนติโนเปิล

จอห์นนี ไวส์มึลเลอร์

อห์นนี ไวส์มึลเลอร์ (Johnny Weissmuller; 2 มิถุนายน ค.ศ. 1904 – 20 มกราคม ค.ศ. 1984) เป็นนักว่ายน้ำ นักแสดงชาวเยอรมัน-อเมริกัน ที่เกิดในออสเตรีย-ฮังการี ไวส์มึลเลอร์ถือเป็น 1 ในนักว่ายน้ำที่ดีที่สุดในโลกในคริสต์ทศวรรษ 1920 เขาได้รับเหรียญทองกีฬาโอลิมปิก 5 เหรียญ เหรียญทองแดง 1 เหรียญ เขาชนะการแข่งขันยูเอสเนชันนอลแชมเปียนชิป 52 ครั้ง และทำสถิติโลก 67 ครั้ง หลังจากอาชีพนักว่ายน้ำ เขาแสดงในภาพยนตร์ ถือเป็นนักแสดงคนที่ 6 ที่รับบทเป็นทาร์ซานในภาพยนตร์ จากบทบาทนี้ เขาแสดงในภาพยนตร์ 12 เรื่อง จากบททาร์ซานที่มีนักแสดงรับบทกันหลายคน แต่ไวส์มึลเลอร์ถือเป็นคนที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดในบทนี้ กับเสียงหอนของทาร์ซานที่ยังมีใช้ในภาพยนตร์ปัจจุบัน.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและจอห์นนี ไวส์มึลเลอร์

จักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย

ักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย พระนามเต็ม: ฟรันซ์ โยเซฟ คาร์ล (Franz Joseph Karl von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งออสเตรีย และ กษัตริย์แห่งฮังการี และทรงเป็นจักรพรรดิและพระราชาธิบดีพระองค์แรกในจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีตั้งแต่ปีพ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและจักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย

จักรพรรดิออสเตรีย

งประจำพระยศจักรพรรดิแห่งออสเตรีย ใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2358 จักรพรรดิแห่งออสเตรีย คือพระราชอิสริยยศที่ถูกสถาปนาขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและจักรพรรดิออสเตรีย

จักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย

ักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย หรือ สมเด็จพระเจ้าคาร์ลที่ 4 แห่งฮังการี (พระนามเต็ม: คาร์ล ฟรันซ์ โยเซฟ ลุดวิก ฮิวเบิร์ต จอร์ช มาเรีย; Karl Franz Josef Ludwig Hubert Georg Maria von Habsburg-Lothringen, ภาษาฮังการี: Károly Ferenc József) ทรงเป็นจักรพรรดิออสเตรียและพระมหากษัตริย์ฮังการี ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย

จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1 แห่งออสเตรีย

ักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1 แห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: แฟร์ดีนันด์ คาร์ล เลโอโปลด์ โยเซฟ ฟรันซ์ มาร์เซอลิน, ภาษาอังกฤษ: Ferdinand Karl Leopold Joseph Franz Marcelin von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งออสเตรียองค์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิออสเตรีย ต่อจากจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1ผู้เป็นพระราชบิดา และทรงเป็นกษัตริย์แห่งฮังการีอีกด้วย พระองค์ทรงสละราชสมบัติให้กับจักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟ ผู้เป็นพระราชนัดดา หลังจากมีการประท้วงการครองราชย์ที่ไร้ประสิทธิภาพของพระอง.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1 แห่งออสเตรีย

จักรพรรดิเปดรูที่ 2 แห่งบราซิล

ักรพรรดิเปดรูที่ 2 แห่งบราซิล (ภาษาโปรตุเกส: Dom Pedro II, ภาษาอังกฤษ: Peter II; 2 ธันวาคม ค.ศ. 1825 - 5 ธันวาคม ค.ศ. 1891) มีพระสมัญญานามว่า "ผู้มีจิตใจสูงส่ง" (the Magnanimous) ทรงเป็นพระประมุขพระองค์ที่สองและพระองค์สุดท้ายแห่งจักรวรรดิบราซิล ทรงครองราชบัลลังก์มานานกว่า 58 ปี พระองค์ประสูติที่รีโอเดจาเนโร เป็นพระบุตรพระองค์ที่เจ็ดในจักรพรรดิเปดรูที่ 1 แห่งบราซิลกับอาร์คดัชเชสมาเรีย ลีโอโพลดิน่าแห่งออสเตรีย และเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ราชวงศ์บราแกนซาสายบราซิล พระราชบิดาของพระองค์สละราชบัลลังก์อย่างทันทีทันใดและเสด็จไปยังยุโรปในปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและจักรพรรดิเปดรูที่ 2 แห่งบราซิล

จักรวรรดิ

ักรวรรดิ (อ่านว่า จัก-กฺระ-หฺวัด, อังกฤษ: empire) ถูกนิยามว่าหมายถึง "กลุ่มชาติรัฐหรือชาติพันธุ์ที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิหรืออธิปไตยของรัฐอื่นๆที่ทรงอิทธิพล โดยทั่วไปมีอาณาเขตกว้างใหญ่กว่าราชอาณาจักร" นักวิชาการได้ถกเถียงกันมานานเกี่ยวกับคำว่า “Empire” ในภาษาอังกฤษหรือ “จักรวรรดิ” ในภาษาไทย (จากคำภาษาละติน “imperium” ที่หมายถึงสายการบังคับบัญชาทางการทหารของรัฐบาลโรมันโบราณ) โดยทั่วไปมักนิยามให้เป็นรัฐที่มีอาณาจักรอื่นที่มีประชากรและวัฒนธรรมที่แตกต่างชัดเจนอยู่ภายใต้อิทธิพลอำนาจการปกครองหรืออยู่ในเครือจักรภพ เช่นประเทศในเครือจักรภพอังกฤษในปัจจุบัน นิยามอีกรูปแบบหนึ่งอาจเน้นปัจจัยทางเศรษฐกิจหรือการเมือง แต่โดยทั่วไปมักหมายถึงการครอบงำทางอำนาจการทหาร เช่นเดียวกับรัฐทั่วไป จักรวรรดิจะมีโครงสร้างทางการเมืองของตนเอง หรืออย่างน้อยก็โดยวิธีกดขี่บังคับให้อยู่ใต้อำนาจ จักรวรรดิบนแผ่นดินใหญ่ (เช่นจักรวรรดิมองโกล หรือจักรวรรดิอาคีเมนิดเปอร์เชีย – Achaemenid Persia) มักจะขยายไปตามอาณาเขตที่ประชิดต่อเนื่องกัน ส่วนจักรวรรดิทางทะเล (เช่น จักรวรรดิเอเธนีเนียน จักรวรรดิโปรตุเกสและจักรวรรดิอังกฤษ) อาจมีอาณาเขตกระจัดกระจายหลวมๆ แต่อยู่ในอำนาจการควบคุมทางกองทัพเรือเป็นต้น จักรวรรดิที่มีมาก่อนจักรวรรดิโรมันหลายร้อยปี ได้แก่จักรวรรดิอียิปต์ซึ่งได้ก่อตั้งจักรวรรดิเมื่อประมาณ 1000 ปีก่อน..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและจักรวรรดิ

จักรวรรดิออสเตรีย

ักรวรรดิออสเตรีย (Austrian Empire; Kaisertum Österreich) เป็นจักรวรรดิที่ก่อตั้งจากอาณาบริเวณที่เหลือจากจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ตั้งอยู่ที่ประเทศออสเตรียในปัจจุบัน รุ่งเรืองในช่วง..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและจักรวรรดิออสเตรีย

จักรวรรดิเยอรมัน

ักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันใน..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและจักรวรรดิเยอรมัน

ธงชาติบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

งชาติบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เป็นธงพื้นสีน้ำเงิน ภายในมีสามเหลี่ยมสีเหลืองที่ด้านมุมฉากอยู่ด้านบนธง ด้านตรงข้ามมุมฉากประดับด้วยดาวห้าแฉกสีขาวเต็มดวง 7 ดวง ส่วนปลายของด้านตรงข้ามมุมฉากทั้งสองด้านมีดาวห้าแฉกสีขาวครึ่งดวง 2 ดวง โดยสามเหลี่ยมแทนกลุ่มชนหลักสามกลุ่มในประเทศ ได้แก่ ชาวบอสนีแอก, ชาวโครแอตและชาวเซิร์บ นอกจากนี้ยังใช้แทนดินแดนของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาที่มีรูปร่างคล้ายสามเหลี่ยม ดาวแทนทวีปยุโรปและการเรียงตัวของดาวแทนจำนวนที่ไม่สิ้นสุด สีน้ำเงินและสีเหลืองมาจากธงยุโรปที่ใช้ในสภายุโรปและสหภาพยุโรป สีของธง 3 สีคือขาว, น้ำเงินและเหลืองแทนความเป็นกลางและสันต.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและธงชาติบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

ธงชาติยูเครน

งชาติยูเครน (державний прапор України; ถอดเป็นอักษรโรมัน: derzhavnyy prapor Ukrayiny) มีต้นกำเนิดจากธงชาติในสมัยการปกครองระยะสั้นๆ ของสาธารณรัฐประชาชนยูเครนในปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและธงชาติยูเครน

ธงชาติสโลวาเกีย

งชาติสโลวาเกีย (Vlajka Slovenska) นับย้อนไปในปี พ.ศ. 2391 ซึ่งเป็นปีของการปฏิวัติในยุโรปและเป็นเวลาที่ชนเผ่าสลาฟได้กำหนดบทบาทของตนเองจากการปกครองของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และออกแบบธงชาติ 3 สี ขาว และแดงเป็นธงประจำชาติของตน สโลวาเกียได้ใช้ธงชาติ 3 สีโบกสะบัดเมื่อประเทศได้รับอิสรภาพ ต่อมาเมื่อแยกตัวออกจากเชโกสโลวาเกียในเดือนมกราคม..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและธงชาติสโลวาเกีย

ธงชาติฮังการี

งชาติฮังการี (Magyarország zászlaja) เริ่มใช้เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1957 มีทั้งหมด 3 สี คือ สีแดง,สีขาว และ สีเขียว โดยสีแดง หมายถึง เลือดของผู้รักชาติ สีขาว หมายถึง สันติภาพและแม่น้ำดานูบ สีเขียว หมายถึง ความหวังและธรรมชาติ ในประเทศฮังการี และเคยเป็นธงประจำสาธารณรัฐประชาชนฮังการี แบบสร้างธงชาติฮังการี.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและธงชาติฮังการี

ทรานซิลเวเนีย

ทรานซิลเวเนียสีเหลืองบนแผนที่ของโรมาเนียกับเขตแดนของประเทศต่างๆ ภูมิภาคประวัติศาสตร์ บานัต, คริซานา และ มารามัวร์ส สีเหลืองเข้ม ทรานซิลเวเนีย (Transylvania, Ardeal หรือ Transilvania; Erdély) เป็นภูมิภาคประวัติศาสตร์ที่ตั้งอยู่ทางตอนกลางของโรมาเนีย โดยมีเขตแดนด้านตะวันออกและทางใต้ติดต่อกับ เทือกเขาคาร์เพเธียน (Carpathian mountains) ทางตะวันตกจรดเทือกเขาอพูเซนิ (Apuseni Mountains) แต่ “ทรานซิลเวเนีย” ที่ใช้กันมักจะรวมบริเวณที่เลยไปจากตัวทรานซิลเวเนียเองและภูมิภาคประวัติศาสตร์ของบริเวณบานัต, คริซานา (Crişana) และ มารามัวร์ส (Maramureş) ทรานซิลเวเนียเดิมเป็นศูนย์กลางของราชอาณาจักรดาเซีย (82 ก.ค.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและทรานซิลเวเนีย

ทวิพันธมิตร

ทวิพันธมิตร (Dual Alliance) เป็นพันธมิตรป้องกันระหว่างเยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการี ซึ่งสถาปนาขึ้นตามสนธิสัญญาลงวันที่ 7 ตุลาคม..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและทวิพันธมิตร

ดัชชีสติเรีย

ัชชีสติเรีย (Duchy of Styria; Herzogtum Steiermark; Vojvodina Štajerska; Stájerország) เป็นดัชชีที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของออสเตรียและทางเหนืของสโลวีเนียปัจจุบัน ดัชชีสติเรียเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จนกระทั่งถูกยุบในปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและดัชชีสติเรีย

ดัชชีคารินเทีย

ัชชีคารินเทียหรือดัชชีแคร์นเทิน (Herzogtum Kärnten, Vojvodina Koroška, Duchy of Carinthia) เป็นดัชชีที่เป็นรัฐบริวารของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์มาตั้งแต่ ค.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและดัชชีคารินเทีย

ดัสลีดแดร์ดอยท์เชิน

ลงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีมีชื่อว่า ดัสลีดแดร์ดอยท์เชิน (Das Lied der Deutschen, แปลว่า "เพลงแห่งชาวเยอรมัน) หรือในอีกชื่อหนึ่ง คือ ดัสดอยท์ชลันด์ลีด (Das Deutschlandlied, แปลว่า "เพลงแห่งเยอรมนี") สำหรับในต่างประเทศในบางครั้งจะรู้จักกันในชื่อ "ดอยท์ชลันด์อือเบอร์อัลเลส" (Deutschland über alles, แปลว่า "เยอรมนีเหนือทุกสิ่ง") ซึ่งเป็นวรรคแรกและท่อนแยกของเพลงนี้ในบทที่ 1 แต่ชื่อดังกล่าวไม่ใช่ชื่อของเพลงนี้อย่างแท้จริง ทำนองของเพลงนี้ประพันธ์โดย โจเซฟ ไฮเดิน เมื่อปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและดัสลีดแดร์ดอยท์เชิน

ดินแดนใต้การปกครองร่วมบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

นแดนใต้การปกครองร่วมบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (Condominium of Bosnia and Herzegovina) อยู่ในการควบคุมของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ในปี 1908 และ ก่อนหน้านั้นตั้งแต่ปี 1878 ก็เป็นดินแดนในการอารักขารักษาความสงบแทนจักรวรรดิออตโตมัน ราชอาณาจักรบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ถูกสถาปนาเพื่อเป็นตำแหน่งพระราชาธิบดีของจักรพรรดิออสเตรียอีกตำแหน่งหนึง โดยจัดตั้งรัฐบาลที่ปกครองโดยชาวบอสนีแอก ชาวโครแอตและชาวสโลวีน และในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ก็เกิดการลอบปลงพระชนม์มงกุฎราชกุฎมารของออสเตรียในดินแดนแห่งนี้ เนื่องจากชาวเซิร์บและชาวมุสลิมบอสเนียบางกลุ่มต้องการแยกบอสเนียไปรวมกับเซอร์เบียเป็น ราชอาณาจักรยูโกสลาเวี.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและดินแดนใต้การปกครองร่วมบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

คริสต์สหัสวรรษที่ 2

ริสต์สหัสวรรษที่ 2 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นในวันที่ 1 มกราคม..1001 และจบลงในวันที่ 31 ธันวาคม..2000 ตามปฏิทินเกรกอเรียนUnited States Naval Observatory, (Washington, DC, June 14, 2011).

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและคริสต์สหัสวรรษที่ 2

คลารา ฮิตเลอร์

คลารา ฮิตเลอร์ (นามสกุลเดิม เพิลเซล; 12 สิงหาคม 1860 – 21 ธันวาคม 1907) เป็นมารดาของ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ นักการเมืองเยอรมันและหัวหน้าพรรคนาซี, หมวดหมู่:ชาวออสเตรีย หมวดหมู่:ครอบครัวฮิตเลอร์.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและคลารา ฮิตเลอร์

คลีเมนต์ ก็อตต์วอลด์

ลีเมนต์ ก็อตต์วอลด์ (Klement Gottwald; 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1896 – 14 มีนาคม ค.ศ. 1953) เป็นนักการเมืองชาวเช็ก เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีแห่งเชโกสโลวาเกีย (ค.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและคลีเมนต์ ก็อตต์วอลด์

ความตกลงอังกฤษ-รัสเซีย

การกำหนดพรมแดน: ดินแดนเปอร์เซีย (สีน้ำเงิน) อยู่ในการควบคุมของรัสเซีย; ดินแดนทางตะวันออกเฉียงใต้ (สีชมพู) เป็นของอังกฤษ ความตกลงอังกฤษ-รัสเซีย (Anglo-Russian Entente) ลงนามเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและความตกลงอังกฤษ-รัสเซีย

คองเกรสโปแลนด์

ราชอาณาจักรคองเกรสโปแลนด์, ค.ศ. 1815-1830 แผนที่คองเกรสดปแลนด์ (จักรวรรดิรัสเซีย) ค.ศ. 1902 ราชอาณาจักรโปแลนด์ (Królestwo Polskie; Королевство Польское, Царство Польское, Korolevstvo Polskoye, Tsarstvo Polskoye,, Carstwo Polskie, translation: อาณาจักรซาร์โปแลนด์) มีชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า คองเกรสโปแลนด์ (Królestwo Kongresowe หรือ รัสเซียโปแลนด์) สถาปนาเมื่อ..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและคองเกรสโปแลนด์

คาร์ แฮร์มันน์ ฟรังค์

ร์ แฮร์มันน์ ฟรังค์(24 มกราคม ค.ศ. 1898 – 22 พฤษถาคม ค.ศ. 1946) เป็นชาวเยอรมันซูเดเทินที่โด่งดังในฐานะเจ้าหน้าที่แห่งนาซีในเชโกสโลวาเกียในช่วงก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและดำรงตำแหน่งเป็นเอ็สเอ็ส-โอแบร์กรุพเพนฟือแรร์ เขาได้ถูกจับกุมและต่อสู้คดี, ถูกตัดสินและลงโทษด้วยการประหารชีวิตในช่วงภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองจากบทบาทของเขาในการจัดการสังหารหมู่ชาวเช็กที่หมู่บ้านลีดิซและ Ležáky.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและคาร์ แฮร์มันน์ ฟรังค์

คาร์ล ฟอน ฮับส์บูร์ก

ร์ล ฟอน ฮับส์บูร์ก หรือที่ในประเทศออสเตรียเรียกว่า คาร์ล ฮับส์บูร์ก-โลทริงเงิน (คาร์ล โธมัส โรเบิร์ต มาเรีย ฟรานซิสกัส จอร์ช แบนัม ฟอน ฮับส์บูร์ก-โลทริงเงิน; Karl Thomas Robert Maria Franziskus Georg Bahnam von Habsburg-Lothringen) ประสูติเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและคาร์ล ฟอน ฮับส์บูร์ก

คาร์ล ลันด์สไตเนอร์

ร์ล ลันด์สไตเนอร์ (Karl Landsteiner; 14 มิถุนายน ค.ศ. 1868 – 26 มิถุนายน ค.ศ. 1943) เป็นแพทย์ชาวออสเตรีย/อเมริกัน เกิดที่เมืองบาเดินเบวีน จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี (ใกล้กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรียในปัจจุบัน) เป็นบุตรของเลโอโปลด์และแฟนนี (นามสกุลเดิม เฮสส์) ลันด์สไตเนอร์ เรียนจบด้านการแพทย์จากมหาวิทยาลัยเวียนนา ระหว่างปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและคาร์ล ลันด์สไตเนอร์

คาร์ล เฟอร์ดินานด์ คอรี

ร์ล เฟอร์ดินานด์ คอรี (Carl Ferdinand Cori; 5 ธันวาคม ค.ศ. 1896 – 20 ตุลาคม ค.ศ. 1984) เป็นนักชีวเคมีชาวเช็ก/อเมริกัน เกิดที่เมืองปราก จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันอยู่ในสาธารณรัฐเช็ก) เป็นบุตรของคาร์ล อิซิดอร์ คอรีและมาเรีย คอรี (นามสกุลเดิม ลิปปิช) คาร์ลเติบโตที่เมืองตรีเอสเต ก่อนจะย้ายกลับมาอาศัยที่ปรากและเรียนที่โรงเรียนแพทย์ของมหาวิทยาลัยชาลส์ ปราก ขณะเรียนที่นั่น คาร์ลพบกับเกอร์ตี เทเรซา แรดนิตซ์ คาร์ลถูกเกณฑ์เข้ากองทัพออสเตรีย-ฮังการีในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและคาร์ล เฟอร์ดินานด์ คอรี

คำขวัญประจำชาติ

ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและคำขวัญประจำชาติ

ตราแผ่นดินของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

ตราแผ่นดินของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เริ่มใช้เมื่อ..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและตราแผ่นดินของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

ตราแผ่นดินของยูเครน

ตราแผ่นดินของยูเครน (Державний Герб України) หรือเรียกว่า Tryzub (Тризуб, "สามง่าม") ใช้เป็นตราประจำชาติของยูเครน, ตราดังกล่าวมีลักษณะสีอย่างเดียวกับธงชาติ; โล่พื้นหลังสีฟ้า มีตราสามง่ามสีทอง.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและตราแผ่นดินของยูเครน

ตราแผ่นดินของโครเอเชีย

ตราแผ่นดินของโครเอเชีย เริ่มใช้เมื่อ..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและตราแผ่นดินของโครเอเชีย

ซิกมุนด์ ฟรอยด์

ซิกมุนด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud, IPA:; 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1856 — 23 กันยายน ค.ศ. 1939) เป็นประสาทแพทย์ชาวออสเตรีย ผู้เป็นที่รู้จักในฐานะบิดาแห่งจิตวิเคราะห์ บิดามารดาของฟรอยด์ยากจน แต่ได้ส่งเสียให้ฟรอยด์ได้รับการศึกษา เขาสนใจกฎหมายเมื่อครั้งเป็นนักเรียน แต่เปลี่ยนไปศึกษาแพทยศาสตร์แทน โดยรับผิดชอบการวิจัยโรคสมองพิการ ภาวะเสียการสื่อความ และจุลประสาทกายวิภาคศาสตร์ เขาเดินหน้าเพื่อพัฒนาทฤษฎีเกี่ยวกับจิตไร้สำนึกและกลไกของการกดเก็บ และตั้งสาขาจิตบำบัดด้วยวาจา โดยตั้งจิตวิเคราะห์ ซึ่งเป็นวิธีการทางคลินิกเพื่อรักษาจิตพยาธิวิทยาผ่านบทสนทนาและระหว่างผู้รับการรักษากับนักจิตวิเคราะห์Ford & Urban 1965, p.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและซิกมุนด์ ฟรอยด์

ซูเดเทินลันด์

ซูเดเทินลันด์ (Sudetenland; เช็กและSudety; Kraj Sudetów) คือชื่อดินแดนในภาษาเยอรมัน (และถูกใช้ในภาษาอังกฤษในช่วงครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 20) ที่ใช้หมายถึงอาณาเขตทางตอนเหนือ ใต้ และตะวันตก ของเชโกสโลวาเกีย อันเป็นบริเวณที่ประชากรเชื้อสายเยอรมันและใช้ภาษาเยอรมันเป็นภาษาแม่อาศัยอยู่จำนวนมาก โดยเฉพาะเขตปกครองที่ติดชายแดนอย่าง โบฮีเมีย โมราเวีย และส่วนของไซลีเซียซึ่งตั้งอยู่ในอาณาเขตของเชโกสโลวาเกีย ซึ่งในขณะนั้นเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของออสเตรียไปจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสิ้นสุดลง ซูเดเทินลันด์ เป็นการสมาสคำในภาษาเยอรมันระหว่าง ลันด์ ซึ่งหมายถึงประเทศหรือดินแดน กับคำว่า ซูเดเทิน ซึ่งเป็นชื่อภาษาเยอรมันของเทือกเขาซูเดเทส (Sudetes) ที่ทอดตัวยาวตามแนวเขตแดนทางตอนเหนือของสาธารณรัฐเช็กและไซลีเซียล่าง (Lower Silesia; ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของโปแลนด์) อย่างไรก็ตามซูเดเทินลันด์เป็นคำที่ใช้หมายถึงดินแดนส่วนที่เลยไปจากแนวเทือกเขาดังกล่าวไปมากพอสมควร ในประวัติศาสตร์ไม่ปรากฎคำว่า ซูเดเทินลันด์ ไปจนกระทั่งช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 และไม่เป็นที่รู้จักหรือใช้กันอย่างแพร่หลายไปจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสิ้นสุดลง เมื่อจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีของชาวเยอรมันล่มสลาย ส่งผลให้เกิดการแตกกระจายออกเป็นรัฐต่าง ๆ มากมาย ชาวเยอรมันซูเดเทินที่อาศัยอยู่แต่ดั้งเดิมจึงกลายเป็นชาวเยอรมันผลัดถิ่นในประเทศใหม่อย่างเชโกสโลวาเกียไปโดยปริยาย ต่อมาคำนี้มีความสำคัญมากขึ้นจากวิกฤตการณ์ซูเดเทิน (Sudeten crisis) ปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและซูเดเทินลันด์

ประชาธิปไตย

รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ นครรัฐวาติกัน ประเทศซาอุดิอาระเบีย UAE กาตาร์ โอมาน ฟิจิและบรูไน ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภา จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลR.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและประชาธิปไตย

ประวัติศาสตร์ยุโรป

ทความนี้ว่าด้วยประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรปโดยรวม.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและประวัติศาสตร์ยุโรป

ประวัติศาสตร์รัสเซีย

ประวัติศาสตร์รัสเซีย เริ่มต้นขึ้นเมื่อชาวสลาฟตะวันออกก่อตั้งจักรวรรดิเคียฟรุส และรับเอาศาสนาคริสต์มาจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ในปี พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและประวัติศาสตร์รัสเซีย

ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

right บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (Bosnia and Herzegovina; บอสเนีย: Bosna i Hercegovina) บางครั้งย่อเป็น Bosnia, BiH, БиХ เป็นประเทศบอลข่านตะวันตกที่มีภูเขามาก เมืองหลวงชื่อซาราเยโว เดิมเป็นหนึ่งในหกสาธารณรัฐของอดีตยูโกสลาเวีย ได้รับเอกราชในสงครามยูโกสลาเวียในช่วงทศวรรษ 1990 และเนื่องจากข้อตกลงเดย์ตัน จึงเป็นรัฐในอารักขาของชุมชนนานาชาติ ปกครองโดยตัวแทนระดับสูงที่เลือกโดยคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาต.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

ประเทศมอนเตเนโกร

มอนเตเนโกร (Montenegro ออกเสียง:; มอนเตเนโกร: มีความหมายว่า "ภูเขาสีดำ") เป็นประเทศเอกราชซึ่งตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตจรดทะเลเอเดรียติกและโครเอเชียทางทิศตะวันตก จรดบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาทางทิศเหนือ จรดเซอร์เบียทางทิศตะวันออก และจรดแอลเบเนียทางทิศใต้ มีพอดกอรีตซาเป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ ในอดีต มอนเตเนโกรมีสถานะเป็นสาธารณรัฐในสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย และต่อมาได้เป็นส่วนหนึ่งในสหภาพการเมืองของเซอร์เบีย-มอนเตเนโกร หลังจากมีการลงประชามติเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและประเทศมอนเตเนโกร

ประเทศยูเครน

ประเทศยูเครน (Ukraine) หรือ อูกรายีนะ (Україна, Ukrayina) เป็นประเทศในยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกติดต่อกับประเทศรัสเซีย ทางเหนือติดต่อกับเบลารุส ทางตะวันตกติดต่อกับโปแลนด์ สโลวาเกีย และฮังการี ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับโรมาเนียและมอลโดวา ทางใต้และตะวันออกเฉียงใต้จรดทะเลดำและทะเลอะซอฟตามลำดับ ยูเครนมีพื้นที่ 603,628 กม.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและประเทศยูเครน

ประเทศสโลวาเกีย

ลวาเกีย (Slovakia; Slovensko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสโลวัก (Slovak Republic; Slovenská republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางตะวันตกเฉียงเหนือติดต่อกับเช็กเกีย ทางเหนือติดต่อกับโปแลนด์ ทางตะวันออกติดต่อกับยูเครน ทางใต้ติดต่อกับฮังการี และทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับออสเตรีย เมืองใหญ่ที่สุดของประเทศคือเมืองหลวงบราติสลาวา ปัจจุบันสโลวาเกียเป็นรัฐสมาชิกรัฐหนึ่งของสหภาพยุโรป และได้เปลี่ยนสกุลเงินของประเทศจากกอรูนาสโลวักมาเป็นยูโรเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและประเทศสโลวาเกีย

ประเทศสโลวีเนีย

ประเทศสโลวีเนีย (Slovenia; Slovenija) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐสโลวีเนีย (Slovene:, abbr.: RS) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในยุโรปกลาง ซึ่งเป็นเส้นทางการค้าและแหล่งวัฒนธรรมหลักของทวีปยุโรป มีอาณาเขตทางตะวันตกจรดอิตาลี ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลเอเดรียติก ทางใต้และตะวันออกจรดโครเอเชีย ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดฮังการีและทางเหนือจรดออสเตรีย มีพื้นที่ประมาณ 20,273 ตารางกิโลเมตรและมีประชากร 2.06 ล้านคน สโลวีเนียเป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาและเป็นสมาชิกของสหประชาชาติ สหภาพยุโรปและเนโท เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดคือลูบลิยานา พื้นที่ส่วนใหญ่ของสโลวีเนียเป็นภูเขาและมีลักษณะอากาศแบบภูมิอากาศภาคพื้นทวีปหลัก ยกเว้นภูมิภาคชายฝั่งจะมีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนและภูมิภาคตะวันตกเฉียงเหนือซึ่งมีภูมิอากาศแบบเทือกเขาแอลป์ นอกจากนี้ไดนาริกแอลป์และที่ราบพันโนเนียก็พอได้ในสโลวีเนียเช่นกัน สโลวีเนียเป็นหนึ่งประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพเป็นหนึ่งในพื้นที่ ๆ มีแหล่งน้ำอุดมสมบูรณ์มากในยุโรป ทั้งแม่น้ำจำนวนมาก ชั้นหินอุ้มน้ำและแหล่งธารน้ำใต้ดิน สโลวีเรียมีป่าปกคลุมมากกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศ ส่วนการตั้งถิ่นฐานของประชากรก็จะกระจักกระจายกันไป ประวัติศาสตร์สโลวีเนียได้รับทั้งวัฒนธรรมและภาษาจากสลาวิกตะวันตก สลาวิกใต้ เจอร์แมนิก โรมานซ์และฮังกาเรียน ถึงแม้ประชากรในประเทศจะไม่ได้เป็นเอกพันธุ์เดียวกันแต่ส่วนใหญ่เป็นชาวสโลวีน ภาษาสโลวีเนียซึ่งเป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาสลาวิกใต้เป็นภาษาราชการของประเทศ ประชากรส่วนใหญ่ในประเทศไม่นับถือศาสนาอย่างแท้จริง แต่วัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของประเทศได้รับอิทธิพลจากโรมันคาทอลิกและลูเทอแรน เศรษฐกิจของประเทศสโลเวเนียเป็นแบบเปิดขนาดเล็กและเป็นอุตสาหกรรมมุ่งการส่งออก ที่ได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศ และได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากวิกฤติหนี้สาธารณะยุโรปที่เริ่มช่วงปลายยุค 2000 เศรษฐกิจหลักคืออุตสาหกรรมบริการตามด้วยอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมการก่อสร้าง ในอดีตพื้นที่ของสโลเวเนียเป็นส่วนหนึ่งของรัฐที่แตกต่างกันหลายแห่งทั้งจักรวรรดิโรมัน จักรวรรดิไบแซนไทน์ จักรวรรดิการอแล็งเฌียง จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ปกครองโดยราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค สาธารณรัฐเวนิส จังหวัดอิลลิเรียของนโปเลียนที่ 1ที่ปกครองโดยฝรั่งเศส จักรวรรดิออสเตรียและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ในเดือนตุลาคม..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและประเทศสโลวีเนีย

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและประเทศอิตาลี

ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

ซอร์เบียและมอนเตเนโกร (Serbia and Montenegro, SCG) เป็นชื่อของอดีตสหพันธรัฐซึ่งเป็นการรวมอย่างหลวม ๆ ของเซอร์เบียและมอนเตเนโกร อดีตสาธารณรัฐของยูโกสลาเวีย ตั้งแต่ พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

ปราก

รรยากาศภายในกรุงปราก ปราก (Prague) หรือ ปราฮา (Praha) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศเช็กเกีย มีประชากรอาศัยประมาณ 1.2 ล้านคน เมื่อ ค.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและปราก

ปัญหาเยอรมัน

ำถามเยอรมัน (Deutsche Frage; German Question) คือประเด็นการอภิปรายในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเฉพาะในช่วงการปฏิวัติ พ.ศ. 2391 ถึงวิธีการที่ดีที่สุดในการรวมชาติเยอรมัน (Unification of Germany) โดยตั้งแต..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและปัญหาเยอรมัน

นาดทาโทรซาบลีซกา

ลงชาติสาธารณรัฐสโลวัก หรือประเทศสโลวาเกีย มีชื่อว่า "นาดทาโทรซาบลีซกา" (สโลวัก: Nad Tatrou sa blýska) อันมีความหมายว่า "สายฟ้าเหนือเขาทาทราส" ทำนองเพลงมาจากเพลงพื้นเมืองของสโลวาเกีย ส่วนเนื้อร้องประพันธ์ขึ้นเมื่อปี ค.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและนาดทาโทรซาบลีซกา

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและนาซีเยอรมนี

นิยามของตรา

นิยามของตรา (Blazon) ในด้านการศึกษาทางด้านมุทราศาสตร์ และ ธัชวิทยา “Blazon” หรือ “นิยามของตรา” คือคำบรรยายอย่างเป็นทางการของลักษณะของตรา ที่ส่วนใหญ่เป็นการบรรยายตราอาร์ม หรือ ธง ที่สามารถทำให้ผู้สร้างสามารถสร้างตรา, ธง หรือ เครื่องหมายได้ตามความต้องการอย่างถูกต้อง ฉะนั้นรูปลักษณะและองค์ประกอบของตราอาร์ม หรือ ธงตามหลักแล้วไม่ใช่เป็นการบรรยายโดยการใช้รูป แต่จะเป็นการบรรยายโดยตัวอักษร (แต่ในสมัยปัจจุบัน จะมีการให้นิยามเพิ่มเติมและบรรยายอย่างเจาะจงกว่าที่เป็นมาด้วยรายละเอียดทางเรขาคณิต) “นิยามของตรา” ใช้ภาษาเฉพาะทางในการเขียนนิยามตั้งแต่หลักการวางตำแหน่งของคำบรรยาย การใช้คำกิริยา ไปจนถึงหลัก และลำดับการเขียนคำบรรยายของแต่ละส่วนที่ย่อยออกไป เช่นคำแรกที่พบในการบรรยายตราคือชื่อผิวตรา ที่หมายถึงสีหรือผิวของพื้นตรา เช่น “Azure...” ซึ่งหมายความว่า “ (พื้นตรา) น้ำเงิน” ผู้อ่านที่เข้าใจหลักไวยากรณ์ของการเขียนคำนิยามจะทราบว่า “Azure...” เป็นสีของพื้นตราโดยไม่ต้องมีคำว่า “Field” ที่แปลว่าพื้นตรานำหน้าคำว่า “Azure...” เพราะตำแหน่งการวางคำเป็นไปตามหลักไวยากรณ์ของการเขียนคำนิยาม นอกจากโครงสร้างการวางลำดับการบรรยายและการใช้ไวยากรณ์แล้ว นิยามของตราในมุทราศาสตร์ก็ยังใช้คำศัพท์ที่เป็นศัพท์เฉพาะกิจเช่นคำว่า “Charge” ที่หมายถึง “เครื่องหมาย” บน “พื้นตรา” (Field) หรือคำว่า “Attitude” ที่หมายถึง “ลักษณะการวางท่า” ของมนุษย์หรือสัตว์ที่ปรากฏบนตรา นอกจากตราอาร์ม หรือ ธง แล้ว “นิยามของตรา” ก็อาจจะใช้ในการบรรยายลักษณะของสิ่งอื่นๆ ด้วยเช่น ตรายศ (badge), แถบคำขวัญ (banner) และ ตราประทั.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและนิยามของตรา

นิโคลา เทสลา

นิโคลา เทสลา (Никола Тесла, Nikola Tesla) เกิดเมื่อ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2399 - ถึงแก่กรรม 7 มกราคม พ.ศ. 2486 (86 ปี) เป็น นักประดิษฐ์, นักฟิสิกส์, วิศวกรเครื่องกล, วิศวกรไฟฟ้า และ นักทำนายอนาคต เขาเกิดที่ Smiljan ในอดีตออสเตรีย - ฮังการี ซึ่งปัจจุบันคือสาธารณรัฐโครเอเชีย ภายหลังเขาได้รับสัญชาติเป็นพลเมืองอเมริกัน เทสลามีปัญหาทางประสาทในวัยเด็ก ที่เขาต้องทุกข์ทรมาน จาก โรคย้ำคิดย้ำทำ เขาได้งานแรกในบูดาเปสต์โดยทำงานที่บริษัทโทรศัพท์ เทสล่าได้ประดิษฐ์ลำโพงสำหรับโทรศัพท์ระหว่างที่ทำงานอยู่ที่นี่ ก่อนที่จะเดินทางเร่ร่อนไปอเมริกาในปี 2427 เพื่อที่จะไปทำงานกับ โทมัส เอดิสัน แต่ในไม่นาน เขาก็เริ่มก่อตั้ง ห้องปฏิบัติการ/บริษัท พัฒนาอุปกรณ์ไฟฟ้า ของตัวเองโดยมีผู้สนับสนุนด้านการเงินให้ สิทธิบัตรมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับแบบเหนี่ยวนำ และ หม้อแปลงไฟฟ้า ได้รับการจดทะเบียนโดย จอร์จ เวสติงเฮ้าส์ ซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างให้เทสลาเป็นที่ปรึกษาและพัฒนาระบบไฟฟ้ากระแสสลับด้วย ผลงานของเทสลาที่ทำให้เขาเป็นที่สนใจในสมัยนั้นอาทิเช่น การทดลองเกี่ยวกับ คลื่นความถี่สูงและแรงดันไฟฟ้าแรงสูง ใน นิวยอร์ก และ โคโลราโด สปริงซ์, สิทธิบัตรของอุปกรณ์และทฤษฎีที่ใช้ในการสร้างวิทยุสื่อสาร, การทดลอง X-ray ของเขา, เขายังเป็นผู้คิดค้นตัวกำเนิดสัญญาณ (oscillator) หลากหลายรูปแบบอีกด้วย และ โครงการ Wardenclyffe Tower ซึ่งเป็นความพยายามในการส่งสัญญาณไร้สายข้ามทวีปแต่โชคร้ายที่โครงการนี้ไม่ประสบความสำเร็จ แม้เทสลาจะเป็นผู้คิดค้นสัญญาณวิทยุ การค้นพบหลักการสนามแม่เหล็กไฟฟ้า แต่ผลงานที่ทำให้เขาเป็นที่รู้จักกันดีคือ การค้นคว้าพัฒนาไฟฟ้ากระแสสลับ ซึ่งในขณะนั้นมีการแข่งขันกับไฟฟ้ากระแสตรงที่ถูกพัฒนาขึ้นมา โทมัส เอดิสัน แต่ในที่สุดไฟฟ้ากระแสสลับก็ได้รับความนิยมมากกว่า เพราะเกิดการสูญเสียน้อยกว่าในการส่งกระแสไฟฟ้าในระยะทางไกล เทสลาประสบความสำเร็จเป็นที่รู้จักและทำให้ผู้คนเห็นถึงความสามารถของจากโชว์สิ่งประดิษฐ์ที่ดูน่าอัศจรรย์ทั้งหลาย ถึงแม้ว่าเขาจะได้เงินจากสิทธิบัตรต่าง ๆ แต่เขาก็ได้ทำการทดลองอย่างมากมายด้วยเช่นกัน ทำให้ในช่วงบั้นปลายชีวิตของเขาต้องเป็นหนี้ และ มีปัญหาด้านการเงิน ต้องอาศัยอยู่อย่างโดษเดี่ยวในห้องพักหมายเลข 3327 ที่โรงแรม New Yorker ด้วยลักษณะและธรรมชาติในการทำงานของเทสลาทำให้เขาถูกขนานนามว่าเป็น "นักวิทยาศาสตร์เพี้ยน" เทสลาถูกพบว่าเสียชีวิตในห้องพักหมายเลข 3327 ที่โรงแรม New Yorker เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2486 หลังจากการตายของเขางานของเทสล่าก็ได้เงียบหายไป แต่ในปี 2533 เขาก็เริ่มกลับมาเป็นที่รู้จักอีกครั้ง ในปี 2548 เขาถูกเสนอชื่อให้เป็นตัวแทน 1 ใน 100 คนในรายการโทรทัศน์ "The Greatest American" โดยการสำรวจนิยมโดย AOL กับ ช่อง Discovery การทำงานและสิ่งประดิษฐ์ที่มีชื่อเสียงของเขายังเป็นจุดกำเนิดของทฤษฎีสมคบคิดจำนวนมาก และ ยังได้นำไปใช้สนับสนุนวิทยาศาสตร์เทียม, ทฤษฎียูเอฟโอ และ ไสยศาสตร์ยุคใหม่ อีกด้วย ในปี 2503 หน่วยสำหรับวัดความ ความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็ก หรือ การเหนี่ยวนำด้วยพลังแม่เหล็ก (ที่รู้จักกันทั่วไปว่าเป็นสนามแม่เหล็ก B \), ถูกตั้งชื่อว่า เทสลา เพื่อเป็นเกียรติแก่เขา นอกจากนี้ เทสลายังถือเป็นวิศวกรที่สร้างนวัตกรรมล้ำยุคที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สิทธิบัตรของเทสลาและผลงานเชิงทฤษฎีของเขากลายเป็นพื้นฐานของระบบไฟฟ้ากระแสสลับ ได้แก่ ระบบจ่ายกำลังหลายเฟส และมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ ซึ่งเขามีส่วนผลักดันเป็นอย่างมากในช่วงปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่สอง.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและนิโคลา เทสลา

นโปเลียนที่ 2

นโปเลียน ฟร็องซัว ชาร์ล โฌแซ็ฟ โบนาปาร์ต (Napoléon François Charles Joseph Bonaparte; 20 มีนาคม พ.ศ. 235422 กรกฎาคม พ.ศ. 2365) ดำรงพระอิสริยยศเป็นพระราชกุมาร (Prince Imperial) กษัตริย์แห่งโรม และเจ้าชายแห่งปาร์มา ปลาเซนตีอา และกัสตัลลา นอกจากนี้ยังทรงเป็นที่รู้จักในราชสำนักออสเตรียตั้งแต่ปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและนโปเลียนที่ 2

แบรอนิสแมรี เว็ตเซรา

แบรอนิสแมรี เว็ตเซรา (Baroness Mary Vetsera) (ชื่อเต็ม: แมรี อเล็กซานดรีน ฟรีอินน์ วอน เว็ตเซรา, Mary Alexandrine Freiin von Vetsera) เป็นนางสนม หรือชายาลับในอาร์คดยุครูดอล์ฟ มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย-ฮังการี ซึ่งเป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวในสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ โจเซฟที่ 1 และสมเด็จพระจักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรีย ความสัมพันธ์ของทั้งคู่ นำไปสู่เหตุการณ์โศกนาฏกรรมที่คฤหาสน์ล่าสัตว์มาเยอร์ลิง แบรอนิสแมรี เกิดเมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและแบรอนิสแมรี เว็ตเซรา

แบล็กแฮนด์

สัญลักษณ์ของแบล็กแฮนด์ แบล็กแฮนด์ (เซอร์เบีย: Црна рука / Crna Ruka) เป็นองค์กรลับของเซอร์เบีย ที่มีกัฟรีโล ปรินซีปเป็นสมาชิก เป็นผู้ทำการลอบปลงพระชนม์อาร์คดยุคฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรีย องค์รัชทายาทของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และเป็นชนวนที่ทำให้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 หมวดหมู่:สมาคมลับ หมวดหมู่:สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หมวดหมู่:องค์กรลับ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและแบล็กแฮนด์

แฟแร็นตส์ ซาลอชี

แฟแร็นตส์ ซาลอชี (6 มกราคม ค.ศ. 1897 – 12 มีนาคม ค.ศ. 1946) เป็นผู้นำพรรคแอร์โรว์ครอสส์ที่นิยมฟาสซิสต์-กลุ่มเคลื่อนไหวชาวฮังการี,"ผู้นำแห่งชาติ"(Nemzetvezető) ได้เป็นประมุขแห่งรัฐและนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรฮังการีในฐานะ"รัฐบาลเอกภาพแห่งชาติฮังการี"(Nemzeti Összefogás Kormánya) ในช่วงหกเดือนสุดท้ายของการเข้าร่วมของฮังการีในสงครามโลกครั้งที่สอง ภายหลังจากเยอรมันได้เข้ายึดครองฮังการีและทำการล้มล้างอำนาจมิกโลช โฮร์ตีด้วยกองกำลัง ในช่วงบทบาทสั้นๆของเขา คนของซาลอชีได้ทำการสังหารหมู่ชาวยิวประมาณ 10,000 - 15,000 คน ภายหลังสงคราม เขาถูกจับกุมและถูกไต่สวนโดยศาลฮังการี เขาจึงถูกตัดสินลงโทษด้วยการประหารชีวิตสำหรับการก่ออาชญากรรมสงครามและอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ หมวดหมู่:ชาวฮังการี หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีฮังการี หมวดหมู่:ทหารชาวฮังการี หมวดหมู่:ทหารในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หมวดหมู่:อาชญากรสงคราม หมวดหมู่:ผู้ถูกประหารชีวิตโดยการแขวนคอ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและแฟแร็นตส์ ซาลอชี

แกรนด์ดิวคัลไฮเนส

แกรนด์ดิวคัลไฮเนส (Grand Ducal Highness) หรือ แกรนด์ดิวคัลไฮนิส (/ˈhʌɪnɪs/) เป็นฐานันดรศักดิ์ของสมาชิกราชวงศ์บางชั้นในทวีปยุโรป มักใช้นำพระนามเจ้าชายหรือเจ้าหญิงที่เป็นพระราชบุตรในสมเด็จพระราชาธิบดี,สมเด็จพระราชินีนาถ,สมเด็จพระจักรพรรดิ ฐานันดรศักดิ์แกรนด์ดิวคัลไฮเนสมีศักดิ์ต่ำกว่า "อิมพีเรียลไฮเนส" "รอยัลไฮเนส" แต่สูงกว่า "ไฮเนส" และ "เซอรีนไฮเนส" เป็นต้น ฐานันดรศักดิ์แกรนด์ดิวคัลไฮเนสมักพบในพระราชวงศ์ของจักรวรรดิเยอรมันและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและแกรนด์ดิวคัลไฮเนส

แมเดลิน อาลไบรต์

แมเดลิน ยานา คอร์เบล อาลไบรต์ (Madeleine Jana Korbel Albright) หรือชื่อเกิดคือ มารี ยานา กอร์เบ-ลอวา (Marie Jana Körbelová) เป็นนักการเมืองและนักการทูตชาวอเมริกัน เป็นสตรีคนแรกที่ได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา เธอถูกเสนอชื่อโดยประธานาธิบดี บิล คลินตัน ในวันที่ 5 ธันวาคม 1996 และได้รับการรับรองจากวุฒิสภาด้วยมติเอกฉันท์ 99–0 ต่อมาในปี 2012 เธอยังได้รับมอบเหรียญอิสรภาพประธานาธิบดีจากบารัก โอบามา และดำรงตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เธอยังสามารถพูดภาษาอังกฤษ, ฝรั่งเศส, รัสเซีย และ เช็ก ได้อย่างคล่องแคล่ว เธอเกิดในเขตสมีชอฟของกรุงปราก ประเทศเชโกสโลวาเกีย ในครอบครัวที่มีบิดาเป็นนักการทูต ในช่วงที่เธอเกิดออกมานั้น เป็นช่วงที่เชโกสโลวาเกียมีสถานะเป็นรัฐเอกราชสั้นๆราว 20 ปีหลังได้รับเอกราชจากจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ต่อมาเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองอุบัติขึ้น นาซีเยอรมนีเข้ายึดครองเชโกสโลวาเกียและได้สั่งเนรเทศครอบครัวของเธอเนื่องจากบิดามีความสัมพันธ์กับผู้นำฝ่ายเสรีคนสำคัญของเชโกสโลวาเกีย ครอบครัวของเธออพยพไปยังลอนดอน สหราชอาณาจักร ในฐานะผู้ลี้ภัย และบิดาเข้าทำงานในรัฐบาลพลัดถิ่นแห่งเชโกสโลวาเกีย ภายหลังสงครามสิ้นสุด ครอบครัวของเธอก็ย้ายกลับไปยังปราก ต่อมาเมื่อบิดาของเธอได้เป็นทูตเชโกสโลวาเกียประจำยูโกสลาเวีย ครอบครัวของเธอก็ต้องย้ายไปยังกรุงเบลเกรด แต่เนื่องด้วยยูโกสลาเวียถูกปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ ทำให้บิดาของเธอเกรงว่าหากส่งเธอเข้าเรียนที่นั่นอาจจะถูกปลูกฝังความคิดแบบลัทธิมากซ์ ด้วยเหตุนี้บิดาจึงให้เธอเรียนกับพี่เลี้ยงและจึงส่งเธอไปเรียนในสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งที่นั่นเธอได้เริ่มเรียนภาษาฝรั่งเศส และเปลี่ยนชื่อตัวจาก มารี เป็น แมเดลิน ต่อมาเมื่อฝ่ายคอมมิวนิสต์ภายใต้การสนับสนุนของสหภาพโซเวียตได้ปกครองเชโกสโลวาเกีย ทำให้บิดาของเธอถูกปลด และได้ตำแหน่งใหม่ในสหประชาชาติโดยเป็นคณะผู้แทนสหประชาชาติประจำแคชเมียร์ โดยบิดาของเธอได้ตัดสินใจอพยพครอบครัวทั้งหมดไปยังสหรัฐอเมริกาผ่านทางอังกฤษ เพื่อที่จะได้พบเขาที่ในบางโอกาสเขาจะต้องเดินทางมายังสำนักงานใหญ่สหประชาชาติAlbright, 2003, p.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและแมเดลิน อาลไบรต์

แรเฌอ แชแร็ชช์

แรเฌอ แชแร็ชช์ (Rezső Seress; 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1899 – 11 มกราคม ค.ศ. 1968) เป็นนักแต่งเพลงชาวฮังการี มีชื่อเกิดว่า "รูดอล์ฟ สปิตเซอร์" (Rudolf Spitzer) ในวัยเด็ก เขาออกจากโรงเรียนและเริ่มต้นชีวิตจากการเป็นนักแสดงกายกรรมในคณะละครสัตว์ แต่หลังจากประสบอุบัติเหตุ แชแร็ชช์ลาออกมาเป็นนักแสดงในโรงละคร ต่อมาเขาทำงานเป็นนักดนตรีในร้านอาหารแห่งหนึ่ง ด้วยฐานะที่ยากจน ทำให้แชแร็ชช์ต้องหาเลี้ยงชีพด้วยการแต่งเพลงไปด้วย ในปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและแรเฌอ แชแร็ชช์

แอนสท์ คัลเทนบรุนเนอร์

แอนสท์ คัลเทนบรุนเนอร์ (Ernst Kaltenbrunner) เป็นชาวเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย เป็นเจ้าหน้าที่อาวุโสของนาซีเยอรมนีระหว่าง สงครามโลกครั้งที่สอง.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและแอนสท์ คัลเทนบรุนเนอร์

แคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจ

ตรนตีโน-อัลโตอาดีเจ (Trentino-Alto Adige) หรือ เตรนตีโน-ซืททีโรล (Trentino-Südtirol) เป็นแคว้นหนึ่งในยี่สิบแคว้นและหนึ่งในห้าแคว้นปกครองตนเองของประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ ประกอบด้วย 2 จังหวัด ได้แก่ เตรนโตและบอลซาโน พื้นที่นี้เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี (รวมถึงก่อนหน้านี้ ซึ่งคือจักรวรรดิออสเตรีย) เมื่อปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและแคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจ

แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)

แนวรบด้านตะวันออก เคยเป็นเขตสงครามในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก คำดังกล่าวขัดกับแนวรบด้านตะวันตก แม้จะแยกกันทางภูมิศาสตร์ เหตุการณ์ในเขตสงครามทั้งสองมีอิทธิพลต่อกันอย่างมาก ในแหล่งข้อมูลรัสเซีย บางครั้งเรียกสงครามนี้ว่า สงครามปุติภูมิครั้งที่สอง.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)

โรแบร์ต บาราญ

รแบร์ต บาราญ (Róbert Bárány; 22 เมษายน ค.ศ. 1876 – 8 เมษายน ค.ศ. 1936) เป็นนักโสตวิทยาชาวออสเตรีย-ฮังการี เกิดที่กรุงเวียนนา ในครอบครัวชาวยิวฮังการี เป็นบุตรของอิกนาซ บาราญ และมาริยา ฮ็อค บาราญเรียนวิชาแพทย์ที่มหาวิทยาลัยเวียนนา เมื่อทำงานเป็นแพทย์ บาราญได้ทดลองฉีดของเหลวเข้ารูหูของผู้ป่วยเพื่อลดอาการวิงเวียน เขาพบว่าเมื่อฉีดของเหลวเย็นเข้าไป ผู้ป่วยจะมีอาการรู้สึกหมุนและตากระตุก และเมื่อเปลี่ยนเป็นของเหลวอุ่น ผู้ป่วยจะมีอาการตากระตุกในทิศทางตรงข้าม บาราญจึงตั้งสมมติฐานว่าเอนโดลิมฟ์จะต่ำลงเมื่ออยู่ในอุณหภูมิเย็นและสูงขึ้นเมื่ออยู่ในอุณหภูมิอุ่น เขาพบว่าทิศทางการไหลของเอนโดลิมฟ์มีผลต่อการรับรู้อากัปกิริยาและการรักษาสมดุลของร่างกาย บาราญได้ทดลองจนพบว่าการผ่าตัดสามารถรักษาโรคทางระบบรักษาสมดุลได้ หลังจากนั้นเขาได้ศึกษาด้านอื่น ๆ ของการรักษาสมดุล รวมถึงหน้าที่ของสมองส่วนซีรีเบลลัม ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง บาราญทำงานเป็นศัลยแพทย์ในกองทัพออสเตรีย-ฮังการี แต่ถูกกองทัพรัสเซียจับตัว ขณะถูกคุมขัง บาราญได้รับแจ้งว่าเขาเป็นผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ประจำปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและโรแบร์ต บาราญ

โอดีโล โกลบ็อกนิก

อดีโล โกลบ็อกนิก(21 เมษายน ค.ศ. 1904-31 พฤษภาคม ค.ศ. 1945)เป็นอาชญากรสงครามชาวออสเตรีย เขาเป็นนาซีและต่อมาได้เป็นผู้นำเอ็สเอ็ส ด้วยฐานะที่เป็นผู้ร่วมงานกับอดอล์ฟ ไอชมันน์ เขาได้มีบทบาทสำคัญในปฏิบัติการไรน์ฮาร์ด ซึ่งได้แสดงเห็นจากการสังหารชาวโปแลนด์เชื้อสายยิวทั้งหมดหนึ่งล้านคนในช่วงการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ของนาซีในค่ายมรณะนาซี ได้แก่ ค่ายไมดาเนก,ค่ายเทรบลิงคา ค่ายโซบีบอร์ และค่ายเบวเชตซ์ นักประวัติศาสตร์ มิชาเอล อัลเลนได้กล่าวว่า เขาเป็น"บุคคลที่ชั่วช้าที่สุดในองค์กรที่ชั่วร้ายเท่าที่รู้จักกันมา" ในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สอง โกลบ็อกนิกถูกจับกุมโดยทหารอังกฤษ ต่อมาเขาได้ฆ่าตัวตายด้วยการกัดแคปซูลบรรจุไซยาไนด์ ร่างของเขาได้ถูกฝังในสุสานท้องถิ่นซึ่งถูกฝังด้านนอกกำแพงโบสถ์สุสานเพราะนักบวชปฏิเสธที่จะไม่ให้คนชั่วช้าอย่างเขามาอยู่ในสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์และศพถูกฝังโดยไม่ผ่านพิธีการใ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและโอดีโล โกลบ็อกนิก

โอซีเยก

อซีเยก (Osijek; Eszék; Esseg) คือเมืองใหญ่อันดับที่สี่ของประเทศโครเอเชีย ตั้งอยู่ในภูมิภาคทางทิศตะวันออกของโครเอเชียที่เรียกว่าสลาโวเนีย (Slavonija; Slavonia) ใกล้กับชายแดนประเทศฮังการีและประเทศเซอร์เบีย มีแม่น้ำดราวาเป็นแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่านเมือง ได้รับการยกย่องอย่างไม่เป็นทางการว่าเป็นเมืองหลวงของภูมิภาคสลาโวเนีย ด้านประวัติศาสตร์โอซีเยกมีอายุยืนยาวติดต่อกันมากว่า 800 ปี ผ่านการปกครองจากหลายอาณาจักรทั้งราชอาณาจักรฮังการี, อาณาจักรออตโตมัน, ฮับส์บูร์ก, ออสเตรีย-ฮังการี รวมถึง ยูโกสลาเวีย ในช่วงทศวรรษที่ 90 โอซีเยกเป็นหนึ่งในเมืองซึ่งได้รับความเสียหายมากที่สุดในสงครามการประกาศอิสรภาพของโครเอเชีย ทำให้เมืองซึ่งเคยเฟื่องฟูในฐานะเมืองอุตสาหกรรมหลักแห่งนึงของรัฐโครเอเชียในสหพันธรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียประสบกับปัญหาความซบเซาทางเศรษฐกิจ แม้กระทั่งทุกวันนี้ก็ยังไม่ฟื้นตัวดีนัก ปัจจุบันนี้ด้วยประชากรราวๆ 108,000 คน โอซีเยกจึงเป็นศูนย์กลางการปกครองของเขตโอซีเยก-บารานยา เป็นที่ตั้งของสนามบินเพียงแห่งเดียวในภูมิภาคสลาโวเนียตะวันออก มีความสำคัญในฐานะศูนย์รวมความเจริญทางเศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรม ศาสนา การคมนาคม และการท่องเที่ยว.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและโอซีเยก

โซฟีอา ดัชเชสแห่งโฮเฮนเบิร์ก

ซฟี โชเทิค เคานเตสแห่งชอทโควาและวงนิง (Sophie Chotek, Gräfin von Chotkova und Wognin) เป็นพระชายาในอาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย ซึ่งถือเป็นการอภิเษกสมรสนอกกฎมณเฑียรบาล ต่อมา ภายหลังได้รับพระราชทานยศสูงขึ้นไปอีกเป็น ดัชเชสแห่งโฮเอ็นแบร์ก (The Duchess of Hohenberg).

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและโซฟีอา ดัชเชสแห่งโฮเฮนเบิร์ก

ไกเซอร์

วิลเฮล์มที่ 2 แห่งจักรวรรดิเยอรมัน ไกเซอร์ (Kaiser) คือพระอิสริยยศเยอรมันซึ่งเทียบได้กับจักรพรรดิ มีรากศัพท์มาจากคำว่าซีซาร์ของอาณาจักรโรมัน เช่นเดียวกับคำว่าซาร์ในภาษารัสเซีย ตำแหน่งนี้เป็นตำแหน่งที่สูงที่สุด คำว่าไกเซอร์เป็นคำทั่วไปที่ใช้เรียกจักรพรรดิในภาษาฮอลแลนด์ จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์เรียกตนเองว่า ไกเซอร์ เนื่องจากมองว่าอาณาจักรของตนนั้นสืบทอดมาจากจักรวรรดิโรมัน จึงได้ใช้ชื่อนี้เพื่อแสดงถึงต้นกำเนิดเก่าก่อน นอกจากนี้ พระเจ้าแผ่นดินแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีที่มาจากราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค ก็ใช้พระอิสริยยศว่า "ไกเซอร์" เช่นกัน ไกเซอร์แห่งจักรวรรดิออสเตรีย (ค.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและไกเซอร์

ไตรพันธมิตร

ตรพันธมิตร เป็นพันธมิตรทางการทหารระหว่างเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการีและอิตาลี ซึ่งจัดตั้งขึ้นตั้งแต..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและไตรพันธมิตร

ไตรภาคี

ันธมิตรทางทหารในยุโรป ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ไตรภาคี (Triple entente; มาจากภาษาฝรั่งเศส entente หมายถึง "ข้อตกลง") คือ ชื่อเรียกของพันธมิตรระหว่างอังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เพื่อเป็นพันธมิตรเพื่อยับยั้งฝ่ายมหาอำนาจกลาง และยังเป็นแผนการของฝรั่งเศสซึ่งต้องการโอบล้อมจักรวรรดิเยอรมัน พันธมิตรของอำนาจทั้งสามมีเพิ่มมากขึ้นจากการทำข้อตกลงหลายฉบับกับโปรตุเกส ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และสเปน ทำให้เกิดเป็นอำนาจที่แข็งแกร่งเพื่อถ่วงดุล ไตรพันธมิตร อันประกอบด้วยเยอรมนี จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและไตรภาคี

เกรกอร์ เมนเดล

กรเกอร์ โยฮันน์ เมนเดล (Gregor Johann Mendel; 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2427 - 6 มกราคม พ.ศ. 2427) เป็นนักวิทยาศาสตร์และภราดาคณะออกัสติเนียนชาวโมราเวียที่พูดภาษาเยอรมัน ผู้ซึ่งมีชื่อเสียงจากการก่อตั้งวิทยาศาสตร์ยุคใหม่สาขาพันธุศาสตร์ แม้ว่าชาวสวนทั่วไปจะทราบถึงลักษณะปรากฏที่แตกต่างกันของพืชชนิดต่าง ๆ อยู่แล้ว โดยเมนเดลได้เริ่มศึกษาจากต้นถั่ว จนสามารถตั้งเป็นกฎทางพันธุกรรมมากมาย และภายหลังรู้จักกันในชื่อว่า พันธุศาสตร์ของเมนเดล เมนเดลเสียชีวิตด้วยโรคไตในวันที่ 6 มกราคม..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและเกรกอร์ เมนเดล

เกลี เราบัล

อังเกอลา มาเรีย "เกลี" เราบัล (Angela Maria „Geli“ Raubal) เป็นหลานสาวของลูกพี่ลูกน้องที่ร่วมฝ่ายบิดาของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เกิดในเมืองลินซ์, ออสเตรีย-ฮังการี.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและเกลี เราบัล

เกอร์ตี คอรี

กอร์ตี เทเรซา คอรี (Gerty Theresa Cori; นามสกุลเดิม: แรดนิตซ์ (Radnitz); 15 สิงหาคม ค.ศ. 1896 – 26 ตุลาคม ค.ศ. 1957) เป็นนักชีวเคมีชาวเช็ก/อเมริกัน เกิดที่เมืองปราก จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันอยู่ในสาธารณรัฐเช็ก) เป็นบุตรสาวของออตโตและมาร์ธา แรดนิตซ์ เรียนที่โรงเรียนแพทย์ของมหาวิทยาลัยชาลส์ ปราก ขณะเรียนอยู่ที่นั่น เกอร์ตีพบกับคาร์ล คอรี ทั้งคู่แต่งงานกันหลังเรียนจบในปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและเกอร์ตี คอรี

เกออร์ก ฟอน ฮับส์บูร์ก

อาร์ชดยุกจอร์จแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: พอล จอร์จ มาเรีย โจเซฟ โดมินิกัส; Paul Georg Maria Joseph Dominikus von Habsburg-Lothringen) ประสูติเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและเกออร์ก ฟอน ฮับส์บูร์ก

เรือยิงตอร์ปิโดยูโกสลาเวีย ที 5

รือยิงตอร์ปิโดยูโกสลาเวีย ที 5 (T5) เป็นเรือยิงตอร์ปิโดประจำการในราชนาวียูโกสลาเวียระหว่างปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและเรือยิงตอร์ปิโดยูโกสลาเวีย ที 5

เรืออู

เรืออู 995 เรืออู (AU-boat; AU-Boot, อู๋โบท, คำเต็ม: Unterseeboot, อุนเทอร์เซโบท หมายถึง "เรือใต้ทะเล") คำนี้ในภาษาเยอรมันหมายถึงเรือดำน้ำใด ๆ แต่ในภาษาอังกฤษ (ร่วมกับอีกหลายภาษา) หมายความเฉพาะถึงเรือดำน้ำเยอรมัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สอง เรืออู๋นั้นมีเป็นอาวุธกองเรือที่มีประสิทธิภาพต่อเรือรบข้าศึก ทว่าถูกใช้มีประสิทธิภาพสูงสุดในบทบาทการสงครามเศรษฐกิจ (การตีโฉบฉวยเรือพาณิชย์) การปิดล้อมทางทะเลต่อการขนส่งสินค้าทางเรือข้าศึก เป้าหมายหลักของการทัพเรืออูในสงครามโลกทั้งสองครั้งคือกองเรือพาณิชย์ที่นำเสบียงจากประเทศแคนาดา จักรวรรดิอังกฤษและสหรัฐอเมริกา ไปส่งยังหมู่เกาะสหราชอาณาจักร และรวมถึงสหภาพโซเวียตและประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในสงครามโลกครั้งที่สอง เรือดำน้ำจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (และก่อนหน้านั้น) ก็เรียกว่าเรืออู๋ว่า เอิท ชอบ เดีย หมวดหมู่:เรือดำน้ำ หมวดหมู่:เรือในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หมวดหมู่:เรือในสงครามโลกครั้งที่สอง.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและเรืออู

เรือดำน้ำ

รือดำน้ำชั้นไต้ฝุ่นของกองทัพเรือรัสเซีย เรือดำน้ำขนาดเล็ก เรือดำน้ำ เป็นเรือรบที่สามารถปฏิบัติการในขณะที่อยู่ใต้ผิวน้ำได้ สร้างจากเหล็กแต่มีความสามารถในการเคลื่อนที่ภายใต้น้ำ เรือดำน้ำ ถูกนำมาใช้ในการสงครามและการค้นคว้าสำรวจใต้ทะเลลึกในบริเวณที่มนุษย์เราไม่สามารถดำลงไปได้ด้วยการสวมเพียงชุดดำน้ำ ด้วยคุณสมบัติที่พิเศษเหนือกว่ายานพาหนะชนิดอื่นคือ มันสามารถที่จะอยู่ได้ทั้งบนผิวน้ำและใต้น้ำ นับตั้งแต่ ปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและเรือดำน้ำ

เลโอโปลด์ รูซิคกา

ลโอโปลด์ รูซิคกา (Leopold Ružička; 13 กันยายน ค.ศ. 1887 – 26 กันยายน ค.ศ. 1976) เป็นนักชีวเคมีชาวโครเอเชีย/สวิส เกิดที่เมืองวูคอวาร์ในจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันอยู่ในประเทศโครเอเชีย) มีชื่อเกิดว่าลาโวสลาฟ สเตปัน รูซิคกา (Lavoslav Stjepan Ružička) เป็นบุตรของสเตปัน รูซิคกาและลูบิกา เซเวอร์ เรียนระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนในเมืองโอซีเยกโดยเขาตั้งใจจะเป็นพระ แต่ต่อมาเปลี่ยนมาเรียนวิชาเคมี รูซิคกาเรียนต่อที่สถาบันเทคโนโลยีคาร์ลสรูเออ หลังเรียนจบ รูซิคกาทำงานเป็นผู้ช่วยแฮร์มันน์ สเตาดิงเงอร์ อาจารย์ของเขาที่เมืองซูริก รูซิคกาศึกษาสารธรรมชาติหลายชนิดและสนใจในด้านอุตสาหกรรมน้ำหอม ในปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและเลโอโปลด์ รูซิคกา

เอดวร์ด ฟอน เบิม-แอร์มอลลี

เอดวร์ด ไฟร์แฮร์ ฟอน เบิม-แอร์มอลลี (Eduard Freiherr von Böhm-Ermolli) เป็นนายพลชาวออสเตรียในช่วง สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เขาได้รับการเลื่อนยศเป็น จอมพลในกองทัพจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เขาเป็นผู้บัญชาการหลักใน กองทัพออสเตรีย-ฮังการีที่ 2 และบัญชาการแนวรบตะวันออกที่กาลิเซียตลอดช่วงสงคราม ในวันที่ 30 ตุลาคม 1940 เบิม-แอร์มอลลี ได้รับยศ จอมพลกิตติมศักดิ์จากนาซีเยอรมนี หมวดหมู่:จอมพลแห่งไรช์ที่สาม หมวดหมู่:นักยุทธศาสตร์ทหาร หมวดหมู่:ทหารในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและเอดวร์ด ฟอน เบิม-แอร์มอลลี

เอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์

อ็ดเวิร์ด เทลเลอร์ (Edward Teller, 15 มกราคม ค.ศ. 1908 - 9 กันยายน ค.ศ. 2003) เป็นบิดาของระเบิดไฮโดรเจนที่ใช้ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันแทนปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชันในระเบิดนิวเคลียร์แบบดั้งเดิม.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและเอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์

เฮดี ลามาร์

ี ลามาร์ (Hedy Lamarr; 9 พฤศจิกายน 1914 – 19 มกราคม 2000) หรือชื่อเกิดว่า เฮดวิก อีวา มาเรีย คีส์เลอร์ (Hedwig Eva Maria Kiesler) เป็นนักแสดงภาพยนตร์และนักประดิษฐ์ชาวออสเตรีย-อเมริกัน ในระยะเวลาสั้น ๆ ช่วงต้นในอาชีพการแสดงในปี 1930 เธอได้เล่นหนังสัญชาติเยอรมันเป็นเรื่องแรกใน Ecstasy (1933) ซึ่งในภาพยนตร์มีภาพเปลือยและฉากรักจำนวนมากทำให้เกิดความขัดแย้งขึ้นกับสามีของเธอ ลามาร์จึงหนีออกจากสามีไปอยู่ที่ปารีส และขณะที่เธออยู่ที่นั่นก็ได้พบกับเอ็มจีเอ็ม หลุยส์ บี.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและเฮดี ลามาร์

เจ้าหญิงฟรานซิสกาแห่งบราซิล

้าหญิงฟรานซิสกาแห่งบราซิล (2 สิงหาคม พ.ศ. 2367 - 27 มีนาคม พ.ศ. 2441) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งจักรวรรดิบราซิล เป็นพระราชธิดาในจักรพรรดิเปดรูที่ 1 แห่งบราซิล ผู้ทรงครองราชย์เป็นพระเจ้าเปดรูที่ 4 แห่งโปรตุเกสด้วย และพระราชมารดาของเจ้าหญิงคือ อาร์ชดัชเชสมาเรีย ลีโอโพลดีนาแห่งออสเตรีย เจ้าหญิงทรงอภิเษกสมรสกับพระราชโอรสของพระเจ้าหลุยส์-ฟิลิปป์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศสและมีพระราชโอรสธิดาร่วมกัน 3 พระองค์ โดยผ่านทางพระราชธิดาที่ทรงพระชนม์ชีพ พระนางจึงทรงเป็นบรรพบุรุษของเจ้าชายอองรี เดอ ออร์เลออง เคานท์แห่งปารีส ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศสสายออร์เลอองนิสต์องค์ปัจจุบันและทรงเป็นบรรพบุรุษในสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและเจ้าหญิงฟรานซิสกาแห่งบราซิล

เจ้าหญิงสเตฟานีแห่งเบลเยียม

้าหญิงสเตฟานีแห่งเบลเยียม (Princess Stéphanie of Belgium, Crown Princess of Austria-Hungary, Prinzessin Stephanie von Belgien, Kronprinzessin von Österreich-Ungarn.) (พระนามเต็ม: สเตฟานี่ คลอทิลด์ หลุยส์ เฮอร์มีนี่ มารี ชาร์ลอต, Stéphanie Clotilde Louise Herminie Marie Charlotte von Habsburg-Lothringen (ราชสกุลเดิม Saxe-Coburg and Gotha)) ทรงเป็นเจ้าฟ้าหญิงแห่งเบลเยียม เจ้าหญิงแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและโกธา และดัชเชสแห่งแซ็กโซนี นอกจากนี้ ยังเป็นพระชายาในอาร์ชดยุกรูดอล์ฟ มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย-ฮังการีด้ว.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและเจ้าหญิงสเตฟานีแห่งเบลเยียม

เจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา

้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา (อังกฤษ: Princess Zita of Bourbon-Parma) (ซีตา มาเรีย เดลเล กราซี อาเดลกอนด้า มิคาเอล่า ราฟาเอลล่า กาเบรียลล่า จูเซปปิน่า อันโตเนีย หลุยซ่า แอ็กเนเซ; 9 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและเจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา

เขื่อนแตก

ื่อน คือสิ่งก่อสร้างที่สร้างขวางแนวการเคลื่อนที่ของน้ำ เช่น แม่น้ำ เพื่อทำให้น้ำไหลช้าลง ซึ่งมักจะก่อให้เกิดแหล่งเก็บน้ำ หรือ ทะเลสาบ เขื่อนส่วนมากมันจะมีส่วนที่เรียกว่า "ช่องทางระบายน้ำ" หรือ "ประตูระบายน้ำ" เพื่อปล่อยให้น้ำไหลผ่านเป็นช่วงๆ หรืออย่างต่อเนื่อง และหลายๆ เขื่อนก็มักจะมีการติดตั้งโรงงานไฟฟ้าพลังงานน้ำอีกด้วย เขื่อนถูกพิจารณาว่า เป็นสิ่งก่อสร้างที่มีปัจจัยอันตรายโดย กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ เนื่องจากมีความเป็นไปได้ที่จะส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่อการทำลายล้างชีวิตพลเรือนและสิ่งแวดล้อมเมื่อเขื่อนแตก เหตุการณ์เขื่อนแตกนั้น เมื่อเทียบกับอุปัทวเหตุอื่นๆ แล้ว จัดได้ว่าเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่เมื่อเกิดแล้วก่อให้เกิดความเสียหายต่อทั้งชีวิตและทรัพย์สินอย่างใหญ่หลวง.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและเขื่อนแตก

เขตการปกครองของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2

Administrative division of Second Polish Republic, 1930. Colors denote voivodeships, division into powiats visible on the lower level. จังหวัดในสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2, 1922–1939. เขตการปกครองของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2 เป็นการจัดการปกครองท้องถิ่นใหม่หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งด้วยรวมตัวระหว่างดินแดนของจักรวรรดิเยอรมัน,จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและจักรวรรดิรัสเซี.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและเขตการปกครองของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2

เคลเมนส์ ฟอน เปอร์เกต์

ลเมนส์ ปีเตอร์ ฟอน เปอร์เกต์ (Clemens Peter von Pirquet; 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1874 – 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1929) เป็นแพทย์และนักวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรีย เกิดใกล้กรุงเวียนนา มีน้องชายชื่อกิวโด ฟอน เปอร์เกต์ ซึ่งต่อมาเป็นนักฟิสิกส์ เรียนวิชาเทววิทยาที่มหาวิทยาลัยอินส์บรุคและวิชาปรัชญาที่มหาวิทยาลัยเลอเฟิน ก่อนจะเรียนวิชาแพทย์ที่มหาวิทยาลัยกราซและฝึกงานที่คลินิกเด็กในเวียนนา ในปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและเคลเมนส์ ฟอน เปอร์เกต์

เซมุน

ซมุน (Zemun.; Земун.) เป็นแขวงย่อย 1 ในทั้งหมด 17 แขวงซึ่งประกอบกันเข้าเป็นเขตปกครองพิเศษใต้อำนาจการปกครองของกรุงเบลเกรด โดยอยู่ทางทิศตะวันตกของใจกลางกรุงเบลเกรดข้ามแม่น้ำซาวาไปทางฝั่งซ้ายและมีแม่น้ำดานูบเป็นเส้นแบ่งเขตของแขวงเซมุนออกจากแขวงปาลิลูลาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ แต่เดิมมา ประวัติศาสตร์ของเซมุนนั้นเป็นเมืองซึ่งแยกออกจากเบลเกรดโดยสิ้นเชิง เคยเป็นเมืองชายแดนระหว่างรัฐมาหลายยุค โดยเฉพาะความสำคัญที่สุดของเซมุนในหน้าประวัติศาสตร์คือช่วงตั้งแต่หลังสนธิสัญญาเบลเกรดในปี..

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและเซมุน

28 กรกฎาคม

วันที่ 28 กรกฎาคม เป็นวันที่ 209 ของปี (วันที่ 210 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 156 วันในปีนั้น.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและ28 กรกฎาคม

28 ตุลาคม

วันที่ 28 ตุลาคม เป็นวันที่ 301 ของปี (วันที่ 302 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 64 วันในปีนั้น.

ดู จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและ28 ตุลาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Austria-HungaryAustro-Hungarian Empireออสเตรีย-ฮังการีอาณาจักรออสเตรีย-ฮังการีจักรวรรดิออสเตรีย - ฮังการี

ยาโนช กาดาร์ยุทธนาวีที่พอร์ตอาเธอร์ระบบจราจรซ้ายมือและขวามือรัชทายาทที่ได้รับสมมุติรัฐประหารเดือนพฤษภาคมรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บราชวงศ์ฮาพส์บวร์คราชอาณาจักรอิตาลีราชอาณาจักรแดลเมเชียราชอาณาจักรโบฮีเมียราชอาณาจักรโรมาเนียราชอาณาจักรโปแลนด์ (ค.ศ. 1916–1918)ราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ครายชื่อสนธิสัญญารายชื่อธงในประเทศออสเตรียรายชื่อธงในประเทศฮังการีรายชื่อธงในประเทศโครเอเชียรายชื่อทหารผ่านศึกคนสุดท้ายในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปยุโรปรายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาลรายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาลรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลียรายนามประมุขแห่งรัฐฮังการีรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพรางวัลเวียนนาครั้งที่หนึ่งรูดอล์ฟ ชไตเนอร์ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์อดีตออสเตรีย-ฮังการีลี สตราสเบิร์กลีเยพานาชาดอมอวีนอลีเซอ ไมท์เนอร์วัฒนธรรมวันเอกราชสมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนียสมเด็จพระราชินีเจรัลดีนแห่งแอลเบเนียสมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวียสมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนียสันนิบาตสามจักรพรรดิสาธารณรัฐเยอรมันออสเตรียสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สองสำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศสุลต่านอับดุล อะซีซสุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่นสงครามออสเตรีย-ปรัสเซียสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสตาญิสวัฟ แลมสนธิสัญญาลอนดอน (1915)สนธิสัญญาประกันพันธไมตรีสนธิสัญญาแบร์นสนธิสัญญาแวร์ซายสนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919)สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์สนธิสัญญาเบอร์ลิน (1878)สนธิสัญญาเบาว์ริงออสการ์ ชินด์เลอร์ออทโท ฟอน ฮับส์บูร์กออทโท สกอร์เซนีอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์อังเกอลา ฮิตเลอร์อัปแซ็งต์อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรียอาร์ชดยุกกอทท์ฟรีดแห่งออสเตรียอาร์ชดยุกรูดอล์ฟ มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย-ฮังการีอาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิจ แห่งออสเตรียอาร์ชดยุกปีเตอร์ เฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรียอาร์ชดัชชีออสเตรียอาร์ชดัชเชสชาร์ลอตแห่งออสเตรียอาร์ชดัชเชสเอลิซาเบธ มารีแห่งออสเตรียอาร์ทูร์ ไซสส์-อินคัวร์ทอาร์คดัชเชสอาเดลเลดแห่งออสเตรียอาลัวส์ ฮิตเลอร์อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)อาโมน เกิทอุนเทอร์เด็มดอปเปลออาดเดลอร์อดอล์ฟ ลูสอดอล์ฟ ฮิตเลอร์อนุสัญญาคอนสแตนติโนเปิลจอห์นนี ไวส์มึลเลอร์จักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรียจักรพรรดิออสเตรียจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรียจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 1 แห่งออสเตรียจักรพรรดิเปดรูที่ 2 แห่งบราซิลจักรวรรดิจักรวรรดิออสเตรียจักรวรรดิเยอรมันธงชาติบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาธงชาติยูเครนธงชาติสโลวาเกียธงชาติฮังการีทรานซิลเวเนียทวิพันธมิตรดัชชีสติเรียดัชชีคารินเทียดัสลีดแดร์ดอยท์เชินดินแดนใต้การปกครองร่วมบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาคริสต์สหัสวรรษที่ 2คลารา ฮิตเลอร์คลีเมนต์ ก็อตต์วอลด์ความตกลงอังกฤษ-รัสเซียคองเกรสโปแลนด์คาร์ แฮร์มันน์ ฟรังค์คาร์ล ฟอน ฮับส์บูร์กคาร์ล ลันด์สไตเนอร์คาร์ล เฟอร์ดินานด์ คอรีคำขวัญประจำชาติตราแผ่นดินของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาตราแผ่นดินของยูเครนตราแผ่นดินของโครเอเชียซิกมุนด์ ฟรอยด์ซูเดเทินลันด์ประชาธิปไตยประวัติศาสตร์ยุโรปประวัติศาสตร์รัสเซียประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาประเทศมอนเตเนโกรประเทศยูเครนประเทศสโลวาเกียประเทศสโลวีเนียประเทศอิตาลีประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกรปรากปัญหาเยอรมันนาดทาโทรซาบลีซกานาซีเยอรมนีนิยามของตรานิโคลา เทสลานโปเลียนที่ 2แบรอนิสแมรี เว็ตเซราแบล็กแฮนด์แฟแร็นตส์ ซาลอชีแกรนด์ดิวคัลไฮเนสแมเดลิน อาลไบรต์แรเฌอ แชแร็ชช์แอนสท์ คัลเทนบรุนเนอร์แคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)โรแบร์ต บาราญโอดีโล โกลบ็อกนิกโอซีเยกโซฟีอา ดัชเชสแห่งโฮเฮนเบิร์กไกเซอร์ไตรพันธมิตรไตรภาคีเกรกอร์ เมนเดลเกลี เราบัลเกอร์ตี คอรีเกออร์ก ฟอน ฮับส์บูร์กเรือยิงตอร์ปิโดยูโกสลาเวีย ที 5เรืออูเรือดำน้ำเลโอโปลด์ รูซิคกาเอดวร์ด ฟอน เบิม-แอร์มอลลีเอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์เฮดี ลามาร์เจ้าหญิงฟรานซิสกาแห่งบราซิลเจ้าหญิงสเตฟานีแห่งเบลเยียมเจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มาเขื่อนแตกเขตการปกครองของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2เคลเมนส์ ฟอน เปอร์เกต์เซมุน28 กรกฎาคม28 ตุลาคม