เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิ

ดัชนี จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิ

มเด็จพระจักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิ (後桜町天皇 โกะ-ซะกุระมะชิ-เท็นโน, 23 กันยายน พ.ศ. 2283 - 24 ธันวาคม พ.ศ. 2356) ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่นพระองค์ที่ 117Imperial Household Agency (Kunaichō): อันเนื่องมาจากการสืบราชสันตติวงศ์ตามโบราณราชประเพณีPonsonby-Fane, Richard.

สารบัญ

  1. 13 ความสัมพันธ์: ฟุจิวะระ โนะ โยะชิโกะรายพระนามจักรพรรดินีญี่ปุ่นสมเด็จพระราชินีนาถจักรพรรดิซะกุระมะชิจักรพรรดินีจิโตจักรพรรดินีซุอิโกะจักรพรรดิโกะ-โมะโมะโซะโนะจักรพรรดิโมะโมะโซะโนะประเทศญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1762นิโจ อิเอะโกะโคะโนะเอะ ฮิซะโกะเจ้าหญิงมะซะโกะ (พระธิดาในจักรพรรดิเรเง็ง)เซ็สโซและคัมปะกุ

ฟุจิวะระ โนะ โยะชิโกะ

ฟุจิวะระ โนะ โยะชิโกะ (2218 – 28 มกราคม 2253) นางสนองพระโอษฐ์และพระสนมใน จักรพรรดิฮิงะชิยะมะ จักรพรรดิองค์ที่ 113 เป็นพระราชมารดาใน จักรพรรดินะกะมิกะโดะ จักรพรรดิองค์ที่ 114 เป็นพระอัยยิกา (ย่า) ใน จักรพรรดิซะกุระมะชิ จักรพรรดิองค์ที่ 115 และเป็นพระปัยยิกา (ทวด) ใน จักรพรรดิโมะโมะโซะโนะ จักรพรรดิองค์ที่ 116 และ จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิ จักรพรรดิองค์ที่ 117.

ดู จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิและฟุจิวะระ โนะ โยะชิโกะ

รายพระนามจักรพรรดินีญี่ปุ่น

ักรพรรดินีญี่ปุ่น คือพระอิสริยยศของอิสตรีผู้ครองราชย์เป็นจักรพรรดิญี่ปุ่น และอาจหมายถึงจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิญี่ปุ่น โดยจักรพรรดินีอัครมเหสีในรัชกาลปัจจุบันคือจักรพรรดินีมิชิโกะในจักรพรรดิอะกิฮิโต.

ดู จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิและรายพระนามจักรพรรดินีญี่ปุ่น

สมเด็จพระราชินีนาถ

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยแบบรัฐสภา สมเด็จพระราชินีนาถ (Queen Regnant) คือ พระมหากษัตริย์หญิงผู้ครองราชสมบัติด้วยสิทธิ์ของพระองค์เอง ต่างจาก "สมเด็จพระราชินี" (Queen Consort) ซึ่งเป็นพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติ และไม่ทรงมีอำนาจในการบริหารราชกิจของบ้านเมืองอย่างเป็นทางการใด ๆ โดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์มีทั้ง "สมเด็จพระราชาธิบดี" (King Regnant) และ "พระมหากษัตริย์พระราชสวามี" (King Consort) แต่เกิดขึ้นได้ยาก และมีการใช้พระอิสริยยศเพียงสองครั้งในประวัติศาสตร์ราชวงศ์อังกฤษ ระบอบราชาธิปไตยในปัจจุบันที่ให้สมเด็จพระราชินีนาถทรงครองราชบัลลังก์ พระสวามีของพระองค์จะไม่ได้มีพระอิสริยยศเป็นพระราชา แต่เป็นเพียงแค่ชั้นเจ้าชายเท่านั้น พระราชสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระสวามีคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสก็อตแลนด์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชสวามีในอาณาจักรของพระองค์เอง แต่ไม่เป็นที่ชื่นชอบของพสกนิกรและการอภิเษกสมรสกินเวลาเพียงไม่นาน พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระราชินีนาถแห่งชาวสก็อต ทรงได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี พระมหากษัตริย์ที่ปกครองร่วมกันเป็น พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ ที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ และที่ 1 แห่งไอร์แลนด์ แต่ถือเป็นพระมหากษัตริย์ปกครองร่วมกันครั้งเดียว และเป็นทางการที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ แต่หลังจากนั้นมา พระสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถในประเทศอังกฤษได้รับการสถาปนาเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" (Prince Consort) (มีเพียงคนเดียวที่ได้รับการแต่งตั้งพระอิสริยยศนี้อย่างเป็นทางการคือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) การเสวยราชสมบัติของสมเด็จพระราชินีนาถจะเกิดขึ้นเมื่อลำดับการสืบราชบัลลังก์เอื้ออำนวย วิธีการสืบราชสมบัติ (เป็นพระมหากษัตริย์ หัวหน้าเผ่า ฯลฯ) และรวมถึงการแต่งตั้ง (พระมหากษัตริย์ในรัฐสภา หรือ คณะมนตรีแต่งตั้งรัชทายาท) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติก่อนที่สุด (primogeniture) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติหลังที่สุด (ultimogeniture) ขอบเขตในการสืบราชสมบัติอาจยึดจากสายทางพระชนก สายทางพระชนนีหรือทั้งสองฝ่าย หรือที่ไม่ค่อยเกิดขึ้น (เมื่อถึงคราวจำเป็น) มาจากการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิในการสืบราชสมบัติโดยตามเพศ อาจจะให้ทั้งชายและหญิง จำกัดแต่เพศชายเท่านั้น หรือจำกัดแต่เพศหญิงเท่านั้น การสืบราชบัลลังก์ที่เป็นแบบแผนมากที่สุดตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายตลอดจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นแบบการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดา (male-preference primogeniture) กล่าวคือ ลำดับการสืบราชบัลลังก์อยู่ในบรรดาพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ตามลำดับการประสูติก่อนแล้วจึงตามมาด้วยของพระราชธิดา ในบางอาณาจักรทางประวัติศาสตร์ห้ามมิให้มีการสืบราชสมบัติโดยผู้หญิงหรือผ่านทางเชื้อสายของผู้หญิง แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีบางแห่งที่ยังคงยึดถือหลักเกณฑ์นี้ตามกฎหมายแซลิก ดังตัวอย่างเช่น สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนเธอร์แลนด์เป็นแกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก แต่เมื่อกษัตริย์ดัตช์พระองค์สุดท้ายเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ.

ดู จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิและสมเด็จพระราชินีนาถ

จักรพรรดิซะกุระมะชิ

ักรพรรดิซะกุระมะชิ (Emperor Sakuramachi) จักรพรรดิองค์ที่ 115 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น โดยพระนามของพระองค์ต่อมาได้ถูกนำไปใช้เป็นพระนามของ จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิ จักรพรรดินีองค์ที่ 117 ผู้เป็นพระราชธิดาของพระองค์ ซึ่งพระนามเดิมของจักรพรรดิซะกุระมะชิคือ เจ้าชายอะกิฮิโตะ (Imperial Prince Akihito) อันเป็นพระนามเดียวกับ สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ จักรพรรดิองค์ที่ 125 และองค์ปัจจุบันของญี่ปุ่นเพียงแต่พระนามของทั้งสองเขียนไม่เหมือนกัน ในเดือน 6 ปี เคียวโฮ ที่ 13 ตรงกับวันที่ 17 กรกฎาคม..

ดู จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิและจักรพรรดิซะกุระมะชิ

จักรพรรดินีจิโต

ักรพรรดินีจิโต(持統天皇 จิโต-เทนโน, พ.ศ. 1188 - 13 มกราคม พ.ศ. 1246) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีนาถแห่งญี่ปุ่นพระองค์ที่ 41Imperial Household Agency (Kunaichō): อันเนื่องมาจากการสืบราชสันตติวงศ์ตามโบราณราชประเพณี จักรพรรดินีจิโตครองราชย์ตั้งแต่ปี..

ดู จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิและจักรพรรดินีจิโต

จักรพรรดินีซุอิโกะ

ักรพรรดินีซุอิโกะ (Empress Suiko; 554 – 15 เมษายน 628) เป็นพระเจ้าแผ่นดินญี่ปุ่นองค์ที่ 33Imperial Household Agency (Kunaichō): ตามลำดับการสืบสันตติวงศ์แต่โบราณ พระนางอยู่ในตำแหน่งตั้งแต่ปี 593 จนสวรรคตเมื่อปี 628 ตามประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นแล้ว นางเป็นสตรีคนแรกในบรรดาแปดคนที่ได้เป็นจักรพรรดินี (empress regnant) อีกเจ็ดคนที่เหลือ คือ โคเงียวกุ (Kōgyoku), จิโต (Jitō), เก็มเม (Gemmei), เก็นโช (Genshō), โคเก็ง (Kōken), เมโช (Meishō) และโกะ-ซะกุระมะชิ (Go-Sakuramachi) ตามลำดั.

ดู จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิและจักรพรรดินีซุอิโกะ

จักรพรรดิโกะ-โมะโมะโซะโนะ

ักรพรรดิโกะ-โมะโมะโซะโนะ (Emperor Go-Momozono, 2301 - 2322, ครองราชย์ 2314 - 2322) จักรพรรดิพระองค์ที่ 118 ตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ จักรพรรดิโกะ-โมะโมะโซะโนะทรงครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ.

ดู จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิและจักรพรรดิโกะ-โมะโมะโซะโนะ

จักรพรรดิโมะโมะโซะโนะ

ักรพรรดิโมะโมะโซะโนะ (Emperor Momozono) จักรพรรดิองค์ที่ 116 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ในเดือน 3 ปี เอ็งเคียว ที่ 4 ตรงกับวันที่ 25 เมษายน..

ดู จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิและจักรพรรดิโมะโมะโซะโนะ

ประเทศญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1762

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน..

ดู จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิและประเทศญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1762

นิโจ อิเอะโกะ

นิโจ อิเอะโกะ (9 ตุลาคม 2259 – 14 มีนาคม 2333) พระสนมแห่งจักรพรรดิญี่ปุ่นโดยเป็นพระสนมใน จักรพรรดิซะกุระมะชิ จักรพรรดิองค์ที่ 115 และเป็นพระราชมารดาของ จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิ จักรพรรดิองค์ที่ 117 หมวดหมู่:บุคคลในยุคเอะโดะ.

ดู จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิและนิโจ อิเอะโกะ

โคะโนะเอะ ฮิซะโกะ

นะเอะ ฮิซะโกะ (5 เมษายน 2245 – 27 กุมภาพันธ์ 2263) นางในและพระสนมใน จักรพรรดินะกะมิกะโดะ จักรพรรดิองค์ที่ 114 เป็นพระราชมารดาใน จักรพรรดิซะกุระมะชิ จักรพรรดิองค์ที่ 115 เป็นพระอัยยิกา (ย่า) ใน จักรพรรดิโมะโมะโซะโนะ จักรพรรดิองค์ที่ 116 และ จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิ จักรพรรดิองค์ที่ 117 และเป็นพระปัยยิกา (ทวด) ใน จักรพรรดิโกะ-โมะโมะโซะโนะ จักรพรรดิองค์ที่ 118 ซึ่งฮิซะโกะมีศักดิ์เป็นพระราชปนัดดา (เหลน) ใน จักรพรรดิโกะ-มิซุโน จักรพรรดิองค์ที่ 108 เพราะท่านย่าของฮิซะโกะคือ เจ้าหญิงสึเนะโกะ เป็นพระราชธิดาในจักรพรรดิโกะ-มิซุโนหลังจากประสูติจักรพรรดิซะกุระมะชิเมื่อวันที่ 8 กุมภาพัน..

ดู จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิและโคะโนะเอะ ฮิซะโกะ

เจ้าหญิงมะซะโกะ (พระธิดาในจักรพรรดิเรเง็ง)

้าหญิงมะซะโกะ (2216 – 2289) เจ้าหญิงแห่งญี่ปุ่นพระองค์เป็นพระราชธิดาใน จักรพรรดิเรเง็ง ที่ประสูติแต่ ทะกะสึกะซะ ฟุซะโกะ ต่อมาพระองค์เข้าพิธีสมรสกับ นิโจ สึนะฮิระ และมีบุตรชายคือ นิโจ โยะชิตะดะ โดยพระองค์เป็นพระปัยยิกา (ทวด) ของ จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิ เพราะธิดาของโยะชิตะดะได้เป็นพระสนมใน จักรพรรดิซะกุระม.

ดู จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิและเจ้าหญิงมะซะโกะ (พระธิดาในจักรพรรดิเรเง็ง)

เซ็สโซและคัมปะกุ

งราชวงศ์สำหรับผู้สำเร็จราชการ ในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น เซ็สโซ เป็นยศของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ สำหรับจักรพรรดิที่ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าจะปกครองก่อนที่พระองค์จะเจริญพรรษาพอที่จะปกครองประเทศ เซ็สโซจะว่าราชการแทน และ คัมปะกุ เป็นตำแหน่งผู้สำเร็จราชการสำหรับจักรพรรดิที่ทรงเจริญพระชนพรรษาแล้ว โดยอ้างว่าพระจักรพรรดิทรงไม่รู้เรื่องงานบริหารประเทศ จึงต้องให้คัมปะกุ คอยช่วยบริหารจัดการ ตลอดสมัยเฮอัง อำนาจการบริหารประเทศอยู่ในสองตำแหน่งนี้ คือ เซ็สโซ และคัมปะกุตลอด 500 ปี ผูกขาดโดยคนของตระกูลฟุจิวะระ และสายย่อยของตระกูลนี้ตลอด โดยเราจะเรียกตระกูลเหล่านี้ว่า เซ็สกัง หรือตระกูลผู้สำเร็จราชการนั่นเอง ภายหลังจากสมัยเฮอังอำนาจอยู่ในมือของรัฐบาลทหาร โดยโชกุนปกครองประเทศแทน โดยผู้สำเร็จราชการของโชกุนจะเรียกว่า ชิกเก็ง.

ดู จักรพรรดินีโกะ-ซะกุระมะชิและเซ็สโซและคัมปะกุ