สารบัญ
293 ความสัมพันธ์: ชาบูเช็กเทียนฟ่ง ไสหยกพ.ศ. 1367พ.ศ. 1369พ.ศ. 1644พ.ศ. 2204พ.ศ. 2265พ.ศ. 900พ.ศ. 901พ.ศ. 902พ.ศ. 903พ.ศ. 904พระเจ้าชางโจ้วพระเจ้าจั่นซิตาพระเจ้าโจวมู่พระเจ้าโจวอวี่ (จี เจี้ยน)พระเจ้าโจวอู่พระเจ้าโจวฮวนพระเจ้าโจวผิงพระเจ้าโจวคังพระเจ้าโจวโยวพระเจ้าโจวเหวินพระเจ้าโจวเจ้าพระเจ้าโจวเฉิงพระเจ้าโจวเซี่ยวพระเจ้าเซ่าคังพายุดาบดวลสะท้านฟ้ากฎหมายจีนดั้งเดิมกระบี่อาญาสิทธิ์กัว เวย์กุบไล ข่านกุยห้วยมังกรจีนมังกรคู่สู้สิบทิศยวี่เหยียนยุทธการที่กัวต๋อยุควสันตสารทยีเอ๋งราชวงศ์มังรายราชวงศ์ฮั่นราชวงศ์จิ้นราชวงศ์ฉินราชวงศ์ซินราชวงศ์เหงียนราชวงศ์เซี่ยราชสกุลจูรายพระนามจักรพรรดินีจีนลัทธิเต๋าลำดับเหตุการณ์สำคัญในสามก๊ก... ขยายดัชนี (243 มากกว่า) »
ชา
ใบชาเขียวในถ้วยชาจีน ชา เป็นผลผลิตทางเกษตรกรรมจากใบ ยอดอ่อน และก้านของต้นชา (Camellia sinensis) นำมาผ่านกรรมวิธีแปรรูปหลากหลาย "ชา" ยังหมายรวมถึงเครื่องดื่มกลิ่นหอมที่ทำจากพืชตากแห้งชนิดต่าง ๆ นำมาชงหรือต้มกับน้ำร้อน ชาเป็นเครื่องดื่มที่มีผู้บริโภคมากที่สุดเป็นอันดับสองของโลก รองจากน้ำ ชาทุกชนิดสามารถทำได้จากต้นชาต้นเดียวกัน แต่ผ่านกรรมวิธีแตกต่างกันออกไป.
บูเช็กเทียน
อู่ เจ๋อเทียน ตามสำเนียงกลาง หรือ บูเช็กเทียน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (พระราชสมภพ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 624ปีประสูตินี้ ได้มาจากการเอาพระชนม์กับปีสวรรคตที่ระบุไว้ใน นวพงศาวดารถัง (New Book of Tang) ฉบับ ค.ศ.
ฟ่ง ไสหยก
ฟ่ง ไสหยก (อังกฤษ: Fong Sai-yuk) หรือ ปึง ซีเง็ก (ตามสำเนียงแต้จิ๋ว) หรือ ฟาง ซื่ออี้ (ตามสำเนียงจีนกลาง) เป็นวีรบุรุษมวยกังฟูอีกคนหนึ่งที่ระบือชื่อของจีน เป็นตำนานเล่าขานจวบจนปัจจุบันเช่นเดียวกับ หง ซีกวน (洪熙官) หรือ อั้ง อีกัว และ โอว ฮู้ยเคียง ผู้เป็นศิษย์ร่วมสำนักเส้าหลิน หากแต่เรื่องราวของฟ่ง ไสหยก นั้นเชื่อว่าเป็นเพียงเรื่องแต่ง ซึ่งทั้ง ฟ่ง ไสหยก, หง ซีกวน และ โอว ฮุ้ยเคียง นั้น บางครั้งจะถูกเรียกว่า 3 พยัคฆ์เส้าหลิน เช่นเดียวกับ 10 พยัคฆ์เส้าหลิน (廣東十虎) ซึ่งเรื่องราวทั้ง 3 คนนี้นั้นปรากฏในนิยายกำลังภายใน เรื่อง เฉียนหลงประพาสกังหนำ ซึ่งเป็นเรื่องราวของฮ่องเต้เฉียนหลงเมื่อครั้งทรงประพาสภาคใต้ของจีน พร้อมกับได้ทรงกำจัดผู้ต่อต้านชาวฮั่นไปทั้งหมด ด้วยการส่งยอดฝีมือจากบู๊ตึ้งและง้อไบ๊ให้มาร่วมกำจัดศิษย์ของสำนักเส้าหลิน ประวัติของ ฟ่ง ไสหยก ตามที่ปรากฏ เกิดที่มณฑลกวางตุ้ง เป็นบุตรชายของ ฟ่ง ตั๊ก (方德) คณบดีที่ร่ำรวย ส่วนมารดานั้นคือ เหมียว ชุ่ยฮัว เป็นบุตรสาวของจอมยุทธที่มีชื่อ สรุปคือ ฟ่ง ไสหยก นั้นมีสายเลือดของชาวยุทธมาแต่กำเนิด และฝึกวิทยายุทธมาตั้งแต่อายุ 3 ขวบ เมื่ออายุได้ 14 ได้ประลองฝีมือเอาชนะศิษย์อันธพาลของสำนักบู๊ตึ้งได้ และสร้างวีรกรรมไว้มากมาย รวมถึงการต่อต้านราชวงศ์ชิงด้วย บางเรื่องเล่าว่า ฟ่ง ไสหยกได้เข้าร่วมกับสมาคมดอกไม้แดงด้วย จนในที่สุดทางราชสำนักชิงต้องส่งมือสังหารมาสังหาร ซึ่งกล่าวกันว่า คือ แม่ชีอู่เหมย ระหว่างเผาวัดเส้าหลิน จนถึงแก่ความตายด้วยวัยเพียง 24 ปี เรื่องราวฟ่ง ไสหยก นั้น เชื่อกันว่าไม่มีตัวตนจริง เป็นเพียงบุคคลในอุดมคติเช่นเดียวกับ หง ซีกวน ซึ่งเป็นตำนานร่วมกัน แต่อย่างไรก็ดี เพลงหมัดมวยในแบบของฟ่ง ไสหยก นั้น คือ มวยสกุลหง และมวยหย่งซุน ก็กลายเป็นมรดกตกทอดมายังผู้ฝึกกังฟูในยุคถัดมา เช่น หวง เฟยหง และ ยิปมัน ซึ่งเป็นบุคคลที่มีตัวตนจริง โดยภาพยนตร์ที่เกี่ยวกับฟ่ง ไสหยก เรื่องแรกนั้น คือ Fong Sze Yu's Battle in the Boxing Ring ตั้งแต่ปี ค.ศ.
พ.ศ. 1367
ทธศักราช 1367 ใกล้เคียงกั.
พ.ศ. 1369
ทธศักราช 1369 ใกล้เคียงกั.
พ.ศ. 1644
ทธศักราช 1644 ใกล้เคียงกั.
พ.ศ. 2204
ทธศักราช 2204 ใกล้เคียงกั.
พ.ศ. 2265
ทธศักราช 2265 ใกล้เคียงกั.
พ.ศ. 900
ทธศักราช 900 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 357.
พ.ศ. 901
ทธศักราช 901 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 358.
พ.ศ. 902
ทธศักราช 902 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 359.
พ.ศ. 903
ทธศักราช 903 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 360.
พ.ศ. 904
ทธศักราช 904 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 361.
พระเจ้าชางโจ้ว
้ว ตามสำเนียงกลาง หรือ ติว ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นชื่อเชิงเหยียดหยามสำหรับใช้เรียก ตี้ ซิน (帝辛) พระเจ้าแผ่นดินจีนพระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ชาง คำว่า "โจ้ว" นี้หมายถึง เตี่ยวรั้งก้นม้า (horse crupper) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอานม้าที่ม้ามักทำสกปรก พระเจ้าโจ้วยังมีพระนามอื่นอีก คือ โจ้ว ซิน (紂辛).
ดู จักรพรรดิจีนและพระเจ้าชางโจ้ว
พระเจ้าจั่นซิตา
ั่นซิตา (Kyanzittha, ကျန်စစ်သား; พ.ศ. 1627 - 1656) เป็นพระเจ้ากรุงพุกาม และถือเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดพระองค์หนึ่งในประวัติศาสตร์พม่าไม่แพ้พระเจ้าอโนรธามังช่อ เนื่องด้วยพระองค์ทรงเป็นธรรมกษัตริย์ที่ทำนุบำรุงศาสนาพุทธจนเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด จนเป็นที่ยอมรับทั้งจากชาวพม่าและชาวมอญ พระเจ้าจั่นซิตาเป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่คนหนึ่งในรัชสมัยพระเจ้าอโนรธา เมื่อพระเจ้าซอลูพระราชโอรสของพระเจ้าอโนรธาขึ้นครองราชย์ พระองค์มิได้ประกอบภารกิจอันใดด้วยความสามารถพระองค์เอง แต่จะทรงใช้และปรึกษาเหล่าเสนาอำมาตย์อยู่บ่อย ๆ ในปลายรัชสมัยพระเจ้าซอลู งะรมัน เจ้าเมืองพะโค ซึ่งเป็นชาวมอญได้ก่อกบฏขึ้นจับตัวพระเจ้าซอลูเป็นตัวประกัน จั่นซิตาซึ่งครองเมืองถิเลงอยู่ ไม่สามารถยกทัพกลับมาช่วยพระองค์ได้ทัน งะรมันได้สังหารพระเจ้าซอลูที่เมืองพวาสอ และพยายามเข้ายึดครองอาณาจักรพุกามแต่จั่นซิตาได้เข้าขัดขวาง เหล่าเสนาอำมาตย์ และพระธัมมทัสสีมหาเถระที่ปรึกษาองค์สำคัญของพระเจ้าอโนรธา จึงได้อัญเชิญจั่นซิตาขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์ เมื่อขึ้นครองราชย์ จั่นซิตามีพระนามว่า ศรีตรีภูวนาทิตยธัมมมราชาTaw, Blagden 1911: 216 ในภาษาสันสกฤต ในจารึกพม่าเรียกพระองค์ว่า "ถิลุงมัง" (T’iluin Man) แปลว่า "กษัตริย์แห่งถิเลง" แต่เนื่องจากจั่นซิตามิได้มีเชื้อสายของกษัตริย์ พระองค์จึงอ้างสิทธิธรรมในการครองราชสมบัติว่าพระองค์ทรงเป็นภาคหนึ่งของพระโพธิสัตว์ และเป็นองค์อวตารของพระวิษณุของชาวปยูอีกด้วย สมัยนี้จึงถือเป็นรัชสมัยที่ศิลปศาสตร์แบบมอญเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดในพุกาม ในรัชสมัยของพระเจ้าจั่นซิตา ทรงติดต่อกับต่างประเทศเป็นอย่างมาก ในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและพระเจ้าจั่นซิตา
พระเจ้าโจวมู่
ระเจ้าโจวมู่ เป็นกษัตริย์องค์ที่ห้าของจีนในราชวงศ์โจว ครองราชย์ในช่วงระหว่าง 976-922 ปีก่อนคริสตกาล หรือ 956-918 ปีก่อนคริสตกาล โดยประมาณ.
ดู จักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวมู่
พระเจ้าโจวอวี่ (จี เจี้ยน)
ระเจ้าโจวอวี่ เป็นกษัตริย์องค์ที่เจ็ดของจีนในราชวงศ์โจว ครองราชย์ในช่วงระหว่าง 899–892 ปีก่อนคริสตกาล หรือ 899–873 ปีก่อนคริสตกาล โดยประมาณตามประวัติศาสตร์โบราณของจีนเคมบร.
ดู จักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวอวี่ (จี เจี้ยน)
พระเจ้าโจวอู่
ระเจ้าโจวอู่ (หรือพระเจ้าจิวบู๊อ๋อง ในสำเนียงแต้จิ๋ว) (? - 1043 ปีก่อน ค.ศ.) ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โจว ผู้โค่นล้ม ราชวงศ์ซาง ทรงครองราชย์ระหว่าง 1046 - 1043 ปีก่อน..
ดู จักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวอู่
พระเจ้าโจวฮวน
พระเจ้าโจวฮวน (จีน: 周桓王; pinyin: Zhōu Húan Wáng,? - 697 BC) กษัตริย์องค์ที่ 14 แห่งราชวงศ์โจว และองค์ ที่ 2 แห่งราชวงศ์โจวตะวันออก ขึ้นครองราชย์สืบต่อจาก พระเจ้าโจวผิง พระอัยกา เมื่อ 719 ปีก่อนคริสตกาล ครองราชย์ได้ 23 ปี สวรรคตเมื่อ 697 ปีก่อนคริสตกาล หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์โจว หมวดหมู่:บุคคลในศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล หมวดหมู่:697 ปีก่อนคริสตกาล.
ดู จักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวฮวน
พระเจ้าโจวผิง
ระเจ้าโจวผิง (King Ping of Zhou) (? - 720 ปีก่อนคริสตกาล) (จีน: 周平王พินอิน: zhōu píngwáng) กษัตริย์องค์ที่ 13 แห่งราชวงศ์โจว และทรงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โจวตะวันออก ครองราชย์ระหว่าง 771 - 720 ปีก่อนคริสตกาล เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าโจวอิว กษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์โจวตะวันตก ที่ประสูติแต่พระมเหสีองค์แรกที่ถูกปลด เมื่อพระราชบิดาสวรรคตและราชวงศ์โจวตะวันตกล่มสลายลง เหล่าเชื้อพระวงศ์และขุนนางข้าราชการ ได้พร้อมใจกันเชิญพระองค์ขึ้นครองราชย์สืบต่อ ทรงพระนามว่า พระเจ้าโจวผิงและโปรดให้ย้ายราชธานีมาอยู่ที่ลั่วหยาง ซึ่งอยู่ทางตะวันออกของเมืองหลวงเดิม ทรงครองราชย์ยาวนานถึง 51 ปีจึงสวรรคต เมื่อ 720 ปีก่อนคริสตกาล จากนั้นพระราชนัดดาของพระองค์จึงขึ้นครองราชย์สืบต่อมา เป็น พระเจ้าโจวฮวน.
ดู จักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวผิง
พระเจ้าโจวคัง
ระเจ้าโจวคัง เป็นกษัตริย์องค์ที่สามของจีนในราชวงศ์โจว และเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าโจวเฉิง ครองราชย์ในช่วงระหว่าง 1020 – 996 ปีก่อนคริสตกาล พระเจ้าโจวคัง ได้ทรงตามรอยนโยบายของพระราชบิดาพระเจ้าโจวเฉิง และทรงขยายอาณาเขตของโจวในภาคเหนือและตะวันตก พระองค์ยังทรงปราบปรามก่อจลาจลในภาคตะวันออก ทำให้เจริญรุ่งเรืองในราชวงศ์โจวภายใต้การปกครองของพระเจ้าโจวคัง พระองค์มีพระราชโอรส 1 พระองค์ คือ พระเจ้าโจวเจ้.
ดู จักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวคัง
พระเจ้าโจวโยว
ระเจ้าโจวโยว (King You of Zhou) (ครองราชย์ 781-771 ปีก่อนคริสตกาล) (จีน: 周幽王; พินอิน: zhōu yōu wáng) กษัตริย์องค์ที่ 12 แห่งราชวงศ์โจว และองค์สุดท้ายของราชวงศ์โจวตะวันตก ในปีแรกที่ขึ้นครองราชย์คือ 780 ปีก่อนคริสตกาล ได้เกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรงที่กวนจง ทรงเป็นกษัตริย์ที่อ่อนแอไร้ความสามารถ เสวยแต่น้ำจัณฑ์ หลงผู้หญิงถึงขั้นทรงปลดพระมเหสีและองค์รัชทายาทองค์เก่าลงจากตำแหน่ง พร้อมกับแต่งตั้งนางเปาซือ และพระโอรสอีกองค์ขึ้นเป็นพระมเหสีและองค์รัชทายาทองค์ใหม่ พระนางเปาซือทรงยิ้มไม่เป็น พระเจ้าโจวโยวจึงโปรดให้จุดพลุเตือนภัยขึ้นฟ้า ทำให้พระนางเปาซือยิ้มได้ แต่ท่านอ๋องเข้าใจผิดว่ามีข้าศึกมารุกราน ก็เดินทางมายังพระราชวัง เมื่อไม่เห็นข้าศึกก็โกรธและเดินทางกลับไป ต่อมาเมื่อมีข้าศึกมารุกรานจริง ๆ พระเจ้าโจวโยวโปรดให้จุดพลุเตือนภัยขึ้นฟ้า แต่เหล่าท่านอ๋องก็ไม่สนใจ เหล่าข้าศึกบุกเข้าพระราชวัง พระเจ้าโจวโยวเห็นจวนตัวก็ทรงปลงพระชนม์เอง ส่วนพระนางเปาซือและองค์รัชทายาทก็ถูกจับไป ส่วนอดีตมเหสีและองค์รัชทายาทก็อพยพไปยังลั่วหยาง พร้อมกับเชื้อพระวงศ์ขุนนางข้าราชการ และประชาชน และทรงถูกอัญเชิญขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่แห่งราชวงศ์โจวตะวันออก ส่วนราชวงศ์โจวตะวันตกก็ล่มสลายจากเหตุการณ์คราวนี้.
ดู จักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวโยว
พระเจ้าโจวเหวิน
ระเจ้าโจวเหวิน (King Wen of Zhou) เป็นกษัตริย์จีนในราชวงศ์โจวอยู่ในช่วงระหว่างปลายราชวงศ์ชาง แม้ว่าโจวอู่หวัง พระราชโอรสของพระองค์ ได้ยกทัพมาปราบพระเจ้าซางโจ้วกษัตริย์แห่งราชวงศ์ชางพระองค์สุดท้าย แล้วสถาปนาราชวงศ์โจวขึ้น แต่พระเจ้าโจวเหวิน ก็ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้สถาปนาก่อตั้งราชวงศ์โจว.
ดู จักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวเหวิน
พระเจ้าโจวเจ้า
ระเจ้าโจวเจา เป็นกษัตริย์องค์ที่สี่ของจีนในราชวงศ์โจว ครองราชย์ในช่วงระหว่าง 995-977 ปีก่อนคริสตกาล หรือ 977/75-957 ปีก่อนคริสตกาล โดยประมาณ ในรัชกาลพระเจ้าโจวเจา ที่เกิดขึ้นที่จุดเมื่อราชวงศ์โจว ได้ขยายไปทั่วที่ราบลุ่มภาคกลางของจีนและหันความสนใจไปยังภาคใต้ของจีน พระเจ้าโจวเจา ถูกปลงพระชนพ์และกองทัพของพระองค์ รณรงค์ถูกเช็ดออกทางทิศใต้ของแม่น้ำฮัน และสร้างขีดจำกัดของการควบคุมโดยตรงของภาคใต้ในช่วงราชวงศ์โจวตะวันตก.
ดู จักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวเจ้า
พระเจ้าโจวเฉิง
ระเจ้าโจวเฉิง (จีน: 周成王พินอิน: zhōu chéng wáng) กษัตริย์องค์ที่ 2 แห่ง ราชวงศ์โจว ทรงครองราชย์ระหว่าง 1043- 1021 ปีก่อนคริสตกาล เป็นพระราชโอรสองค์โตใน พระเจ้าโจวอู่ ทรงพระนามเดิมว่า จี สง เมื่อพระราชบิดาสวรรคตเมื่อ 1043 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์จึงเสด็จขึ้นครองราชย์สืบต่อมา ทรงพระนามว่า พระเจ้าโจวเฉิง ในรัชสมัยของพระองค์ มีโจวกง (จีตัน ผู้เป็นพระปิตุลาหรืออา) ช่วยบริหารราชการแผ่นดิน แผ่นดินสงบสันติ พระเจ้าโจวเฉิง เสด็จสวรรคตเมื่อ 1021 ปีก่อนคริสตกาล องค์ชายจี จ้าว จึงขึ้นครองราชย์สืบต่อมาเป็น พระเจ้าคัง.
ดู จักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวเฉิง
พระเจ้าโจวเซี่ยว
ระเจ้าโจวเซี่ยว เป็นกษัตริย์องค์ที่ 8 ของจีนในราชวงศ์โจว ครองราชย์ในช่วงระหว่าง 891–886 ปีก่อนคริสตกาล เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าโจวมู่ และเป็นพระราชอนุชาของพระเจ้าโจวกง.
ดู จักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวเซี่ยว
พระเจ้าเซ่าคัง
ระเจ้าเซ่าคัง (จีน: 仲康) เป็นกษัตริย์จีนโบราณรัชกาลที่ 6 สมัยราชวงศ์เซี่ย ทรงเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าเซียง ทรงครองราชย์ระหว่างปี 2007 - 1985 ปีก่อนคริสตกาลรวมทั้งสิ้น 21 ปี กระทั่ง 1985 ปีก่อนคริสตกาล เสด็จสวรรคต พระเจ้าจู้ พระราชโอรสขึ้นสืบราชสมบัติต่อมา พระเจ้าเซ่าคังทรงกอบกู้ราชบัลลังค์และฟื้นฟูราชวงศ์เซี่ยขึ้นมาจากความวุ่นวายอีกครั้ง ทำให้วีรกรรมของพระองค์เป็นที่เล่าขานสืบม.
ดู จักรพรรดิจีนและพระเจ้าเซ่าคัง
พายุดาบดวลสะท้านฟ้า
วลสะท้านฟ้า ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์จีนกำลังภายในเรื่อง The Duel หรือ 决战紫禁城之巅 (เจวี๋ยจั้นจื่อจินจือเตียน) นำแสดงโดย หลิว เต๋อหัว, เจิ้ง อี้เจี้ยน, หยาง กง หยู, เจ้าเหว่ย, จาง เจียฮุย, ถัน เหย้าเหวิน ร่วมด้วย ฉี เส้าเฉียน (นักแสดงรับเชิญ) กำกับการแสดงโดย แอนดริว เล.
ดู จักรพรรดิจีนและพายุดาบดวลสะท้านฟ้า
กฎหมายจีนดั้งเดิม
กฎหมายจีนดั้งเดิม (traditional Chinese law) หมายถึง บรรดากฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับที่ใช้บังคับในประเทศจีนนับแต่โบราณกาลมาจนถึง พ.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและกฎหมายจีนดั้งเดิม
กระบี่อาญาสิทธิ์
อาญาสิทธิ์ หรือ อาชญาสิทธิ์ หมายความว่า อำนาจเด็ดขาด คือ สิทธิที่แม่ทัพได้รับพระราชทานจากพระเจ้าแผ่นดินในเวลาไปสงคราม หรือที่ข้าราชการชั้นสูงได้รับพระราชทานจากพระเจ้าแผ่นดินให้กระทำการบางอย่างเป็นต้น โดยมีสิ่งสำคัญคือพระแสงดาบเป็นเครื่องหมาย เรียกว่า พระแสงอาญาสิทธิ์ พระแสงอาชญาสิทธิ์ พระแสงกระบี่อาญาสิทธิ์ หรือ กระบี่อาญาสิทธิ์ ก็มี.
ดู จักรพรรดิจีนและกระบี่อาญาสิทธิ์
กัว เวย์
กัว เวย์ (郭威; 10 กันยายน 944 – 22 กุมภาพันธ์ 954) หรือเป็นที่รู้จักตามชื่อวัดประจำรัชกาลว่า ปฐมกษัตริย์ (太祖) เป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์โจวยุคหลังในประเทศจีนสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร อยู่ในสมบัติตั้งแต่ปี 951 จนสิ้นชีวิต กัว เวย์ มีฉายว่า นกน้อยกัว (郭雀兒) เพราะสักรูปนกน้อยไว้ที่ท้ายทอย เขาเป็นแม่ทัพในราชวงศ์ฮั่นยุคหลังซึ่งมีหลิว เฉิงโย่ว (劉承祐) ปกครอง หลิว เฉิงโย่ว ฆ่าคนจำนวนมากตามอำเภอใจ ในปี 951 เขาฆ่าครอบครัวกัว เวย์ ทั้งโคตร กัว เวย์ จึงยึดอำนาจ และฆ่าหลิว เฉิงโย่ว ในปีนั้น แล้วตั้งราชวงศ์โจวยุคหลังขึ้นแทน.
กุบไล ข่าน
มเด็จพระจักรพรรดิกุบไล ข่าน หรือ จักรพรรดิซื่อจูหวางตี้ หรือ จักรพรรดิซีโจ๊วฮ่องเต้ (23 กันยายน พ.ศ. 1758-1837 (ค.ศ. 1215-1294)) เป็นข่านหรือจักรพรรดิของมองโกล และยังเป็นจักรพรรดิองค์แรกของราชวงศ์หยวนแห่งประเทศจีน กุบไลข่านเป็นพระราชนัดดาในจักรพรรดิเจงกีส ข่าน พระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิมองโกลเมื่อ พ.ศ.
กุยห้วย
กุยห้วย (Guo Huai) หรือ กวยหวย (ชื่อในสามก๊กฉบับพระยาคลัง) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก.
มังกรจีน
วาดมังกรจีนโบราณ มังกรจีน (อักษรจีนตัวเต็ม: 龍; อักษรจีนตัวย่อ: 龙; พินอิน: lóng; ฮกเกี้ยน: เล้ง; ไทยถิ่นเหนือ: ลวง) เป็นสัญลักษณ์โดดเด่นอันหนึ่งของจักรพรรดิและวัฒนธรรมจีน มีลักษณะที่มาจากสัตว์หลาย ๆ ชนิดผสมผสานกัน ลักษณะลำตัวยาวเหมือนงู มีเขี้ยวขนาดใหญ่หนึ่งคู่อยู่ที่บริเวณขากรรไกรด้านบน มีหนวดยาวลักษณะเหมือนกับไม้เลื้อย และมีแผงคอเหมือนกับของสิงโตอยู่บน คอ, คาง และข้อศอก มีเกล็ดสีเขียวเข้มทั่วทั้งบริเวณลำตัวรวมทั้งสิ้น 117 เกล็ด ซึ่งเกล็ดมังกรจำนวน 81 แผ่น มีคุณสมบัติเป็นหยางซึ่งเป็นเกล็ดที่มีความดี เกล็ดมังกรจำนวน 36 แผ่น มีคุณสมบัติเป็นหยินซึ่งจะเป็นเกล็ดที่มีความชั่ว ลักษณะเขาของมังกรจะมีสันหลังทอดยาวไปตามหลังและหาง เป็นหนามยาวและสั้นสลับกัน มีขา 4 ขาและกรงเล็บแข็งแรง เกล็ดของมังกรจีนนั้น จะมีลักษณะเฉพาะเปลี่ยนไปตามแต่ละชนิดของมังกร ตั้งแต่สีเขียวเข้มจนถึงสีทอง หรือบางแหล่งกล่าวกันว่า มังกรจีนนั้นมีหลายสี เช่น สีน้ำเงิน สีดำ สีขาว สีแดง สีเขียว หรือสีเหลือง แต่ในกรณีของมังกรชนิด chiao หลังของมังกรจะเป็นสีเขียว บริเวณด้านข้างเป็นสีเหลือง และใต้ท้องเป็นสีแดงเข้ม มังกรจีนชนิดหนึ่งจะมีปีกที่ด้านข้างของลำตัว และสามารถที่จะเดินบนน้ำได้ แต่สำหรับมังกรจีนอีกชนิดหนึ่งเมื่อสะบัดแผงคอไปข้างหน้าและข้างหลัง จะทำให้เกิดเสียงที่ฟังดูเหมือนกับเสียงขลุ่ย มังกรจีนจะมีโหนกอยู่บนหัวซึ่งทำให้สามารถบินได้ เรียกโหนกที่อยู่บนหัวว่า ch’ih muh แต่ถ้ามังกรจีนตัวใดไม่มีโหนกที่บริเวณหัว จะกำคทาเล็ก ๆ ที่เรียกว่า po-shan ซึ่งสามารถทำให้มังกรลอยตัวในอากาศได้(ปัจจุบัน ประเทศทางตะวันตก ก็เพิ่งเจอ วัตถุลึกลับบางอย่างสามารถลอยในอากาศได้เป็นระยะเวลาสั้นๆ) ในประเทศจีนคนโบราณมีความเชื่อกันว่ามังกรคือสัตว์ที่ทรงพลังและศักดิ์สิทธิ์แห่งฟ้าและดิน ได้รับการกล่าวกันว่ามีความเป็นมิตร มากกว่าความร้ายกาจ เป็นสัญลักษณ์ที่นำมาซึ่งความสุข และความอุดมสมบูรณ์ของบ้านเมือง พบได้ใน แม่น้ำและทะเลสาบ ชอบที่จะอยู่ท่ามกลางสายฝน มังกรได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้สร้างกฎแห่งความใจบุญ และเป็นสิ่งที่เสริมสร้างความมั่นใจ และความเชื่อมั่นให้แก่กษัตริย์ในราชวงศ์ชิง กษัตริย์จะนั่งบนบัลลังก์มังกร เดินทางโดยเรือมังกร เสวยอาหารบนโต๊ะมังกร และบรรทมบนเตียงมังกร.
มังกรคู่สู้สิบทิศ
มังกรคู่สู้สิบทิศ (大唐雙龍傳; Dragons of tang dynasty) วรรณกรรมจีนแต่งโดย หวงอี้ และถูกนำมาแปลและเรียบเรียงในไทยโดย น.นพรัตน์ จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์สยามอินเตอร์คอมิกส์ เป็นเรื่องราวของการก่อตั้งราชวงศ์ถัง ซึ่งมีปฐมฮ่องเต้คือ ถังเกาจู่ หรือชื่อเดิม หลี่หยวน ตัวเอกของเรื่องเป็นเด็กกำพร้าคู่หนึ่ง ในเมืองหยางโจว ชื่อ โค่วจง และ ฉีจื่อหลิง, ไต่เต้าจากเป็นอันธพาลในตลาด จนกระทั่งรวบรวมกำลังเข้าช่วงชิงแผ่นดิน ความยาว 21 เล่ม สำหรับฉบับที่พิมพ์ในเมืองไทยได้แบ่งเป็นสองภาค คือ ภาคแรก 10 เล่ม และภาคสมบูรณ์ 11 เล่ม.
ดู จักรพรรดิจีนและมังกรคู่สู้สิบทิศ
ยวี่เหยียน
องค์ชายยวี่ เหยียนในพิธีรับตำแหน่งผู้อ้างสิทธิฯ ยวี่เหยียน เกิด ณ กรุงปักกิ่ง เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1918 เป็นอดีตพระประมุขราชสกุลอ้ายซินเจว๋หลัว ต่อจากจักรพรรดิผู่อี๋ โดยสืบเชื้อสายจากจักรพรรดิเต้ากวง รัชกาลที่ 6 แห่งราชวงศ์ชิง และมีศักดิ์เป็นญาติกับจักรพรรดิผู่อี๋ จักรพรรดิต้าชิงพระองค์สุดท้าย ยวี่เหยียนยังอ้างสิทธิในราชบัลลังก์จักรพรรดิจีน เขาเสียชีวิตเมื่อวันที่ 18 มกราคม ค.ศ.
ยุทธการที่กัวต๋อ
ึกกัวต๋อ (官渡之戰, Battle of Guandu) เกิดขึ้นที่ริมฝั่งแม่น้ำฮวงโหในปี ค.ศ. 200 เป็นศึกที่โจโฉได้ชัยชนะต่ออ้วนเสี้ยว จุดตัดสินผลการรบของศึกนี้อยู่ที่การลอบโจมตีทัพขนเสบียงของอ้วนเสี้ยวที่อัวเจ๋า ทำให้ทัพอ้วนเสี้ยวขาดเสบียงและเกิดความระส่ำระสายไปทั้งกองทัพ จากแผนการของเขาฮิว ซึ่งเดิมอยู่กับอ้วนเสี้ยว แต่มาอยู่ข้างโจโฉ เพราะคาดการณ์ว่าอ้วนเสี้ยวต่อไปจะพ่ายแพ้แน่ ทั้ง ๆ ที่เริ่มต้นกองทัพของอ้วนเสี้ยวมีมากกว่าโจโฉถึง 10:1 แต่โจโฉนำทัพอย่างใจเย็นค่อย ๆ รุกคืบ และฝ่ายอ้วนเสี้ยวก็โลเลไม่ยอมทำศึกแตกหัก จึงต้องประสบความพ่ายแพ้ในที่สุด ภายหลังศึกนี้ อ้วนเสี้ยวเสียใจมาก อีกทั้งลูกชาย 2 คน คือ อ้วนซีกับอ้วนถำก็บาดหมางถึงขนาดฆ่ากัน จนต้องกระอักเลือดชีวิตในเวลาต่อมาไม่นาน ศึกนี้นำมาสู่การล่มสลายของตระกูลอ้วน เมื่อบุคคลสำคัญ ๆ ในตระกูลได้ล้มตายหมดสิ้น อีกทั้งเป็นศึกที่โจโฉได้สร้างชื่อเสียงไว้มาก และทำให้ได้ครองอำนาจใหญ่แต่เพียงผู้เดียวในดินแดนภาคเหนือของจีน ตั้งแต่เริ่มต้นจนจบโจโฉใช้เวลาทำศึกครั้งนี้นานถึง 7 ปี ในสามก๊ก เริ่มแรกจากที่เล่าปี่ได้เข้าเฝ้าพระเจ้าเหี้ยนเต้ในพระราชวัง จากที่มีความดีความชอบในการปราบตั๋งโต๊ะและลิโป้ พระองค์ทรงให้ตรวจพงศาวลี พบว่าเล่าปี่สืบสายเชื้อสายมาจากตงสานเชงอ๋องจริง จึงให้ความเคารพเล่าปี่และทรงเรียกเล่าปี่ว่า พระเจ้าอา และเชื้อเชิญให้ไปปรึกษาราชการเป็นการส่วนพระองค์ ทำให้โจโฉเกิดความระแวงในตัวเล่าปี่ อีกทั้งในเวลาเดียวกันนั้น ตังสินร่วมมือกับเกียดเป๋งหมายจะลอบฆ่าโจโฉ แต่ไม่สำเร็จ โจโฉยิ่งเพิ่มความระแวงในตัวผู้ที่อยู่ตรงกันข้าม เล่าปี่จึงตัดสินใจหนีออกจากเมืองไปเข้าร่วมกับอ้วนเสี้ยว เพื่อชักชวนให้ปราบโจโฉ โจโฉได้ทำการฝังศพอ้วนเสี้ยวอย่างสมเกียรติ และได้ซื้อใจราษฎรด้วยการงดภาษีถึง 1 ปี และต่อมาได้ร่างโคลงถึงการรบในครั้งนี้ด้วย ที่เขาจรดทะเลเช่นเดียวกับฮั่นอู่ตี้ อดีตฮ่องเต้ผู้ยิ่งใหญ่ในราชวงศ์ฮั่นเคยกระทำ หลังจากชนะศึกที่นี่เช่นกัน สำหรับฝ่ายเล่าปี่ นี่เป็นศึกอย่างเป็นทางการครั้งแรกที่ทำให้เล่าปี่แตกหักกับฝ่ายโจโฉอย่างสิ้นเชิง ซึ่งนับต่อจากนี้ทั้งคู่จะขับเขี่ยวกันไปตลอ.
ดู จักรพรรดิจีนและยุทธการที่กัวต๋อ
ยุควสันตสารท
แผนที่แสดงที่ตั้งของนครรัฐต่าง ๆ ในยุควสันตสารท วสันตสารท หรือภาษาจีนว่า ชุนชิว (Spring and Autumn period) เป็นชื่อยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์จีนโบราณ อยู่ระหว่าง ประมาณ 770 ปีก่อนคริสต์ศักราช – 453 ปีก่อนคริสต์ศักราช (บางข้อมูลถือ 365 ปีก่อนคริสต์ศักราช – 482 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เป็นยุคหนึ่งในราชวงศ์โจว ราชวงศ์ที่ยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์จีน นับเป็นยุคสมัยที่ได้รับการกล่าวขานอย่างมากในแง่ต่าง ๆ เนื่องจากเป็นยุคที่นครรัฐแต่ละรัฐรบด้วยด้วยกลอุบายที่แยบยล ก่อให้เกิดเป็นตำนานและเรื่องเล่าขานมากมายจนปัจจุบัน และเป็นต้นเรื่องที่ทำให้เกิดวรรณคดีจีนเรื่องสำคัญอีกเรื่อง คือ เลียดก๊ก ซึ่งถูกรวมไว้ด้วยกันกับยุคจ้านกว๋อ (หรือที่คุ้นเคยกันในชื่อเลียดก๊ก) การรบในยุคชุนชิวนั้นหลายเรื่องได้อ้างอิงในสามก๊กที่เกิดหลังจากนี้อีกนับพันปีต่อมา อีกแง่หนึ่ง เป็นยุคที่นักปราชญ์บัณฑิตแต่ละสาขาได้ถือกำเนิดและมีชีวิตอยู่ ซึ่งได้แต่งตำราหรือคำสอนต่าง ๆ ที่ตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน เช่น ขงจื๊อ, เล่าจื๊อ, เม่งจื๊อ, ม่อจื๊อ เป็นต้น ในส่วนของปราชญ์แห่งสงคราม ก็คือ ซุนวู นั่นเอง.
ดู จักรพรรดิจีนและยุควสันตสารท
ยีเอ๋ง
ีเอ๋ง (Mi Heng) หนึ่งในที่ปรึกษาของโจโฉที่ปากดีอวดเก่งไม่รู้เวลา จึงถูกประหารชีวิต ยี่เอ๋งเป็นชาวเมืองเพงงวนก๋วน ปัจจุบันอยู่ในแขวงชางฮี มณฑลซานตง มีชื่อรองว่า "เจิ้งผิง" (正平) ปรากฏตัวครั้งแรก เมื่อเตียวสิ้วเข้าร่วมกับโจโฉแล้ว โจโฉต้องการทูตไปเจรจาเกลี้ยกล่อมเล่าเปียวเป็นพวกด้วย จึงปรึกษาขงหยงว่าควรตั้งใครเป็นทูตไปเกงจิ๋วดี ขงหยงเสนอยีเอ๋ง บัณฑิตหนุ่มอายุ 20 ปี โจโฉก็เคยได้ยินชื่อยีเอ๋งมาบ้าง จึงเชิญให้ยีเอ๋งมาพบ เมื่อยีเอ๋งมาถึงแล้วได้คำนับโจโฉ แต่โจโฉไม่ยอมคำนับตอบ ด้วยเห็นว่ายีเอ๋งไม่มีท่าทีว่าจะเป็นคนฉลาดเฉลียวสมดังคำเล่าลือ ยีเอ๋งจึงรำพันออกมาว่า ณ ที่นี่กว้างนักแต่หาคนดี ๆ สักคนไม่มี โจโฉจึงถามว่า อันข้าพเจ้านั้นมีผู้ดี ๆ เก่ง ๆ มาร่วมงานมากมาย ไฉนจึงว่าไม่มีคนดีมาร่วมงาน ยีเอ๋งจึงถามว่า บุคคลที่ท่านว่าดี ยกตัวอย่างมาสิ โจโฉจึงตอบไปหลายคนทั้งขุนนางบุ๋นและบู๊ ได้แก่ ซุนฮก, ซุนฮิว, กุยแก, เทียหยก, เตียวเลี้ยว, เคาทู, ลิเตียน, งักจิ้น แต่ยีเอ๋งกลับหัวเราะเยาะพร้อมกล่าวถึงบุคคลที่โจโฉว่ามาแต่ละคนล้วนแต่ไม่ได้เรื่องว่า ซุนฮกเหมาะสำหรับใช้ให้ไปเยี่ยมคนป่วยหรือไปร่วมงานศพเท่านั้น ซุนฮิวนั้นก็เหมาะที่จะเป็นสัปเหร่อมากกว่า กุยแกก็เหมาะสำหรับแต่งโคลงกลอนหรืออ่านหนังสือให้คนไม่รู้หนังสือฟัง ส่วนเทียหยกก็สมควรให้เป็นภารโรง เตียวเลี้ยวก็เหมาะกับหน้าที่ตีเกราะเคาะระฆัง เคาทูก็เหมาะกับการเลี้ยงวัวควาย ลิเตียนก็สมกับงานเดินหนังสือ งักจิ้นดูแล้วก็ไม่น่ามีตำแหน่งเกินกว่าเสมียน และยังเอ่ยถึงบุคคลที่โจโฉไม่ได้กล่าวถึงเพิ่มอีกในแบบเดียวกัน คือ ลิยอย ก็ใช้ได้เพียงแค่คนเช็ดทำความสะอาดอาวุธ หมันทองก็เอาแต่เสพสุรา อิกิ๋มก็เหมาะสำหรับกรรมกรยกของหนัก ซิหลงก็เหมาะกับอาชีพฆ่าหมูขาย ส่วนแฮหัวตุ้นนั่นเล่าแค่รักษาศีรษะตนให้ติดอยู่กับบ่าก็ยากพอแล้ว โจโฉฟังแล้วโมโหยีเอ๋งยิ่งนัก แต่ระงับอารมณ์ไว้ ได้ย้อนถามกลับไปว่า ท่านว่าคนของข้าพเจ้าไม่ดีอย่างนั้นอย่างนี้ แล้วตัวท่านเล่ามีดีอะไรบ้าง ยีเอ๋งตอบไปว่า ข้าพเจ้ามีความรู้ท่วมฟ้า สามารถเพ็ดทูลฮ่องเต้ให้ตั้งอยู่ในธรรมได้ และยังอบรมคนทั้งแผ่นดินได้อีกด้วย ถ้าจะว่าไปแล้ว ข้าพเจ้าชักเบื่อที่จะเจรจากับผู้ไร้สติปัญญาเช่นท่านแล้ว เหมือนพูดกับคนที่ไม่รู้ภาษามนุษย์ เตียวเลี้ยวทนไม่ไหวชักกระบี่จะสังหาร แต่โจโฉห้ามไว้ และให้ตำแหน่งยีเอ๋งเป็นคนตีกลองในวัง ซึ่งยีเอ๋งก็ไม่ขัดข้อง ต่อมา โจโฉจัดงานเลี้ยงในวัง มีผู้เข้ามาร่วมงานมากมาย ซึ่งมีการแสดงดนตรีด้วย นักดนตรีแต่ละคนล้วนแต่งกายด้วยอาภรณ์สวยงามทั้งสิ้น แต่ยีเอ๋งกลับสวมเสื้อผ้าขาดวิ่นมาตีกลองเพียงคนเดียว แต่ยีเอ๋งตีกลองได้อย่างไพเราะจับใจมาก ทำเอาแขกในงานซึ้งไปกับเสียงกลองของยีเอ๋ง เพลงนี้มีชื่อว่า "ยูยัง" (余洋) ซึ่งมีลำนำอันไพเราะ ทำให้ได้บรรยากาศริมน้ำ ขณะนั่งตกปลา ที่ต้องนิ่งสงบอยู่กลางเสียงปลาฮุบเบ็ด เสียงใบไผ่และใบวนสีกันเป็นจังหวะ ซึ่งความหมายของชื่อเพลง แปลว่า ตกปลา (ยาขอบตั้งชื่อเพลงนี้ว่า "เพลงมัสยาหลงเหยื่อ") บางคนถึงกับน้ำตาไหลซาบซึ้ง เมื่อตีจบแล้ว บรรดาแขกไปรุมถามยีเอ๋งว่า เหตุไฉนท่านจึงแต่งกายสกปรกเช่นนี้ โจโฉโมโหจึงตวาดถามไปด้วยเสียงอันดังว่า ทำไมถึงแต่งตัวเช่นนี้ในเขตพระราชฐาน ยีเอ๋งแทนที่จะไปเปลี่ยนเสื้อผ้า กลับประชดถอดเสื้อผ้าออกหมด โจโฉยิ่งโมโหยิ่งขึ้น แต่ยีเอ๋งตอบไปว่า เพราะตัวข้าพเจ้าสะอาดบริสุทธิ์ ที่แก้ผ้าออกเพื่อที่จะให้ทุกคนเห็นเรือนร่างอันบริสุทธิ์ของข้าพเจ้า โจโฉจึงถามย้อนกลับไปว่า เช่นนั้นเรือนร่างใครสกปรก ยีเอ๋งจึงตอบไปว่า ก็ตัวท่านไงเล่า เพราะหูท่านชอบฟังแต่เรื่องปอปั้นเยินยอ จึงถือว่าเป็นหูสกปรก ตาท่านก็ชอบจะเห็นแต่สิ่งสวยงามมดเท็จ จึงถือได้ว่าเป็นตาสกปรก จิตใจท่านก็ยิ่งสกปรกใหญ่ คิดจะเป็นโจรปล้นชิงราชสมบัติ สถาปนาตนเป็นฮ่องเต้ ตัวข้าพเจ้าเป็นนักปราชญ์ที่ยิ่งใหญ่ กลับให้มาเป็นคนตีกลอง เช่นนี้หรือจะเป็นใหญ่ในแผ่นดิน โจโฉจึงคิดจะประหารยีเอ๋งทันที แต่เกรงคนจะครหา จึงส่งยีเอ๋งไปเป็นทูตเจรจากับเล่าเปียว หมายจะให้เล่าเปียวประหารแทน เมื่อไปถึง ยีเอ๋งเปิดฉากเจรจาด้วยการยกตนเองข่ม เล่าเปียวจึงคิดส่งยีเอ๋งไปให้หองจอ เจ้าเมืองกังแหประหารแทน ด้วยการบอกปัดไปว่า ให้ถามเอาจากหองจอ ถ้าหองจอเห็นดีด้วย ข้าพเจ้าก็ยินดี เมื่อไปถึงกังแห หองจอจัดงานเลี้ยงต้อนรับ เมื่อร่ำสุราได้ที่แล้ว ยีเอ๋งก็พูดจาข่มตนและอวดโอ้ตัวเองเสียเกินจริงอีกครั้ง หองจอได้ยินดังนั้นก็คิดว่า สมจริงดังที่โจโฉและหลายคนว่า หองจอแสร้งถามขอความเห็นจากยีเอ๋งว่า อันตัวข้าพเจ้านี้เป็นเจ้าเมือง ท่านเห็นควรหรือไม่ ยีเอ๋งตอบไปว่า ตัวท่านนั้นเหมือนเจว็ดในศาลเจ้า เหมาะให้คนมากราบไหว้รับของเซ่นสรวง ไม่ต้องทำอะไร สติปัญญาก็ไม่มี หองจอเลยสั่งให้นำตัวยีเอ๋งไปประหารทันที เมื่อโจโฉได้ทราบว่ายีเอ๋งโดนประหารไปแล้ว ก็หัวเราะสาแก่ใจ และบอกว่า ไอ้คนปากดีมันโดนประหารเพราะลิ้นมันแล้ว.
ราชวงศ์มังราย
ราชวงศ์มังราย (90px) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองอาณาจักรล้านนา ตั้งแต่รัชสมัยพญามังรายจนถึงพระเจ้าเมกุฎิสุทธิวงศ์ (ท้าวแม่กุ) เป็นเวลายาวนานกว่า 260 ปี จนถึงยุคเสื่อม เมื่ออุปนิกขิต (สายลับ) ที่พระเจ้าบุเรงนองส่งมาฝังตัวเพื่อรายงานสถานการณ์ในเชียงใหม่ แจ้งกลับไปบอกว่าเชียงใหม่ถึงยุคเสื่อมสุดแล้ว ให้ยกทัพหงสาวดีมาชิงเมือง ดังนั้น ใน..
ดู จักรพรรดิจีนและราชวงศ์มังราย
ราชวงศ์ฮั่น
มเด็จพระจักรพรรดิฮั่นเกาจู ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ฮั่น เขตแดนของราชวงศ์ฮั่นสมัยสมเด็จพระจักรพรรดิฮั่นอู่ตี้ ราชวงศ์ฮั่น (ภาษาจีน: 漢朝 พ.ศ.
ราชวงศ์จิ้น
ราชวงศ์จิ้น (คริสต์ศักราช 265 – คริสต์ศักราช 420) เป็นราชวงศ์หนึ่งของจีน สถาปนาในปี..
ราชวงศ์ฉิน
เขตแดนราชวงศ์ฉิน ราชวงศ์ฉิน (Qin Dynasty; 秦朝) หรือจิ๋น เป็นราชวงศ์ที่ปกครองแผ่นดินจีนระหว่าง พ.ศ. 323–พ.ศ. 338 (221 ปีก่อนค.ศ.
ราชวงศ์ซิน
ราชวงศ์ซิน ถูกสถาปนาโดย จักรพรรดิซินเกาจู่ หรือ หวังหมั่ง (พ.ศ. 543 - 567) ซึ่งสืบเชื้อสายจากขุนนางสกุลหวังในรัชสมัย จักรพรรดิฮั่นเฉิงตี้ เมื่อจักรพรรดิหยูจื่ออิงจักรพรรดิองค์ที่ 12 องค์สุดท้ายแห่ง ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก ขึ้นครองราชย์ด้วยพระชนม์เพียง 7 พรรษา หวังหมั่งในฐานะ อัครมหาเสนาบดี จึงใช้โอกาสนี้ปลดหยูจื่ออิงออกจากราชสมบัติและสถาปนาตนเองขึ้นเป็นจักรพรรดิซินเกาจู่ ตลอดรัชกาลเป็นรัชกาลที่อ่อนแอและเหี้ยมโหด เมื่อซินเกาจู่สวรรรคตลงในปี..
ราชวงศ์เหงียน
ราชวงศ์เหงียน (Nhà Nguyễn, หญ่า-งฺเหวียน; จื๋อโนม: 阮朝, Nguyễn triều, งฺเหวียนเจี่ยว) เป็นราชวงศ์สุดท้ายของเวียดนามที่ปกครองเวียดนามมา 143 ปี เริ่มจากในปี ค.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและราชวงศ์เหงียน
ราชวงศ์เซี่ย
ตแดนราชวงศ์เซี่ย (สีเหลือง) ราชวงศ์เซี่ย (ภาษาอังกฤษ: Xia Dynasty) (ภาษาจีนกลาง: 夏朝) (พินอิน: xià cháo) เป็นราชวงศ์แรกของจีน ปกครองประเทศจีนในช่วง 2100-1600 ปีก่อนคริสตกาล มีอายุอยู่ได้ราว 500 ปี ในอดีตนักวิชาการและบุคคลโดยทั่วไปเชื่อว่าเรื่องราวของราชวงศ์เซี่ยเป็นเพียงเรื่องแต่งหรือปรัมปราที่เล่าสืบต่อกันมา แต่ปัจจุบันมีการขุดค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีที่เชื่อถือได้ ในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและราชวงศ์เซี่ย
ราชสกุลจู
ราชสกุลจู (House of Zhu) ราชสกุลที่ปกครองประเทศจีนเป็นเวลาถึง 176 ปีในช่วงปี 1911-2187 โดยมีจักรพรรดิที่ปกครองทั้งสิ้น 18 พระองค์โดยมี จักรพรรดิหงอู่ เป็นผู้นำราชสกุลพระองค์แรกและ จักรพรรดิฉงเจิน เป็นผู้นำราชสกุลพระองค์สุดท้าย หมวดหมู่:ราชวงศ์หมิง.
รายพระนามจักรพรรดินีจีน
ในจักรวรรดิจีน จักรพรรดินี เป็นพระอิสริยยศของพระอัครมเหสีในจักรพรรดิจีน และ จักรพรรดินีพันปีหลวง เป็นพระอิสริยยศของพระราชชนนีในจักรพรรดิจีนพระองค์ปัจจุบันหรือพระองค์ก่อน.
ดู จักรพรรดิจีนและรายพระนามจักรพรรดินีจีน
ลัทธิเต๋า
ัญลักษณ์ หยิน-หยาง ลัทธิเต๋า หรือ ศาสนาเต๋า (道教 Dàojiao; Taoism) เป็นปรัชญาและศาสนาที่มีต้นกำเนิดในประเทศจีน เน้นการใช้ชีวิตกลมกลืนกับเต๋า ซึ่งเป็นแนวคิดหลักในสำนักปรัชญาจีนส่วนใหญ่ แต่ในศาสนาเต๋า เต๋าหมายถึงต้นกำเนิด แบบแผน และสารัตถะของสรรพสิ่ง ไม่เน้นเรื่องพิธีกรรมซับซ้อนและระเบียบสังคมอย่างลัทธิขงจื๊อ แม้แต่ละนิกายมีคำสอนด้านจริยธรรมแตกต่างกัน แต่โดยทั่วไปเน้นหลักการเดียวกันคือ "อู๋เหวย์" ความเป็นธรรมชาติ ความเรียบง่าย ศาสนาเต๋ากำเนิดขึ้นราวศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช โดยรับแนวคิดทางจักรวาลวิทยาจากสำนักยินหยาง และแนวปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับวัฏจักรของธรรมชาติตามคัมภีร์อี้จิง ต่อมาใช้เต้าเต๋อจิงของเล่าจื๊อและคัมภีร์จวงจื๊อเป็นคัมภีร์หลักประจำศาสนา ถึงสมัยราชวงศ์ฮั่น ลัทธิเต๋าในจ๊กก๊กเริ่มมีองค์กรและพิธีกรรมเป็นระบบ จนถึงปัจจุบันศาสนาเต๋าแบ่งเป็น 2 นิกายหลักคือ สำนักฉวนเจินและสำนักเจิ้งอี หลังสมัยของเล่าจื๊อและจวงจื๊อ มีการจัดสารบบวรรณกรรมศาสนาเต๋าต่าง ๆ และรวมทุกศาสตร์ทุกแขนงที่เกี่ยวกับเต๋าทั้งหมดเข้าไว้ด้วยกัน เช่น พงศาวดาร ประวัติการสร้างศาสนา ตำรายาสมุนไพร ประวัติเทพเซียน องค์การ เพลงสรรเสริญ คู่มือการทำพิธีกรรมทางศาสนา ตำราการทำฮู้(ยันต์) ตำราการทำนายดวงชะตา(อี้จิง) หลักธรรมคำสอนของเล่าจื๊อ,จวงจื๊อ,เลี่ยจื๊อ,และปรมาจารย์ในประวัติศาสตร์ทุกท่านที่ศึกษาเต๋า(ซึ่งบางท่านอาจเกิดก่อนเล่าจื๊อ) บทสวดศาสนา และอื่นๆอีกมากมายเข้าไว้ด้วยกัน จนได้เป็นคัมภีร์เต้าจ้างและพิมพ์เผยแพร่ตามรับสั่งของจักรพรรดิจีน และเป็นศาสนาประจำชาติจีนมาตลอดจนหลังคริสต์ศตวรรษที่ 17 จึงไม่ได้อยู่ในอุปถัมภ์ของราชสำนัก ปัจจุบัน ศาสนาเต๋าเป็นหนึ่งในห้าศาสนาที่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการในประเทศจีนและประเทศไต้หวัน แม้ศาสนานี้จะไม่แพร่หลายนอกประเทศจีนนัก แต่ก็พบว่ามีศาสนิกชนจำนวนหนึ่งในฮ่องกง มาเก๊า และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.
ลำดับเหตุการณ์สำคัญในสามก๊ก
ลำดับเหตุการณ์สำคัญในสามก๊ก แสดงลำดับเหตุการณ์ในวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์จีนเรื่องสามก๊ก โดยเรียงลำดับตามเหตุการณ์ในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) และระบุปีที่เกิดเหตุการณ์เป็นพุทธศักราช (พ.ศ.) เหตุการณ์บางเหตุการณ์อาจจะไม่ได้เกิดขึ้นจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก แต่มีระบุไว้ในวรรรณกรรม.
ดู จักรพรรดิจีนและลำดับเหตุการณ์สำคัญในสามก๊ก
วุยก๊ก
วุยก๊ก หรือ เฉาเวย (พินอิน: Cáo Wèi) จัดเป็นก๊กที่ยิ่งใหญ่และมีอำนาจมากที่สุดในบรรดาสามก๊ก ในระหว่างปี พ.ศ. 763 - พ.ศ.
ศักราชของจีน
ศักราชของจีน หรือ เหนียนเฮ่า บ้างก็เรียก รัชศก เป็นการเรียกช่วงปีในรัชสมัยของจักรพรรดิจีนแต่ละพระองค์ เริ่มใช้ครั้งแรกในรัชสมัยจักรพรรดิฮั่นอู่แห่งราชวงศ์ฮั่นตะวันตกด้วยชื่อ ศักราชเจี้ยนหยวน หลังจากนั้นจักรพรรดิจีนก็มักจะมีศักราชเป็นของพระองค์เองจำนวนมาก ได้ใช้ต่อมาจนถึงรัชสมัยจักรพรรดิผู่อี๋ ซึ่งเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายของจีน หมวดหมู่:จักรพรรดิจีน.
ดู จักรพรรดิจีนและศักราชของจีน
ศึกลำน้ำเลือด
ึกลำน้ำเลือด (大運河; The Grand Canal) ซีรีส์จีนฟอร์มยักษ์จาก ทีวีบี ออกอากาศครั้งแรกเมื่อปี 2530 เพื่อฉลองครบรอบ 20 ปี ของทีวีบีนำแสดงโดยดาราชื่อดังอย่าง เหลียง เฉาเหว่ย หลิวชิงหวิน หวงเย่อหัว.
ดู จักรพรรดิจีนและศึกลำน้ำเลือด
สมเด็จพระจักรพรรดิเซี่ยวหวย
ระเจ้าเล่าเสี้ยน หรือ หลิวส้าน หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิเซี่ยวหวย พระมหาจักรพรรดิผู้ทรงครองสิริราชสมบัติยาวนานที่สุดของยุคสามก๊ก ทรงเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ฮั่น เชื้อสายราชสกุลเล.
ดู จักรพรรดิจีนและสมเด็จพระจักรพรรดิเซี่ยวหวย
สามก๊ก
มก๊ก (Romance of the Three Kingdoms) เป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ เป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง จัดเป็นวรรณกรรมเพชรน้ำเอกของโลก เป็นมรดกทางปัญญาของปราชญ์ชาวตะวันออกที่สุดยอด มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากกว่า 10 ภาษาการแปลสามก๊กในปัจจุบัน, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..
สามก๊ก (การ์ตูน)
มก๊ก เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่องยาว ที่แปลมาจาก วรรณกรรรมจีน เรื่องสามก๊ก วาดภาพโดย มิตสึเทรุ โยโกยามะ ต่อมาได้ถูกสร้างเป็นอะนิเมะ ในปี พ.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและสามก๊ก (การ์ตูน)
สามสำนักหกกรม
มสำนักหกกรม เป็นระบบบริหารราชการส่วนกลางของจักรวรรดิจีน.
ดู จักรพรรดิจีนและสามสำนักหกกรม
สาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)
รณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในเอเชียตะวันออกตั้งแต่ปี..
ดู จักรพรรดิจีนและสาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)
สุมาเอี๋ยน
ระเจ้าจิ้นอู่ (ค.ศ. 236 – 17 พฤษภาคม ค.ศ. 290) ชื่อตัวว่า ซือหม่า หยัน (司馬炎) ตามสำเนียงกลาง หรือ สุมาเอี๋ยน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน และชื่อรองว่า อันชื่อ (安世) เป็นหลานชายของซือหม่า อี้ (司馬懿) และเป็นบุตรชายของซือหม่า เจา (司馬昭) หลังบีบให้เฉา ฮ่วน (曹奐) กษัตริย์แห่งรัฐเว่ย์ (魏) สละราชสมบัติ ซือหม่า หยัน ได้เป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์จิ้น เสวยราชย์ระหว่าง..
สีเหลือง
ีเหลือง เป็น 1 ใน 3 แม่สี ร่วมกับสีแดง และสีน้ำเงิน โดยปกติสีจะมีอยู่สองโทน คือ สีโทนร้อน และ สีโทนเย็น แต่สีเหลืองเป็นสีที่อยู่ตรงกลางระหว่าง สีโทนร้อน และ สีโทนเย็น จึงสามารถเลือกใช้สีเหลืองเข้าไปผสมผสานได้กับสีทั้งสองโทน ซึ่งนอกจากสีเหลืองแล้วยังมีสีม่วงอีกสีหนึ่งที่มีลักษณะดังกล่าว.
หมื่นปี
PAGENAME ในภาษาเอเชียตะวันออกหลายภาษา คำว่า "หมื่นปี" ใช้อวยพรให้อายุยืน มีที่มาจากคำถวายพระพรฮ่องเต้ว่า "ทรงพระเจริญหมื่นปี หมื่นปี หมื่น ๆ ปี" ("May His Majesty live for ten thousand years, ten thousand years, ten thousand of ten thousand years").
หรูจึอิง
หรูจึอิง (ค.ศ. 5 – ค.ศ. 25) แปลว่า ราชกุมารอิง (Infant Ying) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนองค์สุดท้ายในราชวงศ์ฮั่นตะวันตก อยู่ในสมบัติตั้งแต..
หลิว หง
สมเด็จพระจักรพรรดิฮั่นเซ่าตี้ฮง (?-180 ปีก่อนคริสตกาล)ทรงพระนามเดิมว่า หลิวฮง เป็นพระราชโอรสอีกพระองค์ใน จักรพรรดิฮั่นฮุ่ยตี้เมื่อพระเชษฐาคือ จักรพรรดิฮั่นเซ่าตี้กง ถูกลิไทเฮาจับสำเร็จโทษเมื่อ 184 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์จึงขึ้นครองราชย์แทนเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์ฮั่นตะวันตกแต่ตลอด 4 ปีแห่งการครองราชย์ก็ทรงเป็นเช่นเดียวกับพระเชษฐาคือเป็นเพียงหุ่นเชิดของลิไทเฮาและพรรคพวกของพระนางพระองค์ก็ถูกกล่าวหาเช่นเดียวกับพระเชษฐาคือพระสติวิปลาสจึงถูกลิไทเฮาจับสำเร็จโทษ หมวดหมู่:จักรพรรดิจีน หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันตก หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่น.
หลิว จือ-ยฺเหวี่ยน
พระเจ้าเกาจู่แห่งฮั่นยุคหลัง (後漢高祖; 4 มีนาคม 895 – 10 มีนาคม 948) ชื่อตัวว่า หลิว จือ-ยฺเหวี่ยน (劉知遠) ภายหลังเปลี่ยนเป็น หลิว เก่า (劉暠) เป็นผู้ก่อตั้งราชวงศ์ฮั่นยุคหลังในสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักรตามประวัติศาสตร์จีน แล้วขึ้นเป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ดังกล่าวเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 947 แต่ก็ตายในปีถัดมา หลิว เฉิงโย่ว (劉承祐) บุตรผู้เยาว์ของหลิว จือ-ยฺเหวี่ยน ขึ้นครองสมบัติต่อมาได้สองปี ก็ถูกทหารยึดอำนาจแล้ววตั้งราชวงศ์โจวยุคหลังขึ้นแทน หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร.
ดู จักรพรรดิจีนและหลิว จือ-ยฺเหวี่ยน
หลิว เฉิงโย่ว
หลิว เฉิงโย่ว (劉承祐; 28 มีนาคม 931 – 2 มกราคม 951) เมื่อตายแล้วได้นามว่า พระเจ้าอิ่น (隱皇帝) เป็นทุติยกษัตริย์ราชวงศ์ฮั่นยุคหลังในประเทศจีนสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร อยู่ในสมบัติตั้งแต่ปี 948 จนสิ้นชีวิต หลิว เฉิงโย่ว เป็นบุตรของหลิว จือ-ยฺเหวี่ยน (劉知遠) ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง หลิว จือ-ยฺเหวี่ยน ตายปัจจุทันด่วนในปี 948 หลิว เฉิงโย่ว จึงขึ้นเสวยราชย์ต่อมา เมื่อเป็นกษัตริย์แล้ว หลิว เฉิงโย่ว ฆ่าข้าราชการจำนวนมากตามอำเภอใจ ในปี 951 เขาฆ่าครอบครัวของแม่ทัพกัว เวย์ (郭威) ทั้งโคตร กัว เวย์ จึงยึดอำนาจ และฆ่าหลิว เฉิงโย่ว ในปีนั้น แล้วกัว เวย์ ก็ตั้งราชวงศ์โจวยุคหลังขึ้นแทน โดยมีตนเป็นปฐมกษัตริย์ หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร.
ดู จักรพรรดิจีนและหลิว เฉิงโย่ว
หลี่ จื้อเฉิง
หลี่ จื้อเฉิง เป็นสมาชิกกบฏเมืองแมนแดนสันติ ในปลายยุคราชวงศ์หมิงต่อกับช่วงต้นราชวงศ์ชิง เป็นผู้เอาชนะใจราษฎรได้ส่วนใหญ่ จนได้รับฉายาว่า "กษัตริย์ผู้กล้า" ทั้ง ๆ ที่ไม่ใช่เป็นกษัตริย์ ทุกวันนี้ มีอนุสาวรีย์ขนาดใหญ่ของหลี่ จื้อเฉิง อยู่ที่บริเวณทางเข้าสุสานจักรพรรดิราชวงศ์หมิงและชิง กรุงปักกิ่ง.
ดู จักรพรรดิจีนและหลี่ จื้อเฉิง
หลี่ ฉุนซฺวี่
พระเจ้าจฺวังจงแห่งถังยุคหลัง (後唐莊宗; 2 ธันวาคม 885 – 15 มีนาคม 926) ชื่อตัวว่า หลี่ ฉุนซฺวี่ (李存朂, 李存勗 หรือ 李存勖) และชื่อรองว่า ย่าจึ (亞子) เป็นพระเจ้าแผ่นดินในราชวงศ์ถังยุคหลังสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร อยู่ในสมบัติตั้งแต่ปี 923 ถึงปี 926 หลี่ ฉุนซฺวี่ เป็นบุตรของหลี่ เค่อย่ง (李克用) แม่ทัพราชวงศ์ถัง ต่อมา จู เวิน (朱溫) แม่ทัพอีกคนแห่งราชวงศ์ถัง โค่นราชวงศ์ถังแล้วตั้งราชวงศ์เหลียงยุคหลังขึ้น หลี่ ฉุนซฺวี่ จึงรวมกำลังมารบกับราชวงศ์เหลียงยุคหลังเพื่อกู้ราชวงศ์ถัง เขาทำตั้งราชวงศ์ถังขึ้นอีกครั้งซึ่งประวัติศาสร์เรียก ราชวงศ์ถังยุคหลัง แล้วตั้งตัวเป็นกษัตริย์ถัง หลี่ ฉุนซฺวี่ ครองสมบัติได้สามปี กัว ฉงเชียน (郭從謙) ข้าราชการของเขา ก็ก่อกบฏในปี 926 และหลี่ ฉุนซฺวี่ ตายในระหว่างสู้กับกบฏ หลี่ ซื่อเยฺวี๋ยน (李嗣源) ลูกบุญธรรมของ หลี่ ฉุนซฺวี่ จึงขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดมา หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ถูกปลงพระชนม์ หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร.
ดู จักรพรรดิจีนและหลี่ ฉุนซฺวี่
หลี่ ฉงโฮ่ว
มเด็จพระจักรพรรดิถังหมิน (ค.ศ. 933 - 934) จักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์โฮ่วถัง ทรงพระนามเดิมว่า หลี่คงโหว เมื่อจักรพรรดิถังหมิงจง พระเชษฐาบุญธรรมสวรรคตลงในปี..
หลี่ ฉงเคอ
มเด็จพระจักรพรรดิถังโม่ตี้ (ค.ศ. 885 - 936) จักรพรรดิองค์ที่ 4 และองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์โฮ่วถัง ทรงพระนามเดิมว่าหลี่คงเค่อ เป็นพระราชอนุชาบุญธรรมในจักรพรรดิถังหมิงจงและจักรพรรดิถังหมิน ทรงขึ้นครองราชย์สืบต่อจากจักรพรรดิถังหมินในปี..
หลี่ ซื่อเยฺวี๋ยน
มเด็จพระจักรพรรดิถังหมิงจง (ค.ศ. 867 - ค.ศ. 933) จักรพรรดิองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์โฮ่วถัง ทรงพระนามว่า หลี่ซือหยวน ทรงเป็นบุตรชายบุญธรรมของหลี่เค่อยัง ซึ่งเป็นพระบิดาของจักรพรรดิถังซวงจง เมื่อจักรพรรดิถังซวงจงพระอนุชาสวรรคต ระหว่างเกิดกบฏของขุนนาง ข้าราชการ หลี่ซื่อหยวนจึงนำกำลังเข้าปราบปรามจนเรียบร้อยและจึงขึ้นครองราชย์สืบต่อมา ทรงพระนามว่า จักรพรรดิถังหมิงจง เมื่อ..
ดู จักรพรรดิจีนและหลี่ ซื่อเยฺวี๋ยน
หวัง หมั่ง
ักรพรรดิซินเกาจู่ พระนามเดิม หวัง หมั่ง หรือ อองมัง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นจักรพรรดิองค์แรกและองค์เดียวแห่งราชวงศ์ซิน เป็นพระญาติทางฝ่ายไทเฮาของจักรพรรดิฮั่นเฉิงตี้ ในรัชกาลจักรพรรดิฮั่นเฉิงตี้นี้ ตระกูลหวังมีอำนาจอย่างมาก เมื่อหวังหมั่งเห็นราชวงศ์ฮั่นเริ่มอ่อนแอลงก็พยายามจะยึดอำนาจ แต่ล้มเหลวเพราะฮั่นเฉิงตี้สวรรคตเสียก่อน ฮั่นผิงตี้จึงขึ้นครองราชย์แทน แต่บ้านเมืองก็ยิ่งอ่อนแอลงกว่าเก่า และอำนาจของสกุลหวังยิ่งมีมากขึ้น เมื่อฮั่นผิงตี้สวรรคตลงในปี..
หวังเหว่ย
หวังเหว่ย (王偉, Wong Wai) เป็นอดีตนักแสดงชาวฮ่องกง ที่มีผลงานมากมาย หวังเหว่ยเกิดเมื่อปี ค.ศ. 1941 ที่ฮ่องกง เริ่มต้นอาชีพนักแสดงเมื่ออายุได้ 20 ต้น ๆ ในยุคต้นทศวรรษที่ 60 จากการนำแนะโดยเพื่อนสนิทของบิดา จนได้มีโอกาสรับบทในภาพยนตร์ภาษาจีนกลาง ต่อมาก็มีผลงานในภาพยนตร์ภาษากวางตุ้งด้วย ซึ่งที่โดดเด่นเป็นพิเศษก็คือบทนำจากเรื่อง Story of a Discharged Prisoner เมื่อปี ค.ศ.
หวง เฟยหง
หวง เฟยหง (สำเนียงจีนกลาง) หรือ หว่อง เฟฮง (สำเนียงกวางตุ้ง) (Wong Fei Hung, Hwang Fei Hung; 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1847 — 25 มีนาคม ค.ศ. 1924) เป็นปรมาจารย์กังฟูที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์จีน มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีจากภาพยนตร์กำลังภายใน ในฐานะที่เป็นวีรบุรุษต่อสู้เพื่อกอบกู้ศักดิ์ศรีชาวจีนจากการคุกคามของชาวตะวันตกในยุคล่าอาณานิคม เช่นเดียวกับ หง ซีกวน และ ฮั่ว หยวนเจี๋.
หวงตี้
หวงตี้ หรือ จักรพรรดิเหลือง (黃帝) เป็นหนึ่งในกษัตริย์ตามตำนานจีนและวีรบุรุษทางวัฒนธรรมHelmer Aslaksen, section (retrieved on 2011-11-18) เป็นหนึ่งในซานหวงอู่ตี้ ตำนานระบุว่า จักรพรรดิเหลืองครองราชย์ตั้งแต่ 2697 – 2597 หรือ 2696 – 2598 ปีก่อนคริสตกาลHerbert Allen Giles (1845–1935), A Chinese Biographical Dictionary (London: B.
หองจูเหียบ
ักรพรรดิฮั่นเซี่ยน หรือ ฮั่นเซี่ยนตี้ สำเนียงจีนฮกเกี้ยนว่า ฮั่นเหี้ยนเต้ พระนามเดิม เสีย ตามสำเนียงกลาง หรือ เหียบ ตามสำเนียงจีนฮกเกี้ยน หรือมักเรียกกันว่า หวังเช่าเสีย ตามสำเนียงกลาง หรือ หองจูเหียบ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน ("เสียเจ้าชายน้อย") หรือที่รู้จักกันดีในพระนาม พระเจ้าเหี้ยนเต้ (ตามที่ปรากฏในสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน)) เป็นพระจักรพรรดิหรือฮ่องเต้พระองค์หนึ่งของราชวงศ์ฮั่น และเป็นหนึ่งในตัวละครตามวรรณกรรมสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ เสด็จพระราชสมภพเมื่อปี พ.ศ.
หองจูเปียน
อ๋องแห่งหงหนง หรือพระนามเดิมว่า เปี้ยน ตามสำเนียงกลาง หรือ เปียน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือมักเรียกกันว่า หวังเช่าเปี้ยน ตามสำเนียงกลาง หรือ หองจูเปียน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน ("เปี้ยนเจ้าชายน้อย") เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 25 แห่งราชวงศ์ฮั่น (พระองค์ที่ 13 แห่งราชวงศ์ฮั่นตะวันออก) เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเลนเต้และนางโฮเฮา มีพระอนุชาต่างพระมารดาคือ หองจูเหียบ ในปี พ.ศ.
หางโจว
หางโจว ทิวทัศน์ในปัจจุบันของทะเลสาบซีหู เมืองหางโจว มณฑลเจ้อเจียง ซึ่งในอดีตคือเมืองหลินอันราชธานีของซ่งใต้ หางโจว (จีน: 杭州; Hangzhou) เป็นเมืองหลวงของมณฑลเจ้อเจียง สาธารณรัฐประชาชนจีน เมืองหางโจว ซึ่งเป็นเมืองเก่าแก่ 1 ใน 6 ของประเทศจีน ปัจจุบันหางโจว ถือเป็นเมืองที่อยู่ในเขตภาคตะวันออกที่ได้รับการพัฒนาอย่างสูงสุดแล้ว ดังนั้นหางโจวจึงเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีว่า เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ มีวัฒนธรรมที่ยาวนาน และเป็นเมืองที่มีทัศนียภาพที่สวยสดงดงามเมืองหนึ่งของประเทศจีน รวมทั้งมั่งคั่งไปด้วยเภสัชอุตสาหกรรม และสถาบันศิลปะมากมาย เมืองหางโจวถือว่าเมืองดิจิตอลไร้สายได้ครอบคลุมถึงทางหลวงและตรอกเล็กซอยน้อยต่างๆในเมือง.
หู จุน
หู จุน (Hu Jun, อักษรจีนตัวเต็ม: 胡军, อักษรจีนตัวย่อ: 胡軍, พินอิน: hú jūn) นักแสดงชาวจีนเชื้อสายแมนจู เกิดเมื่อวันที่ 18 มีนาคม ค.ศ.
หง ซีกวน
หง ซีกวน หรือ อั้ง อีกัว (แต้จิ๋ว) (Hung Hei-Gun; 洪熙官; พินอิน: Hóng Xīguān) วีรบุรุษมวยกังฟูผู้คิดค้นเพลงมวยสกุลหง หรือ หงฉวน (洪拳) และเป็นตำนานร่วมกับ ฟ่ง ไสหยก หรือ ปึง ซีเง็ก และ โอว ฮู้ยเคียง ซึ่งทั้ง 3 ได้รับการขนามนามว่าเป็น 3 พยัคฆ์เส้าหลิน เช่นเดียวกับ 10 พยัคฆ์เส้าเหลิน (廣東十虎) นักสู้กังฟูอีกกลุ่มในเวลาต่อมา หง ซีกวน เกิดที่มณฑลกวางตุ้ง เดิมมีชื่อว่า จิว อาชีพเดิมเคยเป็นคนขายใบชา ก่อนที่จะฝึกกังฟูกับวัดเส้าหลินกับหลวงจีนจื้อส้าน ร่วมกับ ฟ่ง ไสหยก และ โอว ฮู้ยเคียง โดยที่ หง ซีกวน เป็นแกนนำกลุ่มด้วยความที่เป็นคนอาวุโสและอุปนิสัยเยือกเย็นที่สุด เพื่อเข้าร่วมกับพรรคดอกไม้แดงทำการต่อต้านแมนจูที่กดขี่ชาวฮั่นโดยราชวงศ์ชิง ซึ่งเรื่องราวของ 3 นั้นได้ถูกกล่าวถึงไว้ในนิยายกำลังภายในเรื่อง เฉียนหลงประพาสกังหนำ อันเป็นเรื่องราวของฮ่องเต้เฉียนหลงเมื่อครั้งเสด็จประพาสภาคใต้ของจีน พร้อมกับทรงส่งยอดฝีมือจากสำนักต่าง ๆ เช่น บู๊ตึ้งและง้อไบ๊ เพื่อกำจัดคนจากสำนักเส้าหลินที่ต่อต้านแมนจู ซึ่ง ฟ่ง ไสหยก เป็นคนแรกที่เสียชีวิต ก่อนจะตามด้วย โอว ฮู้ยเคียง ส่วน หง ซีกวน นั้นเป็นบุคคลสุดท้ายที่มีชีวิตอยู่ ในวัฒนธรรมร่วมสมัยบางอย่าง เช่น นวนิยาย หรือภาพยนตร์และซีรีส์ ได้กำหนดให้ หง ซีกวน เป็นตัวเอกในบรรดาคนทั้ง 3 และในบางเรื่องก็ให้ หง ซีกวนถูกฆ่าตายในที่สุด แต่ในบางเรื่อง หง ซีกวน ก็มิได้ตาย และในบางตำนานก็เชื่อว่า หง ซีกวนมีชีวิตยืนยาวนานถึง 182 ปี อย่างไรก็ดี เมื่อเทียบกับ ฟ่ง ไสหยก แล้ว หง ซีกวน ถือว่าเป็นบุคคลที่มีความเป็นไปได้มากว่าที่จะมีตัวตนจริงมากกว่า แต่บางส่วนก็ถิอว่า หง ซีกวน เป็นเพียงบุคคลในอุดมคติ โดยเป็นบุคคลในบุคลาธิษฐานที่แต่งขึ้นมาเพื่อเสริมวีรกรรมของ หง ซิ่วฉวน (洪秀全) ผู้นำกบฏไท่ผิง ที่มีตัวตนจริงมากกว.
หงส์
หงส์ (มักเขียนผิดเป็น หงษ์) เป็นนกน้ำขนาดใหญ่ที่อยู่ในสกุล Cygnus ในวงศ์ Anatidae อันเป็นวงศ์เดียวกับเป็ดและนกเป็ดน้ำ มีลักษณะทั่วไป มีขนสีขาวทั้งตัว จะงอยปากสีเหลืองส้มและมีปุ่มสีดำที่ฐานของปาก มักรวมฝูงในบึงน้ำเพื่อกินพืชน้ำและสัตว์น้ำขนาดเล็ก พบในทวีปเอเชียทางตอนเหนือ, ยุโรปทางตอนเหนือ, อเมริกา และออสเตรเลีย หงส์ สามารถร่อนลงบนพื้นน้ำแข็งหรือผิวน้ำที่เยือกตัวเป็นน้ำแข็งได้ เพราะมีอุ้งตีนที่ใหญ่คล้ายใบพายซึ่งช่วยกระจายน้ำหนักได้เมื่อร่อนลง แต่จะควบคุมการร่อนได้ดีกว่าในบริเวณที่น้ำแข็งละลาย หงส์มีทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก.
หนานจิง
หนานจิง หรือรู้จักกันอีกชื่อว่า นานกิง เป็นเมืองหลวงของมณฑลเจียงซู สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยหนานจิงเป็นหนึ่งในเมืองหลวงเก่าของจีน ปัจจุบันหนานจิงเป็นเมืองใหญ่อันดับสองในภาคตะวันออกของจีน รองจากช่างไห่ และหนานจิงเป็นเมืองหลวงของจีนคณะชาติสมัยปฏิวัติล้มล้างจักรพรรดิจีน ราชวงศ์ชิงหรือแมนจู หนานจิง ที่แปลว่านครหลวงใต้ เคยเป็นเมืองหลวงของหลายราชวงศ์ จนได้รับสมญานามว่า เมืองหลวงสิบแผ่นดิน และยังเป็น 1 ใน 6 นครโบราณ อันได้แก่ ปักกิ่ง หนานจิง ซีอาน ลั่วหยาง หางโจว และ ไคเฟิง เป็นเมืองหลวงครั้งสุดท้ายระหว่างปี พ.ศ.
อสูรปกครองศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 4
ลาจารึกในยุคราชวงศ์ฮั่นแสดงถึงเทพอสูรปกครองศักสิทธิ์ทั้ง 4 รวมถึงมังกรทองด้วยที่อยู่ตรงกลาง อสูรปกครองศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 4 (อังกฤษ: Four Symbols; จีน: 四霛/四灵; ญี่ปุ่น: 四神) เป็น สัตว์เทพอสูรทั้ง 4 ตามเทพนิยายจีนซึ่งทำหน้าที่ปกครองทิศทั้ง 4 บนสวรรค์ และเทพอสูรแต่ละองค์จะประกอบด้วยกลุ่มดาว 7 กลุ่ม นอกจากนั้นสัตว์เทพอสูรทั้ง 4 ยังเป็นตัวแทนธาตุหลักตามตำราจีนด้วย ซึ่งนำเอาใช้ในตำราแพทย์ของจีน รวมถึงศิลปะการต่อสู้อีกด้ว.
ดู จักรพรรดิจีนและอสูรปกครองศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 4
อาณัติแห่งสวรรค์
อาณัติแห่งสวรรค์ (mandate of heaven) คือความชอบธรรมที่สวรรค์มอบให้แก่มนุษย์คนหนึ่ง ให้มีอำนาจในการปกครองประชาชน มีลักษณะใกล้เคียงกับแนวคิดเทวสิทธิราชย์ในปรัชญาการเมืองตะวันตก.
ดู จักรพรรดิจีนและอาณัติแห่งสวรรค์
อาณาจักรรีวกีว
อาณาจักรรีวกีว (琉球王国 Ryūkyū Ōkoku; รีวกีว: Ruuchuu-kuku;; ค.ศ. 1429 — 1879) เป็นรัฐเอกราช ครอบครองหมู่เกาะรีวกีว เกือบทั้งหมดตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 - 19 ชื่อของอาณาจักรรีวกีวปรากฏในเอกสารต้นกรุงรัตนโกสินทร์ว่า ลิชี่ว (ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์) หรือ ลิ่วขิ่ว (โคลงภาพคนต่างภาษา) กษัตริย์ของอาณาจักรรีวกีวได้รวบรวมเกาะโอะกินะวะ ให้เป็นปึกแผ่น และขยายอาณาเขตไปถึงหมู่เกาะอะมะมิ (ปัจจุบันอยู่ในเขตจังหวัดคะโงะชิมะ และหมู่เกาะซะกิชิมะ ใกล้กับเกาะไต้หวัน แม้ว่าจะเป็นอาณาจักรเล็ก ๆ แต่ก็มีบทบาทสำคัญทางด้านการค้าทางทะเลในยุคกลางของเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.
ดู จักรพรรดิจีนและอาณาจักรรีวกีว
อิทธิฤทธิ์ภูมิเทวดา
อิทธิฤทธิ์ภูมิเทวดา เป็นละครโทรทัศน์จีนกำลังภายในที่กล่าวถึงอานุภาพของภูมิเทวดาจางฝูเต๋อ และยายเจ้าที่เหยียนจื่อ ออกอากาศทางช่อง CTS ในจีน ในปี พ.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและอิทธิฤทธิ์ภูมิเทวดา
อิดเต็งไต้ซือ
อิดเต็งไต้ซือ (Duan Zhixing - 段智兴) เป็นตัวละครในนิยายกำลังภายในของกิมย้ง เรื่องมังกรหยก และปรากฏตัวในมังกรหยก ภาค 2 เดิมเป็นฮ่องเต้แคว้นต้าหลี่ชื่อ ต้วนตี่เฮง หนึ่งในห้ายอดฝีมือที่ประลองยุทธถกกระบี่เขาหัวซาน ฉายาราชันย์ทักษิณ แตกฉานดรรชนีเอกสุริยัน (อิดเอี๋ยนจี่) และได้รับการถ่ายทอดวิชาพลังธาตุธรรมชาติจากเฮ้งเตงเอี้ยง ซึ่งเป็นวิชาที่พิษประจิมเกรงมากเพราะสามารถสยบลมปราณคางคกได้ ซึ่งในกาลนั้นเฮ้งเตงเอี้ยงได้พาศิษย์น้อง จิวแปะทงมาด้วย ทำให้เกิดเรื่องราวโกลาหล ภายหลังออกบวชไม่ยุ่งเรื่องทางโลก ภายในใจลึกๆของอิดเต็งไต้ซือนั้นรักสนมเล่ามาก เพียงเพราะผู้ที่ฝึกวิชาดรรชนีเอกสุริยัน จำเป็นจะต้องดำรงตนไม่ยุ่งเกี่ยวกับเรื่องกามารมณ์ ซึ่งสาเหตุนี้ก็เป็นสาเหตุเดียวกัน ที่ทำให้ความรักของเฮ้งเตงเอี้ยงกับลิ้มเชี่ยวเองเป็นเพียงเรื่องของในใจเท่านั้น ต่อมาอึ้งย้งได้ขอความช่วยเหลือให้ราชันย์ทักษิณรักษาอาการบาดเจ็บที่ได้รับมาจากฮิ้วโชยยิ่ม อันทำให้สูญกำลังไปมาก แต่เมื่อได้ฝึกและเดินพลังตามหลักวิชาเก้าอิมที่ได้รับการแนะนำตามที่ก๊วยเจ๋งแนะนำ จึงคืนพละกำลังได้อย่างรวดเร็วอึ้งย้งเปลี่ยนฉายาให้ใหม่ว่า สมณะทักษิน หมวดหมู่:ตัวละครในนิยายกำลังภายใน หมวดหมู่:ห้ายอดฝีมือ.
ดู จักรพรรดิจีนและอิดเต็งไต้ซือ
อ้วนสุด
อ้วนสุด (Yuan Shu) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก น้องชายของอ้วนเสี้ยว อ้วนสุดเป็นคนที่นิสัยเหมือนกับอ้วนเสี้ยวญาติผู้พี่ คือ โลเลเหลาะแหละ ชอบแต่คนประจบสอพลอ ซ้ำยังมีความละโมบโลภมากกว่า เมื่อซุนเซ็กนำตราหยกมาจำนำเพื่อยืมทหาร จึงยึดเป็นของตนเอง ก่อนจะสถาปนาตนเป็นฮ่องเต้ ทรงพระนามว่า "ต๋องซือ" ในการปราบตั๋งโต๊ะร่วมกับหลายเมือง อ้วนสุดเกรงว่าซุนเกี๋ยนจะนำทัพเข้าตีเข้าเมืองลกเอี๋ยงได้ จะได้ความดีความชอบ จึงแกล้งไม่ส่งเสบียงให้ เป็นต้นเหตุให้กองทัพของเมืองเตียงสาต้องแพ้ ทั้ง ๆ ที่กำลังจะได้ชัยชนะอยู่แล้ว.
อ้ายซินเจว๋หลัว
อ้ายซินเจว๋หลัว (อักษรจีนตัวเต็ม: 愛新覺羅; อักษรจีนตัวย่อ: 爱新觉罗; พินอิน: àixīn juéluó แมนจู: 18px) เป็นพระราชตระกูลในราชวงศ์ชิงของแมนจู ในภาษาแมนจู "อ้ายซิน" มีความหมายว่า "ทอง" และ "เจว๋หลัว" ว่า นามสกุล สืบเชื้อสายมาจากพระมหากษัตริย์แห่งเผ่าหนีเจิน พระนามว่า สมเด็จพระเจ้าอากูต่าแห่งพระราชตระกูลหวางเอี๋ยน ซึ่งทรงเป็นผู้รวมรวมกำลังพลเพื่อต่อสู้กับจักรวรรดิต้าหมิงที่อ่อนแอมากในขนาดนั้น จนได้รับชัยชนะและทรงสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นองค์ปฐมบรมมหาจักรพรรดิแห่งราชวงศ์จิน สมเด็จพระเจ้าอากูต่า ทรงพระนามว่าสมเด็จพระจักรพรรดิจินไท่จู่และทรงครอบครองแผ่นดินจีนในส่วนอาณาจักรต้าจินเมื่อ..1115 (พ.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและอ้ายซินเจว๋หลัว
อ๋อง
อ๋อง (หวัง หรือ หวาง) แปลเป็นภาษาไทยคือกษัตริย์ เป็นตำแหน่งสูงสุดของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์เซี่ยจนถึงราชวงศ์โจว ซึ่งสมัยนั้นจีนยังไม่รวมเป็นจักรวรรดิที่เป็นปึกแผ่น ซึ่งแต่ละแคว้นก็จะมีอ๋องเป็นเจ้าผู้ครองแคว้น ซึ่งต่อมาฉินอ๋องเจิ้งแห่งแคว้นฉินทรงรวมแผ่นดินจีนเป็นปึกแผ่น พระองค์ถือว่าพระองค์มีคุณงามความดีเหนืออ๋องในอดีตทั้งมวล ทรงเห็นว่าตำแหน่งอ๋องไม่ยิ่งใหญ่เพียงพอสำหรับพระองค์ ฉินอ๋องเจิ้นจึงทรงพระราชดำริคำเรียกขึ้นใหม่คือ ฮ่องเต้ ฉินอ๋องเจิ้นทรงใช้พระนามว่า ฉินสื่อหวงตี้หรือจิ๋นซีฮ่องเต้ จักรพรรดิองค์แรกแห่งจักรวรรดิจีนอันยิ่งใหญ่ ในยุคชุนชิวและจ้านกว๋อ (770 ปีก่อนคริสต์ศักราช – 453 ปีก่อนคริสต์ศักราช) มีอ๋องอยู่เพียง 5 พระองค์เท่านั้นที่ได้รับการยกย่องเป็น ปาอ๋อง หรือ ปาจู๋ (霸, Bà) แปลได้ว่า "อ๋องผู้ยิ่งใหญ่" ได้แก.
ฮองไทเฮา
หฺวังไท่โฮ่ว ตามสำเนียงกลาง หรือ ฮองไทเฮา ตามสำเนียงฮกเกี้ยน นิยมเรียกโดยย่อว่า ไท่โฮ่ว หรือ ไทเฮา เป็นพระอิสริยยศของสมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวงของจักรพรรดิจีน จักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิเกาหลี และจักรพรรดิเวียดนาม หรือพระราชวงศ์ฝ่ายในพระองค์อื่นซึ่งมีพระชนมายุรุ่นเดียวกับสมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง เช่น พระอัครมเหสีในพระเจ้าแผ่นดินพระองค์ก่อนซึ่งยังมีชีวิตอยู่ในรัชกาลปัจจุบัน แต่ไม่ใช่มารดาของพระเจ้าแผ่นดินพระองค์ปัจจุบัน หากมีพระชนมายุอาวุโสกว่าจะมีพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระอัยยิกาเจ้า (太皇太后) คือ (grand empress dowager) ไทเฮาหลายคนได้สำเร็จราชการแทนพระเจ้าแผ่นดินผู้เยาว์ และบรรดาไทเฮาผู้สำเร็จราชการหลายคนยังคงครองอำนาจต่อไปแม้พระเจ้าแผ่นดินเจริญวัยพอที่จะว่าการเองได้แล้ว ประวัติศาสตร์แบบดั้งเดิมมองว่า เรื่องเช่นนี้นำมาซึ่งความโกลาหลในการแผ่นดิน.
ฮั่ว หยวนเจี่ย
ั่ว หยวนเจี่ย ฮั่ว หยวนเจี่ย (เยฺว่พิน: Fok Yuen Gap; ค.ศ. 1868–ค.ศ. 1910) คือนักสู้ชาวจีนและผู้ร่วมก่อตั้งสมาคมชิงอู่ โรงเรียนสอนศิลปะการป้องกันตัวในเซี่ยงไฮ้ เขาได้รับการยกย่องว่าเป็นวีรบุรุษจากการต่อสู้กับชาวต่างชาติในช่วงที่ประเทศจีนถูกคุกคามโดยชาวต่างชาติ ทำให้เรื่องราวของเขายากต่อการแยกแยะจริงเท็.
ดู จักรพรรดิจีนและฮั่ว หยวนเจี่ย
ฮีโร่
ีโร่ (Hero; จีนตัวเต็ม: 英雄; จีนตัวย่อ: 英雄; พินอิน: Yīngxióng) ภาพยนตร์กำลังภายในสัญชาติจีน ออกฉายในปี ค.ศ. 2002.
ผู่เจี๋ย
อ้ายซินเจว๋หลัว ผู่เจี๋ย (愛新覚羅 溥傑 Aishinkakura Fuketsu) เกิดในราชสกุลอ้ายซินเจว๋หลัวเมื่อวันที่ 16 เมษายน..
ฌ้อปาอ๋อง
หน้ากากอุปรากรฌ้อปาอ๋อง ฌ้อปาอ๋อง หรือ ซีฉู่ป้าหวัง (Xīchǔ Bàwáng, 楚霸王) เป็นขุนศึกผู้ยิ่งใหญ่ในยุคปลายราชวงศ์ฉินที่มีชื่อเสียงในประวัติศาสตร์จีน เป็นคู่ปรับคนสำคัญของหลิวปังหรือจักรพรรดิฮั่นเกาจู ปฐมจักรพรรดิจีนราชวงศ์ฮั่น ฌ้อปาอ๋อง มีชื่อเดิมว่า เซี่ยงอวี่ (Xiang Yu, 项羽) เกิดเมื่อ 232 ปีก่อนคริสตกาล ตรงกับยุคจ้านกว๋อ ที่แคว้นฌ้อ หรือ แคว้นฉู่ (ปัจจุบันครอบคลุมดินแดนของมณฑลหูหนาน, มณฑลหูเป่ย์, ฉงชิ่ง, มณฑลเหอหนาน, มณฑลอานฮุย และบางส่วนของมณฑลเจียงซูและมณฑลเจียงซี) เป็นบุคคลที่ได้รับการกล่าวขานว่ามีพละกำลังมหาศาล สามารถยกกระถางธูปที่มีน้ำหนักนับร้อยกิโลกรัมไว้บนเหนือหัวได้ เกิดในตระกูลขุนศึก ได้รับการเล่าเรียนวิชายุทธและการศึกจาก เซี่ยงเหลียง (Xiang Liang, 項梁) ผู้เป็นอา ต่อมาเมื่อปลายราชวงศ์ฉิน เกิดกบฏชาวนาและอีกหลายกบฏต่อต้านราชวงศ์ฉิน เซี่ยงอวี่ก็เป็นหนึ่งในนั้นด้วย และด้วยความสามารถ ทำให้ได้เป็นผู้นำระดับแม่ทัพ และได้ร่วมมือกับหลิวปังในการโจมตีหัวเมืองต่าง ๆ โดยวีรกรรมครั้งสำคัญคือ เมื่อ 206 ปีก่อนคริสตกาล เซี่ยงอวี่นำทัพไปที่เมืองเสียนหยาง เมืองหลวงของราชวงศ์ฉิน ทั้งที่มีกองกำลังน้อยกว่ามากถึง 10 ต่อ 1 หลังจากข้ามแม่น้ำจางเหอไปแล้ว เซี่ยง หวี่ได้สั่งการให้ทหารทั้งหมดที่พกเสบียงอาหารแห้งจำนวนที่จะพอรับประทานได้ 3 วัน และให้ทุบหม้อสำหรับปรุงอาหาร และให้เจาะรูให้เรือที่ข้ามแม่น้ำมาให้รั่วทั้งหมด เพื่อที่จะเอาชนะให้ได้ ไม่เช่นนั้นก็ตายกันหมด ซึ่งวีรกรรมตรงนี้ได้กลายมาเป็นภาษิตในภาษาจีนที่ว่า "ทุบหม้อจมเรือ" อันหมายถึง สิ่งสำคัญที่ตัดสินชะตากรรม ซึ่งเซี่ยงอวี่ได้รับชัยชนะ แต่ปรากฏเป็นกองทัพของหลิวปังที่ได้เข้าสู่เมืองหลวงก่อน พร้อมกับได้นั่งบัลลังก์ฮ่องเต้ สร้างความไม่พอใจให้แก่เซียงอวี่ ต่อมา เซียงอวี่ได้ประกาศตนเองเป็น ฌ้อปาอ๋อง อันหมายถึง "อ๋องแห่งฌ้อผู้ยิ่งใหญ่" พร้อมกับได้สถาปนาให้หลิวปังมีบรรดาศักดิ์เป็น ฮั่นอ๋อง (King of Han, 汉王) ต่อมาเซี่ยงอวี่กับหลิวปังก็แตกแยกกัน ทั้งคู่ทำสงครามแย่งชิงราชบัลลังก์กันนานถึง 4 ปี ที่เรียกกันว่า สงครามฉู่-ฮั่น (Chu–Han contention, 楚汉战争) ในระยะแรก ฌ้อปาอ๋องที่มีกองกำลังมากกว่าได้รับชัยชนะต่อเนื่องกันหลายครั้ง แต่หลิวปังซึ่งได้รับการช่วยเหลือจากที่ปรึกษาและขุนพลคนสำคัญ คือ เตียวเหลียง (Zhang Liang 張良), เซี่ยวเหอ (Xiao He, 蕭何) และ ฮั่นสิน (Han Xin, 韓信) ทำให้ได้เปรียบได้ตอนท้าย และกลายมาเป็นฝ่ายยกกองทัพปิดล้อมกองทัพฌ้อ จนฌ้อปาอ๋องและหยูจี ซึ่งเป็นนางสนมไม่มีทางหนี ขณะที่กำลังถูกปิดล้อมอยู่นั้น กล่าวกันว่าฝ่ายฮั่นได้เล่นเพลงของฌ้อดังไปถึงกองทัพของฌ้อเพื่อข่มขวัญ ทำให้ฌ้อปาอ๋องเกิดมุทะลุบุกขึ้นมาตีฝ่าวงล้อม ซึ่งทำให้ต้องเสียไพร่พลที่เหลือน้อยอยู่แล้วลงไปอีก และตัวเองต้องหนีไปจนมุมที่แม่น้ำไก่เซี่ย (ปัจจุบันอยู่ทางทิศตะวันตกของมณฑลอานฮุย) และฆ่าตัวตายด้วยการเชือดลำคอด้วยดาบในที่สุด จบชีวิตลงเมื่อปี 202 ปีก่อนคริสตกาล ขณะที่มีอายุเพียง 30 ปีเท่านั้น เรื่องราวของฌ้อปาอ๋องได้รับการเล่าขานสืบต่อกันมาในวัฒนธรรมจีนจนถึงปัจจุบัน ซึ่งส่วนใหญ่บุคลิกของฌ้อปาอ๋อง จะเป็นไปในลักษณะของ ชายรูปร่างสูงใหญ่ บึกบึน ไว้หนวดไว้เครา อุปนิสัยโหดร้าย เจ้าอารมณ์ และมุทะลุดุดัน เนื่องจากการบุกเมืองเสียนหยาง ฌ้อปาอ๋องได้สั่งเผาและฝังทั้งเป็นทหารฉินถึง 200,000 นาย และต่อมาเมื่อมีอำนาจ ก็เป็นบุคคลเจ้าอารมณ์ไม่ฟังเสียงทัดทานของผู้คนรอบข้าง ผิดกับหลิวปัง ซึ่งใจเย็น สุขุม และมีเมตตากว่า จึงเป็นที่นิยมของราษฎร ขณะเดียวกันชีวิตส่วนตัวของฌ้อปาอ๋องกับนางสนมหยูจี ที่เป็นผู้หญิงที่สวยมาก ที่อยู่เคียงข้างจนวาระสุดท้าย ก็เป็นที่เล่าขานกัน ซึ่งก่อนที่ฌ้อปาอ๋องจะลุกขึ้นมานำทัพบุกฝ่าวงล้อมของกองทัพฮั่นนั้น ได้เข้าไปร่ำลานางหยูจี พร้อมกับตีกลองร้องเพลงที่มีความหมายถึงวาระสุดท้ายของชีวิตตนเอง ซึ่งเรียกว่า "เพลงแห่งไก่เซี่ย" (Song of Gaixia, 垓下歌) ที่อาจถอดความหมายได้ว่า ซึ่งเรื่องราวของฌ้อปาอ๋อง ได้บันทึกไว้ในวรรณคดีเรื่องสำคัญแห่งการสถาปนาราชวงศ์ฮั่น คือ ไซฮั่น และในยุคปัจจุบันได้กลายเป็นตัวละครสำคัญในวัฒนธรรมร่วมสมัยมากมาย เช่น ภาพยนตร์เรื่อง The Great Conqueror's Concubine ในปี ค.ศ.
จอมใจจักรพรรดิ
อมใจจักรพรรดิ (The Kingdom and the Beauty; 江山美人; พินอิน: Jiang shan mei ren) ภาพยนตร์เพลงจีนสัญชาติฮ่องกงในแนวย้อนยุค โดยการสร้างของชอว์บราเดอส์ ในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจอมใจจักรพรรดิ
จักรพรรดิกวังซฺวี่
ระฉายาลักษณ์สมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวี้ จักรพรรดิกวังซฺวี่ พระนามเดิมว่า อ้ายซินเจว๋หลัว ไจ้เถียน (14 สิงหาคม 2414-14 พฤศจิกายน 2451) เป็นพระโอรสในองค์ชายอี้ซวน ซึ่งเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิเสียนเฟิง พระราชชนนีคือพระขนิษฐาในพระนางซูสีไทเฮา ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่พระชนมพรรษา 3 พรรษา การขึ้นครองราชย์ของพระองค์เป็นการผิดกฎมณเฑียรบาล เพราะสมเด็จพระจักรพรรดิถงจื้อก่อนสวรรคตได้ทรงแต่งตั้งเจ้าชายไจ้ซู่พระญาติให้เป็นรัชทายาท แต่ในเมื่อพระนางซูสีไทเฮาต้องการให้องค์กวังซฺวี่ขึ้นครองราชย์ก็ไม่มีใครกล้าคัดค้าน.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิกวังซฺวี่
จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจง
หวียนฮุ่ยจง (25 พฤษภาคม ค.ศ. 1320 – 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1370) หรือ ถั่วฮฺวัน เทียมู่เอ่อร์ (Toghon Temür) เสด็จสวรรคตแล้วจึงได้พระนามว่า ยฺเหวียนชุ่นตี้ เป็นจักรพรรดิจีนแห่งราชวงศ์หยวน (ยฺเหวียน) ใน..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจง
จักรพรรดิยงเจิ้ง
มเด็จพระจักรพรรดิยงเจิ้ง ทรงพระราชสมภพเมื่อ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2221 (คังซีปีที่ 17) เป็นพระโอรสลำดับที่ 4 ในจักรพรรดิคังซี มีพระนามเดิมว่า อิ้นเจิน, อิ้นเจวิน (ภาษาจีน: 胤禛) เล่ากันว่า พระองค์ร่วมวางแผนกับหลงเคอตัว ปลอมแปลงลายพระหัตถ์ของจักรพรรดิคังซีจากคำว่าองค์ชาย 14 (十四) เป็นคำว่าให้กับองค์ชาย 4 (于四) องค์ชาย 4 ขึ้นครองราชย์สืบต่อ อันเนื่องจากเหตุการณ์ความวุ่นวายในการแย่งชิงราชสมบัติกันเองระหว่างพี่น้อง ปลายรัชสมัยจักรพรรดิคังซี แต่เรื่องนี้เป็นเพียงความเชื่อที่บอกต่อกันมา ไม่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ยืนยันแต่ประการใด แต่นั่นก็ทำให้พระองค์ได้ฉายาว่าเป็น "จักรพรรดิบัลลังก์เลือด" หรือ "จักรพรรดิทรราช" (ซึ่งความตรงนี้นักประวัติศาสตร์ยุคปัจจุบันมีความเห็นว่าเป็นไปไม่ได้ เพราะพินัยกรรมของจักรพรรดิคังซีแม้จะเปลี่ยนแปลงก็เปลี่ยนได้เฉพาะฉบับที่เป็นตัวอักษรฮั่นเท่านั้น แต่ฉบับอักษรแมนจูที่มีการเขียนคู่กันด้วยไม่สามารถแก้ไขได้ อีกทั้งอักษร 于 นั้นเป็นการเขียนอย่างย่อ ซึ่งปกติจะไม่ใช้ในเอกสารราชการ) เมื่อจักรพรรดิยงเจิ้งขึ้นครองราชย์ สิ่งแรกที่พระองค์กระทำคือ การเปลี่ยนแปลงวิธีการแต่งตั้งองค์รัชทายาทจากการแต่งตั้งโดยเปิดเผยอันเป็นสิ่งปฏิบัติมาแต่อดีตเป็นแต่งตั้งโดยเป็นความลับโดยเงยพระพักตร์ขึ้นทอดพระเนตรเพดานท้องพระโรงและจารึกพระนามขององค์รัชทายาทใช้หลังป้ายแผ่นหนึ่งที่มีชื่อเรียกว่า เจิ้งต้ากวางหมิง (正大光明) 2 ชุด ชุดแรกเก็บไว้กับตัวพระองค์เองอีกชุดนึงเก็บไว้ซึ่งเก็บไว้ในหีบลับปิดผนึกแล้ววางไว้ที่ป้ายโลหะหน้าท้องพระโรง และให้เปิดทั้ง 2 ป้ายนี้อ่านพร้อมกันเมื่อพระองค์สวรรคตแต่ในระหว่างที่ครองราชย์ต้องพบกับปัญหากบฏหลายต่อหลายครั้งจากบรรดาขุนนางและเหล่าองค์ชายทั้งหลายที่เป็นพี่น้องด้วยกันยงเจิ้งนับว่าเป็นจักรพรรดิที่ขยันขันแข็งมากและได้ปฏิรูปรูปแบบการปกครองการบริหารเอาไว้หลายด้านกิจวัตรของพระองค์ที่ปฏิบัติเป็นประจำคือ ตื่นบรรทมแต่ก่อนรุ่ง เข้าบรรทมในยามดึกเพราะอ่านฎีกาจนดึกดื่น รวบอำนาจ จัดสรรระบบภาษี การเงินการคลัง และขจัดการฉ้อราษฎร์บังหลวงจนถือว่าเป็นช่วงสืบทอดยุคความรุ่งเรืองต่อมาใน 3 รัชกาลนี้ (คังซี-ยงเจิ้ง-เฉียนหลง) จนสามารถยังผลให้ประเทศจีนรุ่งเรืองถึงขีดสุดในยุคของจักรพรรดิเฉียนหลง พระโอรสของพระองค์ที่ครองราชสมบัติต่อ ซึ่งในส่วนของเหตุการณ์แย่งชิงราชสมบัติระหว่างพี่น้องด้วยกันเองนั้น ที่เรียกกันว่า "ศึกสายเลือด" ได้ถูกเล่าขานสืบมาจนปัจจุบัน และนำไปเสริมเติมแต่งเพื่อสร้างเป็นละครโทรทัศน์หรือภาพยนตร์หลายต่อหลายครั้ง จักรพรรดิย่งเจิ้งสิ้นพระชนม์อย่างกะทันหัน ในเดือนตุลาคม พ.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิยงเจิ้ง
จักรพรรดิว่านลี่
มเด็จพระจักรพรรดิว่านลี่ (4 กันยายน ค.ศ. 1563 - 18 สิงหาคม ค.ศ. 1620) ประสูติเมื่อวันที่4 กันยายน..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิว่านลี่
จักรพรรดิสุยกง
จักรพรรดิสุยกง (隋恭帝; 605 — 14 พฤศจิกายน 619) พระนามเดิม หยางโย่ว (楊侑) เป็นจักรพรรดิจีนสมัยราชวงศ์สุย ตามธรรมเนียมโบราณพระองค์ถือเป็นรัชกาลสุดท้ายของราชวงศ์สุย เพราะทรงถูกบีบให้สละราชบัลลังก์แก่จักรพรรดิถังเกาจู่ (หลี่ยฺเหวียน) ปฐมจักรพรรดิราชวงศ์ถังที่ขึ้นสืบทอด หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์สุย หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ถัง.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิสุยกง
จักรพรรดิสุยหยาง
มเด็จพระจักรพรรดิสุยหยางตี้ (楊廣, Emperor Sui-Yangdi) (ค.ศ. 600-618,1143-1161) ประสูติเมื่อปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิสุยหยาง
จักรพรรดิสุยเหวิน
ักรพรรดิสุยเหวินตี้ (Emperor Sui-Wendi) มีพระนามเดิมว่า หยางเจียน ประสูติเมื่อปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิสุยเหวิน
จักรพรรดิหยวนหมิงจง
มเด็จพระจักรพรรดิหยวนหมิงจง (22 ธันวาคม ค.ศ. 1300-30 สิงหาคม ค.ศ. 1329) จักรพรรดิองค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์หยวน เป็นพระราชโอรสองค์โตในจักรพรรดิหยวนหวู่จง และเป็นพระเชษฐาของจักรพรรดิหยวนเหวินจง ทรงพระนามเดิมว่า คูสาลา ประสูติเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหยวนหมิงจง
จักรพรรดิหยวนหนิงจง
thumb สมเด็จพระจักรพรรดิหยวนหนิงจง (ค.ศ. 1326-1332) จักรพรรดิองค์ที่ 11 แห่งราชวงศ์หยวน ทรงพระนามเดิมว่า รินชินบาล เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิหยวนหมิงจง ประสูติเมื่อ..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหยวนหนิงจง
จักรพรรดิหยวนอิงจง
มเด็จพระจักรพรรดิหยวนอิงจง (พ.ศ. 1846-1866) จักรพรรดิองค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์หยวน ประสูติเมื่อวันที่ 22 กุมภาพัน..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหยวนอิงจง
จักรพรรดิหยวนอู่จง
thumb สมเด็จพระจักรพรรดิหยวนอู่จง (4 สิงหาคม ค.ศ. 1281-27 มกราคม ค.ศ. 1311) ทรงพระนามว่า คูลุก ข่าน หรือ จักรพรรดิอู่จง (Emperor Yuan Wuzong) ประสูติเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหยวนอู่จง
จักรพรรดิหยวนไท่ติ้ง
มเด็จพระจักรพรรดิไท่ติ้ง หรือ เยซุน เตมูร์ ข่าน (28 พฤศจิากยน ค.ศ. 1293 - 15 สิงหาคม 1328) จักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์หยวน ประสูติเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหยวนไท่ติ้ง
จักรพรรดิหยวนเหรินจง
thumb สมเด็จพระจักรพรรดิหยวนเหรินจง หรือ อายูบาร์ดา ข่าน (ค.ศ. 1286-1320) ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์หยวน ประสูติเมื่อวันที่ 9 เมษายน..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหยวนเหรินจง
จักรพรรดิหยวนเหวินจง
thumb สมเด็จพระจักรพรรดิหยวนเหวินจง หรือ จายาตู ข่าน (16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1304-2 กันยายน ค.ศ. 1332) จักรพรรดิองค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์หยวน เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 ในจักรพรรดิหยวนหวู่จง เมื่อจักรพรรดิเทียนซุนตี้สวรรคตลงในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหยวนเหวินจง
จักรพรรดิหยวนเทียนชุ่น
มเด็จพระจักรพรรดิเทียนชุ่น หรือ ราจิบาก ข่าน (ค.ศ. 1320 - 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1328) จักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์หยวน ประสูติเมื่อ..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหยวนเทียนชุ่น
จักรพรรดิหย่งเล่อ
มเด็จพระจักรพรรดิหย่งเล่อ ภาพวาดขณะหย่งเล่อฮ่องเต้ทอดพระเนตรเหล่าขันทีขณะกำลังเล่นคูจู่หรือตะกร้อ โบราณของจีน สมเด็จพระจักรพรรดิหย่งเล่อ (2 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหย่งเล่อ
จักรพรรดิหลงชิ่ง
thumb สมเด็จพระจักรพรรดิหลงชิ่ง (4 มีนาคม ค.ศ. 1537 - 23 มกราคม ค.ศ. 1572) ประสูติเมื่อปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหลงชิ่ง
จักรพรรดิหงอู่
มเด็จพระจักรพรรดิหงอู่ (21 ตุลาคม พ.ศ. 1871 – 24 มิถุนายน พ.ศ. 1941) คือจักรพรรดิพระองค์แรกแห่งราชวงศ์หมิงของจีน.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหงอู่
จักรพรรดิหงจื้อ
ระสาทิสลักษณ์ของสมเด็จพระจักรพรรดิหงจื้อ สมเด็จพระจักรพรรดิหงจื้อ (30 กรกฎาคม ค.ศ. 1470 – 8 มิถุนายน ค.ศ. 1505) ทรงครองราชย์ระหว่างปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหงจื้อ
จักรพรรดิหงซี
200px สมเด็จพระจักรพรรดิหมิงเหยินจง จูเกาจื้อ พระราชโอรสในหมิงเฉิงจู่ องค์ชายจูเกาจื้อ (朱 高 熾) ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดา มีพระนามว่าหมิงเหยินจง (仁 宗)ใช้ศักราชหงซี (洪 熙)พระองค์เลื่อมใสในลัทธิขงจื้อ จึงยกเลิกกองเรือมหาสมบัติของพระราชบิดาและมีพระราชดำริที่จะย้ายเมืองหลวงลงไปอยู่ที่หนานกิง ตามเดิม แต่เนื่องจากทรงครองราชย์เพียงสิบเดือนก็ประชวรสวรรคตไปก่อน แผนการต่างๆ จึงยุติไปโดยปริยาย พระบรมศพถูกอัญเชิญไปบรรจุที่สุสาน เสียนหลิง หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหงซี
จักรพรรดิฮั่นชาง
มเด็จพระจักรพรรดิชางแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ ฮั่นชางตี้ (Emperor Shang of Han,, ระหว่าง ค.ศ. 105 - 21 กันยายน ค.ศ. 106) พระนามเดิมว่าองค์รัชทายาทหลิวหลงเป็นพระราชโอรสใน จักรพรรดิฮั่นเหอ และพระสนมองค์หนึ่ง สันนิษฐานว่าประสูติก่อนพระราชบิดาสวรรคตได้ไม่นานเมื่อพระราชบิดาสวรรคตในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นชาง
จักรพรรดิฮั่นชง
ฮั่นชง (143–145) ชื่อตัวว่า หลิว ปิ่ง (劉炳) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ฮั่น หลิว ปิ่ง เป็นโอรสองค์เดียวของพระเจ้าฮั่นชุ่น เมื่อพระเจ้าฮั่นชุ่นสิ้นพระชนม์ หลิว ปิ่ง ก็สืบสันตติวงศ์ต่อ ขณะนั้น หลิว ปิ่ง มีอายุเพียงหนึ่งปี นางเหลียง น่า (梁妠) มารดาของหลิว ปิ่ง และเหลียง จี้ (梁冀) พี่ชายของนางเหลียง น่า จึงเข้าครอบงำราชการบ้านเมืองทั้งปวง นางเหลียง น่า มีใจซื่อสัตย์ต่อแผ่นดิน แต่เหลียง จี้ ตรงกันข้าม ราษฎรจึงเดือดร้อนแสนเข็ญ ครั้นปี 145 หลิว ปิ่ง วายชนม์โดยไม่ปรากฏเหตุ อายุได้สามปี นางเหลียง น่า จึงยกหลิว จวั่น (劉纘) ญาติของหลิว ปิ่ง ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดมา หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่สวรรคตขณะทรงพระเยาว์.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นชง
จักรพรรดิฮั่นกวังอู่
ักรพรรดิฮั่นกวังอู่ ตามสำเนียงกลาง หรือ ฮั่นกองบู๊ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (15 มกราคม ปีที่ 5 ก่อนคริสตกาล – 29 มีนาคม 57) พระนามเดิมว่า หลิว ซิ่ว (劉秀) ปฐมจักรพรรดิในราชวงศ์ฮั่นตะวันออก องค์ชายหลิว ซิ่ว เป็นพระโอรสขององค์ชายหลิว ชิน (劉欽) เจ้าเมืองตุ้นใต้ (南頓令) หวัง หมั่ง (王莽) ขุนนางราชวงศ์ฮั่นตะวันตกเข้ายึดอำนาจและตั้งตัวเป็นจักรพรรดิสถาปนาราชวงศ์ซิน องค์ชาย หลิว ซิ่ว ซึ่งมีเชื้อฮั่นจึงซ่องสุมกำลังมาแย่งชิงแผ่นดินคืนและปราบปรามคู่แข่งจนสิ้นองค์ชาย หลิว ซิ่ว รวมบ้านเมืองสำเร็จในปี 36 พระองค์สถาปนาราชวงศ์ฮั่นขึ้นใหม่สถาปนาตนเป็นจักรพรรดิราชวงศ์ฮั่นแล้วตั้งเมืองลั่วหยางเป็นราชธานี นักประวัติศาสตร์จึงเรียกราชวงศ์ฮั่นก่อนถูกราชวงศ์ซินคั่นว่า ราชวงศ์ฮั่นตะวันตกและเรียกราชวงศ์ฮั่นที่ตั้งขึ้นอีกครั้งนี้ว่า ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก จักรพรรดิฮั่นกวังสวรรคตในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นกวังอู่
จักรพรรดิฮั่นยฺเหวียน
ฮั่นยฺเหวียน (ปีที่ 75–33 ก่อนคริสตกาล) ชื่อตัวว่า หลิว ชื่อ (劉奭) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ฮั่น หลิว ชื่อ เป็นบุตรพระเจ้าฮั่นเซฺวียน พระเจ้าฮั่นเซฺวียนตายในปีที่ 49 ก่อนคริสตกาล หลิว ชื่อ จึงสืบบัลลังก์ต่อมา หลิว ชื่อ ส่งเสริมให้ลัทธิหรูเจีย (儒家) เป็นลัทธิประจำชาติ และตั้งสาวกหรูเจียเป็นข้าราชการ แต่ข้าราชการจำนวนมากที่หลิว ชื่อ ตั้งและไว้วางใจนั้นฉ้อราษฎร์บังหลวง ทำให้กิจการบ้านเมืองมีปัญหา หลิว ชื่อ ตายในปีที่ 33 ก่อนคริสตกาล หลิว เอ้า (劉驁) บุตรของหลิว ชื่อ ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดมา หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่น.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นยฺเหวียน
จักรพรรดิฮั่นหมิง
มเด็จพระจักรพรรดิหมิงแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ ฮั่นหมิงตี้ (ค.ศ. 28-75) เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 ใน จักรพรรดิฮั่นกวังอู่ มีพระนามเดิมว่าองค์รัชทายาทหลิวหยางทรงประสูติเมื่อ..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นหมิง
จักรพรรดิฮั่นหลิง
มเด็จพระจักรพรรดิหลิงแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ ฮั่นหลิงตี้ หรือ ฮั่นเลนเต้ (Emperor Ling of Han) ดำรงตำแหน่งเป็นจักรพรรดิในราชวงศ์ฮั่น รัชกาลที่ 24 เสด็จพระราชสมภพเมื่อ พ.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นหลิง
จักรพรรดิฮั่นหฺวัน
ฮั่นหฺวัน (132–168) ชื่อตัวว่า หลิว จื้อ (劉志) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ฮั่น หลิว จื้อ เป็นเหลนของพระเจ้าฮั่นจาง ในปี 145 พระเจ้าฮั่นชงสิ้นพระชนม์ นางเหลียง น่า (梁妠) พระมารดาพระเจ้าฮั่นชง จึงยกหลิว จวั่น (劉纘) ญาติของพระเจ้าฮั่นชง ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่ เหลียง จี้ (梁冀) พี่ชายของนางเหลียง น่า ได้เป็นใหญ่ในราชการแผ่นดิน และในปี 146 เหลียง จี้ ก็ฆ่าหลิว จวั่น ทิ้ง นางเหลียง น่า จึงยกหลิว จื้อ ขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดินองค์ถัดมา ขณะนั้น หลิว จื้อ อายุได้สิบสี่ปี เมื่อเสวยราชย์แล้ว หลิว จื้อ กำจัดอิทธิพลของพี่น้องสกุลเหลียงเป็นผลสำเร็จ โดยได้ความช่วยเหลือจากเหล่าขันที แต่นั้นก็เป็นเหตุให้ขันทีเข้ามาครอบงำกิจการบ้านเมืองแทน ขันทีทั้งหลายฉ้อฉลไม่ต่างจากพี่น้องสกุลเหลียง ราษฎรจึงไม่สิ้นความเดือดร้อน ในปี 166 บัณฑิตจำนวนมากประท้วงต่อต้านรัฐบาล หลิว จื้อ จึงสั่งให้จับผู้ประท้วงทั้งสิ้น ราชวงศ์ฮั่นก็เข้าสู่ความเสื่อมอีกระดับหนึ่ง หลิว จื้อ อยู่ในสมบัติได้ยี่สิบสองปีก็วายชนม์ไปในปี 168 อายุได้สามสิบหก หลิว หง (劉宏) ญาติของหลิว จื้อ ได้เป็นกษัตริย์สืบต่อมา หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นหฺวัน
จักรพรรดิฮั่นอัน
จักรพรรดิฮั่นอัน (94 – 30 เมษายน 125) ชื่อตัวว่า หลิว ฮู่ (劉祜) จักรพรรดิจีนในสมัย ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก หลิว ฮู่ เป็นพระโอรสขององค์ชาย หลิว ชิ่ง (劉慶) กับพระชายาโจว (左小娥) องค์ชายหลิว ชิ่ง เป็นพระเชษฐาของ จักรพรรดิฮั่นเหอ เมื่อ จักรพรรดิฮั่นชาง (劉隆) โอรสของจักรพรรดิฮั่นเหอซึ่งสืบบัลลังก์ต่อจากจักรพรรดิฮั่นเหอสวรรคตในปี 106 หลิว ฮู่ ก็ได้รับยกขึ้นเป็นจักรพรรดิองค์ใหม่โดยมี เติ้งไทเฮา (鄧綏) พระพันปีของจักรพรรดิฮั่นชางทรงสำเร็จราชการ เมื่อเติ้งไทเฮาสิ้นพระชนม์ในปี 121 หลิว ฮู่ ก็ถอดญาติสนิทมิตรสหายของนางออกจากตำแหน่งหน้าที่ราชการและเริ่มมั่วสุรานารีจนไม่ออกว่าราชการอีก กิจการทั้งหลายของรัฐมีขันทีทั้งหลายคอยสั่งอยู่เบื้องหลัง ขันทีเหล่านี้ล้วนฉ้อราษฎร์บังหลวงราษฎรจึงลุกฮือขึ้นทั่วแผ่นดินครั้นปี 125 หลิว ฮู่ ประพาสเมือง หนานหยาง แต่จับไข้ขณะนิวัติพระนครจนสวรรคตแบบปัจจุบันทันด่วนพระชนมายุได้สามสิบเอ็ดพรรษา เอี๋ยนฮองเฮา (閻姬) จักรพรรดินีของจักรพรรดิฮั่นก็ยก หลิว อี้ (劉懿) พระญาติของจักรพรรดิฮั่นอันขึ้นเป็นจักรพรรดิองค์ถัดมา หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นอัน
จักรพรรดิฮั่นอู่
ักรพรรดิฮั่นอู่ (พ.ศ. 388–457) เป็นจักรพรรดิจีนราชวงศ์ฮั่น พระนามเดิมว่า หลิว เช่อ (劉徹) ขึ้นครองราชย์เมื่ออายุ 16 พรรษา ปกครองนานถึง 54 ปี (ปี 140 – 87 ก่อนคริสต์ศักราช นับว่าเป็นฮ่องเต้ ชาวฮั่น ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดด้วย) ผลงานปรับปรุงประเทศและแผ่ขยายอิทธิพลของพระองค์ทำให้นักประวัติศาสตร์ถือเป็นมหาราชซึ่งมีชื่อเสียงมากในประวัติศาสตร์ของจีน พระองค์กำหนดปีรัชสมัยของตนขึ้นเป็นครั้งแรกในชื่อว่า “เจี้ยนหยวน” นับจากนี้ไป ฮ่องเต้ องค์ต่อมาต่างถือเป็นประเพณีตั้งชื่อรัชศกของตนมาจนกระทั่งสิ้นสุดยุคจักรพรร.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นอู่
จักรพรรดิฮั่นฮุ่ย
ฮั่นฮุ่ย (210–188 ปีก่อนคริสตกาล) ชื่อตัวว่า หลิว อิ๋ง (劉盈) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ฮั่น เป็นโอรสองค์ที่สองของพระเจ้าฮั่นเกาจู่กับนางลฺหวี่ จื้อ (呂雉) หลิว อิ๋ง ไร้ความสามารถ นางลฺหวี่ จื้อ มารดาซึ่งมีจิตใจหยาบช้า จึงครอบงำราชการบ้านเมือง หลิว อิ๋ง พยายามป้องกันมิให้หลิว หรูอี้ น้องชายร่วมบิดา ถูกนางลฺหวี่ จื้อ ฆ่า แต่ไม่สำเร็จ หลิว อิ๋ง เป็นทุกข์ หันไปใช้ชีวิตเสเพล จนถึงแก่ความตายทั้งที่ยัง?เยาว์นัก เมื่อหลิว อิ๋ง ตาย นางลฺหวี่ จื้อ จึงยกหลิว กง (劉恭) ลูกของหลิว อิ๋ง ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่ หมวดหมู่:บุคคลที่เกิด 210 ปีก่อนคริสตกาล หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นฮุ่ย
จักรพรรดิฮั่นผิง
มเด็จพระจักรพรรดิผิงแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ ฮั่นผิงตี้ (9 ปีก่อน ค.ศ.-3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 5) ทรงพระนามเดิมว่าหลิวคัน เป็นพระราชอนุชาในจักรพรรดิฮั่นเฉิงตี้ และเป็นโอรสอีกองค์ของจักรพรรดิฮั่นเสวียนตี้ เมื่อจักรพรรดิฮั่นไอตี้สวรรคตเมื่อ 1 ปีก่อน..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นผิง
จักรพรรดิฮั่นจาง
มเด็จพระจักรพรรดิจางแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ จักรพรรดิฮั่นจาง (Emperor Zhang of Han, 57 - 9 เมษายน 88) มีพระนามเดิมว่า องค์รัชทายาทหลิวต้า ประสูติเมื่อ..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นจาง
จักรพรรดิฮั่นจิง
มเด็จพระจักรพรรดิจิงแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ ฮั่นจิงตี้ (188 ปีก่อนคริสตกาล - 141 ปีก่อนคริสตกาล) มีพระนามเดิมว่าหลิวฉี เป็นพระราชโอรสของจักรพรรดิฮั่นเหวินตี้ และพระสนมตู้ พระสนมองค์โปรด ซึ่งภายหลังจักรพรรดิเหวินตี้ทรงสถาปนาพระสนมตู้ขึ้นเป็นตู้ฮองเฮา และสถาปนาองค์ชายหลิวฉีขึ้นเป็นรัชทายาท ทรงเป็นหนึ่งในแม่ทัพที่ปราบกบฏ 7 แคว้น เมื่อพระราชบิดาสวรรคตเมื่อ 157 ปีก่อน..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นจิง
จักรพรรดิฮั่นจื้อ
ฮั่นจื้อ (138–146) ชื่อตัวว่า หลิว จวั่น (劉纘) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ฮั่น หลิว จวั่น เป็นเหลนของพระเจ้าฮั่นจาง และเป็นญาติของพระเจ้าฮั่นชง เมื่อพระเจ้าฮั่นชงสิ้นพระชนม์ในปี 145 นางเหลียง น่า (梁妠) พระมารดาพระเจ้าฮั่นชง จึงยกหลิว จวั่น ขึ้นสืบสมบัติต่อ ขณะนั้น หลิว จวั่น ยังเยาว์นัก เหลียง จี้ (梁冀) พี่ชายของนางเหลียง น่า จึงได้เป็นใหญ่ในกิจการบ้านเมืองทั้งมวล เหลียง จี้ เป็นคนใจคด และที่สุดก็ฆ่าหลิว จวั่น ด้วยยาพิษ หลิว จวั่น อยู่ในสมบัติเพียงหนึ่งปี นางเหลียง น่า ก็ยกหลิว จื้อ (劉志) องค์ชายวัยสิบสี่ปี ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดมา หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่สวรรคตขณะทรงพระเยาว์.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นจื้อ
จักรพรรดิฮั่นไอ
ั่นไอ (ปีที่ 27–1 ก่อนคริสตกาล) ชื่อตัวว่า หลิว ซิน (劉欣) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ฮั่น หลิว ซิน เป็นพระราชนัดดาของ จักรพรรดิฮั่นเฉิง จักรพรรดิฮั่นเฉิงไร้โอรสธิดา จึงตั้งหลิว ซิน เป็นรัชทายาท ครั้นจักรพรรดิฮั่นเฉิงสวรรคตในปีที่ 7 ก่อนคริสตกาล หลิว ซิน ซึ่งขณะนั้นพระชนมายุ 20 พรรษาก็สืบบัลลังก์ต่อไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินเชื่อว่า หลิว ซิน จะเป็นผู้ปกครองที่ดีแต่หลิว ซิน นั้นไร้ความสามารถ พระสนมฟู่ (傅昭儀) อดีตพระสนมใน จักรพรรดิฮั่น-ยฺเวี่ยน และพระอัยยิกาของจักรพรรดิฮั่นไอจึงครอบงำงานแผ่นดินทั้งมวลพระสนมฟู่เกลียดชัง พระสนมเฝิง เยฺวี่ยน (馮媛) อดีตพระสนมอีกองค์ของจักรพรรดิฮั่น-ยฺเวี่ยนซึ่งจักรพรรดิฮั่น-ยฺเวี่ยนโปรดมากพระสนมฟู่จึงบีบให้พระสนมเฝิง เยฺวี่ยน ฆ่าตัวตาย ทั้งยังให้หลานตั้งญาติสนิทมิตรสหายของนางเข้าสู่ตำแหน่งหน้าที่ราชการเป็นอันมาก ทำให้ประชาชนหมดความเลื่อมใสในรัฐบาล ครั้นพระสนมฟู่สิ้นพระชนม์ในปีที่ 2 ก่อนคริสตกาล จักรพรรดิฮั่นไอก็สวรรคตตามไปในอีกหนึ่งปีให้หลัง เป็นที่รับทราบกันว่า หลิว ซิน รักร่วมเพศ นักประวัติศาสตร์เห็นว่า ต่ง เสียน (董賢) ข้าราชการ เป็นคู่นอนคนสำคัญของจักรพรรดิฮั่นไอมีกิตติศัพท์ว่าจักรพรรดิฮั่นไอโปรดปรานต่ง เสียน มาก วันหนึ่งเมื่อจะตื่นนอน เห็นต่ง เสียน ยังนอนหลับทับแขนเสื้อของตนอยู่เคียงข้างจักรพรรดิฮั่นไอไม่อยากปลุกชายคนรักให้ตื่นไปด้วย จึงฉีกแขนเสื้อตนออกแล้วค่อย ๆ ลุกจากเตียง นอกจากนี้จักรพรรดิฮั่นไอยังอวยยศให้ต่ง เสียน มากมาย จนเมื่อเวลาที่จักรพรรดิฮั่นไอสวรรคตนั้น ปรากฏว่า ต่ง เสียน เป็นถึงสมุหกลาโหม ครั้นหลิว ซิน ตายแล้ว จักรพรรดิหวัง เจิ้งจวิน (王政君) จักรพรรดินีในจักรพรรดิฮั่นเฉิง และพระราชมารดาเลี้ยงของจักรพรรดิฮั่นไอจึงยึดอำนาจ แล้วบังคับให้ต่ง เสียน ซึ่งควบคุมการทหารทั้งหมด ฆ่าตัวตายHinsch, Bret.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นไอ
จักรพรรดิฮั่นเกาจู่
ั่นเกาจู่ ตามภาษาจีนมาตรฐาน หรือ ฮั่นโกโจ ตามภาษาจีนฮกเกี้ยน ("อัครบรรพชนฮั่น"; 256 ปีก่อนคริสตกาล – 1 มิถุนายน 195 ปีก่อนคริสตกาล) พระนามเดิม หลิว ปัง เป็นจักรพรรดิพระองค์แรกแห่งราชวงศ์ฮั่นของจักรวรรดิจีน และเป็นผู้ก่อตั้งราชวงศ์ดังกล่าว เสวยราชย์ช่วง 202–195 ปีก่อนคริสตกาล นับเป็นหนึ่งในปฐมกษัตริย์จีนไม่กี่พระองค์ที่มาจากครอบครัวรากหญ้า ก่อนเข้าสู่อำนาจ หลิว ปัง เป็นข้าราชการชั้นผู้น้อยในราชวงศ์ฉิน ทำหน้าเป็นนายด่านที่บ้านเกิดในเทศมณฑลเพ่ย์ (沛縣) แห่งรัฐฉู่ (楚国) ที่ถูกราชวงศ์ฉินยึดครอง เมื่อฉินฉื่อหฺวังตี้ (秦始皇帝) ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ฉิน สิ้นพระชนม์ และจักรวรรดิฉิน (秦朝) ตกอยู่ในความวุ่นวายทางการเมือง หลิว ปัง ละทิ้งตำแหน่งราชการเข้าร่วมกบฏต่อต้านราชวงศ์ฉิน จนสามารถบีบให้จื่ออิง (子嬰) ผู้นำคนสุดท้ายของราชวงศ์ฉิน ยอมจำนนได้เมื่อ 206 ปีก่อนคริสตกาล เมื่อสิ้นราชวงศ์ฉินแล้ว เซี่ยง อฺวี่ (項羽) ผู้นำกบฏ แบ่งดินแดนฉินออกเป็นสิบแปดส่วน ให้หลิว ปัง เป็น "ราชาฮั่น" (漢王) ไปครองภูมิภาคปาฉู่ (巴蜀) อันห่างไกลและกันดาร หลิว ปัง จึงนำทัพต่อต้านเซี่ยง อฺวี่ และสามารถยึดภูมิภาคฉินทั้งสาม (三秦) ไว้ได้ นำไปสู่สงครามกลางเมืองที่เรียกว่า "สงครามฉู่–ฮั่น" (楚漢戰爭) ครั้น 202 ปีก่อนคริสตกาล หลังเกิดยุทธการไกเซี่ย (垓下之戰) หลิว ปัง มีชัยในการชิงอำนาจ จึงสามารถรวบดินแดนจีนส่วนใหญ่ไว้ในกำมือ เขาก่อตั้งราชวงศ์ฮั่น มีตนเป็นจักรพรรดิพระองค์แรก ใช้พระนาม "ฮั่นเกาจู่" รัชสมัยฮั่นเกาจู่มีการลดหย่อนภาษี ส่งเสริมลัทธิขงจื๊อ และปราบปรามกบฏเจ้าประเทศราชต่าง ๆ ฮั่นเกาจู่ยังริเริ่มนโยบายที่เรียก "วิวาห์สันติ" (和親) เพื่อสร้างความปรองดองกับกลุ่มซฺยงหนู (匈奴) หลังพ่ายแพ้ในยุทธการไป๋เติง (白登之戰) เมื่อ 200 ปีก่อนคริสตกาล ครั้น 195 ปีก่อนคริสตกาล ฮั่นเกาจู่สวรรคต พระโอรส คือ หลิว อิ๋ง (劉盈) สืบตำแหน่งต่อ ใช้พระนามว่า "ฮั่นฮุ่ย" (汉惠).
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นเกาจู่
จักรพรรดิฮั่นเกิงฉื่อ
ักรพรรดิเกิงฉื่อแห่งฮั่น หรือ ฮั่นเกิงฉื่อตี้ หรือ ฮั่นกองบู๊เต้ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (Gengshi Di, ? - ค.ศ. 25) ทรงพระนามเดิมว่า หลิวเสวียน ทรงสืบเชื้อสายโดยตรง จากจักรพรรดิฮั่นจิงตี้ เพราะเป็นพระราชนัดดาพระองค์หนึ่งของจักรพรรดิฮั่นจิงตี้ เช่นเดียวกับจักรพรรดิฮั่นกวงตี้ เมื่อจักรพรรดิซินเกาจู่ (หวังหมั่ง) สวรรคตในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นเกิงฉื่อ
จักรพรรดิฮั่นเหวิน
จักรพรรดิฮั่นเหวินขณะประทับพักพระอิริยาบถ จักรพรรดิเหวินแห่งราชวงศ์ฮั่น (202 - 157 ปีก่อนคริสตกาล) มีพระนามเดิมว่าหลิวเหอ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 5 ในจักรพรรดิฮั่นเกาจู่ และพระสนมโปซึ่งภายหลังเมื่อทรงครองราชย์แล้วทรงสถาปนาพระราชมารดาเป็นโปไทเฮา ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อ 180 ปีก่อนคริสตกาล (พ.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นเหวิน
จักรพรรดิฮั่นเหอ
มเด็จพระจักรพรรดิเหอแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ ฮั่นเหอตี้ (ค.ศ. 79 - 13 มกราคม ค.ศ. 105) ทรงพระนามเดิมว่าองค์รัชทายาทหลิวจ้าว โดยเป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิฮั่นจางตี้ และพระสนมเหลียง แต่ภายหลังทรงได้เป็นพระราชโอรสบุญธรรมในตู้ฮองเฮา เมื่อพระราชบิดาสวรรคตในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นเหอ
จักรพรรดิฮั่นเจา
มเด็จพระจักรพรรดิเจาแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ ฮั่นเจาตี้ (94 ปีก่อน ค.ศ. - 74 ปีก่อน ค.ศ.) ทรงพระนามเดิมว่า หลิวฝูหลิง เป็นพระราชโอรสองค์เล็กใน จักรพรรดิฮั่นอู่ตี้ และพระสนมจ้าว เมื่อแรกประสูตินั้นพระราชบิดามีพระชนมายุถึง 62 พรรษา และทรงได?้รับการแต่งตั้งให้เป็นรัชทายาทแทนองค์ชายหลิวจู พระเชษฐาที่ปลงพระชนม์ชีพพระองค์เองหลังจากก่อการจลาจลแล้วพ่ายแพ้ เมื่อพระราชบิดาสวรรคตเมื่อ 87 ปีก่อน..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นเจา
จักรพรรดิฮั่นเฉิง
ระสาทิสลักษณ์ของจักรพรรดิฮั่นเฉิงสมัยราชวงศ์เว่ยเหนือ สมเด็จพระจักรพรรดิเฉิงแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ ฮั่นเฉิงตี้ (51 ปีก่อน ค.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นเฉิง
จักรพรรดิฮั่นเฉียนเฉ่า
สมเด็จพระจักรพรรรดิฮั่นเซาตี้ (?-184 ปีก่อนคริสตกาล) มีพระนามเดิมว่า หลิวกง เป็นพระราชโอรสใน จักรพรรดิฮั่นฮุ่ย ที่ประสูติแต่พระสนมเมื่อพระราชบิดาสวรรคต 188 ปีก่อนคริสตกาล (พ.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นเฉียนเฉ่า
จักรพรรดิฮั่นเซฺวียน
ักรพรรดิเซฺวียนแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ ฮั่นเซฺวียนตี้ (91 ปีก่อน ค.ศ. - 49 ปีก่อน ค.ศ.) ทรงพระนามเดิมว่า องค์ชายหลิวปิงอี้ เป็นพระโอรสขององค์ชายหลิวจุนซึ่งเป็นพระโอรสขององค์รัชทายาทหลิวจู โดยทั้งพระอัยกาและพระบิดาทรงปลงพระชนม์ชีพพระองค์เองหลังจากก่อการกบฏต่อ จักรพรรดิฮั่นอู่ตี้ ผู้เป็นพระปัยกาไม่สำเร็จ องค์ชายหลิวปิงอี้ประสูติเมื่อ 91 ปีก่อน..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นเซฺวียน
จักรพรรดิผู่อี๋
มเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ พระราชสมภพ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2449 มีพระนามเต็มว่า หรือ เฮนรี่ ผู่อี๋ (พระนามอังกฤษที่เรจินัล จอนสตันถวายให้) เป็นจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ชาวแมนจูแห่งราชวงศ์ชิง และเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ชิง (นับเริ่มแต่จักรพรรดิซุ่นจื้อ) และเป็นองค์สุดท้าย (末代皇帝) ของประเทศจีนมีพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเซวียนถ่ง จากปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิผู่อี๋
จักรพรรดิจาว
ั่นจาวตี้ (Shao Di of Han) เป็นพระนามของจักรพรรดิจีนหลายพระองค์ แห่งราชวงศ์ฮั่น สามารถหมายถึง.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิจาว
จักรพรรดิจินมั่ว
ักรพรรดิจินมั่ว (金末帝 จินมั่วตี้) เป็นจักรพรรดิจีนพระองค์สุดท้ายของราชวงศ์จิน ครองราชย์เมื่อวันที่ 9 กุมภาพัน..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิจินมั่ว
จักรพรรดิจินซีจง
ักรพรรดิจินซื่อจง (世宗; ค.ศ. 1123-1189) ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์จิน ประสูติเมื่อ..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิจินซีจง
จักรพรรดิจินซีจง (หว่านเอี๋ยน เหอล่า)
มเด็จพระจักรพรรดิจินซีจง (Xizong of Jin) (ค.ศ. 1119 - 1149) จักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์จิน ประสูติเมื่อ..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิจินซีจง (หว่านเอี๋ยน เหอล่า)
จักรพรรดิจินไท่จู่
มเด็จพระจักรพรรดิจินไท่จู่ (ค.ศ.1068-1123) มีพระนามเดิมว่า หวันเอี๋ยน อากูดา (Wanyan Aguda) ประสูติเมื่อ..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิจินไท่จู่
จักรพรรดิจินไท่จง
มเด็จพระจักรพรรดิจินไท่จง (ค.ศ.1075 - 1135) จักรพรรดิองค์ที่2แห่งราชวงศ์จิน ประสูติเมื่อปี..1075 (พ.ศ. 1618) มีพระนามเดิมว่า หว่านเอี๋ยน อู่ฉีไม (Wanyan Wuqimai) (金太宗完颜晟,名 吴乞买)เป็นพระราชอนุชาในจักรพรรดิจินไท่จู่เมื่อพระเชษฐาสวรรคตในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิจินไท่จง
จักรพรรดิจิ่งไท่
องเต้จิ่งไท่ หรือ ฮ่องเต้หมิงไต้จง เป็นจักรพรรดิจีนราชวงศ์หมิง ในคราวที่บ้านเมืองกำลังวิกฤต ทรงยึดบัลลังก์จากพระเชษฐา ฮ่องเต้เจิ้งถง และขึ้นครองบัลลังก์เป็นฮ่องเต้จิ่งไถ่ แต่ภายหลังก็ทรงถูกฮ่องเต้เจิ้งถงยึดอำนาจคืน จูฉีอี้ (朱祁钰) เกิดเมื่อ พ.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิจิ่งไท่
จักรพรรดิจิ้นหมิง
จักรพรรดิจิ้นหมิง (ค.ศ. 299 - 18 ตุลาคม ค.ศ. 325) เป็นจักรพรรดิจีนรัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์จิ้นตะวันออก (Eastern Jin) มีพระนามเดิมว่าซือหม่า เซ่า หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์จิ้นตะวันออก.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิจิ้นหมิง
จักรพรรดิจิ้นหมิ่น
มเด็จพระจักรพรรดิจิ้นหมิ่นตี้ (ค.ศ. 313 - 316, พ.ศ. 856 - 859) จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์จิ้นตะวันตก ทรงครองราชย์สืบต่อจากจักรพรรดิจิ้นหวยตี้ ประสูติเมื่อปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิจิ้นหมิ่น
จักรพรรดิจิ้นหยวน
ักรพรรดิจิ้นหยวนตี้ (晋元帝/晉元帝, pinyin Jìn Yuándì, Wade-Giles Chin Yüan-ti) (ค.ศ. 276 - 3 มกราคม ค.ศ. 323) จักรพรรดิแห่งราชวงศ์จิ้น (Jin) และทรงเป็นจักรพรรดิองค์แรกแห่ง ราชวงศ์จิ้นตะวันออก (Eastern Jin) ทรงเป็นเหลนของสุมาอี้ (Sima Yi) มีนามว่า สุมารุย (หรือ ซือหม่ารุย) ประสูติเมื่อ..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิจิ้นหยวน
จักรพรรดิจิ้นฮุ่ย
มเด็จพระจักรพรรดิจิ้นฮุ่ยตี้ (ค.ศ. 290 - ค.ศ. 307, พ.ศ. 833 - พ.ศ. 850)เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิจิ้นหวู่ตี้ประสูติเมื่อปี พ.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิจิ้นฮุ่ย
จักรพรรดิถังชาง
ักรพรรดิถังชาง (ค.ศ. 695 หรือ ค.ศ. 698 – 5 กันยายน ค.ศ. 714) จักรพรรดิองค์ที่7แห่งราชวงศ์ถังมีพระนามเดิมว่าหลี่ ฉงเม่า (李重茂) เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิถังจงจงเมื่อพระราชบิดาสวรรคตในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังชาง
จักรพรรดิถังชุนจง
มเด็จพระจักรพรรดิถังชุนจง (ค.ศ. 761-806) ประสูติเมื่อ..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังชุนจง
จักรพรรดิถังมู่จง
สมเด็จพระจักรพรรดิถังมู่จง (ค.ศ. 795-824) ทรงพระนามเดิมว่าหลี่เฮงเป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิถังเสียนจง ทรงครองราชย์ต่อจากพระราชบิดาในปี ค.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังมู่จง
จักรพรรดิถังรุ่ยจง
มเด็จพระจักรพรรดิรุ่ยจง (ค.ศ. 662-716) จักรพรรดิองค์ที่ 5 แห่ง ราชวงศ์ถัง พระนามเดิมว่า หลี่ตั้น (李旦) ประสูติเมื่อปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังรุ่ยจง
จักรพรรดิถังจิงจง
มเด็จพระจักรพรรดิถังจิงจง (ค.ศ. 809–826) จักรพรรดิองค์ที่ 13 แห่งราชวงศ์ถังครองราชย์ระหว่าง..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังจิงจง
จักรพรรดิถังจงจง
มเด็จพระจักรพรรดิถังจงจง (ค.ศ. 656–710) จักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่ง ราชวงศ์ถัง มีพระนามเดิมว่าหลี่เสี่ยน (李顯) ประสูติเมื่อปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังจงจง
จักรพรรดิถังซู่จง
มเด็จพระจักรพรรดิซู่จง (ค.ศ. 711-762) จักรพรรดิองค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ถัง มีพระนามเดิมว่าองค์ชายหลี่เฮิง (李亨) ประสูติเมื่อปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังซู่จง
จักรพรรดิถังไอ
มเด็จพระจักรพรรดิถังไอตี้ (ค.ศ. 904-907, พ.ศ. 1447-1450) จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ถัง ประสูติเมื่อปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังไอ
จักรพรรดิถังไท่จง
มเด็จพระจักรพรรดิถังไท่จง (1170-1186) พระนามเดิม หลี่ซื่อหมิน จักรพรรดิองค์ที่สองแห่งราชวงศ์ถังของประเทศจีน (ราว 1,600 ปี) ได้ยึดถือหลักคำสอนเรื่องนี้ของบรมครูขงจื่อในการ ปกครองประเทศจีน และทำให้ประเทศจีนในยุคที่พระองค์ทรงปกครองรุ่งเรืองที่สุดยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์ 5 เป็นประเทศมหาอำนาจของโลกในยุคสมัยของพระองค์ราชวงศ์ถังนั้นยิ่งใหญ่มากมายนั้นเลยก็ว่าได้ แม้ว่าพระองค์มีพระราชอำนาจสูงสุด สามารถตัดสินพระทัยสั่งการใด ๆ ก็ได้ พระองค์ก็ทรงมิได้ปฏิบัติเช่นนั้น พระองค์จะไต่ถามความเห็นของเหล่าเสนาบดี และที่ปรึกษาของพระองค์ก่อนที่จะตัดสินพระทัยเสมอ โดยเฉพาะที่ปรึกษาท่านหนึ่ง นาม เว่ยเจิง ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นที่ปรึกษาของพี่ชายพระองค์ที่เป็นรัชทายาท และได้แนะนำให้พี่ชายของพระองค์ วางแผนสังหารพระองค์ เนื่องจากที่ปรึกษาท่านนี้มองเห็นว่า พระองค์จะเป็นภัยก่อการขบถยึดราชบัลลังก์ของพี่ชาย เนื่องจากถังไท่จงเหนือชั้นกว่า จึงวางแผนซ้อนแผน แทนที่พระองค์จะถูกสังหาร พี่ชายของพระองค์กลับถูกปลิดพระชนม์ชีพแทน แต่ถังไท่จงรับสั่งมิให้ทหารของพระองค์ทำร้ายที่ปรึกษาผู้นั้น นอกจากไม่ทำร้ายแล้ว พระองค์ยังทรงแต่งตั้งเขาขึ้นเป็นประธานที่ปรึกษา เมื่อพระองค์ขึ้นครองราชย์สืบต่อจากพระราชบิดาอีก ด้วยเหตุผลก็คือ พระองค์ท่านจะได้มีที่ปรึกษาอย่างน้อยหนึ่งท่านที่คิดแตกต่าง หรือไม่เหมือนกับที่พระองค์คิด กล้าคัดค้านพระองค์อย่างตรงไปตรงมาโดยไม่เกรงกลัว หรือหวาดหวั่นต่อพระราชอำนาจ จักรพรรดิถังไท่จงได้รับการยกย่องจากนักประวัติศาสตร์ให้เป็นมหาจักรพรรดิของจีนเพราะพระองค์แตกต่างจากจักรพรรดิทั้งปวง กล่าวคือ ไม่ว่าเชื้อพระวงศ์ก็ดี หรือเสนาบดีก็ดี หรือที่ปรึกษาก็ดีไปแอบนินทา ให้ร้ายพระองค์ลับหลัง พระองค์ก็จะทรงลงพระอาญา เพราะถือว่า พระองค์ทรงให้โอกาสวิพากษ์วิจารณ์อย่างเปิดเผย และถูกต้องแล้วบุคคลเหล่านี้กลับไม่ทำ หรือไม่ใช้โอกาสดังกล่าว กลับมาแอบทำลับหลังพระองค์ จึงต้องถูกลงโทษให้เป็นเยี่ยงอย่าง ส่วนผู้ที่กล้าวิพากษ์วิจารณ์ หรือคัดค้านพระองค์ต่อหน้าพระพักตร์อย่างชนิดตรงไปตรงมา อย่างเช่น อดีตที่ปรึกษาของพระเชษฐาขององค์จักรพรรดิถังไท่จงก็ทรงปูนบำเหน็จรางวัลให้เพื่อให้บรรดาเหล่าขุนนาง หรือข้าราชบริพารมีความกล้าที่จะใช้โอกาสดังกล่าวคัดค้านพระองค์ด้วยเหตุด้วยผล ไม่ใช่ไปแอบทำข้างหลัง นอกจากนั้นพระองค์ก็ทรงปลอมเป็นสามัญชนไปกับประธานที่ปรึกษาออกตระเวนเยี่ยมประชาชนของพระองค์ และตรวจงานการปฏิบัติราชการของ เหล่าข้าราชบริพารเป็นประจำทุกปี เพื่อจะได้ทรงทราบว่า บรรดารายงานของข้าราชการที่ส่งไปให้พระองค์ทรงอ่านที่เมืองหลวงนั้นมีความถูกต้อง สอดคล้องกับความเป็นจริงมากเพียงใด ไม่ใช่ทรงอยู่แต่ในวังหลวงพึ่งพารายงานจากข้าราชการอย่างเดียว บางครั้ง หากพระองค์ประชวร พระองค์ก็จะทรงส่งประธานที่ปรึกษาของพระองค์ออกทำงานแทนพระองค์ จักรพรรดิถังไท่จงถือว่าประชาชนมีความสำคัญกว่าพระองค์ และพระราชวงศ์ เวลาพระองค์จะตัดสินพระทัยทำอะไร ก็มักจะมองไปที่ผลประโยชน์ของประชาชนก่อนเสมอ ก่อนที่จะขึ้นครองราชย์นั้น พระองค์มีพระนามว่า "หลี ซื่อ หมิน" ประสูติเมื่อ..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังไท่จง
จักรพรรดิถังไต้จง
มเด็จพระจักรพรรดิถังไต้จง (ค.ศ. 762-779, พ.ศ. 1305-1322) จักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ถัง มีพระนามเดิมว่าองค์รัชทายาทหลี่อวี่ (李豫) ประสูติเมื่อปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังไต้จง
จักรพรรดิถังเกาจู่
มเด็จพระจักรพรรดิถังเกาจู่ มีพระนามเดิมว่า หลี่ยวน (李淵) ประสูติเมื่อปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังเกาจู่
จักรพรรดิถังเกาจง
มเด็จพระจักรพรรดิเกาจง (ค.ศ. 649-683, พ.ศ. 1192-1226) จักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์ถัง ประสูติเมื่อปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังเกาจง
จักรพรรดิถังเสฺวียนจง
thumb จักรพรรดิถังเสฺวียนจง (ค.ศ. 685–762) จักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์ถัง เป็นโอรสในจักรพรรดิถังรุ่ยจง มีพระนามเดิมว่า หลี่หลงจี ภายหลังรัชกาลของบูเช็กเทียน สภาพการเมืองภายในราชสำนักปั่นป่วนวุ่นวาย เนื่องจากถังจงจงอ่อนแอ อำนาจทั้งมวลตกอยู่ในมือของเหวยฮองเฮา(韦皇后)ที่คิดจะยิ่งใหญ่ได้เช่นเดียวกับบูเช็กเทียน เหวยฮองเฮาหาเหตุประหารรัชทายาท จากนั้นในปี 710 วางยาพิษสังหารถังจงจง โอรสองค์ที่สามของถังรุ่ยจง นามหลี่หลงจี(李隆基)ภายใต้การสนับสนุนขององค์หญิงไท่ผิง(太平公主)ชิงนำกำลังทหารบุกเข้าวังหลวงสังหารเหวยฮองเฮาและพวก ภายหลังเหตุการณ์องค์หญิงไท่ผิงหนุนถังรุ่ยจงขึ้นครองราชย์ แต่งตั้งหลี่หลงจีเป็นรัชทายาท แต่แล้วองค์หญิงไท่ผิงพยายามเข้ากุมอำนาจเบ็ดเสร็จ แต่เกิดขัดแย้งกับรัชทายาทหลี่หลงจี ปี 712 ถังรุ่ยจงสละราชย์ให้กับโอรส หลี่หลงจีเมื่อขึ้นครองราชย์ทรงพระนามว่า ถังเสวียนจง (唐玄宗) สิ่งแรกที่กระทำคือกวาดล้างขุมกำลังขององค์หญิงไท่ผิง นำพาสันติสุขกลับคืนมาอีกครั้ง ตลอด 32 ปีในรัชสมัย ทรงปฏิรูปการปกครองกวาดล้างขุนนางกังฉิน ทรงทำให้ฉางอานกลายเมืองศูนย์กลางของโลกในขณะนั้น ประชากรในเมืองฉางอานสูงกว่า1ล้านคน เป็นปลายทางของเส้นทางสายไหม และยังเป็นจุดหมายปลายทางของพวกพ่อค้าชาวตะวันตก ต้าถังในรัชสมัยของพระองค์เจริญรุ่งเรือง เต็มไปด้วยนักดนตรี นักประพันธ์ เจริญด้วยวรรณกรรม วรรณคดีมากมาย สังคมงสบสุข พระบารมีแผ่ขยายไปกว้างไกล ประวัติศาสตร์ยุคนี้ได้รับการขนานนามว่า "ปฐมศักราชแห่งความรุ่งโรจน์" นอกจากนี้ยังมีนักศึกษาต่างชาติพากันลั่งไหลเข้ามาเรียนรู้ในผ่นดินต้าถังนตลอดไม่ขาดสาย ฉางอานเมืองหลวงของต้าถังในขณะนั้น กลายเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของโลกมีความเจริญในทุกๆด้าน.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังเสฺวียนจง
จักรพรรดิถังเสียนจง
มเด็จพระจักรพรรดิถังเสี้ยนจง (ค.ศ. 778 – 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 820) เป็นพระราชโอรสองค์โตในจักรพรรดิถังชุนจงและหวังไทเฮา มีพระนามเดิมว่า หลี่ชุน (李純) เมื่อพระราชบิดาสละราชสมบัติลงในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังเสียนจง
จักรพรรดิถังเต๋อจง
thumb สมเด็จพระจักรพรรดิถังเต๋อจง (ค.ศ. 779-805) ประสูติเมื่อ..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังเต๋อจง
จักรพรรดิถงจื้อ
มเด็จพระจักรพรรดิถงจื้อขึ้นครองราชย์ตั้งแต่พระชนมายุ 5 พรรษา ถึงแม้ว่าพระองค์จะครองราชย์ได้เพียง 12 ปี พระองค์ก็จัดได้ว่าเป็นจักรพรรดิที่พยายามจะบริหารประเทศให้ดีองค์หนึ่ง แต่ก็ถูกซูสีไทเฮายึดอำนาจไว้ ทำให้พระองค์ไม่สามารถใช้ความสามารถได้อย่างเต็มที่ เพราะพระนาง ซูสีไทเฮาเห็นว่า พระองค์นั้นไร้ซึ่งความสามารถวันๆก็เอาแต่แอบหนีออกไปเที่ยวนอกวัง.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถงจื้อ
จักรพรรดิคังซี
ักรพรรดิคังซี (Enkh Amgalan Khaan) หรือพระนามเต็ม อ้ายซินเจฺว๋หลัวเสฺวียนเย่ (愛新覺羅玄燁 Àixīn-Juéluó Xuányè) จักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์ชิง เป็นพระโอรสของจักรพรรดิซุ่นจื้อ จักรพรรดิองค์ที่ 3 ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่พระชนมายุเพียง 8 พรรษา ในปี พ.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิคังซี
จักรพรรดิฉินที่ 2
ักรพรรดิฉินที่ 2 หรือ จักรพรรดิหูไห่ มีพระนามเดิมว่าองค์ชายหูไห่ เป็นพระราชโอรสองค์รองของ จิ๋นซีฮ่องเต้ ประสูติเมื่อปี 229 ปีก่อน..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฉินที่ 2
จักรพรรดิฉินที่ 3
ักรพรรดิฉินที่ 3 หรือ จักรพรรดิเจ้าอิง มีพระนามเดิมว่าเจ้าอิง เป็นพระราชภาติยะของ จักรพรรดิฉินที่ 2 (หูไห่) ซึ่งพระองค์เป็นพระราชโอรสของเจ้าชายฝูซู อดีตรัชทายาท เจ้าเกา มหาขันที ผู้ทรงอิทธิพลใน ราชสำนักฉิน ได้แต่งตั้งพระองค์เป็นจักรพรรดิ หลังจากการปลงพระชนม์จักรพรรดิฉินที่ 2 (หูไห่) พระราชกรณียกิจแรกของพระองค์ คือทรงสั่งประหารชีวิตเจ้าเกาแต่หลังจากนั้นมิได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจอันใดอีกเลย จนเมื่อ หลิวปัง เข้ายึดนครหลวงเสียนหยางได้ พระองค์จึงประกาศสละราชสมบัติให้และทำให้ราชวงศ์ฉินล่มสลายลง.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฉินที่ 3
จักรพรรดิฉงเจิน
ักรพรรดิฉงเจิน (6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1610-25 เมษายน ค.ศ. 1644) จักรพรรดิองค์ที่ 17 และองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์หมิง เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิไท่ชาง และเป็นพระราชอนุชาในจักรพรรดิเทียนฉี เมื่อพระเชษฐาสวรรคตในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฉงเจิน
จักรพรรดิซุ่นจื้อ
มเด็จพระจักรพรรดิซุ่นจื้อ จักรพรรดิองค์ที่ 3 ของราชวงศ์ชิง แต่ในบางครั้งจะนับพระองค์เป็น ปฐมจักรพรรดิ ของราชวงศ์ชิง ด้วยทรงเป็นจักรพรรดิแมนจูพระองค์แรกที่ได้ประทับในพระราชวังต้องห้ามที่กรุงปักกิ่ง และราชวงศ์หมิงถึงกาลสิ้นสุดอย่างแท้จริง มีพระนามเดิมว่า อ้ายซินเจี๋ยว์หลอ ฝูหลิน (爱新觉罗福临) ซึ่งเป็นพระโอรสคนที่ 9 ของหวงไท่จี๋ ทรงขึ้นครองราชย์เพียงพระชนมพรรษา 6 ขวบ ในปี พ.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซุ่นจื้อ
จักรพรรดิซ่งชินจง
thumb จักรพรรดิซ่งชินจง (ค.ศ.1100 - 1161, พ.ศ. 1643 - 1704) จักรพรรดิองค์ที่ 9 แห่ง ราชวงศ์ซ่งเหนือ เป็นพระราชโอรสองค์โตของจักรพรรดิ ซ่งฮุ่ยจง ประสูติเมื่อปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งชินจง
จักรพรรดิซ่งกวงจง
thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งกวงจง (พ.ศ. 1732 - 1737)ประสูติเมื่อปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งกวงจง
จักรพรรดิซ่งกง
200px สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งกงตี้ (ค.ศ. 1274-1276) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 16 แห่งราชวงศ์ซ่ง และจักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ทรงครองราชย์สืบต่อจากจักรพรรดิซ่งตู้จง ในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งกง
จักรพรรดิซ่งกงจง
thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งกงตี้ (ค.ศ. 1274-1276) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 17 แห่งราชวงศ์ซ่ง และจักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ทรงครองราชย์สืบต่อจากจักรพรรดิซ่งตู้จง พระราชบิดาในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งกงจง
จักรพรรดิซ่งลี่จง
thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งลี่จง เป็นจักรพรรดิองค์ที่14แห่งราชวงศ์ซ่งและองค์ที่5แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ทรงขึ้นครองราชย์แทนซ่งหนิงจงพระราชบิดา ที่สวรรคตลงในปี..1224(พ.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งลี่จง
จักรพรรดิซ่งหนิงจง
thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งหนิงจง(1711-1767)ประสูติเมื่อปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งหนิงจง
จักรพรรดิซ่งอิงจง
thumb จักรพรรดิซ่งอิงจง เป็นเชื้อพระวงศ์ที่ ซ่งเหยินจง ทรงนำมาเป็นพระราชบุตรบุญธรรม ประสูติเมื่อ..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งอิงจง
จักรพรรดิซ่งฮุ่ยจง
thumb ซ่งฮุ่ยจง (ค.ศ. 1100 - ค.ศ. 1126, พ.ศ. 1643- พ.ศ. 1669)ประสูติเมื่อปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งฮุ่ยจง
จักรพรรดิซ่งตู้จง
thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งตู้จง ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 15 แห่งราชวงศ์ซ่ง และจักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ทรงครองราชย์ในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งตู้จง
จักรพรรดิซ่งตี้ปิง
thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งตี้ปิง (ค.ศ. 1271-ค.ศ. 1279) จักรพรรดิองค์ที่ 18 แห่งราชวงศ์ซ่งเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 9 และองค์สุดท้ายแห่ง ราชวงศ์ซ่งใต้ประสูติใน ปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งตี้ปิง
จักรพรรดิซ่งต้วนจง
thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งต้วนจง (พ.ศ. 1811 -พ.ศ. 1821) จักรพรรดิองค์ที่17แห่งราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิองค์ที่8แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ประสูติในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งต้วนจง
จักรพรรดิซ่งไท่จู่
มเด็จพระจักรพรรดิซ่งไท่จู่ จ้าว ควงอิ้น ตามสำเนียงกลาง หรือ เตียคังเอี๋ยน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (พระบรมราชสมภพ 21 มีนาคม ค.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งไท่จู่
จักรพรรดิซ่งไท่จง
220px สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งไท่จง (1482-1540) มีพระนามเดิมว่า เจ้ากวงอี้ ประสูติเมื่อปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งไท่จง
จักรพรรดิซ่งเกาจง
มเด็จพระจักรพรรดิซ่งเกาจง (12 มิถุนายน ค.ศ. 1107 – 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1187) พระนามเดิม "เจ้าโก้ว" ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ซ่งของประเทศจีน และเป็นจักรพรรดิองค์แรกของแห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งเกาจง
จักรพรรดิซ่งเสินจง
ักรพรรดิซ่งเสินจง ประสูติเมื่อปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งเสินจง
จักรพรรดิซ่งเสี้ยวจง
thumb สมเด็จพระจักรพรรดิเสี้ยวจง (พ.ศ. 1705-1732) จักรพรรดิองค์ที่ 11 แห่งราชวงศ์ซ่ง และจักรพรรดิองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ประสูติเมื่อปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งเสี้ยวจง
จักรพรรดิซ่งเหรินจง
หรินจง เป็นจักรพรรดิรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์ซ่งเหนือของจีน ประสูติเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งเหรินจง
จักรพรรดิซ่งเจินจง
มเด็จพระจักรพรรดิเจินจง (23/12/968年-23/3/1022年) เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิซ่งไท่จง (เจ้า ควงอี้) และเป็นพระราชภาติยะในจักรพรรดิซ่งไท่จู่ (เจ้า ควงอิ้น) ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ซ่งเหนือ เมื่อพระราชบิดาสวรรคตลง ทรงขึ้นครองราชย์แทนในปี ค.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งเจินจง
จักรพรรดิซ่งเจ๋อจง
มเด็จพระจักรพรรดิซ่งเจ๋อจง สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งเจ๋อจง (ค.ศ. 1075 - ค.ศ. 1100, ทรงครองราชย์ ค.ศ. 1085 - ค.ศ. 1100) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ซ่งเหนือ เป็นพระราชโอรสใน จักรพรรดิซ่งเสินจง กับพระสนมซู ประสูติเมื่อ ค.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งเจ๋อจง
จักรพรรดินีเกียง
ักรพรรดินีเจียง (姜皇后; Empress Jiang) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีในจักรพรรดิโจ้วซิน สมเด็จพระจักรพรรดิพระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ซางในประวัติศาสตร์จีน ก่อนที่พระสนมต๋าจีมาล่อลวงพระเจ้าโจ้วให้ถึงแก่ความวิบัติ พระสนมต๋าจีทำให้พระเจ้าโจ้วลุ่มหลงจนละเลยราชการ และบริหารบ้านเมืองอย่างโฉดเขลา ไพร่ฟ้าจึงก่นด่าทั้งแผ่นดิน ต่อมาข้าราชการผู้ใดว่ากล่าวทัดทานพระองค์ ก็โปรดให้ลงโทษถึงตายด้วยวิธีต่าง ๆ ตามคำพระสนมต๋าจี เช่น ให้สร้างเสาทองแดง เอาถ่านสุมจนเสาร้อน แล้วเอาข้าราชการล่ามโซ่ไปนาบเสาจนตาย กลิ่นศพตระหลบไปทั้งวัง และยังให้ขุดเหวหน้าพระที่นั่ง เอางูมาใส่จนเต็ม แล้วโยนข้าราชการลงไปให้งูกิน พระอัครมเหสีเจียง (姜皇后; ฮกเกี้ยนว่า เกียง) ทูลทัดท้าน ทำให้พระสนมต๋าจีผูกใจเจ็บจึงทูลยุยงให้ลงโทษควักลูกตารีดเอาคำสารภาพว่าเป็นกบฏ พระนางไม่ยอมรับ ก็โปรดให้เอานาบเสาทองแดง แต่พระนางสิ้นพระชนม์เสียก่อน.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดินีเกียง
จักรพรรดินีเหรินหฺวาย
ระสาทิสลักษณ์ของสมเด็จพระจักรพรรดินีเหรินหฺวาย สมเด็จพระจักรพรรดินีเหรินหฺวาย (仁怀皇后; Empress Renhuai) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีในสมเด็จพระจักรพรรดิซ่งชินจง สมเด็จพระจักรพรรดิพระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ซ่งในประวัติศาสตร์จีน ทรงเป็น ฮองเฮา ที่น่าเห็นใจที่สุดในราชวงศ์ซ่ง แม้นกระทั่งในประวัติศาสตร์จีน น้อยครั้งที่พระนางทรงได้รับความสุขสมบูรณ์ในฐานะ ฮองเฮา เมื่อจักรวรรดิล่มสลาย พระนางก็ต้องรับเคราะห์ทรงทนทุกข์ยากติดตาม ฮ่องเต้ ในฐานะพระราชสวามี ไปในฐานะเชลยตัวประกัน ทรงติดตามพระราชสวามี เริ่มต้นใช้ชีวิตที่ถูกกดขี่เยี่ยงข้าทาสในจักรวรรดิจิน.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดินีเหรินหฺวาย
จักรพรรดินีเหวย์
ักรพรรดินีเหวย์ ชื่อตัวไม่ทราบ เป็นฮองเฮา (皇后) แห่งราชวงศ์ถังของประเทศจีน เป็นมเหสีองค์ที่สองของจักรพรรดิถังจงจง (唐中宗) ซึ่งครองราชย์สองครั้ง เมื่อถังจงจงสิ้นพระชนม์โดยร่ำลือกันว่า เป็นผลมาจากการวางยาขอพระนางเหวย์ และองค์หญิงอันเล่อ (安樂公主) ผู้เป็นธิดา พระนางเหวย์ก็ยึดอำนาจการปกครองแผ่นดินและพยายามขึ้นเป็นกษัตริย์หญิงทำนองเดียวกับพระนางอู่ เจ๋อเทียน (武則天) ผู้เป็นแม่ผัว แต่ไม่สำเร็จ ในไม่ช้า องค์หญิงไท่ผิง (太平公主) น้องสาวของถังจงจง และหลี่ หลงจี (李隆基) หลานชายของถังจงจง รวมกำลังกันมาปราบปราม พระนางเหวย์ถูกทหารตัดศีรษะสิ้นพระชนม.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดินีเหวย์
จักรพรรดินีเซี่ยวจฺวัง พระพันปีหลวง
ระพันปีเซี่ยวจฺวัง (จีน: 孝莊文皇后; พินอิน: Xiaozhuang Tàihòu; ประสูติ: 26 มีนาคม 1613; ทิวงคต: 27 มกราคม 1688) เป็นราชนิกุลชาวแมนจูในประวัติศาสตร์จีนสมัยต้นราชวงศ์ชิง ซึ่งมีบทบาทในฐานะพระราชมารดาในจักรพรรดิซุ่นจื้อ และพระราชอัยยิกาในจักรพรรดิคังซี พระพันปีเซี่ยวจฺวังมีชื่อเดิมว่า ปูมู่ปูไท่ เป็นลูกสาวของ ไจ้ซาง หัวหน้ามองโกลเผ่าเคอร์ฉิน ราชตระกูลสายบิดาของพระพันปีเซี่ยวจฺวังนั้น เป็นตระกูลป๋อจื่อจิน ที่สืบเชื้อสายมาแต่เจงกีสข่าน (หัวหน้ามองโกลในสมัยนั้น มาจากตระกูลนี้หรือไม่ก็อ้างว่าสืบสายมาแต่เจงกีสข่านกันทั้งสิ้น) อย่างไรก็ตามเผ่าเคอร์ฉินนั้นมีอิทธิพลจำกัดอยู่ทางตะวันออกของทุ่งหญ้าเท่านั้น ไม่ได้ถือว่าทรงอำนาจอะไรมากมาย ในยุคที่นูร์ฮาร์ชี๋กำลังเรืองอำนาจในเจี้ยงโจวนั้น ปู่ของพระพันปีเซี่ยวจฺวังที่ชื่อว่า หนูว์เอี้ยน เป็นหัวหน้าเผ่าเคอร์ฉินอยู่ เขาก็เห็นว่าควรจะผูกมิตรกับสกุลอ้ายซินเจี๋ยหรอเอาไว้ เพื่ออาศัยอิทธิพลของนูร์ฮาร์ชีด้วย เลยส่งลูกสาวคือ เจอเจอ มาแต่งงานกับหวงไท่จี๋เพื่อผูกสมัครเป็นญาติกันในปี 1614 ต่อมาเมื่อบิดาของพระพันปีเซี่ยวจฺวังขึ้นเป็นหัวหน้าเผ่าแทนปู่ของนาง ก็เลยส่งลูกสาวคือ ปูมู่ปูไท่มาแต่งกับหวงไท่จี๋อีกคนในปี 1625 เพื่อผูกเป็นญาติกันสองชั้น พระพันปีเซี่ยวจฺวังให้กำเนิดพระราชธิดา 3 องค์แก่หวงไท่จี๋ และพระราชโอรส 1 องค์คือฝูหลิน ส่วนฮองเฮาเจอเจอ ที่เป็นอาหญิงของนางนั้นมีแต่พระราชธิดากับหวงไท่จี๋ เมื่อจักรพรรดิหวงไถจี๋สวรรคต เจ้าชายฝูหลินได้ครองราชย์เป็นจักรพรรดิซุ่นจื้อในปี 1643 ทั้งฮองเฮาเจอเจอและสนมปูไท่จึงขึ้นเป็นพระพันปีพร้อม ๆ กัน แต่อำนาจปกครองประเทศจะอยู่ในมือของตวนเอ่อร์กุนเสียมาก ตวนเอ่อร์กุนก็ตรงอำนาจอยู่หลายปีจนเขาตาย และพอดีกับที่จักรพรรดิซุ่นจื้อ ทรงเจริญพระชันษาพอดี พระองค์จึงทรงปกครองประเทศเอง พระพันปีเซี่ยวจฺวังจะเริ่มเข้ามามีบทบาทในช่วงหลัง ๆ ของรัชกาล จักรพรรดิซุ่นจื้อ และก็มีส่วนอย่างมากตอนเปลี่ยนรัชกาลเป็นคังซี ในการสนับสนุนให้องค์ชายเสียนเยี่ย ขึ้นเป็นฮ่องเต้ และร่วมดูแลราชกิจกับ 4 ผู้สำเร็จราชการ พอจักรพรรดิคังซีเริ่มว่าราชการเอง พระนางก็หยุดการข้องเกี่ยวราชกิจไป และใช้ชีวิตบั้นปลายอย่างสงบจนเสด็จทิวงคตในปี 1688.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวจฺวัง พระพันปีหลวง
จักรพรรดิโจวหมิง
ักรพรรดิหมิงแห่งราชวงศ์โจว หรือ โจวหมิงตี้ (ค.ศ. 534 - 560) จักรพรรดิองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์เป่ยโจว ทรงพระนามเดิมว่า "อี้ว์เหวินอวี่" (Yuwen Yu) ประสูติเมื่อ..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิโจวหมิง
จักรพรรดิโจวอู่
ักรพรรดิอู่แห่งราชวงศ์โจว หรือ โจวอู่ตี้ (ค.ศ. 543 - 578) จักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์เป่ยโจว ทรงพระนามเดิมว่า "อวี้เหวินหยง" (Yuwen Yong) ประสูติเมื่อ..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิโจวอู่
จักรพรรดิโจวจิ้ง
ักรพรรดิจิ้งแห่งราชวงศ์โจว หรือ โจวจิ้งตี้ (ค.ศ. 573 - 581) จักรพรรดิองค์ที่ 5 และองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์เป่ยโจว (โจวเหนือ) ทรงพระนามเดิมว่า อูเหวินเอี๋ยน ต่อมาเปลี่ยนเป็น อูเหวินชาน (Yuwen Chan) ประสูติเมื่อปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิโจวจิ้ง
จักรพรรดิโจวเสวียน
ักรพรรดิเสวียนแห่งราชวงศ์โจว หรือ โจวเสวียนตี้ (ค.ศ. 559 - 579) จักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์เป่ยโจว ทรงพระนามเดิมว่า อูเหวินหยุน ประสูติเมื่อ..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิโจวเสวียน
จักรพรรดิไท่ชาง
thumb สมเด็จพระจักรพรรดิไท่ชาง หรือ กวงจงฮ่องเต้ (ประสูติ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2163 - 26 กันยายน พ.ศ. 2163) จักรพรรดิพระองค์ที่ 14 แห่ง ราชวงศ์หมิง ของ จีน.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิไท่ชาง
จักรพรรดิเว่ยหมิง
ระเจ้าโจยอย เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก ผู้ครองวุยก๊กรุ่นที่ 3 เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าโจผี พระราชนัดดาในพระเจ้าโจโฉ ขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเว่ยหมิง
จักรพรรดิเสียนเฟิง
มเด็จพระจักรพรรดิเสียนเฟิงขณะทรงแก้ไขพระราชกิจ สมเด็จพระจักรพรรดิเสียนฟงขณะทรงพักผ่อนพระอิริยาบถ จักรพรรดิเสียนเฟิง พงศาวดารไทยเรียก สมเด็จพระเจ้าฮำหอง เป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 9 (นับจากจักรพรรดินู่เอ๋อร์ฮาชื่อ) แห่งราชวงศ์ชิง เป็นราชโอรสองศ์ที่ 4 ของจักรพรรดิเต้ากวง มีนามเดิมว่า อ้ายซินเจว๋หลัว อี้จู่ หรือองค์ชาย อี้จู่ ประสูติเมื่อปี พ.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเสียนเฟิง
จักรพรรดิเสี้ยวหมิน
จักรพรรดิเสี้ยวหมินแห่งราชวงศ์โจว หรือ เสี้ยวหมินตี้ (Xiaomindi) (ค.ศ. 542 - 557) จักรพรรดิองค์แรกแห่งราชวงศ์เป่ยโจว ทรงพระนามเดิมว่า อี้ว์เหวินจู (Yuwen Jue) ประสูติเมื่อ ค.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเสี้ยวหมิน
จักรพรรดิเหรินจง
หรินจง หรือ เหยินจง เป็นพระนามของจักรพรรดิจีนหลายพระองค์ สามารถหมายถึง.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเหรินจง
จักรพรรดิเหลียวมู่จง
มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวมู่จง (ค.ศ. 931-969) จักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์เหลียว เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิเหลียวไท่จง ครองราชย์ตั้งแต..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเหลียวมู่จง
จักรพรรดิเหลียวจิ่งจง
มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวจิ่งจง (เย่ว์ลี่เสียน) (ค.ศ. 948 - 982) ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์เหลียว ครองราชย์ระหว่าง..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเหลียวจิ่งจง
จักรพรรดิเหลียวต้าวจง
มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวต้าวจง (เย่ว์ลี่หงจี่) (ค.ศ. 1032 - 1101) เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิเหลียวซิ่งจง เมื่อพระราชบิดาสวรรคตในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเหลียวต้าวจง
จักรพรรดิเหลียวซิ่งจง
มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวซิ่งจง (ค.ศ. 1015 - 1054) จักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์เหลียว โดยเป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิเหลียวเซิ่งจง ประสูติเมื่อ..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเหลียวซิ่งจง
จักรพรรดิเหลียวซื่อจง
มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวซื่อจง เป็นพระโอรสในเย่ว์ลู่ทู่อี่และมีศักดิ์เป็นพระนัดดาของจักรพรรดิเหลียวไท่จง (พ.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเหลียวซื่อจง
จักรพรรดิเหลียวไท่จู่
มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวไท่จู่ (ค.ศ. 872 - 926) ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์เหลียว ทรงพระนามเดิมว่า เย่ว์ลู่ อาเปาจี ประสูติในเผ่าชี่ตัน เมื่อ..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเหลียวไท่จู่
จักรพรรดิเหลียวไท่จง
มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวไท่จง (เย่ว์ลู่เต๋อกวง) (902-947) เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 ในจักรพรรดิเหลียวไท่จู่ โดยเป็นพระอนุชาในองค์ชายเย่ว์ลู่ทู่อี้ พระราชบิดาของจักรพรรดิเหลียวซื่อจง เมื่อเย่ว์ลู่ทู่อี้ พระเชษฐาซึ่งเป็นองค์รัชทายาท ถูกฮองเฮาสู้ลี่ว์พระมารดาและข้าราชสำนักบีบบังคับ ให้ลี้ภัยไปยังราชสำนักโฮ่วถัง และตั้ง เย่ว์ลู่เต๋อกวง พระราชโอรสองค์รองที่ทรงพระปรีชาสามารถด้านการทหาร ขึ้นเป็นองค์รัชทายาทแทน เมื่อจักรพรรดิเหลียวไท่จู่สวรรคตในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเหลียวไท่จง
จักรพรรดิเหลียวเทียนจั้ว
มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวเทียนจั้วตี้ (เย่ว์ลี่ ชุน) (ค.ศ. 1075 - 1128) จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์เหลียว ทรงพระนามเดิมว่า เย่ว์ลี่ ชุน เมื่อจักรพรรดิเหลียวต้าวจง พระราชบิดาสวรรคตในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเหลียวเทียนจั้ว
จักรพรรดิเหลียวเซิ่งจง
มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวเซิ่งจง (เย่ว์ลี่หลงซีว์) (ค.ศ. 971 - 1031) จักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์เหลียว ประสูติเมื่อ..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเหลียวเซิ่งจง
จักรพรรดิเจิ้งถ่ง
ู ฉีเจิ้น (29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1427 – 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1464) เป็นจักรพรรดิจีนแห่งราชวงศ์หมิง เสวยราชย์ 2 ครั้ง ครั้งแรกระหว่าง..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเจิ้งถ่ง
จักรพรรดิเจิ้งเต๋อ
thumb สมเด็จพระจักรพรรดิเจิ้งเต๋อ (26 ตุลาคม ค.ศ. 1491 - 20 เมษายน ค.ศ. 1521) ทรงครองราชย์ระหว่าง..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเจิ้งเต๋อ
จักรพรรดิเจียชิ่ง
มเด็จพระจักรพรรดิเจียชิ่ง (จักรพรรดิชิงเหรินจง) (13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2303 – 2 กันยายน พ.ศ. 2363) เป็นโอรสองค์ที่ 15 ของจักรพรรดิเฉียนหลง เดิมมีพระนามว่า หย่งเยี๋ยน (顒琰) เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อปี พ.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเจียชิ่ง
จักรพรรดิเจียจิ้ง
ักรพรรดิเจียจิ้ง จักรพรรดิหมิงเจียจิ้ง (16 กันยายน ค.ศ. 1507 - 23 มกราคม ค.ศ. 1567) เป็นพระราชภาดา ในจักรพรรดิเจิ้งเต๋อเพราะพระบิดาของพระองค์กับจักรพรรดิหงจื้อที่ทรงเป็นพระราชบิดาของจักรพรรดิเจิ้งเต๋อเป็นพระเชษฐาและพระอนุชาร่วมพระราชบิดาเดียวกัน เมื่อจักรพรรดิเจิ้งเต๋อสวรรคตลงในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเจียจิ้ง
จักรพรรดิเจี้ยนเหวิน
มเด็จพระจักรพรรดิเจี้ยนเหวิน หรือ เจี้ยนเหวินฮ่องเต้ (เจี้ยนเหวิน) พระนามเดิม จู หยุ่นเหวิน (朱 允炆) คือจักรพรรดิพระองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์หมิงของจีน รวมระยะเวลาที่อยู่ในราชสมบัติ 4 ปีกว.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเจี้ยนเหวิน
จักรพรรดิเทียนฉี่
ทียนฉี่ (23 ธันวาคม ค.ศ. 1605 – 30 กันยายน ค.ศ. 1627) ประสูติเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเทียนฉี่
จักรพรรดิเต้ากวัง
ักรพรรดิเต้ากวัง พงศาวดารไทยเรียก สมเด็จพระเจ้าเตากวาง เป็นองค์ชายรองในจักรพรรดิเจี่ยชิ่ง เดิมมีพระนามว่า เหมียนหนิง (綿寧) (แปลว่า อาทิตย์อัสดง) แต่ได้เปลี่ยนพระนามใหม่ภายหลังขึ้นครองราชย์ว่า หมิ่นหนิง (旻宁) (แปลว่า ท้องฟ้า หรือ จักรวาล) จักรพรรดิเต้ากวัง ประสูติจากมเหสีที่มีชื่อว่า จักรพรรดินีเซี่ยวซูรุ่ย(孝淑皇后) แต่พระมารดาได้สิ้นพระชนม์ไปตั้งแต่พระองค์ยังเยาว์วัย จักรพรรดิเจี่ยชิงพระราชบิดาจึงได้สถาปนาพระมเหสีองค์ใหม่ขึ้นเป็นจักรพรรดินีเซี่ยวเหอรุ่ย (孝和皇后) ซึ่งเป็นบุตรสาวของอูนาลา ขุนนางพวกเดียวกับเหอเซิน ที่ทรงไม่ไว้วางพระทัย แต่ทรงทำไปด้วยด้วยเหตุผลทางการเมือง นั่นทำให้จักรพรรดิเต้ากวังเมื่อยังทรงพระเยาว์ก็ไม่โปรดในตัวพระนางด้วยเช่นกัน แม้จะมีศักดิ์เป็นพระมารดาเลี้ยงก็ตาม แต่ได้ทรงเปลี่ยนทัศนะที่มีต่อพระนางใหม่ เมื่อครั้งหนึ่งที่ได้เสด็จไปไหว้บรรพกษัตริย์ที่สุสานราชวงศ์ชิงด้วยกัน และได้มีโจรกบฏกลุ่มหนึ่งมาจับตัวพระองค์และพระนางไปพร้อมกับสามัญชนกลุ่มหนึ่ง พวกกบฏบังคับให้พระองค์และพระนางบอกว่าใครเป็นใคร หากเงียบ ก็จะให้จ้วงแทงพระนางด้วยมีด พระนางก็ปิดปากเงียบไม่ยอมบอก นั่นจึงทำให้พระองค์ซาบซึ้งในน้ำพระทัยของพระนางเสี้ยวเหอมากและยอมรับพระนางในที่สุด จักรพรรดิเต้ากวัง ขึ้นครองราชย์ภายหลังการสวรรคตอย่างกะทันหันของจักรพรรดิเจี่ยชิ่ง ในปี พ.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเต้ากวัง
จักรพรรดิเฉิงฮว่า
มเด็จพระจักรพรรดิเฉิงฮว่า จักรพรรดิเฉิงฮว่า (Chenghua Emperor, 9 ธันวาคม 1447 – 9 กันยายน 1487) พระราชโอรสในจักรพรรดิเจิ้งถง ประสูติเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเฉิงฮว่า
จักรพรรดิเฉียนหลง
มเด็จพระจักรพรรดิเฉียนหลง (จักรพรรดิชิงเกาจง) (เฉียนหลง) จักรพรรดิองค์ที่ 6 ของราชวงศ์ชิง ประสูติเมื่อ ปี พ.ศ. 2254 (ค.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเฉียนหลง
จักรพรรดิเซฺวียนเต๋อ
วาดจักรพรรดิซวนเต๋อ Ming Dynasty Xuande Archaic Porcelain Vase and Six -Character Mark สมเด็จพระจักรพรรดิหมิงซวนจง หรือ จูเจียนจี หรือ องค์ชายจู (ค.ศ. 1426-1435) ครองราชย์ทรงพระนามว่าหมิงซวนจง (宣 宗) รัชศกซวนเต๋อ (宣 徳) ทรงเป็นจักรพรรดิที่พระทัยอ่อน ในตอนต้นรัชกาลมีพระญาติก่อกบฏเมื่อปราบปรามได้สำเร็จพระองค์ก็มิได้ลงโทษ ในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเซฺวียนเต๋อ
จักรพรรดิเซี่ยจิงจง
ักรพรรดิเซี่ยจิงจง (ค.ศ. 1003–1048) ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์เซี่ยตะวันตก ครองราชย์ระหว่าง..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเซี่ยจิงจง
จักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)
ักรวรรดิจีน (Empire of China) เป็นการปกครองซึ่งดำรงอยู่ในช่วงสั้น ๆ ในประเทศจีนตั้งแต่ปล..
ดู จักรพรรดิจีนและจักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)
จิ๋นซีฮ่องเต้
ฉินฉื่อหฺวังตี้ ตามสำเนียงกลาง หรือ จิ๋นซีฮ่องเต้ ตามสำเนียงอื่น (260–210 ก่อนคริสตกาลWood, Frances. (2008). China's First Emperor and His Terracotta Warriors, pp.
ดู จักรพรรดิจีนและจิ๋นซีฮ่องเต้
จู โหย่วกุย
จู โหย่วกุย (朱友珪; ค.ศ. 888? – 27 มีนาคม 913) ชื่อรองว่า เหยา สี่ (遙喜) และบรรดาศักดิ์ว่า องค์ชายอิ่ง (郢王) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์เหลียงยุคหลังสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร จู โหย่วกุย เป็นบุตรของจู เวิน ปฐมกษัตริย์แห่งเหลียงยุคหลัง จู โหย่วกุย ฆ่าบิดาเอาบัลลังก์ในปี 912 ไม่กี่เดือนให้หลัง จู โหย่วเจิน (朱友貞) น้องชาย ก็ก่อกบฏชิงบัลลังก์ จู โหย่วกุย จึงชิงฆ่าตัวตาย จู โหย่วเจิน ก็ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดมา หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร หมวดหมู่:ปิตุฆาต.
จู โหย่วเจิน
จู เจิ้น (20 ตุลาคม 888 – 18 พฤศจิกายน 923) ชื่อเมื่อเกิดว่า จู โหย่วเจิน (朱友貞) บรรดาศักดิ์ว่า องค์ชายเจิน (均王) ชื่ออื่นว่า จู หฺวัง (朱鍠) และในประวัติศาสตร์ดั้งเดิมมักเรียก ปัจฉิมกษัตริย์แห่งเหลียงยุคหลัง (後梁末帝) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์เหลียงยุคหลังสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร อยู่ในสมบัติตั้งแต่ปี 913 ถึงปี 923 จู โหย่วเจิน สั่งให้แม่ทัพหฺวัง ฝู่หลิน (皇甫麟) ปลงพระชนม์พระองค์ในปี 923 เมื่อหลี่ ฉุนซฺวี่ (李存朂) แม่ทัพศัตรู ยกกำลังเข้าชิงเมืองไคเฟิงราชธานีเป็นผลสำเร็จ เมื่อจู โหย่วเจิน ตาย ราชวงศ์เหลียงยุคหลังซึ่งดำรงอยู่มายาวนานที่สุดในบรรดาราชวงศ์ทั้งห้าก็เป็นอันสิ้นสุดลง เมื่อหลี ฉุนซฺวี่ ยึดเมืองได้แล้ว ก็สั่งให้เผาทำลายบันทึกเกี่ยวกับราชวงศ์เหลียงยุคหลังไปเป็นจำนวนมาก ทำให้เรื่องราวเกี่ยวกับจู โหย่วเจิน กระท่อนกระแท่น หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร.
ดู จักรพรรดิจีนและจู โหย่วเจิน
จู เวิน
ปฐมกษัตริย์แห่งเหลียงยุคหลัง (後梁太祖; 852–912) ชื่อตัวว่า จู เฉฺวียนจง (朱全忠) ชื่อเมื่อเกิดว่า จู เวิน (朱溫) ชื่อรองว่า จูสาม (朱三) และชื่ออื่นว่า จู หฺวั่ง (朱晃) เป็นขุนศึกจีนในราชวงศ์ถังซึ่งโค่นราชวงศ์ถังในปี 907 ตั้งราชวงศ์เหลียงยุคหลัง แล้วขึ้นเป็นกษัตริย์องค์แรก เป็นอันเริ่มสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร จู เวิน สามารถยึดครองจีนภาคกลางไว้ได้เกือบทั้งหมด และพยายามรวมแผ่นดินภาคเหนือ แผ่นดินส่วนที่เหลือจึงอยู่ในความครอบครองของอีกสี่ราชวงศ์ที่ตั้งขึ้นในโอกาสเดียวกัน จู เวิน ถูกจู โหย่วกุย (朱友珪) ลูกชาย ฆ่าทิ้งในปี 912 เพื่อชิงบัลลังก์ จู โหย่วกุย ก็ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดมา หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ถูกปลงพระชนม์ หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร.
จง ขุย
ภาพจง ขุย ก่อน ค.ศ. 1304 โดย กง ไข่ จง ขุย เป็นเทพกึ่งปีศาจในตำนานเทพของจีน เชื่อกันว่าจงเขว่ยเป็นผู้กำราบปิศาจร้าย และมักจะวาดภาพจงเขว่ยไว้ที่หน้าประตู เพื่อเป็นผู้ปกปักษ์คุ้มครองบ้าน ตามตำนานของจีน เล่าว่าจง ขุยเป็นชายหนุ่ม มีความรู้ดี แต่หน้าตาอัปลักษณ์ เขาเดินทางไปกับตู้ผิง (杜平) เพื่อนคนหนึ่งซึ่งเป็นคนบ้านเดียวกัน เพื่อเข้าสอบรับราชการเป็นบัณฑิต ที่เรียกว่า จอหงวน ในเมืองหลวง แม้ว่าจงจะสอบได้คะแนนสูงสุด แต่ฮ่องเต้ก็มิได้ประทานตำแหน่งจอหงวน ให้เพราะจง ขุยมีรูปร่างหน้าตาที่น่าเกลียดนั่นเอง เมื่อเป็นเช่นนี้ จงเขว่ยจึงโกรธและน้อยใจอย่างยิ่ง และฆ่าตัวตายที่บันไดพระราชวังนั่นเอง ส่วนตู้ผิงก็ช่วยทำศพเพื่อน ครั้นเมื่อตายไปแล้ว จง ขุยได้เป็นราชาแห่งปิศาจในนรก และจะกลับบ้านเกิดในช่วงปีใหม่ (นั่นคือ ตรุษจีน) นอกจากนี้ ยังได้ตอบแทนความมีน้ำใจของตู้ผิง โดยการมอบน้องสาวให้แต่งงาน เรื่องราวของจง ขุยนั้นเป็นที่รู้จักกันดีในนิทานพื้นบ้านของจีน ตั้งแต่สมัยจักรพรรดิถังเสฺวียนจง (唐玄宗) ในราชวงศ์ถัง (ค.ศ.
ที่ประชุมอำมาตย์ราชวงศ์หารือราชกิจ
ที่ประชุมอำมาตย์ราชวงศ์หารือราชกิจ (Deliberative Council of Princes and Ministers, Council of Princes and High Officials, หรือ Assembly of Princes and High Officials) เรียกโดยย่อว่า ที่หารือราชกิจ (Deliberative Council) เป็นคณะที่ปรึกษาของจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิจีนช่วงต้นราชวงศ์ชิง เกิดจากคณะบุคคลที่ประชุมกันอย่างไม่เป็นทางการ ซึ่งหนูเอ่อร์ฮาชื่อ (努爾哈赤; ค.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและที่ประชุมอำมาตย์ราชวงศ์หารือราชกิจ
ขันที
หลี่เสียน ค.ศ. 706 ขันที คือ ชายที่ถูกตอน บางประเทศทางเอเชียสมัยโบราณใช้สำหรับควบคุมฝ่ายใน ในภาษาจีนเรียกว่า ไท้เจี๋ยน หรือไท้ก๋ำ (ฮกเกี้ยน:太監,ไท้ก่ำ) ในภาษาละตินและอาหรับเรียกว่ายูนุก (Eunuch) โดยมีรากศัพท์มาจากภาษากรีกคำว่า ยูโนคอส (eunouchos) แปลว่าผู้ดูแลรักษาเตียง ส่วนชนชาติมอญเรียกขันทีว่า กมนุย (อ่านว่า ก็อมนอย) แปลว่า ขันทีที่ปราศจากความรู้สึกทาง.
ขุนศึกสะท้านปฐพี
นศึกสะท้านปฐพี เป็นนิยายกำลังภายใน แต่งโดยหวงอี้ ฉบับภาษาไทยแปลโดย น.นพรัตน์ จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์สยามอินเตอร์บุ๊คส์ ความยาว 1 เล่ม อีกสำนวนแปลโดย ว.ณ เมืองลุง ใช้ชื่อว่า ศึกเลียดก๊ก มีความยาว 3 เล่ม.
ดู จักรพรรดิจีนและขุนศึกสะท้านปฐพี
ขุนศึกตระกูลหยาง
นศึกตระกูลหยาง เป็นเรื่องเล่าที่เป็นเสมือนตำนานในประวัติศาสตร์จีน ในยุคของราชวงศ์ซ่งเหนือ เรื่องราวขุนศึกตระกูลหยางเขียนขึ้น โดย ถัวถัว นักเขียนชาวมองโกล ในยุคราชวงศ์หยวน โดยอ้างอิงมาจากหนังสือบันทึกประวัติศาสตร์ราชวงศ์ซ่งที่ชื่อ History of Song เป็นเรื่องราวของครอบครัวแซ่หยาง (楊) ที่รับราชการทหารมาตลอดทั้งตระกูลถึง 3 ชั่วอายุคน มีความจงรักภักดีและพร้อมตายในสนามรบได้อย่างสมศักดิ์ศรี อีกทั้งเมื่อเหล่าผู้ชายตายหมดแล้ว ผู้หญิงซึ่งเป็นภรรยาม่ายหรือลูกหลานในตระกูลก็รับหน้าที่ต่อแทน เรื่องราวเริ่มต้นขึ้นที่ ในรัชสมัย ซ่งไท่จงฮ่องเต้ อันเป็นฮ่องเต้รัชกาลที่ 2 ของราชวงศ์ซ่งเหนือ เสด็จยกทัพไปปราบปราม เล่ากึน แห่งราชวงศ์โฮ่วฮั่น หยางเย่ หรือ เอียเลงก๋ง (楊業) ซึ่งเป็นเจ้าเมืองซัวอ๋าวยกกองทัพมาช่วยเล่ากึน สงครามจึงสงบกันไปคราวหนึ่ง เมื่อฮ่องเต้ซ่งไท่จู่สวรรคต เจ้ากวงอี้ พระอนุชาได้ขึ้นครองราชย์แทน เถลิงพระนามว่า ซ่งไท่จงฮ่องเต้ ต่อมา ซ่งไท่จูเสด็จยกกองทัพหลวงไปตีเมืองปักหั้นอีก คราวนี้เกลี้ยกล่อม หยางเย่ กับบุตรชายทั้ง 7 คนมาเข้ากับตนไว้ได้ หลังจากนั้นได้ยกทัพไปปราบเมืองไซเหลียวต่อไป เมื่อซ่งไท่จูฮ่องเต้ถูกล้อมอยู่ในระหว่างศึก หยางเย่กับบุตรก็ช่วยกันแก้ไขเอาออกมาได้ แต่ต้องสู้กับข้าศึกจน หยางต้าหลาง, หยางเอ้อหลาง, หยางซันหลาง ซึ่งเป็นบุตรชายคนโต, คนที่ 2 และ 3 ต้องตายกลางสนามรบ ส่วน หยางอู่หลาง บุตรชายคนที่ 5 ได้หนีไปบวชจึงรอด ส่วน หยางซื่อหลาง บุตรชายคนที่ 4 ถูกชาวฮวนจับเอาไป เหลือแต่ตัวของหยางเย่ยและหยางลิ่วหลาง เท่านั้นที่รอดกลับมาได้ ฮ่องเต้ซ่งไท่จูจึงโปรดให้สร้างบ้านและมอบเครื่องแสดงเกียรติยศต่าง ๆ ให้ ภายหลังหยางเย่กับหยางซื่อหลางถูก พานเหรินเหม่ย ซึ่งเป็นขุนนางที่เป็นเสมือนคู่ปรับของตระกูลหยางกำจัด คงเหลือแต่หยางลิ่วหลาง บุตรชายคนที่ 6 เพียงคนเดียว ฮ่องเต้ซ่งไท่จู อยู่ในราชสมบัติได้ 22 ปีก็เสด็จสวรรคต ต่อมาในรัชกาล ซ่งไท่จงฮ่องเต้ โปรดให้หยางลิ่วหลางเป็นแม่ทัพไปปราบปรามเมืองไซเหลียวและเมืองไซฮวนได้มาเป็นเมืองขึ้น เมื่อหยางลิ่วหลางตาย เมืองไซฮวนกลับกำเริบขึ้นอีก ครั้งนี้เป็น หยางจงเป่า ซึ่งเป็นบุตรชายของหยางลิ่วหลางพร้อมกับพวกหญิงม่าย ผู้ซึ่งเคยเป็นภรรยาของพี่น้องตระกูลหยางที่สิ้นชีพไปแล้วทั้งหมด รวมทั้ง ภรรยาของหยางจงเป่า คือ มู่กุ้ยอิง นำทัพปราบปรามเอง ซึ่งภายหลังเมืองไซฮวนก็ได้สยบมอบต่อราชวงศ์ซ่ง บ้านเมืองถึงยุคสงบสุข ไร้ซึ่งเสี้ยนหนามแผ่นดิน บรรดาขุนนางผู้ใหญ่ในเมืองหลวงก็ล้วนแต่ซื่อสัตย์ มีความจงรักภักดี ฝ่ายพลเรือนมี โขวจุ้น เป็นขุนนางใหญ่ ฝ่ายกลาโหมมี หยางจงเป่า ได้บังคับบัญชาการงานทั้งปวงโดยสิทธิ์ขาดทั้งหมด เรื่องราวของขุนศึกตระกูลหยางได้รับการถ่ายทอดในลักษณะบอกเล่าเป็นนิทานและเป็นการแสดงในการละเล่นอุปรากรของจีนต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน มีการต่อเติมเรื่องราวให้มีสีสันจากเดิม เช่น การเพิ่มบทของความรักระหว่าง หยางซื่อหลาง บุตรชายคนที่ 4 ของตระกูลกับเจ้าหญิงเมืองไซเหลียว ซึ่งเป็นข้าศึก หรือการที่มี เปาบุ้นจิ้น หรือ อ๋องแปด ซึ่งเป็นบุคคลสำคัญที่มีตัวตนจริงเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เป็นต้น เนื่องจากเป็นบุคคลร่วมสมัยกัน ในวัฒนธรรมร่วมสมัยได้ดัดแปลงมาจากภาพยนตร์หรือซีรีส์ชุดต่าง ๆ มากมาย อาทิ The 14 Amazons ในปี ค.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและขุนศึกตระกูลหยาง
ขนมหนวดมังกร
นมหนวดมังกร หรือ ขนมไหมฟ้า หรือ ขนมสายไหมจีน (Dragon's beard candy, Chinese cotton candy, Cocoon candy; อักษรจีนตัวเต็ม: 龍鬚糖, 龙须糖; พินอิน: Lóng xū táng; อักษรจีนตัวย่อ: 銀絲糖, 銀絲糖; พินอิน: Yín sī táng) เป็นขนมแบบดั้งเดิมของชาวจีน พบได้ตามแถบชุมชนจีน และได้แพร่กระจายไปในหลายประเทศทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเอเชียตะวันออก เช่น มาเก๊า, สิงคโปร์, แคนาดา, สหรัฐอเมริกา, ไต้หวัน, ญี่ปุ่น ในเกาหลีถือเป็นขนมหวานที่มีค่ายิ่งในราชสำนัก ขนมหนวดมังกร มีที่มาตั้งแต่ยุคราชวงศ์ฮั่นเมื่อ 2,000 ปีมาแล้ว กล่าวกันว่า พ่อครัวคนหนึ่งซึ่งเพลินเพลินในการทำขนมแบบใหม่กับพระจักรพรรดิ์ ด้วยการยืดส่วนผสมแบบแป้งที่ทำจากแป้งข้าวเจ้าเป็นเส้นเล็ก ๆ บาง ซึ่งแลดูคล้ายกับหนวดหรือเคราที่สามารถติดอยู่กับใบหน้าผู้คน การที่ได้ชื่อว่า "หนวดมังกร" อาจเป็นเพราะมังกรเป็นสัญลักษณ์ของพระจักรพรรดิ์ ในสมัยโบราณ ขนมหนวดมังกรถือเป็นของที่ทำเพื่อถวายแด่พระจักรพรรดิ์และชนชั้นสูงในราชสำนักเท่านั้น ในช่วงปฏิวัติวัฒนธรรม ขนมหนวดมังกรถูกห้ามจากยุวชนแดง ตามคำสั่งของพรรคคอมมิวนิสต์จีน ที่ห้ามประชาชนประกอบกิจกรรมที่อาจเกี่ยวข้องกับราชวงศ์ฮั่น การทำขนมหนวดมังกรถือเป็นศิลปะละเอียดอ่อนอย่างหนึ่ง จึงทำให้หาผู้สืบทอดได้ยาก อย่างไรก็ตามในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาก็ได้ปรากฏตัวขึ้นอีกครั้งในสถานที่ท่องเที่ยว เช่น เทศกาลตามถนนสายต่าง ๆ และแพร่กระจายไปทั่วโลกได้ไกลถึงจุดหมายปลายทางของผู้เชี่ยวชาญ เส้นขนมหนวดมังกร คล้ายกับสายไหม โดยทำจากน้ำผึ้งกวนกับแป้งข้าวเจ้า, แป้งข้าวโพด, แป้งข้าวเหนียว และข้าวโอ๊ต จากนั้นจึงนำมาดึงเหมือนเส้นบะหมี่ จนยืดยาวเป็นเส้นเล็ก ๆ จำนวนหลายร้อยเส้น และนำมาคลุกกับไส้ซึ่งเป็นเม็ดมะม่วงหิมพานต์, ถั่วลิสง และงาขาว จากนั้นจึงปั้นเป็นก้อนกลม ลักษณะคล้ายดักแด้.
ดู จักรพรรดิจีนและขนมหนวดมังกร
ครูซ่าส์ท้าศิษย์แสบ
รูซ่าส์ท้าศิษย์แสบ เป็นละครจีนแนวย้อนยุค ดราม่า โรแมนติก และคอมเมดี้ ที่เล่าถึงเรื่องความรักของ อู๋ฉีหลง และ หลิวซือซือ ละครเรื่องนี้ยังกล่าวถึงเรื่องราวสุดป่วนของอาจารย์จำเป็น และบรรดาลูกศิษย์ที่มีบทบาทหลากหล.
ดู จักรพรรดิจีนและครูซ่าส์ท้าศิษย์แสบ
คันจิ
ันจิ เป็นอักษรจีนที่ใช้ในระบบการเขียนภาษาญี่ปุ่นในปัจจุบัน จัดอยู่ในประเภทอักษรคำ (Logograms) ใช้ร่วมกับตัวอักษร อีก 4 ประเภท ได้แก่ ฮิรางานะ (ひらがな, 平仮名 Hiragana) คะตาคานะ (カタカナ, 片仮名 Katakana) โรมะจิ (ローマ字 Rōmaji) และตัวเลขอารบิก คำว่า "คันจิ" หากอ่านตามเสียงภาษาจีนกลางจะอ่านว่า "ฮั่นจื้อ" มีความหมายว่า ตัวอักษรของชาวฮั่น อันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศจีน คำว่าภาษาจีนในภาษาจีนเอง ก็เรียกว่า ภาษาฮั่น (ภาษาจีนกลาง: 漢語, hànyǔ) เช่นกัน.
ฆ่าก่อน รายงานทีหลัง
รื่องประหารของเปาบุ้นจิ้น รัฐบาลจีนได้จำลองขึ้นและจัดแสดงไว้ที่ศาลไคฟงในปัจจุบัน "ฆ่าก่อน รายงานทีหลัง" หรือ "ประหารก่อน รายงานทีหลัง" (kill first, report later) เป็นสำนวนจีน ใช้อุปมาอุปไมยถึงการที่ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติหน้าที่ใดให้ลุล่วงไปก่อนแล้วจึงค่อยรายงานผลต่อผู้บังคับบัญชาทีหลัง ที่มาของสำนวนนี้ ว่ากันไว้สองทาง ทางแรกว่าในสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ในวันที่ขุนนางตงซวน ได้เข้ารับตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการนครลั่วหยาง เมืองหลวงของประเทศจีนในสมัยนั้น เขาพบว่ามีคดีหนึ่งค้างอยู่ในศาลซึ่งที่ผ่านมาไม่มีทางจะลุล่วงได้ โดยคดีมีว่าข้าราชบริพารคนหนึ่งของพระราชธิดาหูหยาง เป็นคนหยาบช้าและได้กระทำฆาตกรรมขึ้น แต่ไม่มีผู้ได้กล้าลงโทษเพราะเกรงพระราชหฤทัยและอิทธิพลของพระราชธิดา ขุนนางตงซวนนั้นเป็นคนใจซื่อมือสะอาด ไม่เกรงกลัวอิทธิพลของผู้ใด จึงสั่งให้ตำรวจไปจับกุมข้าราชบริพารผู้นั้นขณะที่โดยเสด็จพระราชธิดา และสั่งลงโทษประหารชีวิตทันที พระราชธิดาทรงพระพิโรธ เสด็จไปกราบบังคมทูลพระกรุณาขอให้มีรับสั่งประหารขุนนางตงซวน ขุนนางตงซวนได้เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทและกราบบังคมทูลรายงานเกี่ยวกับคดี ซึ่งเมื่อสมเด็จพระจักรพรรดิได้ทรงสดับแล้วเห็นว่าการกระทำของขุนนางตงซวนมิได้เป็นผิดเป็นโทษแต่อย่างใด ก็มิได้ทรงเอาโทษ เป็นที่มาของสำนวนว่า "ฆ่าก่อน รายงานทีหลัง" อีกทางหนึ่งเกี่ยวข้องกับเปาบุ้นจิ้นในสมัยราชวงศ์ซ่ง ซึ่งมีที่มาจากวรรณกรรมจีนเกี่ยวกับเปาบุ้นจิ้นเรื่อง "เจ็ดผู้กล้าห้าผู้ทรงธรรม" โดยกล่าวว่าเปาบุ้นจิ้นได้รับพระราชทานชุดเครื่องประหารจากสมเด็จพระจักรพรรดิ ประกอบด้ว.
ดู จักรพรรดิจีนและฆ่าก่อน รายงานทีหลัง
งอก๊กไถ้
ง่อก๊กไถ้ (Lady Wu) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก ง่อก๊กไถ้ไม่ใช่ชื่อบุคคล แต่เป็นชื่อเรียกขาน มีความหมายว่า ผู้เป็นใหญ่แห่งง่อก๊ก เดิมมีชื่ออย่างไรไม่ปรากฏ เป็นพระมเหสีองค์ที่สองของซุนเกี๋ยน ทรงเป็นน้องสาวของงอฮูหยิน ภรรยาหลวงของซุนเกี๋ยน ผู้เป็นแม่แท้ ๆ ของซุนเซ็กและซุนกวน เมื่อพี่สาวเสียชีวิตไปก่อนหน้านี้ นางได้ฝากซุนกวน บุตรชายคนที่สองที่เพิ่งขึ้นครองแคว้นให้งอก๊กไถ้ดูแลด้วย ซึ่งงอก๊กไถ้ก็ทำหน้าที่นี้ได้อย่างดี จนซุนกวนนับถือนางเหมือนแม่แท้ ๆ ของตัว.
งานเลี้ยงที่หงเหมิน
งานเลี้ยงที่หงเหมิน (Feast at Hong Gate, Banquet at Hong Gate, Hongmen Banquet, Hongmen Feast; จีนตัวเต็ม: 鴻門宴, จีนตัวย่อ: 鸿门宴; พินอิน: Hóngményàn; คำแปล: "งานเลี้ยงที่ประตูแดง") เป็นเหตุการณ์หนึ่งที่เกิดใน 206 ปีก่อนคริสตกาล เป็นส่วนหนึ่งของสงครามฉู่-ฮั่น (206-202 ปีก่อนคริสตกาล) อันเป็นสงครามภายหลังสิ้นสุดราชวงศ์ฉิน เป็นการแย่งชิงความเป็นใหญ่ระหว่าง เซี่ยงอวี่ หรือฌ้อปาอ๋อง แห่งรัฐฉู่ กับ หลิวปัง แห่งรัฐฮั่น โดยสถานที่ ๆ เกิดเหตุในปัจจุบัน คือ หมู่บ้านหงเหมินเปา ในอำเภอหลินตง เมืองซีอาน มณฑลส่านซี.
ดู จักรพรรดิจีนและงานเลี้ยงที่หงเหมิน
ตราประทับพระราชลัญจกรของจักรพรรดิจีน
ตราประทับพระราชลัญจกรของจักรพรรดิจีน เป็นเครื่องที่แสดงถึงความมีอำนาจสูงที่สุดของแผ่นดินแผ่นดินจีนในประวัติศาสตร์ ตราประทับพระราชลัญจกรในจักรพรรดิเฉียนหลง.
ดู จักรพรรดิจีนและตราประทับพระราชลัญจกรของจักรพรรดิจีน
ตัวเลขในวัฒนธรรมจีน
ตัวเลขในวัฒนธรรมจีน ในวัฒนธรรมจีน มีความเชื่อว่าตัวเลขบางตัวเป็นตัวเลขแห่งความโชคดีหรือเป็นเลขมงคล (auspicious; 吉利) และมีบางตัวเลขเป็นเลขแห่งความโชคร้ายหรือเป็นเลขอวมงคล (inauspicious; 不利) ตามคำในภาษาจีนที่ตัวเลขนั้นมีการออกเสียงคล้ายคลึง โดยเชื่อว่าเลข 0, 6, 8 และ 9 ล้วนเป็นเลขมงคลเนื่องจากเป็นคำพ้องเสียงกับคำที่มีความหมายในเชิงบวก.
ดู จักรพรรดิจีนและตัวเลขในวัฒนธรรมจีน
ตันกุ๋น
ตันกุ๋น (Chen Qun) เป็นเสนาบดีแห่งวุยก๊ก เดิมรับราชการอยู่กับเล่าปี่และลิโป้ที่เมืองชีจิ๋ว แต่ภายหลังที่โจโฉบุกโจมตีชีจิ๋ว ได้เข้าสวามิภักดิ์กับโจโฉ ตันกุ๋นเคยเป็นผู้แนะนำให้โจโฉคิดตั้งตนเป็นฮ่องเต้เสียเอง แต่โจโฉบอกว่าถึงแม้สวรรค์จะลิขิตให้เขามีตำแหน่งสูงกว่า แต่ตัวเขาจะอยู่เป็นแค่วุยอ๋องก็พอใจแล้ว หลังจากโจโฉเสียชีวิต โจผีบุตรชายของโจโฉขึ้นดำรงตำแหน่งวุยอ๋องแทน ตันกุ๋นได้เป็นคนต้นคิดที่บังคับให้พระเจ้าเหี้ยนเต้สละราชสมบัติให้กับโจผี และเป็นผู้ร่างสาส์นประกาศสละราชสมบัติ ตันกุ๋นจึงมีส่วนในการสถาปนาอาณาจักรวุย หลังจากการเสียชีวิตของพระเจ้าโจผี พระเจ้าโจยอยขึ้นครองบัลลังก์ ตัวเขา สุมาอี้ กับโจจิ๋น ได้ช่วยรวมกันบริหารประเทศและให้คำแนะนำแก่พระเจ้าโจยอย ตามคำสั่งเสียของพระเจ้าโจผีก่อนสวรรคต เขาได้ร่วมในการปราบกบฏกองซุนเอี๋ยน เขาถึงแก่กรรมในปี ค.ศ.
ตี้ อี่
ตี้ อี่ ตามสำเนียงกลาง หรือ ตีอิด ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ชาง เสวยราชย์ตั้งแต่ปีที่ 1101 ถึง 1076 ก่อนคริสตกาล ราชธานี คือ เมืองอิน (殷).
ตี๋เหรินเจี๋ย ดาบทะลุคนไฟ
ตี๋เหรินเจี๋ย ดาบทะลุคนไฟ (Detective Dee, Detective Dee and the Mystery of the Phantom Flame, จีนตัวเต็ม: 狄仁傑之通天帝國(臺:通天神探狄仁傑, จีนตัวย่อ: 狄仁杰之通天帝国) ภาพยนตร์กำลังภายในแนวสืบสวนสอบสวนสัญชาติฮ่องกง นำแสดงโดย หลิว เต๋อหัว, หลิว เจียหลิง, หลี่ ปิงปิง, เหลียง เจียฮุย, เติ้งเชา กำกับโดย ฉีเคอ.
ดู จักรพรรดิจีนและตี๋เหรินเจี๋ย ดาบทะลุคนไฟ
ฉือ จิ้งถัง
ฉือ จิ้งถัง (30 มีนาคม 892Old History of the Five Dynasties, vol. 75.. – 28 กรกฎาคม 942Zizhi Tongjian, vol. 283.) เป็นที่รู้จักตามชื่อวัดประจำรัชกาลว่า อภิบรรพราช (高祖) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนช่วงห้าราชวงศ์สิบอาณาจักรจากราชวงศ์จิ้นยุคหลัง อยู่ในสมบัติตั้งแต่ปี 936 จนสิ้นชีวิต ฉือ จิ้งถัง เดิมเป็นแม่ทัพในราชวงศ์ถังยุคหลัง แต่ก่อกบฏในปี 936 โดยอาศัยความช่วยเหลือจากราชวงศ์เหลียว เมื่อการสำเร็จ เขาจึงยกหัวเมืองสิบหกมณฑลให้แก่ราชวงศ์เหลียวเป็นการตอบแทน แล้วตั้งราชวงศ์จิ้นยุคหลังขึ้นโดยมีตนเองเป็นปฐมกษัตริย์ การยกหัวเมืองดังกล่าวให้แก่ราชวงศ์เหลียวซึ่งเป็นของชาวชี่ตันนั้นเป็นผลต่อภูมิทัศน์บ้านเมืองจีนอย่างมากในอีกสองร้อยปีให้หลัง ฉือ จิ้งถัง ตายในปี 942 เพราะเหตุธรรมชาติTian, p.43 ฉือ จ้งกุ้ย (石重貴) บุตรบุญธรรม จึงขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดม.
ฉือ จ้งกุ้ย
ฉือ จ้งกุ้ย (914–947) ในเอกสารทางประวัติศาสตร์เรียก พระเจ้าสิ้นบัลลังก์แห่งจิ้นยุคหลัง (後晉出帝) หรือ ยุวกษัตริย์แห่งจิ้นยุคหลัง (後晉少帝) และเมื่อตายแล้วได้บรรดาศักดิ์ว่า องค์ชายจิ้น (晉王) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนช่วงห้าราชวงศ์สิบอาณาจักรจากราชวงศ์จิ้นยุคหลัง เป็นกษัตริย์องค์ที่สองและองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ดังกล่าว ราชวงศ์จิ้นยุคหลังนั้นถูกวิจารณ์ว่า เป็นเจว็ดของราชวงศ์เหลียว เพราะปรากฏว่า ราชวงศ์เหลียวมีส่วนช่วยก่อตั้งราชวงศ์จิ้นยุคหลัง ราชวงศ์จิ้นยุคหลังจึงยกหัวเมืองสิบหกมณฑลให้เป็นการตอบแทน ครั้นฉือ จิ้งถัง (石敬瑭) ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์จิ้นยุคหลัง ตายในปี 942 ฉือ จ้งกุ้ย บุตรบุญธรรมของเขา จึงสืบสมบัติต่อ และต่อต้านราชวงศ์เหลียว พระเจ้าไท่จงแห่งเหลียว (遼太宗) จึงยกมาตีในปี 946 เป็นเหตุให้ราชวงศ์จิ้นยุคหลังสิ้นสุดลงในปีถัดมา หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร.
ซิ ยิ่นกุ้ย
ซิ ยิ่นกุ้ย (อังกฤษ: Xue Rengui) เป็นบุคคลที่ตัวตนจริง ๆ ในพงศาวดารของจีน เป็นเรื่องราวของแม่ทัพที่มีพละกำลังมาก และไม่เคยแพ้ใคร และเป็นแม่ทัพที่งัก ฮุย วีรบุรุษอีกคนในวัฒนธรรมจีนรุ่นต่อมานับถืออีกด้วย แต่เรื่องราวของซิ ยิ่นกุ้ยมักถูกเล่าจนเป็นตำนานจนคล้ายเป็นเรื่องแต่งมากกว่าเรื่องจริง เรื่องราวของซิ ยิ่นกุ้ยไม่ทราบว่าใครเป็นผู้แต่ง แต่ได้มีการแต่งเนื้อเรื่องต่อมาในรุ่นลูกและรุ่นหลาน คือ ซิ ติงซาน (薛丁山, Xue Dingshan) และซิ กัง (薛剛, Xue Gang) ซิ ยิ่นกุ้ย เกิดที่มณฑลซานซี ในปี ค.ศ.
ซือหม่า หลุน
ซือหม่า หลุน (Sima Lun) (ก่อน ค.ศ. 249 - 5 มิถุนายน ค.ศ. 301) จักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์จิ้นตะวันตก ทรงเป็นบุตรชายของสุมาอี้ กุนซือคนสำคัญของฝ่ายวุยก๊กในสมัยสามก๊ก สันนิษฐานว่าทรงประสูติก่อน..
ดู จักรพรรดิจีนและซือหม่า หลุน
ซุนกวน
ระเจ้าซุนกวน (181 — 252) หรือ พระเจ้าหวูต้าตี้ เป็นตัวละครในวรรณกรรม จีน อิง ประวัติศาสตร์ เรื่อง สามก๊ก ที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ผู้ก่อตั้งและพระมหากษัตริย์ของง่อก๊ก (吳) หนึ่งในสามอาณาจักรของยุคสามก๊ก ซุนกวนเป็นบุตรคนที่สองของซุนเกี๋ยน และเป็นน้องชายของซุนเซ็ก เมื่อซุนเซ็กพี่ชายตายไปจึงได้ขึ้นครองเมืองกังตั๋งแทนด้วยวัยแค่ 18 ปี แม้ซุนกวนจะไม่ปรากฏความสามารถในการรบเหมือนผู้พี่แต่มีความสามารถในการปกครองสูงมาก มารดาของซุนกวนได้ตายไปก่อนหน้านี้ ผู้ที่เลี้ยงซุนกวนขึ้นมา คือ ง่อก๊กไท่ ผู้มีศักดิ์เป็นน้าของซุนกวน ซึ่งซุนกวนนับถือง่อก๊กไท่ผู้นี้เสมือนแม่แท้ ๆ ของตัว ซุนกวนมีรูปร่างสูงใหญ่ ผิวขาว มีตาสีเขียว หนวดเคราแดง เมื่อขึ้นครองเมืองแต่ยังเล็ก จึงได้รับฉายาว่า "ทารกตาเขียว" ซึ่งในบรรดาผู้นำก๊กทั้ง 3 นั้น ซุนกวนเป็นผู้มีอายุน้อยที่สุด แม้ตอนที่โจโฉยกทัพไปรบกับง่อก๊กของซุนกวนในศึกหับป๋า ซุนกวนก็บัญชาการรบอย่างแข็งขัน จนโจโฉที่แม้แต่เป็นศัตรูยังเอ่ยปากชมว่า "ถ้าจะได้บุตร ต้องได้บุตรอย่างซุนกวน" ซุนกวนมีน้องสาวอยู่นางหนึ่ง เป็นบุตรสาวของง่อก๊กไท่ ชื่อว่าซุนซางเซียงแต่เรียกกันว่า ซุนฮูหยิน ซึ่งต่อมาในภายหลังได้แต่งงานกับเล่าปี่ เป็นภรรยาคนที่ 3 ของเล่าปี่ ซุนกวนออกอุบายให้นางกลับคืนมาง่อก๊ก โดยเชิญนางให้เร่งรีบกลับมาพร้อมอาเต๊าโดยที่เล่าปี่ไม่รู้ แต่ขงเบ้งอ่านอุบายออก จึงให้จูล่งเร่งรีบเดินทางติดตามไป เมื่อถึงเรือของนางก็กระโดดขึ้นเรือขอให้นางกลับไป แต่นางไม่ยอม จูล่งจึงให้นางไปได้แต่อาเต๊า บุตรของเล่าปี่ต้องอยู่ ท้ายที่สุดอาเต๊าก็ได้กลับไปจ๊กก๊ก และเมื่อซุนฮูหยินทราบเมื่อกลับไปถึงว่านี่เป็นอุบายของพี่ชาย ก็เศร้าโศกเสียใจ ท้ายที่สุดนางก็ตรอมใจตาย ซุนกวน เองก็ปรารถนาก็จะเป็นใหญ่ในแผ่นดินเช่นเดียวกับโจโฉและเล่าปี่ เมื่อตอนที่เล่าปี่มาที่ง่อก๊กเพื่อที่จะสมรสกับซุนฮูหยิน แต่ซุนกวนได้ให้คนคอยซุ่มทำร้ายเล่าปี่อยู่เป็นระยะ ๆ เล่าปี่ก็รู้ทันและได้จูล่งแก้สถานการณ์ให้ เมื่อออกมาจากงานได้รำพันถอดถอนหายใจถึงชะตากรรมตัวเอง และได้เจอหินก้อนใหญ่ก้อนหนึ่ง เล่าปี่อธิษฐานว่าหากตนจะได้เป็นใหญ่ ขอให้ใช้กระบี่ฟันหินนี้ให้แตกเป็น 2 ท่อน ก็ปรากฏว่าฟันหินได้ขาดจริง ๆ ซุนกวนเห็นดังนั้นจึงอธิษฐานบ้าง ก็ปรากฏว่าสามารถฟันหินได้แตกเช่นกัน และทั้งคู่จึงได้ขี่ม้าออกชมทัศนียภาพของง่อก๊กด้วยกัน แต่นโยบายในการทำสงครามของซุนกวนจะไม่ประกาศเป็นศัตรูกับก๊กใหญ่อีก 2 ก๊ก นั้นอย่างเต็มที่ แต่จะผูกไมตรีกับทุกก๊กที่จะเป็นประโยชน์กับตัวเอง ดังจะเห็นว่า ซุนกวนเองแม้จะผูกไมตรีกับจ๊กก๊ก แต่ก็หาทางจะกำจัดเล่าปี่อยู่เสมอ ๆ ถ้ามีโอกาส และซุนกวนเองก็เป็นสาเหตุการตายของกวนอู โดยซุนกวนออกอุบายทำให้จับกวนอูได้ จากนั้นจึงตัดหัวกวนอูส่งไปให้โจโฉ ซึ่งทำให้ทั้งเล่าปี่และเตียวหุยแค้นซุนกวนมาก และทั้งเตียวหุยและเล่าปี่ก็ต้องมาตายด้วยการมาแก้แค้นให้กวนอูทั้งสิ้น และต่อมาใน ปี..252 พระเจ้าซุนกวนสวรรคต รวมเวลาเสวยราชย์อยู่ได้ 24 ปี ภายหลังพระเจ้าซุนกวนสวรรคตไปแล้ว พระโอรสก็ได้ขึ้นเป็นผู้นำก๊กต่อ แต่สภาพภายในง่อก๊กไม่แข็งแกร่งเหมือนเก่า ขุนนางแตกแยกกันเอง จนนำมาสู่การล่มสลายของก๊กในที.
ซุนฮิว (ง่อก๊ก)
พระเจ้าซุนฮิว เป็นตัวละครหนึ่งในเรื่อง สามก๊ก ปรากฏในตอนท้ายของเรื่อง พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์ที่หกในพระเจ้าซุนกวน ร่วมมือกับซุนหลิมชิงราชสมบัติจากพระเจ้าซุนเหลียงได้สำเร็จ หลังจากครองง่อก๊กได้ไม่นานก็ระแวงซุนหลิมว่าจะชิงบัลลังก์จึงจับซุนหลิมประหารชีวิตเสีย ต่อมาวุยก๊กจะมาบุกก็ตื่นตระหนกจนสิ้นพระชนม์ลงหลังจากครองราชย์ได้ 7 ปี และแต่งตั้งให้พระเจ้าซุนโฮปกครองง่อก๊กแทน และง่อก๊กก็ต้องล่มสลายลงในสมัยนี้เอง หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก หมวดหมู่:ราชวงศ์จิ้น หมวดหมู่:จักรพรรดิในยุคสามก๊ก.
ดู จักรพรรดิจีนและซุนฮิว (ง่อก๊ก)
ซุนโฮ
ซุนโฮ (Sun Hao) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งง่อก๊ก ได้ชื่อว่าเป็นฮ่องเต้ที่เป็นทรราชย์มากที่สุดผู้หนึ่งจนอาณาจักรล่มสลาย เป็นราชโอรสในพระเจ้าซุนเหลียง ราชโอรสในพระเจ้าซุนกวน ขึ้นครองราชย์หลังจากที่ พระเจ้าสุมาเอี๋ยนหลังจากที่กลืนจ๊กก๊กไปแล้ว ก็หมายจะถล่มง่อก๊ก พระเจ้าซุนฮิวตกพระทัยจนประชวรและสิ้นพระชนม์ลง บรรดาขุนนางง่อก๊กครั้นเมื่อถวายพระศพพระเจ้าซุนฮิวเสร็จแล้ว ก็มีความเห็นตรงกันว่า ควรเชิญซุนเปียน ราชบุตรขึ้นครองราชย์สืบไปตามประเพณี แต่บั้นเฮ็กและเตียวเป๋าขุนนางผู้ใหญ่ คัดค้านเพราะมีความเห็นว่า ถ้าเป็นซุนเปียนเกรงว่าบ้านเมืองจะไปไม่รอด จึงเห็นว่าควรทูลเชิญซุนโฮ ผู้เป็นราชนัดดาในพระเจ้าซุนกวนขึ้นครองราชย์จะสมกว่า เพราะมีสติปัญญาเฉียบแหลมกว่า จึงมีพิธีราชาภิเษกขึ้นในวันขึ้นหนึ่งค่ำ เดือนเก้า เมื่อได้ครองราชย์แล้ว พระเจ้าซุนโฮก็สถาปนาซุนเปียนเป็นเจ้าเจี๋ยงอ๋อง ให้ขุนพลเตงฮองเป็นต้ายสุมา จากนั้นก็ทรงมีพฤติกรรมวิปริต มิได้ตั้งอยู่ในธรรม ทรงฟังแต่คำของยิมหุน ขันทีในวัง เอียงเหียงและเตียวเป๋าได้เข้าไปทูลห้ามเตือนหลายต่อหลายครั้ง พร้อมกล่าวว่า ถ้าพระองค์ขืนประพฤติองค์เช่นนี้ ไม่ช้าแผ่นดินนี้จะต้องตกเป็นของสุมาเอี๋ยนอย่างแน่นอน พระเจ้าซุนโฮกริ้ว จึงสั่งให้ประหารขุนนางทั้งสอง จากนั้นมาก็ไม่มีใครกล้าเพ็ดทูลห้ามปรามอีกเลย วันหนึ่ง พระเจ้าซุนโฮแปรพระราชฐานจากกังตั๋ง ไปประทับอยู่ยังเมืองบู๊เฉียง ก็ทรงใช้จ่ายพระราชทรัพย์ในการสร้างพระราชวังแห่งใหม่อย่างฟุ่มเฟื่อย จากการขูดรีดภาษีราษฎร พร้อมเสพสมกามากับเด็กสาววัยรุ่นมากมาย ต่อมาได้ทรงให้โหรหลวงทำนายดวงชะตา โหรทำนายว่า ต่อไปภายภาคหน้า พระเกียรติยศจะขจรขจายไปถึงลกเอี๋ยง พระเจ้าสุมาเอี๋ยนต้องมาสยบกับแทบพระบาท พระเจ้าซุนโฮดีพระทัยนัก จึงฮึกเหิมหมายจะบุกตีนครลกเอี๋ยง จึงเรียกบรรดาขุนนางมาประชุมถึงการบุกไปตีลกเอี๋ยง หอกหยก ขุนนางคนหนึ่งจึงทูลคัดค้านไปพร้อมกับสั่งสอนพระองค์ให้ตั้งมั่นอยู่ในธรรม ทำนุบำรุงราษฎร บ้านเมืองจะดีกว่า พระเจ้าซุนโฮทรงกริ้วไล่หอกหยกออกจากราชการ พร้อมกับดึงดันแต่งตั้งให้ลกข้องเป็นแม่ทัพใหญ่ ยกทัพไปประชิดเมืองซงหยง ปากทางเข้าอาณาจักรไต้จิ้น พระเจ้าสุมาเอี๋ยน จึงมีบัญชาให้เอียวเก๋า เจ้าเมืองซงหยงตั้งพร้อมเตรียมรับศึก เอียวเก๋าเป็นผู้มีเมตตาธรรม ไม่ชอบออกทัพจับศึก จึงคิดผูกไมตรีกับลกข้อง ท้ายที่สุดลกข้องก็ปลาบปลื้มในน้ำใจเอียวเก๋า มีหนังสือไปยังพระเจ้าซุนโฮว่า ทางฝ่ายนี้มิได้คิดร้ายขออย่าได้สู้รบกันเลย พระเจ้าซุนโอก็กริ้ว สั่งปลดลกข้องออกจากตำแหน่ง และยกให้ซุนอี้เป็นแม่ทัพแทน ในเวลานั้น ขุนนางคนใดไม่เห็นด้วยกับพระองค์ ก็จะถูกปลดหรือถูกประหารชีวิตไปหมดสิ้น ทางฝ่ายเอียวเก๋า เมื่อทราบว่าลกข้องถูกปลดออกจากแม่ทัพใหญ่แล้ว มีหนังสือทูลไปยังพระเจ้าสุมาเอี๋ยน เป็นเวลาที่เหมาะสมแล้วที่จะบุกตีง่อก๊ก แต่กาอุ้นขุนนางชั้นผู้ใหญ่ไม่เห็นด้วย เอียวเก๋าจึงเดินทางกลับลกเอี๋ยง และลาออกจากราชการ ไปพักอาศัยอยู่ยังบ้านเดิม จนกระทั่งสิ้นชีวิต ก่อนสิ้นชีวิตเอียวเก๋าได้กราบทูลว่า บัดนี้เห็นควรแต่งตั้ง เตาอี้ เป็นแม่ทัพใหญ่ทำการนี้แทน ท้ายที่สุดเตาอี้ก็สามารถเอาชนะง่อก๊กได้สำเร็จ ในปี พ.ศ.
ซุนเกี๋ยน
ระเจ้าซุนเกี๋ยน (Sun Jian) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก แม่ทัพและขุนศึกในช่วงปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออก และยุคสามก๊กช่วงต้น ซุนเกี๋ยนไต่เต้าจากตำแหน่งขุนนางต่ำต้อยจนเป็นเจ้าเมืองเตียงสา เข้าร่วมกับกองทัพ 18 หัวเมืองตะวันออกต้านตั๋งโต๊ะในฐานะลูกน้องของอ้วนสุด สามารถเอาชนะกองทัพของตั๋งโต๊ะจนได้รับฉายาว่า "พยัคฆ์กังตั๋ง" หรือ "พยัคฆ์แดนใต้" และกำลังจะยึดเมืองลกเอี๋ยง แต่อ้วนสุดเกิดอิจฉาริษยาที่ซุนเกี๋ยนได้ชัยชนะและถ้าหากยึดเมืองลกเอี๋ยงได้ ซุนเกี๋ยนก็จะได้รับความดีความชอบไป จึงตัดสินใจแกล้งไม่ส่งเสบียงให้แก่ทัพของซุนเกี๋ยน จนในที่สุดซุนเกี๋ยนรบพ่ายแพ้และไปเอาเรื่องกับอ้วนสุด แต่อ้วนสุดกลับเอาตัวรอดได้ด้วยการโยนความผิดและประหารชีวิตเจ้าหน้าที่ส่งเสบียงไป ต่อมาหลังจากตั๋งโต๊ะเผาเมืองหนีไปยังเตียงฮัน ซุนเกี๋ยนลาดตระเวณทั่วเมืองจนกระทั่งได้พบกับตราหยกแผ่นดินโดยบังเอิญในศพหญิงรับใช้ในวังที่กระโดดบ่อน้ำตาย ลูกน้องและคนของซุนเกี๋ยนจึงสรรเสริญว่า ซุนเกี๋ยนเป็นผู้มีบุญต่อไปจะได้เป็นฮ่องเต้ ทำให้ซุนเกี๋ยนตัดสินใจออกจากกองทัพ 18 หัวเมืองเพื่อไปตั้งตนเป็นใหญ่แต่อ้วนเสี้ยวรู้เข้าจึงบีบให้ส่งตราหยกมา แต่ซุนเกี๋ยนกลับไม่ยอมให้และตีจากไป อ้วนเสี้ยวได้ส่งเล่าเปียวไปชิงตราหยกกลับคืนมาแต่ไม่สำเร็จ หลังจากนั้นซุนเกี๋ยนและเล่าเปียวก็เป็นศัตรูกัน เวลาต่อมาซุนเกี๋ยนได้คิดที่จะสถาปนาเมืองกังตั๋งให้ขึ้นมาเข้มแข็งบ้าง ซึ่งต่อมาถือได้ว่าเป็นพื้นฐานสำคัญให้กับการตั้งตัวของง่อก๊ก โดยซุนเซ็กและซุนกวน บุตรชายทั้ง 2 หลังจากนั้นอ้วนสุดมีคำสั่งให้ซุนเกี๋ยนโจมตีเมืองเกงจิ๋วของเล่าเปียว แต่ซุนเกี๋ยนเสียชีวิตในการรบในระหว่างไล่โจมตีหองจอ ลูกน้องของเล่าเปียว ภายหลังซุนกวนสถาปนาตนเองเป็นจักรพรรดิ แล้วทรงสถาปนาตำแหน่งซุนเกี๋ยนผู้เป็นพระบิดาของพระองค์เป็นจักรพรรดิด้ว.
ซุนเหลียง
พระเจ้าซุนเหลียง เป็นพระราชโอรสองค์เล็กในพระเจ้าซุนกวนและครองราชย์ต่อจากซุนกวน ตอนแรกอำนาจตกอยู่กับจูกัดเก๊กจึงให้ซุนจุ้นจัดการสังหารจูกัดเก๊กเสีย เมื่อซุนจุ้นเสียชีวิตอำนาจก็ตกอยู่กับซุนหลิมจึงตั้งใจจะสังหารซุนหลิมเสียแต่ซุนหลิมจับได้เสียก่อนจึงบังคับให้สละราชสมบัติและให้ซุนฮิวโอรสองค์ที่หกของพระเจ้าซุนกวนขึ้นครองราชย์แทนและให้พระเจ้าซุนเหลียงเป็นอ๋อง ต่อมาถูกลดตำแหน่งเป็นพระยาและเนรเทศไปที่ชายแดนจึงตรอมใจและฆ่าตัวตาย หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก หมวดหมู่:จักรพรรดิในยุคสามก๊ก.
ซุนเซ็ก
ระเจ้าซุนเซ็ก (จีนตัวเต็ม: 孫策 จีนตัวย่อ: 孙策 พินอิน: Sūn Cè สำเนียงจีนกลาง ซุนฉี) หรือ เตียงสาหวนอ๋อง (長沙桓王) ค.ศ. 174–ค.ศ.
ซูสีไทเฮา
ฉือสี่ไท่โฮ่ว ตามภาษาจีนมาตรฐาน หรือ ซูสีไทเฮา ตามภาษาจีนฮกเกี้ยน (29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1835 – 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1908) เป็นสตรีชาวแมนจูจากตระกูลเย่เฮ่อน่าลา (葉赫那拉氏) ดำรงตำแหน่งไท่โฮ่ว (พระราชชนนีพันปีหลวง) และสำเร็จราชการแทนจักรพรรดิจีนหลายพระองค์ในช่วงปลายราชวงศ์ชิง พระนางจึงควบคุมการปกครองจักรวรรดิจีนโดยพฤตินัยเป็นเวลา 47 ปีตั้งแต..
ซูสีไทเฮา ก่อนแผ่นดินสิ้นสลาย
ซูสีไทเฮา ก่อนแผ่นดินสิ้นสลาย (The Firmament of the Pleiades หรือ The Pleiades; 蒼穹の昴 Sōkyū no Subaru) เป็นละครโทรทัศน์ สร้างจากการความร่วมมือของสถานีโทรทัศน์เอ็นเอชเคของญี่ปุ่น กับสถานีโทรทัศน์เอชบีเอ็นของจีน นำแสดงโดย ทะนะกะ ยูโกะ, โย่ว เซ่าจวิน, โจว อี้ฉี, จาง ป๋อ, อิง เถา ทีวีไทยนำมาฉายในประเทศไทยทุกวันพฤหัสบดีและวันศุกร์ เวลา 20.20-21.00 น.
ดู จักรพรรดิจีนและซูสีไทเฮา ก่อนแผ่นดินสิ้นสลาย
ซูสีไทเฮา ภาค 1
ซูสีไทเฮา ภาค 1 (อังกฤษ: The Empress Dowager) เป็นภาพยนตร์ที่กล่าวถึงพระราชประวัติของพระนางซูสีไทเฮา ออกจำหน่ายในปี ค.ศ. 1975 กำกับโดย หลี่ ฮั่นเซียง นำแสดงโดย ตี้ หลุง, หลิง ปอ, ลิซ่า ลู่ ภาพยนตร์เรื่องนี้มีภาคต่อคือ ซูสีไทเฮา ภาค 2.
ดู จักรพรรดิจีนและซูสีไทเฮา ภาค 1
ปลาหมูฮ่องเต้
ปลาหมูฮ่องเต้ หรือ ปลาหมูกำพล (Emperor loach) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมู (Botiidae) ปลาหมูฮ่องเต้มีสีพื้นผิวของลำตัวจะเป็นสีเหลืองคล้ายกับชุดของฮ่องเต้หรือจักรพรรดิจีนในสมัยโบราณ อันเป็นที่มาของชื่อ สลับลายคู่สีดำขนาดใหญ่ตลอดทั้งลำตัว มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 3 นิ้ว จัดเป็นปลาที่มีสีสันและลวดลายสวยงามมาก จึงเป็นที่นิยมในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม พบกระจายพันธุ์เฉพาะลุ่มแม่น้ำตะนาวศรีบริเวณชายแดนของไทยกับพม่า ในเขตตะนาวศรีของพม่าเท่านั้น เป็นปลาที่เพิ่งถูกค้นพบในปี พ.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและปลาหมูฮ่องเต้
ปีจักรพรรดิ
ปีจักรพรรดิ สามารถหมายถึง.
ปี่เซียะ
ปี่เซียะ ปี่เซียะ (สำเนียงแต้จิ๋ว) หรือ ผีซิว (สำเนียงกลาง) หรือ เผยเหย้า (สำเนียงกวางตุ้ง) (Pixiu, Pi Yao; 貔貅; พินอิน: pí xiū) เป็นสัตว์ประหลาดตามความเชื่อของจีนมาแต่โบราณ เชื่อว่า ปี่เซียะ มีรูปร่างและเขาคล้ายกวาง แต่มีหน้า, หัว, ขาคล้ายสิงโต, มีปีกคล้ายนก, หลังคล้ายปลา และมีส่วนหางคล้ายแมวปนไปด้วยท้องและบางส่วนของหัวคล้ายมังกร เป็นสัตว์สี่ขา และเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ช่วยป้องกันและปัดเป่าภยันตรายและภูตผีปีศาจ สิ่งไม่ดีต่าง ๆ ได้ เชื่อว่าถูกแบ่งเป็นตัวผู้ชื่อ ปี่ (貔) และ ตัวเมียชื่อ เซียะ (貅) นอกจากนี้แล้วยังมีชื่อเรียกอื่นอีก เช่น เทียนลู่ (天祿) หรือ เทียนลก (樂祿) ตามแต่ละพื้นที่อีกด้วย ซึ่งความหมายของชื่อเหล่านี้ แปลได้ว่า กวางสวรรค์ หรือ ขจัดปัดเป่า เชื่อกันว่า ปี่เซียะ เป็นลูกตัวที่ 9 ของมังกร เป็นสัตว์ที่กินเก่งและไม่มีรูทวาร จึงไม่มีการขับถ่าย ในปลายยุคราชวงศ์โจว ตรงกับยุคชุนชิว มีการนำปี่เซียะมาใช้เป็นสัญลักษณ์โดยประดับเป็นรูปบนธงสำหรับการออกรบ โดยรวมในอดีตสันนิษฐานว่า ปีเซียะให้ความหมายในทางความกล้าหาญ การปกป้องคุ้มภัย และการต่อสู้เพื่อจะให้ได้มาซึ่งชัยชนะ นอกจากนี้แล้ว ปี่เซียะยังเป็นสัญลักษณ์ของการพิทักษ์และคุ้มครองทรัพย์สมบัติอีกด้วย อันเนื่องจากการที่เป็นสัตว์ที่กินอย่างเดียวไม่มีการขับถ่าย จึงมีการปั้นเป็นรูปปั้นเฝ้าหน้าท้องพระโรง ภายในพระราชวัง เช่น ฮ่องเต้ปูยี จักรพรรดิองค์สุดท้ายของราชวงศ์ชิงและประเทศจีน ปัจจุบัน มีการบูชาปี่เซียะ โดยมักทำเป็นรูปเคารพของสัตว์ที่มีลักษณะดังกล่าวในลักษณะหมอบ และมักทำเป็นคู่กัน โดยจะตั้งวางให้สอดคล้องกับหลักฮวงจุ้ยด้วย อีกทั้งยังเป็นที่บูชาของนักพนัน ผู้ที่นิยมเสี่ยงโชคในลักษณะวัตถุมงคล จากการที่เป็นสัตว์ที่กินอย่างเดียวไม่มีถ่าย จึงเป็นสัญลักษณ์ของการเก็บทรัพย์ ซึ่งกาสิโนบางแห่งในประเทศจีน, มาเก๊า และฮ่องกง จะมีรูปปั้นปี่เซียะนี้อยู่ด้านหน้าด้ว.
น้ำอมฤต
น้ำอมฤต /อะมะริด, หรือ อะมะรึด/ หรือ น้ำทิพย์ (elixir of life, elixir of immorality หรือ Dancing Water, อาหรับ: الإكسير, อัลอีกซีร์; เปอร์เซีย: آب حیات, อาบเอฮะยาต) เป็นยาน้ำหรือเครื่องดื่มซึ่งเชื่อกันว่าจะยังให้ผู้ดื่มเป็นอมตะหรือคงความเยาว์วัยแห่งรูปร่างไว้ชั่วกัลป์ บ้างก็ว่าสามารถชุบชีวิตหรือสร้างชีวิตใหม่ได้ เรียกว่าเป็นยาแก้สรรพโรคประเภทหนึ่ง และเคยเป็นที่ต้องการและควานไขว่หาอย่างบ้าคลั่งของลัทธิรสายนเวทอยู่พักใหญ่ น้ำอมฤตปรากฏในวรรณกรรมหลายเรื่องของทุกชนชาต.
โบตั๋น (พรรณไม้)
ตั๋นมีชื่อในภาษาไทยว่า "นางพญานิรมล" เป็นไม้ดอกสกุล Paeonia ซึ่งเป็นสกุลเดียว ในวงศ์ Paeoniaceae เป็นพืชพื้นเมืองของเอเชีย, ตอนใต้ของทวีปยุโรป และตะวันตกของอเมริกาเหนือ ในอดีต โบตั๋นมักถูกจัดอยู่ในวงศ์ Ranunculaceae พืชสกุลโบตั๋นส่วนใหญ่เป็นไม้ล้มลุกหลายปี สูงประมาณ 0.5–1.5 เมตร บางชนิดเป็นพุ่ม ลำต้นมีเนื้อไม้ สูง 1.5-3 เมตร ลักษณะของใบเป็นใบประกอบ มีแฉกลึก ดอกใหญ่ และมักมีกลิ่นหอม มีหลายสี ตั้งแต่ แดง บานเย็น เหลือง จนถึงขาว มักออกดอกในช่วงต้นฤดูร้อน.
ดู จักรพรรดิจีนและโบตั๋น (พรรณไม้)
โอรสสวรรค์
โอรสสวรรค์ หรือเทียนจื่อ (天子) เป็นราชฐานันดรอันศักดิ์สิทธิ์ของจักรพรรดิจีน กำเนิดขึ้นพร้อมกับราชวงศ์โจวโบราณ และตั้งอยู่บนหลักการเมืองและจิตวิญญาณเรื่องอาณัติสวรรค์ ต่อมา พระมหากษัตริย์เอเชียตะวันออกอื่นต่างรับเอาฐานันดรศักดิ์ "โอรสสวรรค์" ไปเพื่อสร้างความชอบธรรมแก่การปกครองของตน โอรสสวรรค์เป็นจักรพรรดิสากลสูงสุด ผู้ทรงปกครองเทียนเซี่ย ("ใต้หล้า") สถานภาพของพระองค์แปลเป็นภาษาอังกฤษว่า "ผู้ปกครองทั้งจักรวาล" หรือ "ผู้ปกครองทั้งโลก" ฐานันดรศักดิ์ "โอรสสวรรค์" มีการตีความตามอักษรเฉพาะในประเทศจีนและญี่ปุ่น ซึ่งพระมหากษัตริย์ถูกเรียกเป็นกึ่งเทวดา เทวดา หรือ "เทวดาที่ยังทรงพระชนม์ชีพ" ผู้ที่เทวดาโบราณทั้งปวงทรงเลือก หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ หมวดหมู่:บรรดาศักดิ์จีน หมวดหมู่:อภิชนจีน.
โฮเฮา
มเด็จพระจักรพรรดินีเหอ (Empress He (Ling)) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ฮองเฮาในพระเจ้าฮั่นเลนเต้ มีพระเชษฐาร่วมพระบิดามารดาเดียวกันคือโฮจิ๋น ดำรงตำแหน่งขุนนางผู้ใหญ่ซึ่งเป็นที่ปรึกษา มีพระราชบุตรชื่อหองจูเปียน ภายหลังจากพระเจ้าฮั่นเลนเต้เสด็จสวรรคต โฮจิ๋นได้แต่งตั้งหองจูเปียนขึ้นเป็นพระเจ้าฮั่นเซ่าตี้ โฮเฮาซึ่งเป็นพระมารดาจึงมีฐานะตามตำแหน่งเป็นไทเฮาแห่งราชวงศ์ฮั่น ต่อมาตั๋งโต๊ะสถาปนาหองจูเหียบขึ้นเป็นพระเจ้าเหี้ยนเต้ และควบคุมตัวหองจูเปียน โฮเฮาและพระสนมไปคุมขังและลอบสังหารด้วยการนำไปมัดจนถึงแก่ความตายในปี..
โจมอ
พระเจ้าโจมอ (Cao Mao; พระราชนัดดาในพระเจ้าโจผี ทรงมีฐานันดรศักดิเป็นเกากุ้ยเซียงกงมีฉายาว่า เอี๋ยนซื้อ ครองอยู่ ณเมืองอ้วนเสีย เมื่อสุมาสูถอดพระเจ้าโจฮองออกจากราชสมบัติแล้ว ได้อัญเชิญพระเจ้าโจมอขึ้นครองราชสมบัติสืบต่อไป เมื่อปี พ.ศ.
โจว เหวินฟะ
ว เหวินฟะ ในเรื่อง ศึกโค่นบัลลังก์วังทอง (เข้าฉาย 1 กุมภาพันธ์ 2550) โจว เหวินฟะ (Chow Yun fat; เกิด 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2498 ที่เกาะลัมมา ฮ่องกง) เป็นหนึ่งในสุดยอดนักแสดงฮ่องกงที่ได้ก้าวเข้าสู่วงการภาพยนตร์นานาชาติ ในฐานะเดียวกับ บรูซ ลี และ เฉินหลง โจว เหวินฟะ เป็นนักแสดงที่มีบุคลิกโดดเด่น ได้รับการเปรียบว่าคล้ายคลึงกับแครี แกรนท์ นักแสดงฮอลลีวูดแต่ดูบึกบึนและจัดจ้านกว่า โจว เหวินฟะ เกิดบนเกาะลัมมา นอกชายฝั่งของเกาะฮ่องกง มีชีวิตวัยเด็กที่ยากไร้ แต่โชคดีที่เขาได้เรียนจนจบวิทยาลัย ชีวิตของเขาถึงจุดพลิกผันเมื่อได้รับเข้าเป็นนักแสดงฝึกหัดในบริษัททีวีบี ที่เป็นสถานีโทรทัศน์ท้องถิ่น เขาใช้เวลาไม่นานในการไต่เต้าขึ้นมาเป็นนักแสดงที่เป็นที่รู้จักของประชาชน หลังจากที่ละครโทรทัศน์เรื่องเจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้ (ภาษาจีน:上海灘 พินอิน:Shang Hai tan - แปลตรงตัวว่า'หาดเซี่ยงไฮ้') ประสบความสำเร็จใน พ.ศ.
โจฮวน
ระเจ้าโจฮวน (Cáo Huàn) เป็นฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายของวุย ก๊ก ซึ่งถูกสุมาเอี๋ยน (Sima Yan) ขับออกจากราชบังลังก์และสถาปนาราชวงศ์จิ้นขึ้นแทนที่ราชวงศ์วุยและเปลี่ยนชื่อก๊กจากวุยก๊กเป็นไต้จิ้น โจฮวน ตอนเกิดชื่อ โจฮวง (Cao Huang 曹璜) เป็นบุตรของโจฮู (Cao Yu) ซึ่งเป็นบุตรคนที่ 3 ของโจโฉกับนางฮวนฮูหยิน (บุตรคนโตของโจโฉกับนางฮวนฮูหยินคือโจฉอง ซึ่งได้ชื่อว่ามีสติปัญญาคิดวิธีชั่งน้ำหนักช้างได้ แต่เสียชีวิตตั้งแต่ยังเด็ก) ในปี..
โจฮอง
พระเจ้าโจฮอง (เฉาฟาง) เป็นพระราชโอรสเลี้ยงในพระเจ้าโจยอย มีฉายาว่าหลันชิง ไม่ทราบว่าเป็นบุตรใครมาแต่เดิม ขึ้นเสวยราชย์ต่อจากพระเจ้าโจยอยเมื่อพระชนมายุ 8 พรรษา โดยมีชื่อโจซอง บุตรโจจิ๋นเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ พระเจ้าโจฮองทรงมีนิสัยดื้อด้าน มัวเมาแต่สุรานารี เมื่อเสวยราชย์ได้ 10 ปี สุมาอี้ทำรัฐประหารฆ่าโจซองเสีย แล้วตั้งตัวเป็นสมุหนายก คุมอำนาจไว้ทั้งหมด ครั้นสุมาอี้สิ้นชีพ สุมาสูยึดอำนาจสืบต่อไปและ รุกรานพระเจ้าโจฮองหนักมือขึ้น พระเจ้าโจฮองทรงพระราชดำริจะโค่นอำนาจของสุมาสู แต่สุมาสูจับแผนการได้ จึงถอดเสียราชบัลลังก์ตั้งให้เป็นฉีอ๋อง (ในสามก๊กไทยเรียกว่าเจอ่อง) ออกไปอยู่เสียหัวเมืองบ้านนอก อยู่ในราชสมบัติ 15 ปี ระหว่าง พ.ศ.
โจผี
ระเจ้าโจผี หรือ เฉาพี พระนามรอง จื่อหวน เป็นพระโอรสองค์รองในพระเจ้าโจโฉ ได้สืบต่อตำแหน่ง วุยอ๋อง และอำนาจต่อหลังจากโจโฉสิ้นพระชนม์ไปแล้ว ภายหลังจึงได้ล้มล้างราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ปราบดาภิเษกเป็นปฐมจักรพรรดิของราชวงศ์เว่ย (วุยก๊ก) ทรงพระนามว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเว่ยเหวินตี้ (- จักรพรรดิแห่งเว่ย) ในปี พ.ศ.
โจโฉ
ฉา เชา ตามสำเนียงมาตรฐาน หรือ โจโฉ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ค.ศ. 155 – 15 มีนาคม ค.ศ. 220) ชื่อรองว่า เมิ่งเต๋อ (孟德) ชื่อเล่นว่า อาหมาน (阿瞞) และ จี๋ลี่ (吉利)(太祖一名吉利,小字阿瞞。) Pei Songzhi.
ไห่ฮุนโหว
องค์ชายชังอี้ (Prince of Changyi; ตาย: ปีที่ 59 ก่อนคริสตกาล) ชื่อตัวว่า หลิว เฮ่อ (劉賀) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ฮั่น ในปีที่ 74 ก่อนคริสตกาล โฮ่ว กวัง (霍光) เสนาบดี ยกหลิว เฮ่อ ขึ้นสืบราชบัลลังก์ ใช้ชื่อรัชกาลว่า เยฺวี๋ยนผิง (元平) ยี่สิบเจ็ดวันให้หลัง โฮ่ว กวัง ก็ถอดหลิว เฮ่อ ออกจากสมบัติ โดยให้เหตุผลว่า เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวฮั่น แต่ยอมให้ใส่ชื่อหลิว เฮ่อ ไว้ในลำดับกษัตริย์ได้ เมื่อหลิว เฮ่อ พ้นจากตำแหน่งแล้ว ก็กลับไปสู่บรรดาศักดิ์เดิม คือ องค์ชายชังอี้ แต่ไร้อำนาจราชศักดิ์ใด ๆ เมื่อนำหลิว เฮ่อ ออกจากตำแหน่งแล้ว โฮ่ว กวัง ก็ยกหลิว ปิ้งอี่ (劉病已) ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดมา หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่น.
ไท่ช่างหฺวัง
ท่ช่างหฺวัง (แปลตรงตัวว่า พระเจ้าหลวง) เป็นสมัญญาของจักรพรรดิจีนที่สละราชสมบัต.
ดู จักรพรรดิจีนและไท่ช่างหฺวัง
ไฉ หรง
ฉ หรง (柴榮; 27 ตุลาคม 921 – 27 กรกฎาคม 959) หรือชื่อใหม่ว่า กัว หรง (郭榮) indicates that he was called Guo Rong at least since 950.
ไฉ จงซฺวิ่น
ฉ จงซฺวิ่น ตามสำเนียงกลาง หรือ จิวซาซือ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (柴宗訓; 14 กันยายน 953 – 973) หรือชื่ออื่นว่า กัว จงซฺวิ่น (郭宗訓) และเมื่อตายแล้วได้นามว่า ปูชนียกษัตริย์ (恭帝) เป็นกษัตริย์องค์ที่สามและองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์โจวยุคหลังในประเทศจีนสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร ไฉ จงซฺวิ่น เป็นบุตรของไฉ หรง (柴榮) ไฉ หรง ตายฉับพลันในปี 959 ไฉ จงซฺวิ่น จึงสืบบัลลังก์ต่อ แต่ต้นปีถัดมา แม่ทัพเจ้า ควงอิ้น (趙匡胤) ยึดอำนาจแล้วตั้งราชวงศ์ซ่งขึ้น ไฉ จงซฺวิ่น ถูกฆ่าระหว่างถูกส่งไปขังไว้ที่เมืองซีจิง (西京).
ไซอิ๋ว 2 ตอน ศึกราชาวานรพิชิตมาร
ซอิ๋ว 2 ตอน ศึกราชาวานรพิชิตมาร (The Monkey King 2) เป็นภาพยนตร์จีนที่ออกฉายในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและไซอิ๋ว 2 ตอน ศึกราชาวานรพิชิตมาร
เกาลูน
ที่ตั้งของเกาลูน(สีเขียว)ในเขตบริหารพิเศษฮ่องกง(สีเทาอ่อน) เกาลูน (จีนตัวเต็ม: 九龍) เป็นพื้นที่ในเขตบริหารพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน.
เล่าเสี้ยน
ระเจ้าเล่าเสี้ยน หรือ หลิวส้าน หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิเซี่ยวหวย พระมหาจักรพรรดิผู้ทรงครองสิริราชสมบัติยาวนานที่สุดของยุคสามก๊ก ทรงเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ฮั่น เชื้อสายราชสกุลเล.
เศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่น
ตะขอเข็มขัด ตอกและสลักด้วยการออกแบบตามหลักของสัตว์และนกในตำนาน ราชวงศ์ฮั่น (ปี 206 ก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 220) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศจีนในยุคโบราณ ปรากฏช่วงเวลาที่เศรษฐกิจรุ่งเรืองและถดถอยที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน แบ่งออกเป็น 3 ช่วงเวลา คือ ราชวงศ์ฮั่นเหนือ (ปี 206 ก่อนคริสตกาล – ค.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและเศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่น
เหลียง เจียฮุย
หลียง เจียฮุย (Tony Leung, Tony Leung Ka-Fai,,, พินอิน: Liáng Jiāhuī) นักแสดงชายชาวฮ่องกงที่มีชื่อเสียง เกิดเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและเหลียง เจียฮุย
เหวิน ติง
หวิน ติง เป็นกษัตริย์โบราณแห่งจีน ในราชวงศ์ชาง ที่ทรงครองราชย์ใน 1112 – 1102 ปีก่อนคริสตกาล.
เหวิน เทียนเสียง
รูปปั้นเหวินเทียนเสียงในวัดที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน เหวินเทียนเสียง เป็นเสนาบดีในสมัยราชวงศ์ซ่งใต้ เกิดเมื่อปี..1236 ที่ตำบลลู่หลิ่งหรือเมืองจี๋อานในปัจจุบัน เขาได้รับตำแหน่งเป็นเจ้าเมืองหูหนานและเจียงซี ปี..1276 ในสมัยจักรพรรดิซ่งกงจง กองทัพมองโกลของกุบไลข่านตีได้เมืองต่างๆ ของจีน แล้วยกเข้าใกล้ราชธานีหลินอาน(หางโจว)ห่างจากกำแพงเมืองเพียง 30 ลี้ จักรพรรดิซ่งกงจงและไทเฮาเห็นว่าหมดทางสู้จึงขอสวามิภักดิ์ต่อมองโกล และเหวินเทียนเสียงออกไปเจรจาหย่าศึกแต่ก็ไม่เป็นผล กองทัพมองโกลบุกยึดเมืองหลวงและจับตัวเหวินเทียนเสียงไว้ แต่ก็หาทางหลบหนีออกมาได้ และจัดตั้งกองกำลังต่อต้านกองทัพมองโกล ในขณะที่ขุนนางอื่นที่ไม่ยอมแพ้ได้ย้ายราชธานีลงใต้ไปยังเมืองฝูโจว แล้วพากันยกองค์ชายเจ้าซื่อขึ้นเป็นจักรพรรดิซ่งต้วนจง มีเหวินเทียนเสียงเป็นอัครเสนาบดีใหญ่ ปี..1277 จักรพรรดิซ่งต้วนจงสิ้นพระชนม์อย่างกะทันหัน องค์ชายเจ้าปิ่งได้ขึ้นเป็นจักรพรรดิซ่งตี้ปิง 1 ปีถัดมากองทัพมองโกลก็ยึดเมืองฝูโจวได้สำเร็จ เหล่าขุนนางจึงย้ายราชธานีลงใต้ไปยังเมืองกว่างโจว ปลายปี..1278 ทัพมองโกลได้ยกทัพใหญ่บุกเข้ามาที่เขาอู่พัวหลิ่ง (ทางเหนือของมณฑลกวางตุ้งปัจจุบัน) จับเอาเหวินเทียนเสียง ไปเป็นเชลย แล้วเข้ายึดราชธานีได้ในปี..1279 จักรพรรดิซ่งตี้ปิงและบรรดาขุนนางหนีไปยังภูเขาหยาซานริมทะเลซินฮุ่ย แต่กองทัพมองโกลก็ตามมาโจมตีอีก ลู่ซิ่วฟูขุนนางผู้ใหญ่ จึงแบกองค์ฮ่องเต้ลงเรือหนีฝ่าวงล้อมออกไปแต่ไม่สำเร็จ สุดท้ายจึงจับฮ่องเต้หนีลงทะเลหายสาบสูญไป เมื่อทำลายราชวงศ์ซ่งใต้ได้แล้ว เหวินเทียนเสียงก็ถูกส่งขึ้นเหนือไปยังต้าตู (ปักกิ่ง)ในวันที่ 1 ตุลาคม..1279 กุบไลข่านขังเหวินเทียนเสียงไว้ในบ้าน เป็นเวลาถึง 4 ปี เพื่อเกลี้ยกล่อมและบังคับให้มารับใช้ราชสำนักมองโกล แต่เขาไม่เคยยอมสวามิภักติ์ต่อราชวงศ์หยวนเลย 9 มกราคม..1283 เหวิน เทียนเสียง ก็ถูกประหารชีวิต ขณะที่เขามีอายุได้ 47 ปี โดยก่อนตายยังได้หันหน้าไปยังทิศใต้แล้วก้มลงคำนับต่อแผ่นดินเกิด เหวินเทียนเสียงถือเป็นขุนนางและกวีผู้มีชื่อเสียงเลื่องลือในความซื่อสัตย์และภักดี โดยบทกวี กั้วหลิงติงหยาง (过零丁洋)สองวรรคท้ายเป็นประโยคที่คนจีนทุกคนยังท่องจำได้ขึ้นใจจนกระทั่งปัจจุบัน 辛苦遭逢起一经 ยากเย็นแสนเข็ญแตกฉานการรบ 干戈寥落四周星 ตรากตรำกรำศึกโดดเดี่ยวนานปี 山河破碎风飘絮 บ้านเมืองล่มสลายดุจใบไม้ร่วง 身世沉浮雨打萍 ชีวิตล่มจมดั่งแหนกลางลมฝน 惶恐滩头说惶恐 หาดหวางข่งแตกพ่ายขวัญผวา 伶仃洋里叹伶仃 ทอดถอนใจเดียวดายในหลิงติง 人生自古谁无死 แต่โบราณมาใครเล่าอยู่ค้ำฟ้า 留取丹心照汗青 เหลือเพียงใจภักดิ์คงคู่โลก อย่างไรก็ตามในสองวรรคท้ายนั้น ได้มีการแปลเป็นสำนวนต่างๆอีกมาก ที่โด่งดัง เช่น "นับแต่อดีตมามีผู้ใดบ้างที่เคยหนีจากความตายได้ จะเหลือทิ้งไว้ก็แต่เพียงหัวใจอันสัตย์ซื่อนี้ที่ส่องสว่างอยู่ในประวัติศาสตร์" และ "เกิดมามีใครไม่ปลดปลง เกียรติยืนยงฝากไว้ในแผ่นดิน" เป็นต้น.
ดู จักรพรรดิจีนและเหวิน เทียนเสียง
เหิง เจิ้น
องค์ชายเหิง เจิ้น ในพิธีเคารพบรรพบุรุษ เหิง เจิ้น เกิด ณ กรุงปักกิ่ง เมื่อปี ค.ศ. 1944 เป็นพระประมุขราชสกุลอ้ายซินเจว๋หลัว ต่อจากยวี่เหยียน โดยสืบเชื้อสายจากจักรพรรดิเต้ากวง รัชกาลที่ 6 แห่งราชวงศ์ชิง และเป็นญาติกับจักรพรรดิผู่อี๋ จักรพรรดิต้าชิงพระองค์สุดท้าย ปัจจุบันนี้ถึงแม้เขาจะไม่ค่อยออกสื่อมากนัก เพราะมีกฏเหล็กข้อห้ามให้อดีตพระราชวงศ์ทุกคนห้ามแสดงปฏิกิริยาออกหน้าออกตาหรือออกสื่อ เพราะจะกระทบต่อความมั่นคงของรัฐบาล แต่ถึงแม้อย่างไรก็ตามพระองค์และราชวงศ์ก็ได้รับความนิยมต่อประชาชนไม่น้อย ปัจจุบันนี้มีมูลนิธิในพระอุปถัมภ์ของราชวงศ์ชิงอยู่มากมายที่ช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนและยังได้รับการอุปถัมภ์จากรัฐบาลจีนด้วย ทั้งนี้ทั้งนั้นราชวงศ์ชิงยังได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ถึงขนาดมีการตั้งองค์กรขึ้นมาเพื่อช่วยเหลือสมาชิกราชวงศ์ที่เหลืออยู่ในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามถึงแม้เขาและญาติจะไม่มีอำนาจเหมือนดังแต่ก่อน แต่ก็ยังได้รับพระเกียรติและความเคารพจากรัฐบาลให้พระองค์และพระญาติอาศัยในพระราชวังกู้กงได้ในพื้นที่ที่รัฐบาลจัดให้เท่านั้น และทุก ๆ วันชาติจีนรัฐบาลและประชาชนองค์กรต่าง ๆ จะมีการจัดพิธีเคารพบรรพบุรุษที่เสียสละเพื่อชาติบ้านเมือง เขาและญาติก็จะเสด็จมาร่วมในการนี้ด้วยทุกๆปี ปัจจุบันหากเขาและญาติจะออกงานต่าง ๆ ที่ได้ทรงรับเชิญนั้น จะต้องได้รับการอนุญาตจากรัฐบาลจีนเท่านั้นถึงจะไปได้ ยกเว้นในศาสนพิธีตามโบราณราชประเพณีเท่านั้นซึ่งจะมีการจัดขึ้นทุก ๆ ปี.
เจ้าชายพระราชสวามี
้าชายพระราชสวามี (prince consort) หมายถึงพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถ แต่ไม่ได้เป็นพระมหากษัตริย์ตามสิทธิ์ของพระองค์เอง เจ้าชายพระราชสวามีที่ยังดำรงพระชนม์อยู่ในปัจจุบัน คือ เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี ใน สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก โดยทั่วไปผู้ที่เป็นพระราชสวามีอาจได้รับพระยศเป็นเจ้าชาย เจ้าชายพระราชสวามี หรือพระมหากษัตริย์พระราชสวามี ตามแต่สมเด็จพระราชินีนาถจะทรงแต่งตั้ง กรณีที่ "เจ้าชายพระราชสวามี" เป็นอิสริยยศ พบว่าใช้กับเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร ที่พระราชทานให้พระราชสวามีในปี..
ดู จักรพรรดิจีนและเจ้าชายพระราชสวามี
เทียนจิน
ทียนจิน หรือ เทียนสิน (พินอินระบบไปรษณีย์: Tientsin) คือหนึ่งใน 4 เทศบาลนครของจีน เทศบาลนครเทียนจินมีระดับเทียบเท่ากับมณฑลและปกครองจากรัฐบาลกลางโดยตรง พื้นที่ของเทียนจินเป็นเมืองที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ในจีนแผ่นดินใหญ่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับ 3 ของประเทศจีน มีฉายา "เซี่ยงไฮ้ทางเหนือ" เนื่องจากประวัติที่เดิมเคยเป็นเมืองเช่าของตะวันตก การส่งออกอุตสาหกรรมหนัก เป็นเมืองท่าขนาดใหญ่และมีสถาปัตยกรรมแบบตะวันตก.
เดชคัมภีร์แดนพยัคฆ์
ัมภีร์แดนพยัคฆ์ (Dragon Inn, New Dragon Gate Inn; จีนตัวเต็ม: 新龍門客棧; จีนตัวย่อ: 新龙门客栈; พินอิน: Xīn Lóng Mén Kè Zhàn) ภาพยนตร์กำลังภายใน ในปี ค.ศ.
ดู จักรพรรดิจีนและเดชคัมภีร์แดนพยัคฆ์
เดชนางพญาผมขาว (ภาพยนตร์)
นางพญาผมขาว (อังกฤษ: The White Haired Witch of Lunar Kingdom) เป็นภาพยนตร์ฮ่องกงกำลังภายใน ออกฉายเมื่อปี ค.ศ. 2014 กำกับโดย จาง จื่อเลี่ยง เป็นภาพยนตร์ที่สร้างมาจากนวนิยายของ เหลียง อู๋เฉิง เรื่อง นางพญาผมขาว นำแสดงโดย หวง เสี่ยวหมิง, ฟ่าน ปิงปิง และ เจ้า เหวินจั๋ว.
ดู จักรพรรดิจีนและเดชนางพญาผมขาว (ภาพยนตร์)
เง็กเซียนฮ่องเต้
ง็กเซียนฮ่องเต้ เป็นเทพเจ้าสูงสุดของจีน เทวรูปและรูปวาดขององค์เง็กเซียนฮ่องเต้จะทรงฉลองพระองค์เช่นเดียวกับจักรพรรดิจีน คือมีพระมาลา ด้านหน้ามีเส้นร้อยไข่มุกเป็นแถวห้อยลงมาหน้าพระพักตร์ พระหัตถ์ทรงพระป้ายซือฮุดหน้าพระอุระ ด้านหลังมีพนักงานสองคนคอยโบกพัด ด้านหน้ามีองครักษ์สององค์ทั้งฝ่ายบู๊และฝ่ายบุ๋น พระองค์ทรงได้รับการยกย่องให้เป็นเทพเจ้าสูงสุดตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๔ เป็นต้นม.
ดู จักรพรรดิจีนและเง็กเซียนฮ่องเต้
เตมูร์ ข่าน
thumb เตมูร์ ข่าน หรือ สมเด็จจักรพรรดิหยวนเฉินจง (15 ตุลาคม ค.ศ. 1265 - 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1307) พระบรมราชสมภพเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม..
เตงฮอง
ตงฮอง (Ding Feng) เป็นแม่ทัพแห่งง่อก๊ก ชาวเมืองโลกั๋ง มักจะได้รับมอบหมายงานพร้อมกับชีเซ่ง เช่นในตอนที่จิวยี่สั่งให้ไปฆ่าขงเบ้ง(แต่ไม่สำเร็จ) และในตอนที่สกัดขบวนของเล่าปี่และซุนฮูหยินที่ยกกลับเกงจิ๋ว (แต่ไม่สำเร็จเพราะไม่กล้าสังหารซุนฮูหยิน) สมัยยังหนุ่มเขามีชื่อเสียงจากการต่อสู้ในกองทัพอยู่เรื่อย ๆ ว่าเป็นคนที่กล้าหาญที่สุดในกองทัพ เตงฮองมีความดีความชอบมากมายในศึกหลายครั้ง ครั้งสำคัญที่สุดคือการต่อต้านการโจมตีของ จูกัดเอี๋ยนแห่งวุยก๊ก หลังจากซุนฮิวขึ้นเป็นฮ่องเต้ต่อจากซุนเหลียง เตงฮองได้ช่วยซุนฮิวสังหารซุนหลิม ผู้สำเร็จราชการที่คุกคามฮ่องเต้ ทำให้เขาได้รับตำแหน่งแม่ทัพใหญ่ รูปเตงฮองจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI ของค่ายเกม KOEI.
เซียวลี้ปวยตอ มีดบินไม่พลาดเป้า
มือกระบี่มากรัก กระบี่ไร้น้ำใจ (Duo Qing Jian Ke Wu Qing Jian) เป็นผลงานการประพันธ์อันโด่งดังเรื่องหนึ่งของโกวเล้ง หากยึดตามสำนวนการแปลของ ว.
ดู จักรพรรดิจีนและเซียวลี้ปวยตอ มีดบินไม่พลาดเป้า
เป่ย์เซียงโหว
หลวงเป่ย์เซียง (Marquess of Beixiang) ชื่อตัวว่า หลิว อี้ (劉懿) และบางทีเรียก เยาวราช (少帝) จักรพรรดิจีนในสมัย ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก เสวยราชย์หลังจาก จักรพรรดิฮั่นอัน สวรรคตอย่างกะทันหันในปี 125 แต่ก็สวรรคตตามไปไม่ช้าในปีเดียวกันต่อจากนั้นเหล่าขันทีก็ยึดอำนาจแล้วยก หลิว เป่า ขึ้นเป็นจักรพรรดิองค์ใหม่ หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่สวรรคตขณะทรงพระเยาว์.
ดู จักรพรรดิจีนและเป่ย์เซียงโหว
13 ฮ่องเต้ตำนานจักรพรรดิราชวงศ์ชิง
13 ฮ่องเต้ตำนานจักรพรรดิราชวงศ์ชิง (The Rise and Fall oสf Qing Dynasty) ซีรีส์ชุดของสถานีโทรทัศน์ ATV ของฮ่องกง นับเป็นซีรีส์ชุดใหญ่ ด้วยการออกอากาศนานถึง 5 ปี โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็นภาคใหญ่ ๆ ทั้งหมด 4 ภาค เป็นเรื่องราวของของประวัติศาสตร์จีนยุคราชวงศ์ชิง ตั้งแต่ยุคบุกเบิกและก่อตั้งราชวงศ์ไปจนกระทั่งมาถึงการล่มสลาย นำแสดงโดยนักแสดงมากมาย อาทิ หวังเหว่ย (รับบทเป็น นูรฮาชี), เหมียว เข่อซิ่ว (รับบทเป็น เสี้ยวจวงไทเฮา), หมีเซียะ (รับบทเป็น ซูสีไทเฮา), ทัง เจิ้นเย่ (รับบทเป็น จักรพรรดิกวางสู), ชี เหม่ยเจิน (รับบทเป็น สมเด็จ พระมเหสีเจิน) เป็นต้น.
ดู จักรพรรดิจีนและ13 ฮ่องเต้ตำนานจักรพรรดิราชวงศ์ชิง
8 ดาบทรมาน 6 ดาบสังหาร
8 ดาบทรมาน 6 ดาบสังหาร (14 Blades; อักษรจีนตัวเต็ม: 錦衣衛; อักษรจีนตัวย่อ: 锦衣卫; พินอิน: Jǐn Yī Wèi) เป็นภาพยนตร์ฮ่องกงกำลังภายใน นำแสดงโดย เจิ้น จื่อตัน, เจ้า เวย, อู๋จุน, สฺวี จื่อชาน, ชี อวี้อู่ และ หง จินเป่า กำกับการแสดงโดย แดเนียล ลี.
ดู จักรพรรดิจีนและ8 ดาบทรมาน 6 ดาบสังหาร
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ฮ่องเต้พระมหากษัตริย์จีน
วุยก๊กศักราชของจีนศึกลำน้ำเลือดสมเด็จพระจักรพรรดิเซี่ยวหวยสามก๊กสามก๊ก (การ์ตูน)สามสำนักหกกรมสาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)สุมาเอี๋ยนสีเหลืองหมื่นปีหรูจึอิงหลิว หงหลิว จือ-ยฺเหวี่ยนหลิว เฉิงโย่วหลี่ จื้อเฉิงหลี่ ฉุนซฺวี่หลี่ ฉงโฮ่วหลี่ ฉงเคอหลี่ ซื่อเยฺวี๋ยนหวัง หมั่งหวังเหว่ยหวง เฟยหงหวงตี้หองจูเหียบหองจูเปียนหางโจวหู จุนหง ซีกวนหงส์หนานจิงอสูรปกครองศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 4อาณัติแห่งสวรรค์อาณาจักรรีวกีวอิทธิฤทธิ์ภูมิเทวดาอิดเต็งไต้ซืออ้วนสุดอ้ายซินเจว๋หลัวอ๋องฮองไทเฮาฮั่ว หยวนเจี่ยฮีโร่ผู่เจี๋ยฌ้อปาอ๋องจอมใจจักรพรรดิจักรพรรดิกวังซฺวี่จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงจักรพรรดิยงเจิ้งจักรพรรดิว่านลี่จักรพรรดิสุยกงจักรพรรดิสุยหยางจักรพรรดิสุยเหวินจักรพรรดิหยวนหมิงจงจักรพรรดิหยวนหนิงจงจักรพรรดิหยวนอิงจงจักรพรรดิหยวนอู่จงจักรพรรดิหยวนไท่ติ้งจักรพรรดิหยวนเหรินจงจักรพรรดิหยวนเหวินจงจักรพรรดิหยวนเทียนชุ่นจักรพรรดิหย่งเล่อจักรพรรดิหลงชิ่งจักรพรรดิหงอู่จักรพรรดิหงจื้อจักรพรรดิหงซีจักรพรรดิฮั่นชางจักรพรรดิฮั่นชงจักรพรรดิฮั่นกวังอู่จักรพรรดิฮั่นยฺเหวียนจักรพรรดิฮั่นหมิงจักรพรรดิฮั่นหลิงจักรพรรดิฮั่นหฺวันจักรพรรดิฮั่นอันจักรพรรดิฮั่นอู่จักรพรรดิฮั่นฮุ่ยจักรพรรดิฮั่นผิงจักรพรรดิฮั่นจางจักรพรรดิฮั่นจิงจักรพรรดิฮั่นจื้อจักรพรรดิฮั่นไอจักรพรรดิฮั่นเกาจู่จักรพรรดิฮั่นเกิงฉื่อจักรพรรดิฮั่นเหวินจักรพรรดิฮั่นเหอจักรพรรดิฮั่นเจาจักรพรรดิฮั่นเฉิงจักรพรรดิฮั่นเฉียนเฉ่าจักรพรรดิฮั่นเซฺวียนจักรพรรดิผู่อี๋จักรพรรดิจาวจักรพรรดิจินมั่วจักรพรรดิจินซีจงจักรพรรดิจินซีจง (หว่านเอี๋ยน เหอล่า)จักรพรรดิจินไท่จู่จักรพรรดิจินไท่จงจักรพรรดิจิ่งไท่จักรพรรดิจิ้นหมิงจักรพรรดิจิ้นหมิ่นจักรพรรดิจิ้นหยวนจักรพรรดิจิ้นฮุ่ยจักรพรรดิถังชางจักรพรรดิถังชุนจงจักรพรรดิถังมู่จงจักรพรรดิถังรุ่ยจงจักรพรรดิถังจิงจงจักรพรรดิถังจงจงจักรพรรดิถังซู่จงจักรพรรดิถังไอจักรพรรดิถังไท่จงจักรพรรดิถังไต้จงจักรพรรดิถังเกาจู่จักรพรรดิถังเกาจงจักรพรรดิถังเสฺวียนจงจักรพรรดิถังเสียนจงจักรพรรดิถังเต๋อจงจักรพรรดิถงจื้อจักรพรรดิคังซีจักรพรรดิฉินที่ 2จักรพรรดิฉินที่ 3จักรพรรดิฉงเจินจักรพรรดิซุ่นจื้อจักรพรรดิซ่งชินจงจักรพรรดิซ่งกวงจงจักรพรรดิซ่งกงจักรพรรดิซ่งกงจงจักรพรรดิซ่งลี่จงจักรพรรดิซ่งหนิงจงจักรพรรดิซ่งอิงจงจักรพรรดิซ่งฮุ่ยจงจักรพรรดิซ่งตู้จงจักรพรรดิซ่งตี้ปิงจักรพรรดิซ่งต้วนจงจักรพรรดิซ่งไท่จู่จักรพรรดิซ่งไท่จงจักรพรรดิซ่งเกาจงจักรพรรดิซ่งเสินจงจักรพรรดิซ่งเสี้ยวจงจักรพรรดิซ่งเหรินจงจักรพรรดิซ่งเจินจงจักรพรรดิซ่งเจ๋อจงจักรพรรดินีเกียงจักรพรรดินีเหรินหฺวายจักรพรรดินีเหวย์จักรพรรดินีเซี่ยวจฺวัง พระพันปีหลวงจักรพรรดิโจวหมิงจักรพรรดิโจวอู่จักรพรรดิโจวจิ้งจักรพรรดิโจวเสวียนจักรพรรดิไท่ชางจักรพรรดิเว่ยหมิงจักรพรรดิเสียนเฟิงจักรพรรดิเสี้ยวหมินจักรพรรดิเหรินจงจักรพรรดิเหลียวมู่จงจักรพรรดิเหลียวจิ่งจงจักรพรรดิเหลียวต้าวจงจักรพรรดิเหลียวซิ่งจงจักรพรรดิเหลียวซื่อจงจักรพรรดิเหลียวไท่จู่จักรพรรดิเหลียวไท่จงจักรพรรดิเหลียวเทียนจั้วจักรพรรดิเหลียวเซิ่งจงจักรพรรดิเจิ้งถ่งจักรพรรดิเจิ้งเต๋อจักรพรรดิเจียชิ่งจักรพรรดิเจียจิ้งจักรพรรดิเจี้ยนเหวินจักรพรรดิเทียนฉี่จักรพรรดิเต้ากวังจักรพรรดิเฉิงฮว่าจักรพรรดิเฉียนหลงจักรพรรดิเซฺวียนเต๋อจักรพรรดิเซี่ยจิงจงจักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)จิ๋นซีฮ่องเต้จู โหย่วกุยจู โหย่วเจินจู เวินจง ขุยที่ประชุมอำมาตย์ราชวงศ์หารือราชกิจขันทีขุนศึกสะท้านปฐพีขุนศึกตระกูลหยางขนมหนวดมังกรครูซ่าส์ท้าศิษย์แสบคันจิฆ่าก่อน รายงานทีหลังงอก๊กไถ้งานเลี้ยงที่หงเหมินตราประทับพระราชลัญจกรของจักรพรรดิจีนตัวเลขในวัฒนธรรมจีนตันกุ๋นตี้ อี่ตี๋เหรินเจี๋ย ดาบทะลุคนไฟฉือ จิ้งถังฉือ จ้งกุ้ยซิ ยิ่นกุ้ยซือหม่า หลุนซุนกวนซุนฮิว (ง่อก๊ก)ซุนโฮซุนเกี๋ยนซุนเหลียงซุนเซ็กซูสีไทเฮาซูสีไทเฮา ก่อนแผ่นดินสิ้นสลายซูสีไทเฮา ภาค 1ปลาหมูฮ่องเต้ปีจักรพรรดิปี่เซียะน้ำอมฤตโบตั๋น (พรรณไม้)โอรสสวรรค์โฮเฮาโจมอโจว เหวินฟะโจฮวนโจฮองโจผีโจโฉไห่ฮุนโหวไท่ช่างหฺวังไฉ หรงไฉ จงซฺวิ่นไซอิ๋ว 2 ตอน ศึกราชาวานรพิชิตมารเกาลูนเล่าเสี้ยนเศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่นเหลียง เจียฮุยเหวิน ติงเหวิน เทียนเสียงเหิง เจิ้นเจ้าชายพระราชสวามีเทียนจินเดชคัมภีร์แดนพยัคฆ์เดชนางพญาผมขาว (ภาพยนตร์)เง็กเซียนฮ่องเต้เตมูร์ ข่านเตงฮองเซียวลี้ปวยตอ มีดบินไม่พลาดเป้าเป่ย์เซียงโหว13 ฮ่องเต้ตำนานจักรพรรดิราชวงศ์ชิง8 ดาบทรมาน 6 ดาบสังหาร