โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จักรพรรดิ

ดัชนี จักรพรรดิ

ักรพรรดิ หรือ พระราชาธิราช หมายถึง ประมุขของจักรวรรดิ หากเป็นสตรีเรียกว่า จักรพรรดินี (Empress) แต่คำว่า “จักรพรรดินี” ก็ใช้เรียกพระมเหสีของจักรพรรดิด้วย ในภาษาอังกฤษจะมีคำต่อท้ายให้เป็นที่เข้าใจคือ “Empress Consort” โดยทั่วไปถือกันว่า “จักรพรรดิ” มีฐานันดรสูงกว่า “พระราชา”.

216 ความสัมพันธ์: ชาเขียวบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ฟุจิวะระ โนะ อะกิซุเอะพ.ศ. 1822พ.ศ. 2347พ.ศ. 2413พ.ศ. 2471พ.ศ. 2476พ.ศ. 2510พระบุตรพระเป็นเจ้าพระมหากษัตริย์พระราชวังฤดูร้อนเดิมพระราชวังต้องห้ามพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซียพระเจ้ามูแห่งบัลแฮพระเจ้ามูแห่งพัลแฮพระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าจักรพรรดิพระเจ้าจันทรคุปต์ที่ 2พัลพาทีนการทัพปราบอ้วนสุดกุบไล ข่านภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิสมหาบุรุษซามูไรมังกรจีนมเหสี (ตำแหน่งฝ่ายใน)ยุทธการที่เอาสเทอร์ลิทซ์รัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์คราชวงศ์ยูลิอุส-เกลาดิอุสราชวงศ์หลิวซ่งราชวงศ์ฮั่นยุคหลังราชวงศ์ฮั่นตะวันออกราชวงศ์จินราชวงศ์จิ้นยุคหลังราชวงศ์ถังยุคหลังราชวงศ์โรมานอฟราชวงศ์โฮเอินชเตาเฟินราชวงศ์โจวยุคหลังราชวงศ์เว่ยเหนือราชวงศ์เหลียงยุคหลังราชอาณาจักรไซปรัสราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนรายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศสรายพระนามผู้ปกครองรัสเซียรายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิดลัทธิทำลายรูปเคารพวิกฤตการณ์คริสต์ศตวรรษที่ 3...วุฒิสภาโรมันวงไพบูลย์ร่วมแห่งมหาเอเชียบูรพาสมเด็จพระราชินีสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะสมเด็จพระจักรพรรดิอากุสตินที่ 1 แห่งเม็กซิโกสาธารณรัฐโรมันสุมาสูสี่พยัคฆ์พิทักษ์มังกรสงครามครูเสดครั้งที่ 6หนานเยฺว่อัศวินฮอสปิทัลเลอร์อาณาจักรอาณาจักรพัลแฮอาณาจักรอักซุมอาณาจักรฮั่นเหนืออิมพีเรียลไฮเนสอิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)อินทรีสองหัวอ๋องฌัก-หลุยส์ ดาวีดฌ็อง-ฌัก เดซาลีนฌ็อง-เบแดล บอกาซาจักรพรรดิบอลด์วินที่ 1 แห่งคอนสแตนติโนเปิลจักรพรรดิบ๋าว ดั่ยจักรพรรดิฟลาวิอุส วาแลริอุส แซเวรุสจักรพรรดิกอร์ดิอานุสที่ 1จักรพรรดิการากัลลาจักรพรรดิกาเลริอุสจักรพรรดิกงสตันติอุส โคลรุสจักรพรรดิกงสตันติอุสที่ 3จักรพรรดิก็อมมอดุสจักรพรรดิญี่ปุ่นจักรพรรดิมักซิมิอานุสจักรพรรดิมักซิมินุส ทรากส์จักรพรรดิมักแซ็นติอุสจักรพรรดิมากรีนุสจักรพรรดิมาร์กุส เกลาดิอุส ตากิตุสจักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสจักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอสจักรพรรดิมานูเอลที่ 2 พาลาโอโลกอสจักรพรรดิมิคาเอลที่ 3จักรพรรดิมิคาเอลที่ 8 พาลาโอโลกอสจักรพรรดิมิคาเอลที่ 9 พาลาโอโลกอสจักรพรรดิยุสตีนุสที่ 2จักรพรรดิยูลิอุส แนโปสจักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงจักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิลิกินิอุสจักรพรรดิลุดวิจที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิลูกิอุส เวรุสจักรพรรดิวิแต็ลลิอุสจักรพรรดิหนูเอ่อร์ฮาชื่อจักรพรรดิออรังเซพจักรพรรดิออทโทที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิออโทจักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 1 โคมเนนอสจักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 2 พาลาโอโลกอสจักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 3 พาลาโอโลกอสจักรพรรดิอันโตนีนุส ปิอุสจักรพรรดิอาร์กาดิอุสจักรพรรดิอีวานที่ 6 แห่งรัสเซียจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์แห่งไบแซนไทน์จักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 1 โคมเนนอสจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 2 โคมเนนอสจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 3 อันเจลอสจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 4 อันเจลอสจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 5 ดูคาสจักรพรรดิฮอโนริอุสจักรพรรดิฮั่นหฺวันจักรพรรดิฮาดริอานุสจักรพรรดิผู่อี๋จักรพรรดิจอห์นที่ 1จักรพรรดิจอห์นที่ 2 โคมเนนอสจักรพรรดิจอห์นที่ 8 พาลาโอโลกอสจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 2จักรพรรดิจิ้นหมิ่นจักรพรรดิจีนจักรพรรดิดอมิติอานุสจักรพรรดิดิออเกลติอานุสจักรพรรดิดิอาดูแมนิอานุสจักรพรรดิดีดิอุส ยูลิอานุสจักรพรรดิคอนราดที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิคอนสตันไทน์มหาราชจักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 2จักรพรรดิคอนสแตนสที่ 2จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 11 พาลาโอโลกอสจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 3 แห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 4จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 7จักรพรรดิคอนสแตนเชียสที่ 2จักรพรรดิคาร์ลที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิคาร์ลที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิติตุสจักรพรรดิติแบริอุสที่ 2จักรพรรดิซา ล็องจักรพรรดิซ่งฮุ่ยจงจักรพรรดิซ่งเจ๋อจงจักรพรรดิปูบลิอุส แซ็ปติมิอุส แกตาจักรพรรดินิโคลอส คานาบอสจักรพรรดินีจักรพรรดินีโคลัสที่ 1 แห่งรัสเซียจักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซียจักรพรรดินโปเลียนที่ 1จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิแว็สปาซิอานุสจักรพรรดิแตรโบนิอานุส กัลลุสจักรพรรดิแซ็กสตุส มาร์ตินิอานุสจักรพรรดิแซ็ปติมิอุส แซเวรุสจักรพรรดิแซเวรุส อาแล็กซันแดร์จักรพรรดิแปร์ตินักส์จักรพรรดิแนร์วาจักรพรรดิโพกัสจักรพรรดิโรมันจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิโลทาร์ที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิไอแซ็คที่ 2 อันเจลอสจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 7 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิไตรยานุสจักรพรรดิเกลาดิอุส กอทิกุสจักรพรรดิเมาริกิอุสจักรพรรดิเสียนเฟิงจักรพรรดิเอลากาบาลุสจักรพรรดิเฮราคลิอัสจักรพรรดิเฮราโคลนาสจักรพรรดิเทออดอซิอุสที่ 2จักรวรรดิจักรวรรดิบราซิลจักรวรรดิออตโตมันจักรวรรดิโรมันจักรวรรดิโรมันตะวันตกจักรวรรดิไนเซียดิอิมพีเรียลมาร์ชติรันต์โลบลังก์ตุลาการทมิฬซารีนาซาร์กาโลยันแห่งบัลแกเรียซิมโฟนีหมายเลข 3 (เบโทเฟน)ซีซาร์ประวัติศาสตร์ยุโรปประวัติศาสตร์โลกประเทศฝรั่งเศสประเทศเวียดนามปีศาจเจอร์ซีย์แกรนด์ดยุกคอนสแตนติน ปาฟโลวิชแห่งรัสเซียแกรนด์ดิวคัลไฮเนสแอ็งกรีเบิดส์ (วิดีโอเกม)โฟสแต็ง ซูลุกโรดรีกู แวร์จีลีอูไกเซอร์ไคเซิร์สเลาเทิร์นไปรโตริอานีเล่าปี่เห็ดหลินจือเฮอังเกียวเจไดเจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อตเจ้าหญิงวุ่นวายกับเจ้าชายเย็นชาเทริดเคานต์เฉิน โหย่วเลี่ยงเฉียนฉินเซี่ยตะวันตกเซ็สโซและคัมปะกุ18 พฤษภาคม18 มกราคม ขยายดัชนี (166 มากกว่า) »

ชาเขียว

ร่ชาเขียว ชาเขียว, จีน: 绿茶 - พินอิน: lǜchá, เป็นชาที่เก็บเกี่ยวจากพืชในชนิด Camellia sinensis เช่นเดียวกับ ชาขาว ชาดำ และชาอู่หลง ชาที่ไม่ผ่านการหมัก ซึ่งมีประโยชน์ต่อสุขภาพและมีคุณสมบัติในการต้านทานโรคได้นานาชนิดจึงเป็นที่นิยมของคนส่วนใหญ่ น้ำชาจะเป็นสีเขียวหรือเหลืองอมเขียว กลิ่นหอมอ่อนกว่าอู่หลง ชาเขียวหลงจิ่งที่ราคาสูงที่สุด คือ ฉือเฟิ่งหลงจิ่งที่ชงจากใบจะให้กลิ่นหอมอ่อนๆ บ้างว่าคล้ายถั่วเขียว รสฝาดน้อย เซนฉะที่ชงจากใบมีกลิ่นอ่อนๆจนเข้มได้ขึ้นกับการคั่ว บางครั้งมีรสอุมามิจนถึงรสหวานที่รับรู้ได้เฉพาะบางคนเท่านั้น ในประเทศไทยจะมีการแต่งกลิ่นเพื่อให้เกิดความน่ารับประทานมากขึ้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิและชาเขียว · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ใหม่!!: จักรพรรดิและบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุจิวะระ โนะ อะกิซุเอะ

ฟุจิวะระ โนะ อาคิสุอิ (ญ๊ปุ่น:藤原顕季) (ค.ศ. 1055 – 27 กันยายน ค.ศ. 1123) เป็นสมาชิกของตระกูลฟุจิวะระ และเป็นขุนนางในยุคเฮอัง เขาเป็นบุตรชายของ ฟุจิวะระ โนะ ทาคาชิ เคอิ (藤原隆経) อาคิอิสุ เป็นคนสนิทใน สมเด็จพระจักรพรรดิชิรากาวะ เพราะมารดาของเขาเป็น พระพี่เลี้ยงในพระจักรพรรดิ เขามีบุตรชายหนึ่งคนชื่อ ฟุจิวะระ โนะ อาคิสุเนะ ในสมัยของอาคิสุอิ อำนาจของตระกูลฟุจิวะระเริ่มอ่อนแอ อันเนื่องจากเกิดปัญหาในทางการเมือง หมวดหมู่:ตระกูลฟุจิวะระ หมวดหมู่:บุคคลในยุคเฮอัง หมวดหมู่:ขุนนางญี่ปุ่น.

ใหม่!!: จักรพรรดิและฟุจิวะระ โนะ อะกิซุเอะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1822

ทธศักราช 1822 ตรงกับคริสต์ศักราช 1279 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: จักรพรรดิและพ.ศ. 1822 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2347

ทธศักราช 2347 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1804 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จักรพรรดิและพ.ศ. 2347 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2413

ทธศักราช 2413 ตรงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิและพ.ศ. 2413 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2471

ทธศักราช 2471 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1928 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จักรพรรดิและพ.ศ. 2471 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: จักรพรรดิและพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จักรพรรดิและพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พระบุตรพระเป็นเจ้า

ระเจ้าพระบิดาและพระวิญญาณบริสุทธิ์ประทับบนพระกุมารเยซู วาดโดย บาร์โตโลเม เอสเตบัน มูรีโย ราวคริสต์ทศวรรษ 1670 ตามความเชื่อของคริสต์ศาสนิกชนส่วนมากซึ่งถือแนวคิดแบบตรีเอกภาพนิยมถือว่า พระบุตรพระเป็นเจ้า หรือ พระบุตรของพระเจ้า (Son of God) หมายถึงพระเยซู โดยมีพระยาห์เวห์เป็นพระเจ้าพระบิดา โดยนัยนี้ พระเยซูมีสถานะเป็นพระเจ้าพระบุตรด้วย แต่คริสต์ศาสนิกชนกลุ่มอตรีเอกภาพนิยม (เช่น พยานพระยะโฮวา) แม้จะถือว่าพระเยซูคือพระบุตรของพระเป็นเจ้าเช่นกัน แต่ไม่ยอมรับว่าเป็นพระเจ้าพระบุตร ในประวัติศาสตร์ชาติต่าง ๆ จักรพรรดิมักถือว่าตนเองคือพระโอรสของเทพเจ้าหรือโอรสสวรรค์ จักรพรรดิเอากุสตุสแห่งจักรวรรดิโรมันก็อ้างว่าตนเองมีพระราชบิดาบุญธรรมคือเทพเจ้า จักรพรรดิจูเลียส ซีซาร์และจักรพรรดิโดมิเชียนเรียกตนเองว่า "ดีวีฟีลิอุส" (Divi filius โอรสเทพเจ้า) แต่ความเชื่อนี้ต่างจาก "พระบุตรพระเป็นเจ้า" ที่ปรากฏในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ ในพันธสัญญาใหม่ระบุถึงการเรียกพระเยซูว่า "พระบุตรของพระเจ้า" อยู่หลายครั้งเพื่อชี้ให้เห็นว่าพระเยซูเป็นพระเจ้า นับตั้งแต่การเสด็จลงมารับสภาพมนุษย์จนถึงการถูกตรึงที่กางเขน เช่น เมื่อพระเยซูทรงรับบัพติศมาเสร็จก็มีพระวจนะของพระเจ้าดังมาจากฟ้าว่า "ท่านผู้นี้เป็นบุตรที่รักของเรา" สาวกของพระเยซูก็เรียกพระเยซูว่าพระบุตรของพระเจ้.

ใหม่!!: จักรพรรดิและพระบุตรพระเป็นเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์

กษัตริย์ หรือ พระมหากษัตริย์ คือประมุขหรือผู้ปกครองสูงสุดของรัฐ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือในราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ปัจจุบันพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีน้อยมากซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศขนาดเล็ก พระมหากษัตริย์เป็นได้ด้วยการสืบสันตติวงศ์หรือโดยการยึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์พระองค์เดิมแล้วปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ การสืบสันตติวงศ์ของพระมหากษัตริย์จะสืบทอดต่อกันมาโดยเชื้อพระวงศ์ เรียกว่าพระราชวงศ์ เมื่อสิ้นสุดการสืบทอดโดยเชื้อพระวงศ์ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่จะเป็นตันพระราชวงศ์ใหม่ หรือเป็นผู้สถาปนาพระราชวงศ์ พระมหากษัตริย์อาจมีคำเรียกแตกต่างกัน เช่น พระราชาธิบดี พระจักรพรรดิ พระราชา เจ้ามหาชีวิต เป็นต้น กษัตริย์ ในสังคมฮินดู ยังหมายถึงวรรณะที่ 2 จาก 4 วรรณะ คือวรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร.

ใหม่!!: จักรพรรดิและพระมหากษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังฤดูร้อนเดิม

วาดแสดงพระราชวังยฺเหวียนหมิง-ยฺเหวียน ภาพวาดแสดงการปล้มสะดม และขนโบราณวัตถุออกจากพระราชวัง โดยกองทหารฝรั่งเศส ซากปรักหักพังของยฺเหวียนหมิง-ยฺเหวียน พระราชวังฤดูร้อนเดิม (Old Summer Palace) เป็นที่รู้จักในชื่อ ยฺเหวียนหมิง-ยฺเหวียน (Gardens of Perfect Brightness) เดิมมีชื่อเรียกว่า ยฺวี่-ยฺเหวียน (Imperial Gardens) เป็นกลุ่มพระราชวัง และสวนหย่อม ตั้งอยู่บริเวณชานกรุงปักกิ่ง ห่างจากพระราชวังต้องห้ามไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 8 กิโลเมตร ในบริเวณใกล้เคียงกับพระราชวังฤดูร้อนอี๋เหอ-ยฺเหวียน ยฺเหวียนหมิง-ยฺเหวียน สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ถึงต้นศตวรรษที่ 19 เพื่อเป็นที่ประทับของจักรพรรดิราชวงศ์ชิง มีเนื้อที่ประมาณ 3.5 ตารางกิโลเมตร พระตำหนักส่วนใหญ่สร้างด้วยหิน ตามแบบสถาปัตยกรรมตะวันตก จากการออกแบบของ Giuseppe Castiglione และ Michel Benoist สถาปนิกเยซูอิตชาวอิตาลี พระราชวังยฺเหวียนหมิง-ยฺเหวียน เริ่มสร้างในปี ค.ศ. 1707 ในรัชกาลจักรพรรดิคังซี เพื่อพระราชทานแก่พระราชโอรสองค์ที่สี่ ซึ่งต่อมาได้ครองราชย์เป็นจักรพรรดิหย่งเจิ้น และทรงขยายอาณาเขตพระราชวัง ในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและพระราชวังฤดูร้อนเดิม · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังต้องห้าม

อู่เหมิน ไท่เหอเหมิน ตงหวาเหมิน แม่น้ำทอง 280px 190px พระราชวังต้องห้าม (จีน: 紫禁城; พินอิน: Zǐjìn Chéng จื่อจิ้นเฉิง; อังกฤษ: Forbidden City) หรือพระราชวังกู้กง จากชื่อภาษาจีน แปลตามตัวอักษรได้ว่า "เมืองต้องห้ามสีม่วง" พระราชวังต้องห้ามตั้งอยู่ใจกลางของกรุงปักกิ่ง เมืองหลวงของประเทศจีน เป็นพระราชวังหลวงมาตั้งแต่สมัยกลางราชวงศ์หมิงจนถึงราชวงศ์ชิง พระราชวังต้องห้ามยังรู้จักกันในนาม พิพิธภัณฑ์พระราชวัง (ภาษาจีน: 故宫博物院; พินอิน: Gùgōng Bówùyùan) ครอบคลุมพื้นที่ 720,000 ตารางเมตร อาคาร 800 หลัง มีห้องทั้งหมด 9,999 ห้อง และมีพระที่นั่ง 75 องค์ หอพระสมุด ห้องหับต่างๆอีกมาก รวมทั้งยังมีสวน ลานกว้าง ทางเดินเชื่อมกันโดยตลอด มีคูและกำแพงที่สูงถึง 11 เมตร ล้อมรอบ ใช้ระยะก่อสร้างประมาณ 14 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 1949 จนถึง พ.ศ. 1963 พระราชวังต้องห้ามตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจตุรัสเทียนอันเหมิน นักท่องเที่ยวสามารถเข้าสู่พระราชวังต้องห้ามได้ทางจตุรัสนี้ ผ่านประตูเทียนอันเหมิน บริเวณรอบจตุรัสเทียนอันเหมิน เรียกว่า อาณาเขตหลวง โดยมีสิ่งก่อสร้างสำคัญอยู่โดยรอบ เช่น มหาศาลาประชาคม ในอดีต พระราชวังแห่งนี้ เป็นเขตหวงห้ามไม่ไห้ประชาชนเข้า แม้ข้าราชการชั้นสูง ยังต้องขออนุญาต เป็นกรณีพิเศษ จึงเรียกพระราชวังนี้ว่า "พระราชวังต้องห้าม" จักรพรรดิจะทรงประทับอยู่ในพระราชวังแห่งนี้ กั้นพระองค์จากโลกภายนอก โดยมีสนมกำนัล ขันที และข้าหลวงรับใช้ซึ่งคนเหล่านี้ต้องอาศัยอยู่ในนครต้องห้ามตลอดชีวิต เพื่อความสำราญของจักรพรรดิ ในวังจะมีวิเสท 6,000 คน ประกอบพระกระยาหาร มีสนมกำนัล 9,000 นาง ซึ่งมีขันที 70,000 คน คอยดูแลให้ มีคำเล่าลือกันว่า พระนางซูสีไทเฮา เวลาเสวยก็จะมีพระกระยาหารถึง 148 ชุด และทรงส่งขันทีไปเสาะหาชายหนุ่มซึ่งเข้าวังแล้วจะไม่มีผู้ใดพบเห็นอีกเลย แม้ว่าประเทศจีนจะไม่มีสถาบันพระมหากษัตริย์แล้ว พระราชวังต้องห้ามก็ยังคงเป็นสัญลักษณ์ของประเทศจีน และภาพประตูเทียนอันเหมินก็ยังปรากฏอยู่ในตราประจำสาธารณรัฐประชาชนจีนอีกด้วย นอกจากนี้ พระราชวังต้องห้ามยังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ซึ่งไม่นานมานี้ ทางรัฐบาลจีนได้มีนโยบายจำกัดปริมาณนักท่องเที่ยวเพื่อจะอนุรักษ์สภาพของอาคารและสวนหย่อมไว้ ยูเนสโกได้ประกาศให้พระราชวังต้องห้ามร่วมกับพระราชวังเสิ่นหยางเป็นหนึ่งในมรดกโลกในนาม พระราชวังหลวงแห่งราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิงในปักกิ่งและเสิ่นหยาง เมื่อ พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987).

ใหม่!!: จักรพรรดิและพระราชวังต้องห้าม · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย

ระเจ้าฟรีดริชที่ 2 (เยอรมัน: Friedrich II.; อังกฤษ: Frederick II หรือ พระเจ้าฟรีดริชมหาราช (24 มกราคม ค.ศ. 1712 - 17 สิงหาคม ค.ศ. 1786 เป็นพระมหากษัตริย์ปรัสเซียจากราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น โดยทรงครองราชย์ระหว่างปีค.ศ. 1740 จนถึงปีค.ศ. 1786 พระองค์ทรงเป็นลำดับที่สามและ ‘กษัตริย์ในปรัสเซีย(King in Prussia)’ องค์สุดท้าย ก่อนที่จะฉลองพระอิสรยยศขึ้นเป็น ‘กษัตริย์แห่งปรัสเซีย(King of Prussia)’ หลังจากที่ได้รับดินแดนทางประวัติศาสตร์ดั้งเดิมของปรัสเซีย นอกจากนั้นก็ยังทรงดำรงตำแหน่งผู้คัดเลือกแห่งบรันเดนบวร์กในพระนามว่า “ฟรีดริชที่ 4” และทรงได้รับสมญานามว่า ‘พระเจ้าฟรีดริชมหาราช’ และมีพระนามเล่นว่า ‘เจ้าฟริทซ์แก่(der Alte Fritz)” พระเจ้าฟรีดริชทรงมีความสนพระทัยทางศิลปะตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์และทรงพยายามหนีจาการควบคุมจากพระบิดาครั้งหนึ่งแต่ไม่สำเร็จ พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 พระราชบิดาทรงเข้มงวดจนได้รับสมญานามว่า “กษัตริย์ทหาร” เมื่อยังทรงพระเยาว์ฟรีดริชทรงถูกบังคับให้ดูการประหารชีวิตอย่างทารุณของพระสหายที่ทรงรู้จักกันมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ เมื่อทรงขึ้นครองราชย์ในปีแรกทรงโจมตีจักรวรรดิออสเตรียและยึดครองบริเวณไซลีเซีย ซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศโปแลนด์ปัจจุบันซึ่งเป็นดินแดนยึดครองที่มีส่วนสำคัญในการวางรากฐานในการขยายดินแดนของปรัสเซียและเพิ่มความแข็งแกร่งให้แก่ราชอาณาจักรปรัสเซีย ในบั้นปลายของชีวิตพระเจ้าฟรีดริชทรงรวมอาณาจักรต่าง ๆ ที่เคยเป็นราชรัฐเล็กของปรัสเซียเข้าด้วยกันรวมทั้งดินแดนที่ทรงได้มาจากการแบ่งแยกโปแลนด์ พระเจ้าฟรีดริชทรงเป็นผู้สนับสนุนการปกครองระบบที่มีพื้นฐานมาจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรม ทรงติดต่อสื่อสารกับวอลแตร์ นักปรัชญาเป็นเวลาราวห้าสิบปี และมีความสนิทสนมกันมากแต่ในขณะเดียวกันความสัมพันธ์ก็เต็มไปด้วยความขัดแย้งโดยตลอด พระราชกรณียกิจที่สำคัญ ๆ คือการปรับปรุงระบบการบริหารราชการและข้าราชการ และยังทรงสนับสนุนเสรีภาพของการนับถือศาสนา ทรงเป็นผู้อุปถัมภ์ศิลปินและนักปรัชญา เมื่อสิ้นพระชนม์ร่างของพระองค์ถูกฝังอยู่ที่พระราชวังที่โปรดปรานที่วังซองส์ซูซิที่เมืองพอทสดัม เมื่อสิ้นพระชนม์ บัลลังก์ตกไปเป็นของพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 พระราชนัดดาเพราะพระองค์เองไม่มีพระราชโอรส ฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 เป็นพระโอรสของเจ้าชายเอากุสท์ วิลเฮล์มแห่งปรัสเซีย พระอนุชาของพระเจ้าฟรีดริชเอง.

ใหม่!!: จักรพรรดิและพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามูแห่งบัลแฮ

ักรพรรดิมูแห่งบัลแฮ ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 2 แห่ง อาณาจักรบัลแฮ เป็นพระราชโอรสใน พระเจ้าโก หรือ แด โจยอง.

ใหม่!!: จักรพรรดิและพระเจ้ามูแห่งบัลแฮ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามูแห่งพัลแฮ

ักรพรรดิมูแห่งพัลแฮ ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 2 แห่ง อาณาจักรพัลแฮ เป็นพระราชโอรสใน พระเจ้าโก หรือ แท โจยอง.

ใหม่!!: จักรพรรดิและพระเจ้ามูแห่งพัลแฮ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส (Louis-Philippe Ier; Louis-Philippe of France) (6 ตุลาคม พ.ศ. 2316 - 26 สิงหาคม พ.ศ. 2393) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวฝรั่งเศส (King of the French) ตั้งแต่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2373 ถึง 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2391 รวม 18 ปี ต่อจากการสละราชสมบัติของพระเจ้าชาร์ลที่ 10 พระองค์ทรงเป็นที่รู้จักของประชาชนในนาม "พระมหากษัตริย์แห่งเดือนกรกฎาคม" โดยพระองค์ก็ถูกบังคับให้สละราชสมบัติในปีค.ศ. 1830 และเสด็จไปลี้ภัยที่ประเทศอังกฤษจนสิ้นพระชนม์ชีพ เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งฝรั่งเศส (ถ้าไม่นับรวมจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ซึ่งอยู่ในฐานะจักรพรรดิ).

ใหม่!!: จักรพรรดิและพระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส (Louis le Bègue) (1 พฤศจิกายน 846 – 10 เมษายน 879) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอากีแตน และต่อมาก็ได้เป็นพระมหากษัตริย์แห่งชนแฟรงค์ตะวันตก พระองค์เป็นพระโอรสในพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 ผู้ศีรษะล้านกับสมเด็จพระราชินีเออร์เมนทูจ แห่งออร์เลออง แม้พระองค์จะไม่เคยครองตำแหน่งจักรพรรดิ แต่พระองค์ก็ได้รับการยกยกให้เป็น จักรพรรดิหลุยส์ที่ 2 พระเจ้าหลุยส์ที่ 2 ทรงอภิเษกสมรสสองครั้ง ทรงอภิเษกสมรสครั้งแรกกับแอนซ์การ์ดแห่งเบอร์กันดี มีพระราชโอรส 2 พระองค์ ได้แก่เจ้าชายหลุยส์ (ประสูติในปี 863) และ เจ้าชายคาร์โลมัน (ประสูติในปี 866) ทั้งสองพระองค์ได้เป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสในเวลาต่อม.

ใหม่!!: จักรพรรดิและพระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอโศกมหาราช

ระเจ้าอโศกมหาราช (अशोकः; พ.ศ. 240 - พ.ศ. 312 ครองราชย์ พ.ศ. 270 - พ.ศ. 311) เป็นจักรพรรดิอินเดียโบราณแห่ง ราชวงศ์โมริยะ หรือเมารยะผู้ปกครอง อนุทวีปอินเดีย เกือบทั้งหมดพระองค์เป็นราชนัดดา (หลาน) ของผู้ก่อตั้งราชวงศ์เมารยะคือ พระเจ้าจันทรคุปต์ ผู้สร้างหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในอินเดียโบราณและจันทรคุปต์สละทั้งหมดแล้วบวชเป็นนักบวชเชน พระเจ้าอโศกเป็นหนึ่งในจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่ของอินเดียพระองค์ขยายจักรวรรดิของพระเจ้าจันทรคุปต์และครอบครองเหนือดินแดนตั้งแต่ทางทิศตะวันตกคือพื้นที่ ประเทศอัฟกานิสถาน ในปัจจุบันขยายออกไปทางทิศตะวันออกถึงบังกลาเทศ เป็นพื้นที่ครอบคลุมอนุทวีปของชาวอินเดียทั้งหมดยกเว้นพื้นที่ที่เป็น รัฐทมิฬนาฑู ในปัจจุบัน คาร์นาตากาและรัฐเกรละ เมืองหลวงของจักรวรรดิคือเมืองปาฏลีบุตร (ในแคว้นมคธปัจจุบันนี้คือเมืองปัฏนะ)พร้อมด้วยเมืองหลวงต่างจังหวัดคือเมือง ตักศิลา และเมืองอุชเชน หรือ อุชเชนี ในครั้งพุทธกาล ประมาณ..

ใหม่!!: จักรพรรดิและพระเจ้าอโศกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจักรพรรดิ

ระเจ้าจักรพรรดิ (จกฺกวตฺติ) คือจักรพรรดิผู้ปกครองทวีปทั้ง 4 ในความเชื่อของพระพุทธศาสนา เป็นผู้รักษาศีล เป็นธรรมราชา ปกครองด้วยทศพิธราชธรรม มีพระโอรสนับพัน ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่ปรารถนาสงคราม ไม่ประสงค์เครื่องบรรณาการ พระเจ้าจักรพรรดิมีแต่ผู้เคารพนับถือ พระเจ้าจักรพรรดิเป็นผู้มีบุญญาธิการมาก พระเจ้าจักรพรรดิมีลักษณะของมหาบุรุษเช่นเดียวกับพระพุทธเจ้า แต่ทรงเลือกปกครองแผ่นดิน ยามใดที่มีพระพุทธศาสนา พระเจ้าจักรพรรดิก็ทรงบำรุงอุปัฎฐากพระพุทธเจ้า พระอรหันตสาวก ช่วยเผยแพร่พระธรรม แต่ยามใดที่ไม่มีพระพุทธศาสนา พระองค์ก็ทรงรวบรวมผืนแผ่นดิน ผู้คนให้เป็นปึกแผ่น ทรงปกครองโดยธรรม สั่งสอนประชาชนทั้งมวล พระเจ้าจักรพรรดิทรงขยันในการสร้างบารมีมาก ถึงแม้จะเป็นพระมหาจักรพรรดิก็ยังทรงสร้างพระบารมีไม่หยุดหย่อน.

ใหม่!!: จักรพรรดิและพระเจ้าจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจันทรคุปต์ที่ 2

ระเจ้าจันทรคุปต์ที่ 2 (Chandragupta II, สันสกฤต: चन्द्रगुप्त विक्रमादित्य) เป็นพระมหาจักรพรรดิพระองค์ที่ 3 แห่งจักรวรรดิคุปตะ ผู้ครองกรุงปาตลีบุตร กรุงอุชเชนี และอนุทวีปอินเดียในราวปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและพระเจ้าจันทรคุปต์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

พัลพาทีน

ีฟว์ พัลพาทีน (Sheev Palpatine) เรียกสั้นๆว่า พัลพาทีน (Palpatine) คือตัวละครตัวหนึ่งในมหากาพย์ภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์สตาร์ วอร์ส แสดงโดยเอียน แมคเดียร์มิด มีบทบาทสำคัญในภาพยนตร์ทั้งหมดห้าภาคจากหกภาคของภาพยนตร์ชุดนี้และเนื้อหาในจักรวาลขยายอีกจำนวนมาก พัลพาทีน หรือ ดาร์ธ ซิเดียส (Darth Sidious) เป็นสมุหนายกคนสุดท้ายของสาธารณรัฐกาแลกติก(ปีที่ 32 ก่อนยุทธการยาวินถึงปีที่ 19 ก่อนยุทธการยาวิน) และผู้ตั้งตนเองเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิกาแลกติก (ปีที่ 19 ก่อนยุทธการยาวินถึงปีที่ 4 หลังยุทธการยาวิน เขาเป็นผู้ที่ทำให้เกิดความขัดแย้งระดับกาแลกซีอย่างสงครามโคลนเพื่อที่จะกุมอำนาจโดยใช้กฎอัยการศึกที่ประกาศโดยสภากาแลกติก ในระหว่างสงครามโคลน พัลพาทีนเป็นผู้นำที่แท้จริงของกลุ่มแบ่งแยกดินแดนในฐานะของซิธลอร์ด ดาร์ธ ซิเดียส ทั้งยังเป็นผู้นำตามกฎหมายของฝ่ายสาธารณรัฐอีกด้วย ทำให้เขาสามารถวางแผนความเป็นไปของสงครามทั้งหมดได้ ยังผลให้พัลพาทีนได้รับชัยชนะอย่างยิ่งใหญ่คือการถือกำเนิดของจักรวรรดิกาแลกติก ใบหน้าพัลพาทีนที่เสียโฉมจากพลังสายฟ้าของตนเองที่ถูกปัดป้องกลับจาก เมซ วินดู นอกจากจะถูกถือว่าเป็นลอร์ดมืดแห่งซิธที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของนิกายซิธแล้ว พัลพาทีนยังเชื่อว่าตนเป็นซิธลอร์ดเพียงหนึ่งเดียวในรอบหลายพันปีที่สามารถบรรลุเป้าหมายสูงสุดของซิธได้ นั่นก็คือการทำลายล้างนิกายเจได และทำให้ซิธได้ปกครองกาแลกซี อย่างไรก็ดี ความแข็งแกร่งที่ทำให้พัลพาทีนเป็นซิธที่สามารถแก้แค้นให้กับนิกายของตนได้เป็นผลสำเร็จนั้นไม่ได้มาจากความสามารถในด้านมืดของพลังที่ร้ายกาจแต่อย่างใด ทว่าเป็นการที่เขาสามารถทำให้กาแลกซีทั้งกาแลกซีตกอยู่ภายใต้การควบคุมของตนเองได้ทั้งฝ่ายดีและฝ่ายชั่ว นั่นคือตามที่อาจารย์โยดาเคยกล่าวไว้ว่าด้านมืดบดบังทุกสิ่ง ในฐานะของอัจฉริยะโฉด พัลพาทีนไม่ได้สามารถชำระแค้นให้กับซิธด้วยเพียงความเก่งกาจทางการเมืองและความเชี่ยวชาญในพลังเท่านั้น แต่ยังด้วยความช่วยเหลือของผู้ฝึกฝนที่เก่งกาจจำนวนมาก ซึ่งรวมไปถึงอนาคิน สกายวอล์คเกอร์ ผู้ถูกชักนำเข้าสู่ด้านมืดและกลายเป็นซิธลอร์ด ดาร์ธ เวเดอร์ ที่สำคัญพัลพาทีนเป็นบุคคลสำคัญในการวางแผนคำสั่งที่ 66 ซึ่งทำให้เจไดเกือบทั้งหมดถูกสังหาร และเขาเป็นผู้คุมกองทัพทั้งหมดไว้ในมือ หลายคนเชื่อว่าเขาเป็นผู้ที่ทรงพลังอย่างมาก จากที่เขาสามารถทำนายความรุ่งเรืองและความเป็นไปทั้งหมดของชีวิตของเขาได้ทะลุปรุโปร่ง ยกเว้นเพียงแต่ความตายของตัวเองเท่านั้น บทภาพยนตร์ฉบับแรกสุดของลูคัสนั้นกำหนดให้พัลพาทีนเป็นนักการเมืองผู้มีความสามารถ แต่อ่อนแอและตกอยู่ใต้อำนาจของลูกน้อง ทว่าในการกลับมาของเจได ไตรภาคต้น และนิยายจำนวนมากนั้น ตัวละครนี้ถูกแสดงออกมาในภาพลักษณ์ของความชั่วร้ายและผู้ที่กุมอำนาจทุกอย่างไว้ได้เบ็ดเสร็จ จนกลายเป็นสัญลักษณ์แห่งความชั่วร้ายอันดับต้นๆ ในประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ พัลพาทีนเสียชีวิตด้วยการกลับเข้าสู่ด้านสว่างของดาร์ธ เวเดอร์ โดยทุ่มพัลพาทีนลงไปยังเตาปฎิกรณ์ของดาวมรณะดวงที่ 2 thumb Ian McDiarmid.

ใหม่!!: จักรพรรดิและพัลพาทีน · ดูเพิ่มเติม »

การทัพปราบอ้วนสุด

การทัพปราบอ้วนสุด (Campaign against Yuan Shu) การรบที่เกิดขึ้นในช่วง..

ใหม่!!: จักรพรรดิและการทัพปราบอ้วนสุด · ดูเพิ่มเติม »

กุบไล ข่าน

มเด็จพระจักรพรรดิกุบไล ข่าน หรือ จักรพรรดิซื่อจูหวางตี้ หรือ จักรพรรดิซีโจ๊วฮ่องเต้ (23 กันยายน พ.ศ. 1758-1837 (ค.ศ. 1215-1294)) เป็นข่านหรือจักรพรรดิของมองโกล และยังเป็นจักรพรรดิองค์แรกของราชวงศ์หยวนแห่งประเทศจีน กุบไลข่านเป็นพระราชนัดดาในจักรพรรดิเจงกีส ข่าน พระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิมองโกลเมื่อ พ.ศ. 1803 (ค.ศ. 1260) และสถาปนาราชวงศ์หยวนเมื่อ พ.ศ. 1822 (ค.ศ. 1279) จักรวรรดิมองโกลที่เจงกีสข่านสร้างไว้ขึ้นถึงจุดสูงสุดในสมัยของกุบไล ข่าน เมื่อกุบไล ข่านสามารถเอาชนะราชวงศ์ซ่งของจีน และยึดครองกรุงปักกิ่ง ปกครองประเทศจีน กุบไลข่านยังตีได้ดินแดนต้าหลี่ (Dali - ในมณฑลยูนนานในปัจจุบัน) และเกาหลี นอกจากนี้ยังได้พยายามยึดครองดินแดนนิฮง (ญี่ปุ่น ในปัจจุบัน) และดินแดนหนานหยาง (ดินแดนแหลมสุวรรณภูมิ) ประกอบด้วย พม่า, เวียดนาม และอินโดนีเซีย แต่ไม่ประสบความสำเร็จ ในยุคสมัยของกุบไล ข่าน มีนักเดินทางชาวตะวันตกมากมายเดินทางมาถึงดินแดนจีนของกุบไล ข่าน นักเดินทางที่มีชื่อเสียงคือ มาร์โคโปโล.

ใหม่!!: จักรพรรดิและกุบไล ข่าน · ดูเพิ่มเติม »

ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส

ระราชินีมารี เดอ เมดีซิส (Marie de' Medici cycle) เป็นภาพเขียนชุดจำนวนยี่สิบสี่ภาพที่เขียนโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ จิตรกรคนสำคัญของสมัยบาโรกแบบเฟลมิช ที่ว่าจ้างโดยพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส พระอัครมเหสีในพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส สำหรับตั้งแสดงที่พระราชวังลุกซ็องบูร์ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส รือเบินส์ได้รับการจ้างในฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ. 1621 หลังจากที่มีการเจรจาต่อรองเกี่ยวกับรายละเอียดต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับข้อตกลงภายในสัญญาเมื่อต้นปี ค.ศ. 1622 แล้ว สัญญาก็ระบุว่าโครงการเขียนภาพจะต้องเสร็จภายในสองปีเพื่อให้ทันเวลากับการเสกสมรสของพระราชธิดาเจ้าหญิงเฮนเรียตตา มาเรียกับพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ภาพเขียนยี่สิบเอ็ดภาพเป็นภาพการต่อสู้และการได้รับชัยชนะต่าง ๆ ในชีวิตของพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส อีกสามภาพเป็นภาพเหมือนของพระองค์เองและพระราชบิดามารดาBelkin, pp.

ใหม่!!: จักรพรรดิและภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส · ดูเพิ่มเติม »

มหาบุรุษซามูไร

มหาบุรุษซามูไร (The Last Samurai) หรือซามูไรคนสุดท้าย เป็นประเภทผจญภัย สงคราม-ดราม่า ซึ่งออกฉายครั้งแรกในวันที่ 5 ธันวาคม..

ใหม่!!: จักรพรรดิและมหาบุรุษซามูไร · ดูเพิ่มเติม »

มังกรจีน

วาดมังกรจีนโบราณ มังกรจีน (อักษรจีนตัวเต็ม: 龍; อักษรจีนตัวย่อ: 龙; พินอิน: lóng; ฮกเกี้ยน: เล้ง; ไทยถิ่นเหนือ: ลวง) เป็นสัญลักษณ์โดดเด่นอันหนึ่งของจักรพรรดิและวัฒนธรรมจีน มีลักษณะที่มาจากสัตว์หลาย ๆ ชนิดผสมผสานกัน ลักษณะลำตัวยาวเหมือนงู มีเขี้ยวขนาดใหญ่หนึ่งคู่อยู่ที่บริเวณขากรรไกรด้านบน มีหนวดยาวลักษณะเหมือนกับไม้เลื้อย และมีแผงคอเหมือนกับของสิงโตอยู่บน คอ, คาง และข้อศอก มีเกล็ดสีเขียวเข้มทั่วทั้งบริเวณลำตัวรวมทั้งสิ้น 117 เกล็ด ซึ่งเกล็ดมังกรจำนวน 81 แผ่น มีคุณสมบัติเป็นหยางซึ่งเป็นเกล็ดที่มีความดี เกล็ดมังกรจำนวน 36 แผ่น มีคุณสมบัติเป็นหยินซึ่งจะเป็นเกล็ดที่มีความชั่ว ลักษณะเขาของมังกรจะมีสันหลังทอดยาวไปตามหลังและหาง เป็นหนามยาวและสั้นสลับกัน มีขา 4 ขาและกรงเล็บแข็งแรง เกล็ดของมังกรจีนนั้น จะมีลักษณะเฉพาะเปลี่ยนไปตามแต่ละชนิดของมังกร ตั้งแต่สีเขียวเข้มจนถึงสีทอง หรือบางแหล่งกล่าวกันว่า มังกรจีนนั้นมีหลายสี เช่น สีน้ำเงิน สีดำ สีขาว สีแดง สีเขียว หรือสีเหลือง แต่ในกรณีของมังกรชนิด chiao หลังของมังกรจะเป็นสีเขียว บริเวณด้านข้างเป็นสีเหลือง และใต้ท้องเป็นสีแดงเข้ม มังกรจีนชนิดหนึ่งจะมีปีกที่ด้านข้างของลำตัว และสามารถที่จะเดินบนน้ำได้ แต่สำหรับมังกรจีนอีกชนิดหนึ่งเมื่อสะบัดแผงคอไปข้างหน้าและข้างหลัง จะทำให้เกิดเสียงที่ฟังดูเหมือนกับเสียงขลุ่ย มังกรจีนจะมีโหนกอยู่บนหัวซึ่งทำให้สามารถบินได้ เรียกโหนกที่อยู่บนหัวว่า ch’ih muh แต่ถ้ามังกรจีนตัวใดไม่มีโหนกที่บริเวณหัว จะกำคทาเล็ก ๆ ที่เรียกว่า po-shan ซึ่งสามารถทำให้มังกรลอยตัวในอากาศได้(ปัจจุบัน ประเทศทางตะวันตก ก็เพิ่งเจอ วัตถุลึกลับบางอย่างสามารถลอยในอากาศได้เป็นระยะเวลาสั้นๆ) ในประเทศจีนคนโบราณมีความเชื่อกันว่ามังกรคือสัตว์ที่ทรงพลังและศักดิ์สิทธิ์แห่งฟ้าและดิน ได้รับการกล่าวกันว่ามีความเป็นมิตร มากกว่าความร้ายกาจ เป็นสัญลักษณ์ที่นำมาซึ่งความสุข และความอุดมสมบูรณ์ของบ้านเมือง พบได้ใน แม่น้ำและทะเลสาบ ชอบที่จะอยู่ท่ามกลางสายฝน มังกรได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้สร้างกฎแห่งความใจบุญ และเป็นสิ่งที่เสริมสร้างความมั่นใจ และความเชื่อมั่นให้แก่กษัตริย์ในราชวงศ์ชิง กษัตริย์จะนั่งบนบัลลังก์มังกร เดินทางโดยเรือมังกร เสวยอาหารบนโต๊ะมังกร และบรรทมบนเตียงมังกร.

ใหม่!!: จักรพรรดิและมังกรจีน · ดูเพิ่มเติม »

มเหสี (ตำแหน่งฝ่ายใน)

มเหสี (Royal consort) คือตำแหน่งนางเมือง ผู้เป็นชายาของพระเจ้าแผ่นดิน มักมีกำเนิดจากตระกูลสูงศักดิ์ ทั้งนี้เพื่อความเหมาะสมเมื่อต้องทำหน้าที่ปกครองเหล่าพระสนม (Concubines) ในวัฒนธรรมเรื่องมเหสีนี้ ทั้งตะวันตก (Western) และตะวันออก (Eastern) มีระบบแนวคิดที่ต่างกัน เนื่องจากทางตะวันตกเป็นคริสต์ศาสนิกชน ทั้งราชวงศ์และประชาชนต่างต้องประพฤติตนตามหลัก"ผัวเดียวเมียเดียว" อย่างเคร่งครัด ถ้าจะมีอนุภรรยาก็จะต้องกระทำการอย่างลับๆ ซึ่งบางทีก็ไม่ลึกลับ หากเป็นที่รู้กันโดยทั่วไปในสังคมนั้นๆ แต่อย่างไรก็ดีเหล่าอนุภรรยานั้นไม่มีสถานะอย่างเป็นทางการ ส่วนทางตะวันออกนั้น ผู้ชายสามารถมีภรรยาได้หลายคน ยิ่งผู้ชายนั้นมีอำนาจและยศศักดิ์มากเท่าไร จำนวนภรรยาก็จะเพิ่มตามไปด้วย แต่จะมีภรรยาที่มีตำแหน่งสูงที่สุดเหนือภรรยาทั้งปวง คอยทำหน้าที่ปกครองเหล่าภรรยาคนอื่นๆ ซึ่งภรรยาเอกผู้มีตำแหน่งสูงสุดนั้นอาจมีคนเดียว หรือมีหลายคนโดยทุกคนมีตำแหน่งเป็นภรรยาเอกเท่าเทียมกันหมดก็ได้ มักเป็นสตรีที่มาจากตระกูลสูงศักดิ์ ซึ่งกษัตริย์ต้องการนำอิทธิพลของตระกูลฝ่ายหญิงมาเสริมฐานอำนาจของพระองค์เอง มีบ้างที่ภรรยาเอก หรือมเหสีเอกนั้นเป็นสามัญชนธรรมดา เฉพาะในกรณีปราบดาภิเษกตั้งราชวงศ์ใหม่ เป็นต้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิและมเหสี (ตำแหน่งฝ่ายใน) · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เอาสเทอร์ลิทซ์

ทธการเอาสเทอร์ลิทซ์ (Battle of Austerlitz; Bitva u Slavkova) หรือเป็นที่รู้จักกันว่า ยุทธการสามจักรพรรดิ (Three Emperor Battle) เป็นหนึ่งในชัยชนะครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดของนโปเลียน โดยสามารถทำลายกลุ่มประเทศที่ต่อต้านฝรั่งเศสลงได้ ในวันที่ 2 ธันวาคม..

ใหม่!!: จักรพรรดิและยุทธการที่เอาสเทอร์ลิทซ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์ค

รัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์ค (Markgrafschaft Brandenburg) เป็นรัฐมาร์เกรฟที่สำคัญของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1157 และสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1806 อีกชื่อหนึ่งของอาณาจักรคือ “อาณาจักรชายแดนแห่งบรันเดินบวร์ค” (March of Brandenburg หรือ Mark Brandenburg) มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ของเยอรมนี และยุโรปตอนกลาง รัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์คเกิดจากอาณาจักรชายแดนตอนเหนือ (Northern March) ที่ก่อตั้งโดยชนสลาฟเวนด์ (Wends) มาเกรฟผู้ปกครองอาณาจักรได้รับการเลื่อนฐานะขึ้นเป็นเจ้าชายผู้คัดเลือกโดยพระราชบัญญัติทอง ค.ศ. 1356 ผู้เป็นผู้มีสิทธิในการเลือกตั้งจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ฉะนั้นบางครั้งจึงรู้จักกันในชื่อว่า “อาณาจักรเลือกตั้งแห่งบรันเดินบวร์ค” ด้วย (Electorate of Brandenburg หรือ Kurfürstentum Brandenburg) ในปี ค.ศ. 1415 ราชวงศ์โฮเฮนโซลเลิร์นก็ขึ้นมามีอำนาจปกครองบรันเดินบวร์ค บรันเดินบวร์คเจริญอำนาจขึ้นอย่างรวดเร็วระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 และในที่สุดก็ได้อาณาจักรดยุคแห่งปรัสเซีย เข้ามาอยู่ในครอบครอง บรันเดินบวร์ค-ปรัสเซียกลายมาเป็นต้นกำเนิดของราชอาณาจักรปรัสเซียที่กลายมาเป็นรัฐผู้นำของเยอรมนีระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 18 แม้ว่าตำแหน่งสูงสุดของผู้มีสิทธิเลือกตั้งคือตำแหน่ง “พระมหากษัตริย์แห่งปรัสเซีย” แต่อำนาจที่แท้จริงก็จำกัดอยู่ในบรันเดินบวร์ค และในเมืองหลวงเบอร์ลิน และพอทสดัม แม้ว่ารัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์คจะสิ้นสุดลงด้วยการยุบตัวของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปี ค.ศ. 1806 แต่ก็มาแทนด้วยจังหวัดบรันเดินบวร์คของปรัสเซียในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและรัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ยูลิอุส-เกลาดิอุส

ราชวงศ์ยูลิอุส-เกลาดิอุส (Julio-Claudian dynasty; 27 ปีก่อน ค.ศ. – ค.ศ. 68) เป็นราชวงศ์แรกที่ปกครองจักรวรรดิโรมัน มีจักรพรรดิปกครองทั้งสิ้น 5 พระองค์ ปฐมจักรพรรดิคือ จักรพรรดิเอากุสตุส และจักรพรรดิพระองค์สุดท้ายคือ จักรพรรดิแนโร (ค.ศ. 54–68) หมวดหมู่:ก่อตั้งในศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: จักรพรรดิและราชวงศ์ยูลิอุส-เกลาดิอุส · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หลิวซ่ง

ราชวงศ์หลิวซ่ง (Liu Song Dynasty, 963 - 1022) หนึ่งในสี่ราชวงศ์แห่ง ยุคราชวงศ์ใต้ ใน ยุคราชวงศ์เหนือ-ใต้ ปกครองประเทศจีนระหว่าง พ.ศ. 963 - พ.ศ. 1022 โดยมี จักรพรรดิหลิวซ่งอู่ เป็นปฐมจักรพรรดิ จักรพรรดิราชวงศ์นี้สืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์ฮั่นโดยสืบสันติวงศ์มาจากฉู่อ๋องเล่าเจี้ยวพระอนุชาของฮั่นโกโจฮ่องเต้ ราชวงศ์หลิวซ่งสถาปนาขึ้นภายหลังการล่มสลายของ ราชวงศ์จิ้นตะวันออก หมวดหมู่:ราชวงศ์จีน หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์จีน.

ใหม่!!: จักรพรรดิและราชวงศ์หลิวซ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง

ราชวงศ์โฮ่วฮั่น (ค.ศ. 947 - 950) เป็นราชวงศ์ที่ 4 ในยุคห้าราชวงศ์และสิบอาณาจักร ปกครองจีนอยู่เพียง 3 ปี และมีจักรพรรดิปกครองเพียง 2 พระองค์คือ จักรพรรดิเกาจู่แห่งโฮ่วฮั่น และจักรพรรดิฮั่นหยินตี้ ก่อนเสียเอกราชให้กับจักรพรรดิโจวไท่จู่ แห่งราชวงศ์โฮ่วโจว หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร หมวดหมู่:ราชวงศ์จีน.

ใหม่!!: จักรพรรดิและราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก

มื่อพระเจ้าฮั่นเซ่าตี้ขึ้นครองราชย์แล้ว อำมาตย์หยวนเซ่า (อ้วนเสี้ยว) เริ่มกำจัดขันทีกว่า 2000 คน อันเป็นการกวาดล้างอิทธิพลของขันทีทั้งหมด ต่อมาต่งจัว (ตั๋งโต๊ะ) นำกองทหารบุกโจมตีลั่วหยางและปลงพระชนม์พระเจ้าฮั่นเซ่าตี้ แล้วยก พระเจ้าฮั่นเซี่ยนตี้ (เหี้ยนเต้) ขึ้นครองราชย์แทน พร้อมกับบีบให้หยวนเซ่าออกจากเมืองหลวง ไม่นานหยวนเซ่ากับพันธมิตรยกทัพมาตีต่งจัว เขาจึงพาจักรพรรดิลี้ภัยไปฉางอาน (เตียงอัน) ต่อมา หลี่ปู้ (ลิโป้) กับพวก วางแผนลอบสังหารต่งจัวสำเร็จ จักรพรรดิจึงเดินทางกลับลั่วหยัง (ลกเอี๋ยง) แต่ถูกนายทัพเฉาเชา (โจโฉ) ย้ายพระองค์ไปอยู่ที่เมืองสี่ชาง (ฮูโต๋) ตั้งแต่บัดนั้นมาเฉาเชาจึงควบคุมและใช้อำนาจบริหารบ้านเมืองในนามจักรพรรดิ ถือเป็นผู้ครองอำนาจสูงสุดแท้จริง ปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและราชวงศ์ฮั่นตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จิน

ราชวงศ์จิน เป็นราชวงศ์ที่ถูกก่อตั้งโดยชนเผ่าหนี่เจิน ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของพวกแมนจู ในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและราชวงศ์จิน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จิ้นยุคหลัง

ราชวงศ์จิ้นยุคหลัง (Later Jin Dynasty) ราชวงศ์ที่ 3 ใน ยุคห้าราชวงศ์และสิบอาณาจักร สถาปนาโดยจักรพรรดิจิ้นเกาจู่ (สือจิ้งถัง) เชื้อพระวงศ์องค์หนึ่งในราชวงศ์โฮ่วถัง โดยมีเมืองไคฟงเป็นเมืองหลวง ราชวงศ์นี้มีจักรพรรดิปกครองเพียง 2 พระองค์คือ จักรพรรดิจิ้นเกาจู่ และจักรพรรดิจิ้นฉู่ตี้ และปกครองจีนอยู่เพียง 11 ปี ก่อนเสียเอกราชให้กับจักรพรรดิเกาจู่ (หลิวจื้อหยวน) แห่งราชวงศ์โฮ่วฮั่น หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร หมวดหมู่:ราชวงศ์จีน.

ใหม่!!: จักรพรรดิและราชวงศ์จิ้นยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ถังยุคหลัง

ราชวงศ์โฮ่วถัง (Later Tang Dynasty) (ค.ศ. 923 - 936) เป็นราชวงศ์ที่ 2 ในยุคห้าราชวงศ์และสิบอาณาจักร สถาปนาโดย จักรพรรดิถังซวงจง (หลี่คุนซู) เมื่อ..

ใหม่!!: จักรพรรดิและราชวงศ์ถังยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โรมานอฟ

งราชวงศ์โรมานอฟ ตราแผ่นดินของจักรวรรดิรัสเซีย ตราประจำพระราชวงศ์ ราชวงศ์โรมานอฟ ตามสำเนียงอังกฤษ หรือ รามานาฟ ตามสำเนียงรัสเซีย (Romanov) เป็นราชวงศ์ที่สองและราชวงศ์สุดท้ายของรัสเซีย โดยราชวงศ์นี้ปกครองจักรวรรดิรัสเซียตั้งแต่ ค.ศ. 1613 ถึง ค.ศ. 1917 กษัตริย์โรมานอฟพระองค์แรก คือพระเจ้าซาร์มิฮาอิลที่ 1 ได้รับแต่งตั้งใน ค.ศ. 1613 ภายหลังสมัยแห่งความวุ่นวาย (Time of Troubles) ราชวงศ์นี้ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เกือบตลอดเวลา โดยได้มีความพยายามร่างรัฐธรรมนูญ โดยพระจักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 2 แต่พระองค์ก็ถูกลอบปลงพระชนม์เสียก่อน แม้ว่าจักรพรรดินีโคไลที่ 2 จะทรงตั้งสภาดูมาใน ค.ศ. 1905 ก็มิได้มีสิทธิในการออกกฎหมายอย่างเต็มที่ จนเกิดการปฏิวัติใหญ่ในรัสเซีย จักรพรรดินิโคสัสที่ 2 ต้องทรงสละราชสมบัติในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 และถูกปลงพระชนม์โดยกำลังของฝ่ายบอลเชวิกในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1918 ซึ่งสาเหตุของการปลงพระชนม์เนื่องด้วย พระจักรพรรดินิโคสัสที่ 2 เข้าร่วมสงครามและทุ่มงบประมาณไปกับสงครามมาก ทำให้เศรษฐกิจตกต่ำ ส่งผลให้ประชาชนก่อการปฏิวัติ และทางราชวงศ์ได้พยายามหลบหนีแต่ไม่สำเร็จ ได้ถูกนำมากักตัวและถูกลอบปลงพระชนม.

ใหม่!!: จักรพรรดิและราชวงศ์โรมานอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โฮเอินชเตาเฟิน

อินชเตาเฟิน (Hohenstaufen) เป็นราชวงศ์หรือตระกูลของกษัตริย์เยอรมันที่รุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ. 1138 จนถึง ค.ศ. 1254 ในบรรดากษัตริย์จากราชวงศ์โฮเอินชเตาเฟินสามพระองค์ได้รับการราชาภิเษกเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและราชวงศ์โฮเอินชเตาเฟิน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โจวยุคหลัง

ราชวงศ์โฮ่วโจว (ค.ศ. 951 - 960) ราชวงศ์ที่ 5 และราชวงศ์สุดท้ายในยุคห้าราชวงศ์และสิบอาณาจักร จักรพรรดิองค์แรกของราชวงศ์นี้คือจักรพรรดิโจวไท่จู่ ราชวงศ์นี้ปกครองจีนอยู่เพียง 9 ปีก่อนที่ เจ้ากวงยิ่น (จักรพรรดิซ่งไท่จู่) จะโค่นล้มราชวงศ์โฮ่วโจว และสถาปนาราชวงศ์ซ่งเหนือ ขึ้นในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและราชวงศ์โจวยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เว่ยเหนือ

ราชวงศ์เว่ยเหนือ (Northern Wei, 929 – 1078) ราชวงศ์หนึ่งที่ปกครองแผ่นดินจีนในยุคที่เรียกว่า ยุคราชวงศ์เหนือ-ใต้ โดยปกครองระหว่าง..

ใหม่!!: จักรพรรดิและราชวงศ์เว่ยเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เหลียงยุคหลัง

ราชวงศ์โฮ่วเหลียง (เหลียงยุคหลัง) (Later Liang Dynasty) (ค.ศ. 907 - 923) ถูกสถาปนาโดยจูเวินหรือจูเหวียนจง (ค.ศ.852-912) ผู้โค่นล้มราชวงศ์ถัง เดิมเหลียงไท่จู่ (จูเหวียนจง)เป็นหนึ่งในขุนพลของกองทัพกบฏหวงเฉา ต่อมาได้สวามิภักดิ์กับราชวงศ์ และร่วมมือกับหลี่เค่อยัง หัวหน้าเผ่าซาถัวปราบปรามกบฏจนหมดสิ้น และได้รับพระราชทานชื่อใหม่ว่า เหวียนจง แปลว่าผู้ซื่อสัตย์จงรักภักดี ต่อมาเขาเริ่มมีอิทธิพลในราชสำนักและในที่สุดเขาก็ปลดจักรพรรดิถังอัยตี้ จักรพรรดิองค์สุดท้ายลงจากราชบัลลังก์ ทำให้ราชวงศ์ถังสิ้นสุดลง และเขาก็ได้สถาปนาตนเอง ขึ้นเป็นจักรพรรดิองค์แรกแห่งราชวงศ์โฮ่วเหลียง พระนามว่าจักรพรรดิเหลียงไท่จู่ ราชวงศ์นี้เป็นราชวงศ์แรกในยุคที่เรียกว่า ยุคห้าราชวงศ์และสิบอาณาจักร แต่ราชวงศ์นี้มีจักรพรรดิปกครองเพียง 2 พระองค์ หมวดหมู่:ราชวงศ์จีน หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร.

ใหม่!!: จักรพรรดิและราชวงศ์เหลียงยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรไซปรัส

ราชอาณาจักรไซปรัส (Kingdom of Cyprus) เป็นอาณาจักรครูเสด (Crusader kingdom) ที่ตั้งอยู่บนเกาะไซปรัสที่รุ่งเรืองในสมัยกลางและปลายสมัยกลางระหว่าง..

ใหม่!!: จักรพรรดิและราชอาณาจักรไซปรัส · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ"ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ" เป็นศัพท์บัญญัติของ (constitutional monarchy) เป็นรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐโดยไม่ทรงมีบทบาททางการเมืองและทรงอยู่ในขอบเขตของรัฐธรรมนูญไม่ว่าเป็นหรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ถึงแม้ว่าพระมหากษัตริย์อาจมีพระราชอำนาจโดยพระบารมีและรัฐบาลอาจดำเนินการในพระนาม แต่พระมหากษัตริย์จะไม่ทรงกำหนดนโยบายสาธารณะหรือเลือกผู้นำทางการเมือง เวอร์นอน บอกดานอร์ (Vernon Bogdanor) นักรัฐศาสตร์ชาวอังกฤษ นิยามว่า ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญ คือ "องค์อธิปัตย์ที่ปกเกล้าแต่ไม่ปกครอง" (a sovereign who reigns but does not rule), excerpted from การปกครองรูปแบบนี้ต่างจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงควบคุมการตัดสินใจทางการเมืองโดยไม่ทรงถูกรัฐธรรมนูญควบคุมเอาไว้ ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางทีเรียกว่า ปรมิตตาญาสิทธิราชย์ (limited monarchy) สาธารณรัฐอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (crowned republic) หรือราชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา (parliamentary monarchy) นอกจากเป็นศูนย์รวมใจของชนในชาติแล้ว ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญอาจมีพระราชอำนาจอย่างเป็นทางการ เช่น ยุบสภานิติบัญญัติ หรืออนุมัติกฎหมาย แต่ส่วนใหญ่แล้วเป็นพระราชอำนาจทางพิธีการ มิใช่เป็นช่องให้พระมหากษัตริย์จัดการการเมืองได้โดยพลการ วอลเทอร์ แบกฮอต (Walter Bagehot) นักทฤษฎีการเมืองชาวอังกฤษ เขียนไว้ในหนังสือ ดิอิงลิชคอนสติติวชัน (The English Constitution) ว่า มีพระราชสิทธิ์สามประการเท่านั้นที่ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญทรงใช้ได้ตามพระทัย คือ แสวงหาคำปรึกษา ประทานคำปรึกษา และประทานคำตักเตือน ประเทศราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่โดดเด่น เช่น สหราชอาณาจักรและอดีตเมืองขึ้นทั้งสิบห้าซึ่งล้วนใช้การปกครองที่เรียกว่า "ระบบเวสมินสเตอร์" (Westminster system) ส่วนรัฐสามแห่ง คือ กัมพูชา มาเลเซีย และสันตะสำนัก ใช้ราชาธิปไตยแบบเลือกตั้ง โดยให้อภิชนกลุ่มเล็ก ๆ เป็นคณะผู้เลือกตั้งองค์อธิปัตย์ขึ้นมาเป็นระยะ ๆ นับแต่เดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: จักรพรรดิและราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2043 (ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หลังสถาปนากรุงศรีอยุธยามาแล้ว 150 ปี) และจะต้องมีการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดกิจกรรมอย่างสำคัญมาถึงปัจจุบัน เนื่องจากการให้ปริญญาสำหรับการศึกษาขั้นสูงในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเกิดขึ้นในยุโรปและตะวันออกกลางเป็นส่วนใหญ่ และนิยามมหาวิทยาลัยสมัยใหม่หมายถึงสถานศึกษาที่มีความสามารถในการให้ปริญญา มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคุณสมบัติตรงนิยามสมัยใหม่ดังกล่าวจึงอยู่ในยุโรปหรือ ตะวันออกใกล้ แต่หากขยายนิยามให้กว้างขึ้นรวมไปถึงมหาวิทยาลัยโบราณที่เดิมไม่ได้มีการให้ปริญญาในขณะนั้นแต่ให้ในปัจจุบันด้วยแล้ว รายชื่อนี้อาจมีมากขึ้นโดยรวมไปถึงสถาบันอื่นๆ ทั้งในยุโรปและส่วนอื่นของโลกอีกหลายมหาวิทยาลัย สุดท้าย แม้ด้วยบทบัญญัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรปก็ยังมีข้อโต้เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการกำหนดว่ามหาวิทยาลัยใดกันแน่ที่เป็นมหาวิทยาลัยของแผ่นดินใหญ่ยุโรป มหาวิทยาลัยโบโลญญาที่เกิดก่อน มหาวิทยาลัยปารีสเป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งโดยนักศึกษาที่รวมตัวกันหาครูผู้สอน ในขณะที่มหาวิทยาลัยปารีสก่อตั้งโดยคณะผู้สอนแล้วจึงหานักศึกษามาเรียน บางแห่ง (โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยปารีส) ก็ยังพยามยามอ้างว่าตนเองเริ่มต้นด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยแท้มาแต่ต้น แต่ก็ยังเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามหาวิทยาลัยโบโลนาตั้งขึ้นก่อนมหาวิทยาลัยปารีส การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่ามีกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของมหาวิทยาลัยได้มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 1621 (ก่อนสถาปนากรุงสุโขทัย 170 ปี) ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุโรปอาจเป็นมหาวิทยาลัยซาลามังกา (University of Salamanca) ซึ่งเก่าแก่มากกว่าทั้งสองมหาวิทยาลัยที่กล่าวมาแล้ว.

ใหม่!!: จักรพรรดิและรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศส

ระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส (Monarques de France) ทรงปกครองดินแดนฝรั่งเศสมาตั้งแต่การสถาปนาราชอาณาจักรแฟรงก์ในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและรายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามผู้ปกครองรัสเซีย

ักรพรรดิแห่งรัสเซีย หรือที่มักเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่าพระเจ้าซาร์ เป็นตำแหน่งที่ปกครองอาณาจักรซาร์รัสเซีย และจักรวรรดิรัสเซีย โดยนับตั้งแต่ ค.ศ. 1721 จะทรงใช้พระยศว่า "จักรพรรดิ" จักรพรรดิพระองค์สุดท้ายคือ จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 โดยนับตั้งแต่การยกฐานะเป็นจักรวรรดิมีพระจักรพรรดิเป็นเชื้อพระวงศ์ในราชวงศ์โรมานอฟทั้งสิ้น นอกจากนี้ยังดำรงพระอิสริยยศเป็นแกรนด์ดยุคแห่งฟินแลนด์ ตั้งแต่ ค.ศ. 1809 - ค.ศ. 1917, พระมหากษัตริย์แห่งโปแลนด์ ตั้งแต่ ค.ศ. 1815 - ค.ศ. 1916.

ใหม่!!: จักรพรรดิและรายพระนามผู้ปกครองรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด

ต่อไปนี้เป็น รายชื่อคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด เรียงลำดับตามตัวอักษรของ คำที่เขียนถูก ตามที่ปรากฏในพจนานุกรมภาษาไทยหรือตามประกาศของหน่วยงานราชการไทย หมายเหตุ: การเขียนสะกดคำในนี้เป็นกรณีทั่วไป แต่ในกรณีเฉพาะ เช่น เป็นวิสามานยนาม อาทิ เป็นชื่อบุคคล ชื่อสถานที่ หรือในทางร้อยกรอง สามารถเขียนสะกดคำแตกต่างได้.

ใหม่!!: จักรพรรดิและรายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิทำลายรูปเคารพ

การปฏิรูปศาสนาเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่มหาวิหารนักบุญมาร์ติน เมืองยูเทรกต์ (Cathedral of Saint Martin, Utrecht)http://www.domkerk.nl/domchurch/history.html The birth and growth of Utrecht (ที่มาและความเจริญเติบโตของอูเทรชท์) ลัทธิทำลายรูปเคารพ (Iconoclasm) เป็นแนวคิดและการปฏิบัติเพื่อไม่ให้มีการใช้รูปเคารพ การทำลายศิลปะหรือรูปสัญลักษณ์ทางศาสนา การทำลายสัญลักษณ์อื่น ๆ ที่ไม่ใช่สัญลักษณ์ทางศาสนา หรือ การทำลายอนุสาวรีย์โดยจงใจภายในสังคมใดสังคมหนึ่ง ซึ่งมักจะเป็นผลจากการกระทำเพื่อศาสนาหรือการเมือง การกระทำเช่นนี้มักจะเป็นส่วนหนึ่งของขบวนการเปลี่ยนแปลงทางศาสนาหรือทางการเมืองภายในสังคมเดียวกัน ลัทธิทำลายรูปเคารพตรงกันข้ามกับ "ลัทธิบูชารูปเคารพ" (Iconodule).

ใหม่!!: จักรพรรดิและลัทธิทำลายรูปเคารพ · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์คริสต์ศตวรรษที่ 3

ักรวรรดิที่ถูกแบ่งแยกในปี ค.ศ. 271: จักรวรรดิกอลสีเขียว, จักรวรรดิพาลมิรีนสีเหลือง และจักรวรรดิโรมันสีแดง วิกฤติการณ์คริสต์ศตวรรษที่ 3 (Discrimen Tertii Saeculi, Crisis of the Third Century) หรืออนาธิปไตยทางทหาร (Military Anarchy หรือวิกฤติการณ์จักรวรรดิ (Imperial Crisis; ค.ศ. 235–284) เป็นช่วงระยะเวลาที่จักรวรรดิโรมันประสบวิกฤติการณ์ที่แทบจะนำความสิ้นสุดมาสู่จักรวรรดิจากปัญหาหลายอย่างรวมกันที่รวมทั้งการรุกรานของศัตรู, สงครามกลางเมือง, โรคระบาด, และความตกต่ำทางเศรษฐกิจ วิกฤติการณ์เริ่มด้วยการลอบสังหารของจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ เซเวรัส โดยทหารของพระองค์เองที่เป็นจุดเริ่มต้นของห้าสิบปีของความปั่นป่วนที่ในระหว่างนั้นก็มีผู้อ้างตนเป็นจักรพรรดิถึง 20 ถึง 25 คน ส่วนใหญ่แล้วก็เป็นนายพลผู้มีชื่อเสียงของกองทัพโรมันที่เข้ายึดอำนาจทั้งหมดหรือบางส่วนของจักรวรรดิ เมื่อมาถึงปี ค.ศ. 258 ถึงปี ค.ศ. 260 จักรวรรดิโรมันก็แบ่งออกเป็นสามส่วน: จักรวรรดิกอล ที่รวมทั้งจังหวัดโรมันแห่งกอล, บริเตน และฮิสปาเนีย (Hispania); และจักรวรรดิพาลไมรีน ที่รวมทั้งจังหวัดทางตะวันออกของซีเรีย, ปาเลสไตน์ และเอกิบตัส (Aegyptus) สองจักรวรรดิแยกตัวออกจากจักรวรรดิโรมันที่มีศูนย์กลางอยู่ในอิตาลี วิกฤติการณ์ยุติลงด้วยการขึ้นครองราชย์ของจักรพรรดิไดโอคลีเชียน.

ใหม่!!: จักรพรรดิและวิกฤตการณ์คริสต์ศตวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาโรมัน

“Senatus Populusque Romanus”(วุฒิสภาและประชาชนโรมัน) วุฒิสภาโรมัน (Senatvs Romanvs) เป็นสถาบันทางการเมืองของโรมันโบราณที่ก่อตั้งก่อนที่พระมหากษัตริย์แห่งโรมพระองค์แรกจะขึ้นครองราชย์ (ที่กล่าวกันว่าเป็นเวลา 753 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ระบบนี้รอดการล่มสลายของราชอาณาจักรโรมันเมื่อ 509 ปีก่อนคริสต์ศักราช, การล่มสลายของสาธารณรัฐโรมันเมื่อ 27 ปีก่อนคริสต์ศักราช และการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตกในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและวุฒิสภาโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

วงไพบูลย์ร่วมแห่งมหาเอเชียบูรพา

อาณาบริเวณวงไพบูลย์ร่วมแห่งมหาเอเชียบูรพา ในปี ค.ศ. 1942 โปสเตอร์โฆษณาชวนเชื่อ แสดงภาพสันติภาพระหว่างญี่ปุ่น จีนฮั่น และแมนจูกัว สแตมป์รูปแผนที่วงไพบูลย์ร่วมแห่งมหาเอเชียบูรพา วงไพบูลย์ร่วมแห่งมหาเอเชียบูรพา (Greater East Asia Co-Prosperity Sphere) เป็นความพยายามของญี่ปุ่นที่จะรวบรวมและสร้างแนวป้องกันแห่งชาติเอเชียเพื่อหลุดพ้นจากอิทธิพลของชาติตะวันตก โดยเป็นความคิดริเริ่มของนายพลฮะชิโร อะริตะ ซึ่งในขณะนั้นดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และมีอุดมการณ์ทางการทหารอย่างแรงกล้าที่จะสร้างมหาเอเชียตะวันออก "Greater East Asia" ในระหว่างที่สงครามกำลังดำเนินอยู่นั้น ญี่ปุ่นได้พยายามโฆษณาชวนเชื่อ โดยมีประโยคที่ว่า "เอเชียเพื่อชาวเอเชีย" (Asia for Asians) โดยเนื้อหานั้นจะพูดถึงเกี่ยวกับการปลดปล่อยชาติในเอเชียให้หลุดพ้นจากลัทธิจักรวรรดินิยม โดยทำการบุกประเทศเพื่อนบ้าน และขับไล่ทหาร อังกฤษ ฝรั่งเศส และอเมริกา ออกไปจากภูมิภาคนี้.

ใหม่!!: จักรพรรดิและวงไพบูลย์ร่วมแห่งมหาเอเชียบูรพา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินี

ระราชินีแมรี ในวันพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในปี พ.ศ. 2454 สมเด็จพระราชินี (Queen Consort) เป็นพระอิสริยยศสำหรับพระอัครมเหสีของสมเด็จพระราชาธิบดีที่ยังครองราชสมบัติอยู่ สมเด็จพระราชินีโดยมากจะทรงมีฐานันดรศักดิ์เทียบเท่าพระราชสวามี (ทั้งระบอบราชาธิปไตยที่ใช้กฎหมายซาลิก หรือ กึ่งซาลิก) และดำรงพระอิสริยยศสำหรับพระมเหสีซึ่งเทียบเท่าพระอิสริยยศกษัตริย์ของพระราชสวามีด้วย โดยส่วนใหญ่แล้วสมเด็จพระราชินีจะไม่ทรงอำนาจทางการเมืองการปกครองใดทั้งสิ้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิและสมเด็จพระราชินี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ

มเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิพระองค์ปัจจุบันของประเทศญี่ปุ่น และเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 125 ของญี่ปุ่นตั้งแต่โบราณกาล ในปัจจุบันนี้พระองค์เป็นพระประมุขเพียงพระองค์เดียวในโลกที่ทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นจักรพรรดิ ในญี่ปุ่น การเอ่ยถึงพระจักรพรรดิ จะเรียกพระนามของพระองค์โดยตรงไม่ได้ แต่จะเอ่ยถึงพระองค์ว่า เท็นโน เฮกะ หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิ และรัชสมัยของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะจะเรียกว่า ยุคเฮเซ หลังจากที่สิ้นยุคของพระองค์แล้ว อาจมีการขนานพระนามพระองค์ว่า จักรพรรดิเฮเซ.

ใหม่!!: จักรพรรดิและสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระจักรพรรดิอากุสตินที่ 1 แห่งเม็กซิโก

มเด็จพระจักรพรรดิอากุสตินที่ 1 แห่งเม็กซิโก (Augustine I of Mexico) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์แรกแห่งจักรวรรดิเม็กซิโก สมเด็จพระจักรพรรดิอากุสตินที่ 1 เสด็จพระราชสมภพเมื่อ 27 กันยายน 1783 ที่เมืองวาลาโดลิด เมื่อพระองค์โตขึ้นพระองค์ได้เข้าเป็นสมาชิกกองทัพเม็กซิโก และได้เป็นผู้นำทัพ พระองค์ได้เป็นผู้นำกองทัพเม็กซิโกเข้าร่วมรบใน "สงครามประกาศอิสรภาพเม็กซิโก" เมื่อเม็กซิโกได้เอกราช พระองค์จึงได้ราชาภิเษกตนเองขึ้นเป็นจักรพรรดิ และประกาศสถาปนาจักรวรรดิเม็กซิโก ร่างรัฐธรรมนูญจักรวรรดิใหม่ขึ้น พระองค์ยังได้เป็นผู้ออกแบบธงชาติเม็กซิโกด้วย สมเด็จพระจักรพรรดิอากุสตินที่ 1 ทรงปกครองเม็กซิโก เพียงระยะเวลาสั้นๆ ก็ทรงถูกปฏิวัติ พระองค์จึงต้องสละราชสมบัติ จักรวรรดิเม็กซิโกเปลี่ยนเป็นสหรัฐเม็กซิโก.

ใหม่!!: จักรพรรดิและสมเด็จพระจักรพรรดิอากุสตินที่ 1 แห่งเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโรมัน

รณรัฐโรมัน (Res pvblica Romana) (อังกฤษ: Roman Republic)เป็นยุคสมัยของอารยธรรมโรมันโบราณขณะมีรัฐบาลเป็นสาธารณรัฐ เริ่มต้นจากการโค่นล้มราชาธิปไตยโรมัน ซึ่งมักถือว่าเมื่อราว 509 ปีก่อน..

ใหม่!!: จักรพรรดิและสาธารณรัฐโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

สุมาสู

มเด็จพระจักรพรรดิจิ่งตี้ สุมาสู(ซือหม่าซือ)เป็นตัวละครหนึ่งในวรรณกรรมเรื่องสามก๊ก.

ใหม่!!: จักรพรรดิและสุมาสู · ดูเพิ่มเติม »

สี่พยัคฆ์พิทักษ์มังกร

สี่พยัคฆ์พิทักษ์มังกร (天下第一,The Royal Swordsmen) เป็นภาพยนตร์จีนแนวกำลังภายในออนแอร์ในประเทศจีนครั้งแรกตั้งแต่ปี ค.ศ. 2004 และออนแอร์ในประเทศไทยทางช่อง ทรู เอเชียน ซีรีส์ ช่อง 22 ของ ทรู วิชั่นส์ ตั้งแต่ วันจันทร์ ที่ 4 พฤษภาคม ที่ผ่านมาโดยเนื้อเรื่องเล่าย้อนไปถึงช่วงสมัยกลาง ราชวงศ์หมิง เมื่อพระปิตุลา (อา) ขององค์ จักรพรรดิ ชื่อว่า เสินโหวใจเหล็ก ได้ฝึกลูกบุญธรรมทั้ง 4 คนให้เป็นจอมยุทธ์ผู้มีฝีมือสูงส่งเพื่อไว้ต่อกรกับ เฉาเจิ้งฉุน หัวหน้าขันทีตัวร้ายผู้มีวรยุทธ์สูงแต่พวกเขาหารู้ไม่ว่าพวกเขาได้กลายเป็นหมากของเสินโหวในการกำจัดคู่แข่ง + เรื่องย่อ: 4 พยัคฆ์ พิทักษ์มังกร สมัยราชวงศ์หมิง เถี่ยตานเสินโหวเสด็จอาฮ่องเต้องค์ปัจจุบันได้รับพระราชบัญชาจากฮ่องเต้พระองค์ก่อนให้สร้างคุ้มพิทักษ์มังกรขึ้นเพื่อเก็บรักษาพระสุพรรณบัฏและกระบี่อาญาสิทธิ์ฮ่องเต้ โดยมีสิทธิและอำนาจเหนือขุนนางข้าราชการในราชสำนัก เถี่ยตานเสินโหวมีองครักษ์สี่คนได้แก่ เทียน,ตี้,เสียน,หวง - เทียน หรือ ต้วนเทียนหยาเป็นคนสุขุมเยือกเย็น ได้รับการเลี้ยงดูจากเถี่ยตานเสินโหวมาตั้งแต่ยังเล็ก โดยได้สำเร็จวิชานินจาจากแดนอาทิตย์อุทัยและเพลงกระบี่มายา วรยุทธลึกล้ำยากจะหาผู้ใดเทียบเทียม จากนั้นก็เข้าสู่คุ้มพิทักษ์มังกร - ตี้ หรือ กุยไห่อี้เตาเป็นคนหยิ่งทรนง พูดน้อย เก็บเนื้อเก็บตัว ในสมัยที่กุยไห่อี้เตายังเล็กอยู่นั้น กุยไห่ไป่เลี่ยนพ่อของเขาถูกคนฆ่าตาย กุยไห่อี้เตาสาบานว่าจะล้างแค้นให้พ่อให้ได้ ดังนั้นจึงฝึกเพลงดาบจนสำเร็จ สามารถฆ่าคนภายใน คมดาบเดียว - เสียน หรือ ไห่ถังหน้าตาหมดจดงดงาม เฉลียวฉลาด เป็นหมอดูที่ล่วงรู้เรื่องราวทุกอย่าง ปกติชอบแต่งตัวเป็นชาย ก่อตั้งหมู่บ้านเอกอุขึ้นมาเพื่อเก็บรวบรวมข่าวสารต่างๆในยุทธภพ รวมทั้งยังเป็นที่ชุมนุมของผู้ที่มีความรู้ความสามารถอีกด้วย ไม่ว่าจะเป็นหมอเทวดา นักสืบเทวดา ต่างก็เข้ากับหมู่บ้านเอกอุแห่งนี้ด้วย - หวง หรือ เฉิงซื่อเฟยเดิมทีเป็นเพียงชาวบ้านธรรมดาคนหนึ่งเท่านั้น เป็นคนขี้เล่น ไม่ยึดติดและไม่ชอบใฝ่หาความรู้ใส่ตัวแต่อย่างใด ทว่าเป็นคนที่มีสติปัญญาเฉียบแหลม ด้วยวาสนาของเฉิงซื่อเฟย ทำให้ได้เป็นศิษย์ของกู่ซันทงซึ่งมีฉายาว่าจอมซุกซน ทุกครั้งที่เขาใช้วิชากายทอง ร่างกายของเขาก็จะกลายเป็นสีทอง รูปร่างจะสูงถึงเจ็ดศอก พละกำลังมหาศาล หอกดาบฟันแทงไม่เข้า + นักแสดง: 4 พยัคฆ์ พิทักษ์มังกร - กัวจิ้นอัน รับบทเป็น เฉิงซื่อเฟย พยัคฆ์จอมทะเล้น 1 ใน 4 พยัคฆ์ ผู้สืบทอดสุดยอดวิชาจากเจ้ากู่ซันทง สุดยอดเคล็ดวิชากายทอง - หลีหย่าเผิง รับบทเป็น ต้วนเทียนหยา พยัคฆ์ดาบซามูไร พยัคฆ์ตัวที่ 2 สุขุมเยือกเย็น สำเร็จเคล็ดวิชาจากแดนอาทิตย์อุทัย - ฮั่วเจี้ยนหัว รับบทเป็น กุยไห่อี้เตา พยัคฆ์ผู้เดียวดาย พยัคฆ์ตัวที่ 3 นิสัยทะนงตัวเคล็ดวิชาพิชิตศัตรูในดาบเดียว - เย่ชวน รับบทเป็น ไห่ถังพยัคฆ์เจ้าสำอาง 1 ใน 4 พยัคฆ์ ตัวที่ 4 หน้าตางดงาม เฉลียวฉลาด คาดการณ์แม่นยำ หมวดหมู่:ละครโทรทัศน์จีน.

ใหม่!!: จักรพรรดิและสี่พยัคฆ์พิทักษ์มังกร · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสดครั้งที่ 6

ระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2ทรงพบกับอัล-คามิล สงครามครูเสดครั้งที่ 6 (Sixth Crusade) (ค.ศ. 1228-ค.ศ. 1229) สงครามครูเสด ครั้งนี้เริ่มขึ้นเพียงเจ็ดปีหลังจากความล้มเหลวของสงครามครูเสดครั้งที่ 5.

ใหม่!!: จักรพรรดิและสงครามครูเสดครั้งที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

หนานเยฺว่

หนานเยฺว่ หรือ นามเหวียต (Nam Việt) เป็นอาณาจักรโบราณที่มีอาณาเขตปกคลุมบริเวณมณฑลทางตอนใต้ของจีน อันได้แก่ กวางตุ้ง, กว่างซี และยูนนาน ไปจนถึงตอนเหนือของเวียดนามในปัจจุบัน หนานเยฺว่ได้รับการก่อตั้งในช่วง 204 ปีก่อนคริสต์ศักราช ในช่วงการล่มสลายของราชวงศ์ฉินของจีน หนานเยฺว่ได้ถูกก่อตั้งโดย จ้าว ถัว ผู้ปกครองดินแดนทะเลจีนใต้ อาณาเขตของหนานเยฺว่ในช่วงแรกประกอบด้วยหนานไฮ่, กุ้ยหลิน และ เซียง ใน 196 ปีก่อนคริสต์ศักราช จ้าว ถัว ได้สวามิภักดิ์ต่อจักรพรรดิฮั่นเกาจู่แห่งราชวงศ์ฮั่น ดินแดนหนานเยฺว่ได้ถูกเรียกโดยผู้ปกครองชาวจีนฮั่นว่าเป็น "คนรับใช้ชาวต่างชาติ" มีภาพพจน์เป็นดินแดนส่วนหนึ่งของจีน ประมาณ 183 ปีก่อนคริสต์ศักราช ความสัมพันธ์ระหว่างหนานเยฺว่และราชวงศ์ฮั่นได้ห่างเหินต่อกันมากขึ้น และ จ้าว ถัวได้เริ่มที่จะสถาปนาอ้างตัวเองว่าเป็นจักรพรรดิอีกทั้งประกาศอาณาจักรหนานเยฺว่เป็นอิสระ ใน 179 ปีก่อนคริสต์ศักราช ความสัมพันธ์ระหว่างหนานเยฺว่และราชวงศ์ฮั่นกลับมาดีขึ้นอีกครั้ง จ้าว ถัวได้ยอมสวามิภักดิ์ส่งเครื่องราชบรรณาการต่อราชวงศ์ฮั่นอีกครั้ง ในสมัยของจักรพรรดิฮั่นเหวิน ในฐานะเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของราชวงศ์ฮั่นของจีน อย่างไรก็ตามแม้จะมีการส่งบรรณาการและการยอมสวามิภักดิ์ หนานเยฺว่ยังคงมีอิสระและยังคงปกครองตนเองจากชาวจีนฮั่น และจ้าว ถัว ยังอ้างตนเป็น "จักรพรรดิ" แห่งหนานเยฺว่ จนกระทั่งพระองค์สิ้นพระชนม์ ในช่วง 113 ปีก่อนคริสตกาล ผู้นำ 4 รุ่น แห่งตระกูลจ้าว จ้าว ซิง มีแนวโน้มที่มีใจฝักใฝ่จีนโดยได้พยายามขอให้ราชวงศ์ฮั่นยอมรับหนานเยฺว่เป็นส่วนหนึ่งอย่างเป็นทางการ อัครมหาเสนาบดีของพระองค์ ลฺหวี่เจีย ได้คัดค้านอย่างรุนแรงและได้สมคบคิดวางแผนกับขุนนางคนอื่นๆทำการลอบสังหารจ้าว ซิง และอัญเชิญพระเชษฐา จ้าว เจี้ยนเต๋อที่มีพระชนม์มากกว่าขึ้นครองราชย์ ลฺวี่เจียได้บับบังคับจ้าว เจี้ยนเต๋อตั้งตนเป็นอิสระแข็งข้อต่อราชวงศ์ฮั่น ซึ่งเท่ากับเผชิญหน้ากับราชวงศ์ฮั่น ในปีต่อมาจักรพรรดิฮั่นอู่แห่งราชวงศ์ฮั่นได้ส่งกองทัพ 100,000 คน ทำสงครามบุกหนานเยฺว่ จนกระทั่งเมื่อถึงปลายปีเดียวกันนั้น กองทัพราชวงศ์ฮั่นได้บุกยึดและทำลายหนานเยฺว่ลงอย่างราบคาบและสถาปนาเป็นดินแดนของชาวจีนฮั่น ดินแดนหนานเยฺว่ได้สิ้นสุดลงนับแต่บัดนั้น โดยดำรงอยู่ 93 ปี มีกษัตริย์ปกครอง 5 รุ่น การก่อตั้งอาณาจักรหนานเยฺว่เกิดมาจากการที่เป็นเมืองหน้าด่านของแคว้นหลิงหนานในระหว่างช่วงความวุ่นวายสับสนระหว่างการล่มสลายของราชวงศ์ฉิน เปิดโอกาสให้แคว้นทางตอนใต้ของจีนได้มีอิสระและหลีกเลี่ยงการปกครองที่กดขี่จากชาวจีนฮั่นที่มาจากแคว้นทางเหนือของจีน อาณาจักรหนานเยฺว่ถูกก่อตั้งโดยผู้นำชาวจีนฮั่นที่มาจากภาคกลางของจีนตอนบนซึ่งนำไปสู่การนำรูปแบบการปกครองแบบเจ้าขุนมูลนายจีน, เทคนิควิธีทางการเกษตร, ข้าวของเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทันสมัย มาสอนเผยแพร่แก่ชนพื้นเมืองแคว้นทางตอนใต้ อาทิเช่น การรับรู้ภาษาจีนและระบบการเขียนแบบจีน ผู้นำหนานเยฺว่แทบทุกพระองค์สนับสนุนนโยบาย "สามัคคีและรวบรวมชนเผ่าไป่เยฺว่" ประกอบกับตัวผู้นำเองมีใจฝักใฝ่จีนโดยมีการเชิญชวนให้ชาวจีนฮั่นผู้เป็นมิตรมาแสวงโชคโดยอพยพจากดินแดนแถบลุ่มแม่น้ำหวงโฮทางตอนเหนือเข้ามาอาศัยในดินแดนตอนใต้ พวกเขายังสนับสนุนนโยบาย เปลี่ยนให้เป็นจีน โดยการกลมกลืนระหว่างสองวัฒนธรรมและผู้คน ระหว่างสองวัฒนธรรมจีนฮั่นและวัฒนธรรมพื้นเมืองทางตอนใต้ บ่อยครั้งที่วัฒนธรรมจีนมักจะดูดกลืนวัฒนธรรมของชนพื้นเมือง ผู้นำหนานเยฺว่ ตระกูลจ้าว ยังประกาศใช้วัฒนธรรมจีนและภาษาจีนไปทั่วทั้งดินแดนหนานเยฺว่ แม้ว่าจะมีการรักษาขนบธรรมเนียมดั้งเดิมของตนเอาไว้ควบคู่กัน.

ใหม่!!: จักรพรรดิและหนานเยฺว่ · ดูเพิ่มเติม »

อัศวินฮอสปิทัลเลอร์

ณะอัศวินฮอสปิทัลเลอร์ (Knights Hospitaller) หรือคณะฮอสปิทัลเลอร์ (Order of Hospitallers) เป็นคณะบุรุษที่ทำงานที่โรงพยาบาลอมาลฟิที่ตั้งขึ้นในเยรูซาเลมในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและอัศวินฮอสปิทัลเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักร

อาณาจักร (kingdom; dominion) หมายถึง เขตแดนที่อยู่ในอำนาจปกครองของประเทศหนึ่ง อาจจำแนกเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้.

ใหม่!!: จักรพรรดิและอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรพัลแฮ

มื่ออาณาจักรโคกูรยอแตกใน พ.ศ. 1211 ในครั้งนั้นมีผู้คนกลุ่มต่าง ๆ เป็นจำนวนมากอพยพหลบหนีออกจากโคกูรยอไปอย่างกระจัดกระจายไปทุกทิศทุกทางไปอาศัยอยุ่อย่างกระจัดกระจายในที่ต่าง ๆ กระทั่งใน..

ใหม่!!: จักรพรรดิและอาณาจักรพัลแฮ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอักซุม

ักรวรรดิอัคซูไมท์ (Aksumite Empire หรือ Axumite Empire) เป็นจักรวรรดิสำคัญทางการค้าขายที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของแอฟริกาที่เริ่มก่อตัวมาตั้งแต่ราวศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราชและมารุ่งเรืองเอาเมื่อคริสต์ศักราชที่ 1 เมืองหลวงเก่าก่อตั้งทางตอนเหนือของเอธิโอเปีย อาณาจักรใช้คำว่า “เอธิโอเปีย” มาตั้งแต่คริสต์ศักราชที่ 4Stuart Munro-Hay, Aksum: An African Civilization of Late Antiquity.

ใหม่!!: จักรพรรดิและอาณาจักรอักซุม · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรฮั่นเหนือ

อาณาจักรฮั่นเหนือ อาณาจักรหนึ่งในช่วง ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร สถาปนาโดย หลิวมิน เมื่อ..

ใหม่!!: จักรพรรดิและอาณาจักรฮั่นเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

อิมพีเรียลไฮเนส

อิมพีเรียลไฮเนส (อังกฤษ: Imperial Highness) หรือ อิมพีเรียลไฮนิส (/ˈhʌɪnɪs/) เป็นฐานันดรศักดิ์ของสมาชิกราชวงศ์บางชั้นในญี่ปุ่น มักใช้นำพระนามเจ้าชายหรือเจ้าหญิงที่เป็นพระราชบุตรในสมเด็จพระจักรพรรดิ ฐานันดรศักดิ์อิมพีเรียลไฮเนสมีศักดิ์สูงกว่า"รอยัลไฮเนส" "แกรนด์ดิวคัลไฮเนส", "ไฮเนส" และ "เซอรีนไฮเนส" เป็นต้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิและอิมพีเรียลไฮเนส · ดูเพิ่มเติม »

อิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน)

วนหนึ่งของ “แผนที่พิวทินเจอริอานา” (Tabula Peutingeriana) ซึ่งเป็นแผนที่โรมันจากคริสต์ศตวรรษที่ 4 ที่แสดงดินแดนอิตาลีตอนใต้ อิตาเลีย หรือ โรมันอิตาเลีย (Italia) ภายใต้สาธารณรัฐโรมันและต่อมาจักรวรรดิโรมันคือชื่อของคาบสมุทรอิตาลี.

ใหม่!!: จักรพรรดิและอิตาเลีย (จักรวรรดิโรมัน) · ดูเพิ่มเติม »

อินทรีสองหัว

ลูกโลกในอุ้งมือเป็นสัญลักษณ์ของอำนาจทางศาสนาและทางฆราวาส (ภาพนูนจากตึกที่ทำการทางศาสนาในคอนสแตนติโนเปิล) อินทรีสองหัว (Double-headed eagle) เป็นสัญลักษณ์ที่นิยมใช้ในการสร้างตราอาร์มและธง ที่มักจะเกี่ยวข้องกับ “อินทรีสองหัว” ที่เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ปรากฏบนตราอาร์มของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์, จักรวรรดิไบแซนไทน์ และ จักรวรรดิวิชัยนคร ในตราของจักรวรรดิไบแซนไทน์หัวอินทรีสองหัวเป็นสัญลักษณ์ของอำนาจของจักรพรรดิทั้งในทางทางศาสนาและทางฆราวาส และอำนาจของจักรวรรดิที่เหนือทั้งจักรวรรดิตะวันออกและตะวันตก ประเทศหลายประเทศในยุโรปตะวันออกนำอินทรีสองหัวมาใช้เป็นสัญลักษณ์ประจำชาติจนกระทั่งทุกวันนี้ ที่เด่นที่สุดคือรัสเซีย แต่อินทรีสองหัวเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้กันมานาก่อนที่จักรวรรดิไบแซนไทน์จะนำมาใช้เป็นสัญลักษณ์ประจำจักรวรรดิ เช่นที่ใช้เป็นสัญลักษณ์ของอาร์เมเนียในยุคกลางและโดยราชวงศ์จาลุกยะ ในตำนานเทพของฮินดูอินทรีสองหัวเรียกว่า “คัณฑเบรุณฑา" (Gandaberunda”).

ใหม่!!: จักรพรรดิและอินทรีสองหัว · ดูเพิ่มเติม »

อ๋อง

อ๋อง (หวัง หรือ หวาง) แปลเป็นภาษาไทยคือกษัตริย์ เป็นตำแหน่งสูงสุดของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์เซี่ยจนถึงราชวงศ์โจว ซึ่งสมัยนั้นจีนยังไม่รวมเป็นจักรวรรดิที่เป็นปึกแผ่น ซึ่งแต่ละแคว้นก็จะมีอ๋องเป็นเจ้าผู้ครองแคว้น ซึ่งต่อมาฉินอ๋องเจิ้งแห่งแคว้นฉินทรงรวมแผ่นดินจีนเป็นปึกแผ่น พระองค์ถือว่าพระองค์มีคุณงามความดีเหนืออ๋องในอดีตทั้งมวล ทรงเห็นว่าตำแหน่งอ๋องไม่ยิ่งใหญ่เพียงพอสำหรับพระองค์ ฉินอ๋องเจิ้นจึงทรงพระราชดำริคำเรียกขึ้นใหม่คือ ฮ่องเต้ ฉินอ๋องเจิ้นทรงใช้พระนามว่า ฉินสื่อหวงตี้หรือจิ๋นซีฮ่องเต้ จักรพรรดิองค์แรกแห่งจักรวรรดิจีนอันยิ่งใหญ่ ในยุคชุนชิวและจ้านกว๋อ (770 ปีก่อนคริสต์ศักราช – 453 ปีก่อนคริสต์ศักราช) มีอ๋องอยู่เพียง 5 พระองค์เท่านั้นที่ได้รับการยกย่องเป็น ปาอ๋อง หรือ ปาจู๋ (霸, Bà) แปลได้ว่า "อ๋องผู้ยิ่งใหญ่" ได้แก.

ใหม่!!: จักรพรรดิและอ๋อง · ดูเพิ่มเติม »

ฌัก-หลุยส์ ดาวีด

ัก-หลุยส์ ดาวีด ฌัก-หลุยส์ ดาวีด (Jacques-Louis David; 30 สิงหาคม ค.ศ. 1748 - 29 ธันวาคม ค.ศ. 1825) เป็นศิลปินในยุคนีโอคลาสสิก ที่มีชื่อเสียงในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศสและยังเป็นจิตรกรในจักรพรรดินโปเลียนที่ 1.

ใหม่!!: จักรพรรดิและฌัก-หลุยส์ ดาวีด · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ฌัก เดซาลีน

็อง-ฌัก เดซาลีน (Jean-Jacques Dessalines) เป็นอดีตสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิเฮติ ซึ่งคือสาธารณรัฐเฮติในปัจจุบัน พระราชสมภพเมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1758 ในเฮติซึ่งกำลังเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส ดังนั้น เมื่อพระองค์ทรงเจริญวัยขึ้น จึงทรงเข้าร่วมกับกองทัพเฮติเพื่อต่อต้านและเรียกร้องเอกราชจากฝรั่งเศส พระองค์ทรงเป็นผู้นำการปฏิวัติเฮติ จนทำให้เฮติได้รับเอกราชในที่สุด และเป็นประมุขของเฮติองค์แรกภายใต้รัฐธรรมนูญ 1801 ต่อมาพระองค์ได้สถาปนาตนเป็นปฐมกษัตริย์แห่งจักรวรรดิเฮติ พระองค์ทรงได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาผู้ก่อตั้งเฮติ ปลายรัชกาลของพระองค์ พระองค์ถูกลอบปลงพระชนม์ แล้วประเทศเฮติก็ถูกแบ่งออกเป็นสองสาธารณรั.

ใหม่!!: จักรพรรดิและฌ็อง-ฌัก เดซาลีน · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-เบแดล บอกาซา

ฌ็อง-เบแดล บอกาซา (Jean-Bédel Bokassa) เป็นอดีตจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิแอฟริกากลาง (สาธารณรัฐแอฟริกากลางในปัจจุบัน) เกิดเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1921 ที่แอฟริกากลางขณะเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศส เมื่อโตขึ้นจึงเข้าร่วมกับกองทัพแอฟริกากลางเพื่อต่อต้านและเรียกร้องเอกราชจากฝรั่งเศส ได้เป็นแนวหน้าสู้รบอย่างกล้าหาญ จนได้เหรียญกล้าหาญมาได้ จนในที่สุดแอฟริกากลางก็ได้รับเอกราช แต่บอกาซาก็ฉวยโอกาสตอนที่บ้านเมืองยังอ่อนแอจากการรับเอกราชใหม่ ๆ ก่อรัฐประหารโค่นล้มรัฐบาลสาธารณรัฐแอฟริกากลางของดาวีด ดักโก ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1966 และบริหารประเทศในฐานะผู้นำประเทศ จนกระทั่งในวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1976 บอกาซาได้ปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิบอกาซาที่ 1 แห่งจักรวรรดิแอฟริกากลาง ใช้จ่ายบนสิทธิกษัตริย์อย่างฟุ่มเฟือยสุรุ่ยสุร่าย มีฉลองพระองค์และฉลองพระบาทประดับมุก สร้างพระราชบัลลังก์ให้ทองคำรูปนกอินทรีขนาดยักษ์ สร้างพระราชวังหินอ่อน ประดับโคมไฟระย้าสุดวิจิตร สูบเงินประเทศชาติจนแทบล่มจม นอกจากนี้ยังมีการลงโทษศัตรูและนักโทษในประเทศอย่างโหดร้าย ตั้งแต่พระราชอาญาที่ไม่ถึงตาย เช่น การตัดใบหู จนถึงพระราชอาญาถึงตาย เช่น การทุบตีจนตายอย่างทรมาน โยนเข้าไปในกรงสิงโต โยนลงบ่อจระเข้ จนถึงการส่งตัวให้แก่ชนเผ่ากินคน แต่วิธีการลงโทษทั้งหมดเป็นความลับซึ่งมีแต่คนในเท่านั้นที่จะรู้ ส่วนความฟุ่มเฟือยสุรุ่ยสุร่ายไม่ใช่ความลับ เพราะบอกาซาเห็นว่าปกปิดไม่ได้ ประชาชนคนนอกจึงรู้ดี ทำให้ประชาชนเริ่มไม่พอใจ จนกระทั่งในที่สุด ประชาชนที่นำโดยดาวีด ดักโก ผู้ที่บอกาซาเคยโค่นล้มเมื่อสิบกว่าปีก่อน โค่นพระราชอำนาจจักรพรรดิบอกาซาที่ 1 และยกเลิกจักรวรรดิแอฟริกากลางแล้วรื้อฟื้นสาธารณรัฐแอฟริกาในวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1979 ส่วนบอกาซาหลบหนีอออกนอกประเทศไปได้ และความลับเรื่องวิธีการที่เขาลงโทษฝ่ายตรงข้ามก็ถูกเปิดเผย ดังนั้น ในเวลาต่อมา ศาลของสาธารณรัฐแอฟริกากลางจึงตัดสินโทษบอกาซาให้สำเร็จโทษ แต่ตอนนั้นบอกาซายังไม่กลับเข้าประเทศ ทางด้านบอกาซาแม้จะรู้ว่าหากกลับประเทศแล้วจะเจอโทษอะไร แต่ยังกลับสาธารณรัฐแอฟริกากลางในปี ค.ศ. 1987 เพราะคิดว่าตนเองเป็นวีรบุรุษของชาติ เขาจึงถูกจับขึ้นศาล แต่ศาลของรัฐบาลใหม่ได้แสดงความเมตตาโดยการลดโทษเหลือจำคุกตลอดชีวิต ก่อนที่ปีต่อมาจะถูกลดโทษให้เหลือจำคุก 20 ปี ในวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1993 บอกาซาได้รับการนิรโทษกรรมจากปัญหาด้านสุขภาพจากประธานาธิบดีอองเดร โคลิงบา ซึ่งเป็นประธาธิบดีคนเดียวกับที่ตัดสินโทษแก่บอกาซา โดยเมื่อถูกปล่อยตัว เขาได้อ้างว่าเป็นอัครทูตองค์ที่สิบสาม พร้อมกับอ้างว่าเคยพบกับสมเด็จพระสันตะปาปาอย่างลับๆ บอกาซาเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจล้มเหลวที่บ้านของตนเองเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 รวมอายุ 75 ปี โดยได้รับการรายงานว่าเขามีภรรยา 17 คน และบุตรกับสตรีรวมกัน 50 คน หมวดหมู่:จักรพรรดิ หมวดหมู่:บุคคลที่เคยนับถือศาสนาอิสลาม หมวดหมู่:บุคคลที่เปลี่ยนไปนับถือศาสนาคริสต์.

ใหม่!!: จักรพรรดิและฌ็อง-เบแดล บอกาซา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิบอลด์วินที่ 1 แห่งคอนสแตนติโนเปิล

ักรพรรดิบอลด์วินที่ 1 แห่งคอนสแตนติโนเปิล หรือ จักรพรรดิบอลด์วินที่ 9 เคานท์แห่งฟลานเดอร์ส หรือ หรือ จักรพรรดิบอลด์วินที่ 6 เคานท์แห่งเอโนต์ (Baldwin I of Constantinople หรือ Baldwin IX Count of Flanders หรือ Baldwin VI Count of Hainaut) (กรกฎาคม ค.ศ. 1172 – ราว ค.ศ. 1205) บอลด์วินทรงเป็นจักรพรรดิองค์แรกแห่งจักรวรรดิละตินแห่งคอนสแตนติโนเปิลระหว่างปี ค.ศ. 1204 จนถึงปี ค.ศ. 1205 นอกจากนั้นก็ยังเป็นเคานท์แห่งฟลานเดอร์สระหว่างปี ค.ศ. 1194 จนถึงปี ค.ศ. 1205 และ เคานท์แห่งเอโนต์ระหว่างปี ค.ศ. 1195 จนถึงปี ค.ศ. 1205 บอลด์วินเป็นผู้มีบทบาทสำคัญที่สุดผู้หนึ่งในสงครามครูเสดครั้งที่ 4 ที่มีผลทำให้ยึดคอนสแตนติโนเปิล, การพิชิตส่วนใหญ่ของจักรวรรดิไบแซนไทน์ และการก่อตั้งจักรวรรดิละตินแห่งคอนสแตนติโนเปิล หรือที่รู้จักกันว่า “โรมาเนีย” (ไม่ใช่ประเทศโรมาเนีย).

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิบอลด์วินที่ 1 แห่งคอนสแตนติโนเปิล · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิบ๋าว ดั่ย

ักรพรรดิบ๋าว ดั่ย (จื๋อโกว๊กหงือ: Bảo Đại, จื๋อโนม: 保大, แปลว่า ผู้เก็บรักษาความยิ่งใหญ่; 22 ตุลาคม ค.ศ. 1913 - 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1997) พระนามเดิมว่า เหงียน ฟุก หวิญ ถวิ ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 13 และพระองค์สุดท้ายแห่งเหงียน ตั้งแต่ ค.ศ. 1926 - ค.ศ. 1945 ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอันนัม ในช่วงนี้พระองค์ทรงได้รับความคุ้มครองจากฝรั่งเศสโดยอินโดจีนฝรั่งเศส ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 2 ใน 3 ของเวียดนามในปัจจุบัน พระองค์ทรงขึ้นครองราชบัลลังก์ในปี ค.ศ. 1932 ญี่ปุ่นได้ขับไล่ฝรั่งเศสออกจากดินแดนนี้ในปี ค.ศ. 1945 และใช้อำนาจการปกครองผ่านจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ในช่วงนี้พระองค์ทรงเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น "เวียดนาม" อีกครั้ง พระองค์ทรงสละราชบัลลังก์ในเดือนสิงหาคมเมื่อญี่ปุ่นยอมแพ้สงคราม พระองค์ยังทรงเป็นประมุขรัฐเวียดนามตั้งแต่ ค.ศ. 1949 จนกระทั่ง ค.ศ. 1955 จักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ทรงถูกวิพากษ์วิจารณ์เนื่องจากมีความใกล้ชิดกับฝรั่งเศสเกินไปและประทับอยู่นอกเวียดนามเป็นเวลานานในรัชสมัยของพระองค์ โง ดิ่ญ เสี่ยม นายกรัฐมนตรีได้ขับไล่พระองค์ในการลงประชามติปลดจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ออกจากราชบัลลังก์เมื่อปี ค.ศ. 1955 แม้จะเป็นที่รับรู้อย่างกว้างขวางว่าเวียดมินห์หรือโฮจิมินห์เป็นผู้วางรากฐานเอกราชให้แก่สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนามแต่เพียงฝ่ายเดียว แต่อย่างไรก็ตาม สแตนลีย์ คาร์โนว์ (Stanley Karnow) ได้โต้แย้งในหนังสือ Vietnam - A History ว.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฟลาวิอุส วาแลริอุส แซเวรุส

ักรพรรดิฟลาวิอุส วาแลริอุส แซเวรุส (Flavius Valerius Severus) (– 16 กันยายน ค.ศ. 307) ฟลาวิอุส วาแลริอุส แซเวรุสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมัน ฟลาวิอุส วาแลริอุส แซเวรุสมีตำแหน่งเป็นซีซาร์ทางตะวันตกภายใต้คอนแสตนติอัส คลอรัสระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 305 ถึงฤดูร้อน ค.ศ. 306 และตั้งแต่ฤดูร้อน ค.ศ. 306 ถึงเดือนมีนาคม หรือเมษายน ค.ศ. 307 เป็นออกัสตัสในตะวันตกแข่งกับจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1, จักรพรรดิแม็กเซนติอัส และจักรพรรดิแม็กซิเมียน.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิฟลาวิอุส วาแลริอุส แซเวรุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิกอร์ดิอานุสที่ 1

ักรพรรดิกอร์ดิอานุสที่ 1 หรือ มาร์คัส อันโตนิอัส กอร์ดิอานัส เซ็มโพรนิอานัส โรมานัส อาฟริกานัส (Gordian I; ชื่อเต็ม: Marcus Antonius Gordianus Sempronianus Romanus Africanus) (ราว ค.ศ. 159 – 12 เมษายน ค.ศ. 238) กอร์ดิอานุสที่ 1 เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันผู้ทรงครองราชย์ร่วมกับพระราชโอรสจักรพรรดิกอร์ดิอานุสที่ 2 ระหว่างวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 238 จนเสด็จสวรรคตด้วยการแขวนพระศอพระองค์เองเมื่อวันที่ 12 เมษายนที่คาร์เธจในปีเดียวกัน.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิกอร์ดิอานุสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิการากัลลา

ักรพรรดิคาราคัลลา หรือ ลูชิอัส เซ็พติมิอัส บัสซิอานัส (Caracalla; ชื่อเต็ม: Lucius Septimius Bassianus) (4 เมษายน ค.ศ. 188 – 8 เมษายน ค.ศ. 217) คาราคัลลาเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์เซเวอรัน คาราคัลลาทรงเป็นจักรพรรดิร่วมกับพระราชบิดาจักรพรรดิเซ็พติมิอัส เซเวอรัสระหว่าง ค.ศ. 198 ถึงปี ค.ศ. 209 ต่อมาในปี ค.ศ. 209 ถึงวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 211 คาราคัลลาก็ทรงปกครองร่วมกับเซ็พติมิอัส เซเวอรัสและเกธา หลังจากนั้นระหว่างเดือนธันวาคม ค.ศ. 211 ถึงวันที่ 8 เมษายน ค.ศ. 217 คาราคัลลาก็ทรงปกครองด้วยพระองค์เอง.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิการากัลลา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิกาเลริอุส

ักรพรรดิกาเลริอุส หรือ กาอิอัส กาเลริอุส วาเลริอัส แม็กซิมิอานัส (Galerius; ชื่อเต็ม: Gaius Galerius Valerius MaximianusBarnes, New Empire, p. 4.) (ราว ค.ศ. 260 – ปลายเมษายนหรือต้นพฤษภาคม ค.ศ. 311) กาเลริอุสทรงเป็นซีซาร์ภายใต้จักรพรรดิไดโอคลีเชียนระหว่างราววันที่ 1 มีนาคม หรือ 21 พฤษภาคม ค.ศ. 293 ถึงวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 305 ต่อมาก็ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันร่วมกับคอนแสตนติอัส คลอรัสระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 305 ถึงปลายเดือนเมษายนหรือต้นเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิกาเลริอุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิกงสตันติอุส โคลรุส

ักรพรรดิกงสตันติอุส โคลรุส หรือ จักรพรรดิกงสตันติอุสที่ 1 (Constantius Chlorus; ชื่อเต็ม: Flavius Valerius Constantius) (ราว 31 มีนาคม ค.ศ. 250 – 25 กรกฎาคม ค.ศ. 306) เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันผู้ครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 293 ถึงปี ค.ศ. 305 ในฐานะซีซาร์ร่วมกับจักรพรรดิแม็กซิเมียน และระหว่างปี ค.ศ. 305 ถึงปี ค.ศ. 306 ในฐานะออกัสตัสทางตะวันตก และร่วมกับจักรพรรดิกาเลริอัสทางตะวันออก พระองค์ทรงได้รับฉายานามจากนักประวัติศาสตร์ไบแซนไทน์ว่า “Chlorus” (ผิวสีอ่อน) โกงสตันติอุส โคลรุสเป็นพระราชบิดาของจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 และทรงเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์คอนสแตนติเนียน.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิกงสตันติอุส โคลรุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิกงสตันติอุสที่ 3

ักรพรรดิกงสตันติอุสที่ 3 หรือ เฟลเวียส กงสตันติอุส (Constantius III; ชื่อเต็ม: Flavius Constantius) (สวรรคต 2 กันยายน ค.ศ. 421) กงสตันติอุสที่ 3 เป็นนักการทหาร, นักการเมือง, และพระจักรพรรดิผู้มีอำนาจอยู่เบื้องหลังบัลลังก์ในระหว่างคริสต์ทศวรรษ 410 และในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิกงสตันติอุสที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิก็อมมอดุส

ักรพรรดิก็อมมอดุส เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิมาร์คัส ออเรลิอัส ประสูติเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม ค.ศ. 161 เมื่อพระชนมายุได้เพียง 15 ชันสา ก็ทรงครองจักรวรรดิโรมันร่วมกับพระราชบิดาในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิก็อมมอดุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิญี่ปุ่น

ักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น เป็น "สัญลักษณ์แห่งรัฐและเอกภาพของประชาชน" ตามรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมักซิมิอานุส

ักรพรรดิมักซิมิอานุส ประสูติเมื่อค.ศ. 250 ครองราชย์ร่วมกับจักรพรรดิไดโอคลีเชียนแห่งจักรวรรดิโรมันตะวันออกเมื่อปี ค.ศ. 305 ขณะพระชนม์ได้ 55 พรรษา หลังจากครองราชย์ร่วมกันได้เพียง 2 ปี จักรพรรดิไดโอคลีเชียนก็สวรรคตในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิมักซิมิอานุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมักซิมินุส ทรากส์

ักรพรรดิมักซิมินุส ทรากส์ หรือ กาลิอัส ลูลิอัส เวรัส มักซิมินุส หรือ จักรพรรดิมักซิมินุสที่ 1 (Maximinus Thrax; ชื่อเต็ม: Gaius Iulius Verus Maximinus) (ราว ค.ศ. 173 – ค.ศ. 238) มักซิมินุส ทรากส์เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมัน ผู้ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ เซเวรัสเมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 235 จนเสด็จสวรรคตใน ค.ศ. 238 มักซิมินุสได้รับการบรรยายโดยแหล่งข้อมูลโบราณหลายแหล่งว่าเป็นบาร์บาเรียนคนแรกที่ได้แต่งสีม่วงจักรพรรดิ และเป็นพระจักรพรรดิที่ไม่เคยเข้ามายังกรุงโรม และเป็นจักรพรรดิองค์แรกที่เรียกว่า “จักรพรรดิจากทหาร” (barracks emperor) ของคริสต์ศตวรรษที่ 3 มักซิมินุสเป็นจักรพรรดิองค์แรกของสมัยที่เรียกว่า “ยุควิกฤติการณ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 3” (Crisis of the Third Century).

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิมักซิมินุส ทรากส์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมักแซ็นติอุส

ักรพรรดิมักแซ็นติอุส หรือ มาร์คัส ออเรลิอัส วาเลริอัส มักแซ็นติอุส (Maxentius; ชื่อเต็ม: Marcus Aurelius Valerius Maxentius) (ราว ค.ศ. 278 – 28 ตุลาคม ค.ศ. 312) มักแซ็นติอุสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันผู้ครองราชย์ระหว่างวันที่ 28 ตุลาคม ค.ศ. 306 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม ค.ศ. 312 มักแซ็นติอุสเป็นพระราชโอรสของจักรพรรดิแม็กซิเมียนและพระโอรสเขยของจักรพรรดิกาเลริอั.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิมักแซ็นติอุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมากรีนุส

ักรพรรดิมากรีนุส หรือ มาร์คัส โอเพลลิอัส มากรีนุส (Macrinus; ชื่อเต็ม: Marcus Opellius Macrinus) (ราว ค.ศ. 165 – มิถุนายน ค.ศ. 218) มากรีนุสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมัน ทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 8 เมษายน ค.ศ. 217 จนเสด็จสวรรคตในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 218 ระยะเวลาการครองราชย์เพียงสิบสี่เดือน มากรีนุสทรงเป็นจักรพรรดิองค์แรกที่ไม่ได้เป็นสมาชิกของชนชั้นเซเนท และเป็นพระจักรพรรดิองค์แรกที่สืบเชื้อสายมาจากเบอร์เบอร.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิมากรีนุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมาร์กุส เกลาดิอุส ตากิตุส

ักรพรรดิมาร์กุส เกลาดิอุส ตากิตุส (Marcus Claudius Tacitus) (ราว ค.ศ. 200 – มิถุนายน ค.ศ. 276) เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมัน ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากจักรพรรดิออเรเลียน เมื่อวันที่ 25 กันยายน ค.ศ. 275 จนเสด็จสวรรคตในเดือน มิถุนายน..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิมาร์กุส เกลาดิอุส ตากิตุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุส

ักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุส (Marcus Aurelius หรือ Marcus Aurelius Antoninus Augustus) (ราว 26 เมษายน ค.ศ. 121Augustan History, "Marcus Aurelius" – 17 มีนาคม ค.ศ. 180) มาร์กุส เอาเรลิอุสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันระหว่างวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 161 ถึง ค.ศ. 169 โดยปกครองร่วมกับ ลูกิอุส เวรุส (Lucius Verus) พระอนุชาบุญธรรม จนเวรุสสิ้นพระชนม์ในปี 169; จากนั้นเอาเรลิอุสทรงปกครองต่อมาโดยลำพังพระองค์เองระหว่างปี ค.ศ. 169 ถึง ค.ศ. 177 และ ทรงปกครองร่วมกับ ก็อมมอดุส (Commodus) ผู้เป็นราชโอรสของพระองค์ ระหว่าง ค.ศ. 177 จนกระทั่งสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 180 มาร์กุส เอาเรลิอุสเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายของ “จักรพรรดิโรมันผู้ทรงคุณธรรมห้าพระองค์” (Five Good Emperors) และถือกันว่าเป็นนักปรัชญาลัทธิสโตอิก (Stoicism) คนสำคัญคนหนึ่ง เหตุการณ์สำคัญในสมัยการปกครองของมาร์กุส เอาเรลิอุสก็ได้แก่สงครามในเอเชียกับจักรวรรดิพาร์เธียน (Parthian Empire), และกับชนเผ่าเจอร์มานิคตามบริเวณพรมแดนโรมัน-เจอร์มานิคัส (LimesGermanicus) เข้าไปในกอลและข้ามแม่น้ำดานูบ และการปฏิวัติทางตะวันออกที่นำโดยอาวิเดียส คาสเซียส (Avidius Cassius) ที่ไม่ประสบความสำเร็จ นอกจากความสามารถในการสงครามแล้วมาร์กุส เอาเรลิอุสก็ยังมีงานเขียน “Meditations” ที่เขียนเป็นภาษากรีกระหว่างที่ทำการรณรงค์ระหว่างปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอส

ักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอส หรือ โคมเนนัส (Manuel I Komnenos หรือ Comnenus, Μανουήλ Α' Κομνηνός) (28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1118 – 24 กันยายน ค.ศ. 1180) มานูเอลที่ 1 โคมเนนอสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์โคมเนนอส ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1143 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 24 กันยายน ค.ศ. 1180 โดยมีจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 2 โคมเนนอสเป็นผู้ครองราชย์ต่อมา มานูเอลที่ 1 โคมเนนอสเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1118 เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิจอห์นที่ 2 โคมเนนอส มานูเอล โคมเนนอสทรงปกครองในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของจักรวรรดิและของบริเวณเมดิเตอเรเนียน พระองค์มีพระราชประสงค์ที่จะฟื้นฟูจักรวรรดิให้รุ่งเรืองเช่นในอดีตในฐานะมหาอำนาจของบริเวณเมดิเตอเรเนียนโดยทรงดำเนินนโยบายทางการต่างประเทศอันทะเยอทะยาน ที่รวมทั้งการสร้างพันธมิตรกับพระสันตะปาปา, ทรงรุกรานคาบสมุทรอิตาลี, และทรงสามารถดำเนินสงครามครูเสดครั้งที่ 2 ฝ่าอันตรายของจักรวรรดิของพระองค์ได้ และทรงก่อตั้งระบบการพิทักษ์แก่อาณาจักรครูเสดต่างๆ เมื่อฝ่ายมุสลิมนำทัพเข้ามายังดินแดนศักดิ์สิทธิ์พระองค์ก็เข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับราชอาณาจักรเยรูซาเลมในไปการรุกรานฟาติมิดอียิปต์ มานูเอล โคมเนนอสทรงมีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงแผนที่เขตแดนทางการเมืองของคาบสมุทรบอลข่านและเมดิเตอเรเนียนตะวันออกโดยทรงทำให้ราชอาณาจักรฮังการีและอาณาจักรครูเสดมาอยู่ภายใต้อิทธิพลของพระองค์ และทรงรณรงค์อย่างเอาจริงเอาจังในอาณาจักรที่อยู่ใกล้เคียงทั้งทางด้านตะวันออกและตะวันตก แต่ในปลายรัชสมัยความสำเร็จของพระองค์ทางด้านตะวันออกก็ต้องมาเสียไปกับความพ่ายแพ้ในยุทธการไมริโอเคฟาลอน (Battle of Myriokephalon) ซึ่งเป็นความเพลี่ยงพล้ำของพระองค์เองในการพยายามโจมตีที่มั่นของฝ่ายเซลจุคที่มีการป้องกันอย่างแข็งแรง มานูเอลทรงได้รับการขนานพระนามว่า “ho Megas” หรือ “มหาราช” (ὁ Μέγας) โดยกรีก และทรงเป็นผู้นำผู้ทรงสามารถสร้างความจงรักภักดีจากผู้ตามอย่างเหนียวแน่น นักประวัติศาสตร์จอห์น คินนามอส (John Kinnamos) กล่าวว่ามานูเอลทรงเป็นผู้มีคุณลักษณะสมกับเป็นวีรบุรุษในประวัติศาสตร์ นอกจากนั้นก็ยังทรงเป็นผู้ที่ได้รับความนับถือจากนักรบครูเสดจากตะวันตกว่าเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ทรงคุณธรรมแห่งกรุงคอนสแตนติโนเปิลP.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมานูเอลที่ 2 พาลาโอโลกอส

ักรพรรดิมานูเอลที่ 2 พาลาโอโลกอส (Manuel II Palaiologos; Μανουήλ Β΄ Παλαιολόγος) (27 มิถุนายน ค.ศ. 1350 – 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1425) มานูเอลที่ 2 พาลาโอโลกอสทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์พาลาโอโลกอส ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 1391 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1425 โดยมีพระราชโอรสจักรพรรดิจอห์นที่ 8 พาลาโอโลกอสเป็นผู้ครองราชย์ต่อมา มานูเอลเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน ค.ศ. 1350 เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองในจักรพรรดิจอห์นที่ 5 พาลาโอโลกอสและเฮเลนา คานทาคูเซเน.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิมานูเอลที่ 2 พาลาโอโลกอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมิคาเอลที่ 3

ักรพรรดิจักรพรรดิมิคาเอลที่ 3 (Michael III; Μιχαήλ Γ΄) (19 มกราคม ค.ศ. 840 – 23 กันยายน/24 ค.ศ. 867) จักรพรรดิมิคาเอลที่ 3 ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์องค์สุดท้ายของราชวงศ์ฟริเจียน ผู้ทรงครองราชย์ระหว่าง ค.ศ. 842 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 23 กันยายน/24 ค.ศ. 867 มิคาเอลทรงได้รับฉายานามว่า “มิคาเอลขี้เมา” (the Drunkard) โดยนักประวัติศาสตร์ของราชวงศ์มาซิโดเนียผู้เป็นปฏิปักษ์ต่อพระองค์ แต่นักประวัติศาสตร์สมัยใหม่มีความเห็นใหม่ว่าทรงเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการดำรงอำนาจของจักรวรรดิไบแซนไทน์ในคริสต์ศตวรรษที่ 9.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิมิคาเอลที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมิคาเอลที่ 8 พาลาโอโลกอส

ักรพรรดิมิคาเอลที่ 8 พาลาโอโลกอส (Michael VIII Palaiologos, กรีก: Μιχαήλ Η΄ Παλαιολόγος, Mikhaēl VIII Palaiologos) (ค.ศ. 1223 – 11 ธันวาคม ค.ศ. 1282) มิคาเอลที่ 8 ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไนเซียร่วมกับจักรพรรดิจอห์นที่ 4 ลาสคาริสระหว่างปี ค.ศ. 1259 จนถึงปี ค.ศ. 1261 และทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ระหว่างปี ค.ศ. 1261 จนถึงวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1282 และทรงเป็นจักรพรรดิร่วมกับพระราชโอรสจักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 2 พาลาโอโลกอสตั้งแต..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิมิคาเอลที่ 8 พาลาโอโลกอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมิคาเอลที่ 9 พาลาโอโลกอส

ักรพรรดิมิคาเอลที่ 9 พาลาโอโลกอส (Michael IX Palaiologos; Μιχαήλ Θ΄ Παλαιολόγος) (17 เมษายน ค.ศ. 1277 – 12 ตุลาคม ค.ศ. 1320) มิคาเอลทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์พาลาโอโลกอส ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างราวปี ค.ศ. 1294/ค.ศ. 1295 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 1320 มิคาเอลเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 17 เมษายน ค.ศ. 1277 เป็นพระราชโอรสองค์โตในจักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 2 พาลาโอโลกอสและแอนนาแห่งฮังการีพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าสตีเฟนที่ 5 แห่งฮังการี ก่อนที่จะทรงราชย์ด้วยพระองค์เองมิคาเอลทรงเป็นจักรพรรดิคู่กับพระราชบิดามาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1281.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิมิคาเอลที่ 9 พาลาโอโลกอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิยุสตีนุสที่ 2

ักรพรรดิยุสตีนุสที่ 2 หรือ เฟลวิอัส ยุสตีนุส (จูเนียร์) ออกัสตัส (Justin II หรือ Flavius Iustinus (Iunior) Augustus) (ราว ค.ศ. 520 – 5 ตุลาคม ค.ศ. 578) การที่ทรงมี “จูเนียร์” อยู่ในพระนามก็เพื่อให้แตกต่างจากยุสตีนุสที่ 1 ยุสตีนุสที่ 2 ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์ยุสตินิอานุส ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 565 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม ค.ศ. 578 พระองค์เป็นพระราชนัดดาในจักรพรรดิยุสตินิอานุสที่ 1 รัชสมัยของพระองค์เป็นรัชสมัยของสงครามกับจักรวรรดิซาสซานิยะห์แห่งเปอร์เชีย ซึ่งเป็นผลให้ทรงเสียดินแดนส่วนใหญ่ในอิตาลีไป เมื่อจักรพรรดิยุสตินิอานุสที่ 1 เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 565 ยุสตีนุสก็ทรงได้รับการเลื่อนฐานะขึ้นเป็นจักรพรรดิโดยกลุ่มข้าราชสำนักที่อ้างว่าจักรพรรดิยุสตินิอานุสได้มีพระบรมราชโองการขณะที่ประชวรอยู่บนพระแท่นให้พระองค์เป็นรัชทายาท โดยการข้ามผู้ที่อาจจะมีสิทธิอีกคนหนึ่งที่เป็นพระราชนัดดาของยุสตินิอานุสที่ 1 เช่นกัน (เจอร์มานัส ยุสตีนุสนัส) ผู้ที่มิได้อยู่ในเมืองหลวงขณะที่จักรพรรดิยุสตินิอานุสเสด็จสวรรคต.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิยุสตีนุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิยูลิอุส แนโปส

ักรพรรดิยูลิอุส แนโปส (Julius Nepos) (ราว ค.ศ. 430 – ค.ศ. 480) ยูลิอุส แนโปสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันตะวันตก ผู้ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากจักรพรรดิไกลเซริอัสในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 474 จนถึงวันที่ 28 สิงหาคม ค.ศ. 475 โดยทรงปกครองจากอิตาลี และระหว่างปี ค.ศ. 475 จนถึง ค.ศ. 480 จากดาลเมเชีย ยูลิอุส แนโปสทรงปกครองช่วงเวลาสุดท้ายของจักรวรรดิโรมันตะวันตก นักประวัติศาสตร์บางคนถือว่าทรงเป็นจักรวรรดิองค์สุดท้าย แต่บางคนก็ว่าจักรพรรดิโรมิวลัส ออกัสตัสเป็นองค์สุดท้ายในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิยูลิอุส แนโปส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจง

หวียนฮุ่ยจง (25 พฤษภาคม ค.ศ. 1320 – 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1370) หรือ ถั่วฮฺวัน เทียมู่เอ่อร์ (Toghon Temür) เสด็จสวรรคตแล้วจึงได้พระนามว่า ยฺเหวียนชุ่นตี้ เป็นจักรพรรดิจีนแห่งราชวงศ์หยวน (ยฺเหวียน) ใน..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

มเด็จพระจักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Rudolf II, Holy Roman Emperor) (18 กรกฎาคม ค.ศ. 1552 - 20 มกราคม ค.ศ. 1612) ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แห่งราชวงศ์ฮับส์บวร์ก ผู้ทรงครอจักรวรรดิระหว่างปี ค.ศ. 1576 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1612 พระองค์เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมิเลียนที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และ มาเรียแห่งสเปน รัชสมัยของพระองค์สรุปได้เป็นสามประการHotson, 1999.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิลิกินิอุส

หรียญรูปลิซิเนียสจักรพรรดิโรมัน วาเลรีอุส ลิซิเนียนัส ลิกินิอุส (Valerius Licinianus Licinius พ.ศ. 793-868) เรียกกันโดยทั่วไปว่า ลิกินิอุส จักรพรรดิโรมันร่วมกับจักรพรรดิกาเลริอุส (Galerius) โดยได้รับมอบให้ครองอาณาจักรอิลลีพริคัม (พ.ศ. 851) ลิกินิอุสมีกำเนิดจากครอบครัวชาวบ้านจากดาเซีย (Dacia) ได้กลายเป็นเพื่อนสนิทและนายทหารคู่ใจของจักรพรรดิกาเลริอุส ได้เข้าร่วมรบในสงครามเปอร์เซียกับพระองค์ในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิลิกินิอุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิลุดวิจที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิลุดวิจที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หรือ หลุยส์ที่ 2 แห่งอิตาลี หรือ หลุยส์ผู้เยาว์วัย (Louis II of Italy หรือ Louis II the YoungerHis ordinal and nickname comes from the fact that he was the second Louis to be emperor after his grandfather Louis the Pious.) (ค.ศ. 825 - 12 สิงหาคม ค.ศ. 875) ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แห่งราชวงศ์การอแล็งเฌียงผู้ทรงครองราชบัลลังก์ระหว่างปี ค.ศ. 850 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ. 875 ลุดวิจเป็นพระราชโอรสองค์โตในจักรพรรดิโลทาร์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ พระองค์ทรงได้เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอิตาลีในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิลุดวิจที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิลูกิอุส เวรุส

ักรพรรดิลูกิอุส เวรุส หรือ ลูกิอุส เอาเรลิอุส เวรุส (Lucius Verus; ชื่อเต็ม: Lucius Aurelius Verus) (15 ธันวาคม ค.ศ. 130 – ค.ศ. 169) ลูกิอุส เวรุสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์อันโตนิน ผู้ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดาเลี้ยงจักรพรรดิอันโตนีนุส ปิอุสเมื่อวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 161 ร่วมกับจักรพรรดิมาร์กุส เอาเรลิอุสจนเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 169 หลังจากนั้นจักรพรรดิมาร์คัส ออเรลิอัสก็ครองราชย์ต่อมาด้วยพระองค์เอง.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิลูกิอุส เวรุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิวิแต็ลลิอุส

อาลุส วิแต็ลลิอุส แกร์มานิกุส เอากุสตุส (AVLVS VITELLIVS GERMANICVS AVGVSTVS; 24 กันยายน ค.ศ. 15 – 22 ธันวาคม ค.ศ. 69) เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันผู้ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากจักรพรรดิออโทเมื่อวันที่ 16 เมษายน ค.ศ. 69 จนถึงวันที่ 22 ธันวาคมของปีเดียวกัน วิแต็ลลิอุสขึ้นครองราชย์ในปีของสงครามกลางเมืองที่เรียกว่าปีสี่จักรพรรดิ (Year of the four emperors) วิแต็ลลิอุสเป็นจักรพรรดิองค์แรกที่ใช้ตำแหน่ง “เยอรมานิคุส” ในชื่อแทนที่ “คาเอซาร์” เพราะเป็นตำแหน่งที่มาเสียชื่อไปการกระทำของจักรพรรดิเนโร.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิวิแต็ลลิอุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหนูเอ่อร์ฮาชื่อ

หนูเอ่อร์ฮาชื่อ(แมนจู: 1 30px;; 21 กุมภาพันธ์ 1559 – 30 กันยายน 1626) หรืออ้ายซินเจว๋หลัวหนูเอ่อร์ฮาชื่อ(Chinese: Aixin-Jueluo Nǔ'ěrhāchì 愛新覺羅努爾哈赤)หรือสมเด็จพระจักรพรรดิชิงไท่จู่ เป็นปฐมจักรพรรดิราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิหนูเอ่อร์ฮาชื่อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิออรังเซพ

อาบุล มูซัฟฟาร์ มูฮี-อุด-ดิน โมฮัมมัด ออรังเซพ หรือนิยมเรียกพระนามว่า จักรพรรดิออรังเซพ (اورنگ زیب عالمگیر Auraŋg-Zēb ʿĀlamgīr; اورنگزیب عالمگیر,,, ราชสมภพ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1618 - สวรรคต 3 มีนาคม ค.ศ. 1707) ทรงเสด็จขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดาในปีค.ศ. 1658 เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์โมกุล ซึ่งปกครองอนุทวีปอินเดียเกือบทั้งหมด รัชสมัยของพระองค์นั้นกินเวลายาวนานถึง 49 ปีตั้งแต่ปีค.ศ. 1658 จนสวรรคตในปีค.ศ. 1707 ทรงเป็นจักรพรรดิผู้บุกเบิกและขยายอาณาจักร และยังเป็นจักรพรรดิที่มั่งคั่งที่สุดในรางวงศ์โมกุลด้วยบรรณาการรวมมูลค่า £38,624,680 ต่อปี (ในปีค.ศ. 1690) นอกจากนี้ยังมีชัยเหนืออาณาจักรทางตอนใต้ทำให้จักรวรรดิโมกุลนั้นมีขนาดถึง 3.2 ล้านตารางกิโลเมตร และประชากรในปกครองประมาณ 100-150 ล้านคน พระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ที่นับถือศาสนาอิสลามอย่างเคร่งครัด ซึ่งนโยบายให้เสรีทางการนับถือศาสนาของจักรพรรดิองค์ก่อนได้ถูกยกเลิกไป พระองค์ยังทรงเป็นผู้มีปรีชาสามารถในการปกครองอย่างเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ ซึ่งต่อมาภายหลังจากการสวรรคตของพระองค์เป็นจุดตกต่ำของจักรวรรดิโมกุล ซึ่งต่อมาได้ลดบทบาทความยิ่งใหญ่ลงในทวีปแห่งนี้อย่างรวดเร็ว.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิออรังเซพ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิออทโทที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

มเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 4 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Otto IV, Holy Roman Emperor) (ค.ศ. 1175 หรือ ค.ศ. 1176 - 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1218) ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แห่งราชวงศ์เวลฟ ระหว่างปี ค.ศ. 1198 แต่ถูกปลดจากตำแหน่งในปี ค.ศ. 1215 ออตโตเป็นพระราชโอรสในไฮน์ริคที่ 12 ดยุคแห่งบาวาเรีย และ มาทิลดา แพลนทาเจเน็ท เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1218.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิออทโทที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิออโท

มาร์กุส ซัลวิอุส ออโท ไกซาร์ เอากุสตุส (MARCVS SALVIVS OTHO CAESAR AVGVSTVS; 28 เมษายน ค.ศ. 32 – 16 เมษายน ค.ศ. 69) เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันผู้ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากจักรพรรดิกัลบาเมื่อวันที่ 15 มกราคม ค.ศ. 69 จนเสด็จสวรรคตด้วยการฆ่าตัวตายเมื่อวันที่ 16 เมษายน ค.ศ. 69 ออโทเป็นจักรพรรดิองค์ที่สองของปีสี่จักรพรรดิ (Year of the four emperors).

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิออโท · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 1 โคมเนนอส

ักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 1 โคมเนนอส (Andronikos I Komnenos) (ราว ค.ศ. 1118 – 12 กันยายน ค.ศ. 1185) อันโดรนิคอสที่ 1 โคมเนนอสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์โคมเนนอส ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ ค.ศ. 1183 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 1185.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 1 โคมเนนอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 2 พาลาโอโลกอส

| name.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 2 พาลาโอโลกอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 3 พาลาโอโลกอส

ักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 3 พาลาโอโลกอส (Andronikos III Palaiologos หรือ Andronicus III Palaeologus; Ανδρόνικος Γ' Παλαιολόγος) (25 มีนาคม ค.ศ. 1297 – 15 มิถุนายน ค.ศ. 1341) อันโดรนิคอสที่ 3 พาลาโอโลกอสทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์พาลาโอโลกอส ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 1328 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ. 1341 โดยมีพระราชโอรสจักรพรรดิจอห์นที่ 5 พาลาโอโลกอสเป็นผู้ครองราชย์ต่อมา อันโดรนิคอสเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1297 เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิมิคาเอลที่ 9 และ เจ้าหญิงริตาแห่งอาร์มีเนียผู้เป็นพระราชนัดดาของพระเจ้าเลวอนที่ 2 แห่งอาร์มีเนีย และ พระราชินีเครันแห่งอาร์มีเนี.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 3 พาลาโอโลกอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอันโตนีนุส ปิอุส

ักรพรรดิอันโตนีนุส ปิอุส หรือ ตีตุส เอาเรลิอุส ฟุลวุส โบอิโอนิอุส อาร์ริอุส อันโตนีนุส (Antoninus Pius; ชื่อเต็ม: Titus Aurelius Fulvus Boionius Arrius Antoninus) (19 กันยายน ค.ศ. 86 – 7 มีนาคม ค.ศ. 161) อันโตนีนุส ปิอุสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์อันโตนิน ผู้เสด็จขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดาเลี้ยงจักรพรรดิฮาดริอานุสเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม ค.ศ. 138 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 161 โดยมีพระราชโอรสจักรพรรดิมาร์คัส ออเรลิอัสเป็นผู้ครองราชย์สืบต่อมา อันโตนีนุส ปิอุสทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่สี่ในบรรดา “จักรพรรดิโรมันผู้ทรงคุณธรรมห้าพระองค์” (Five Good Emperors) และไม่ได้รับการขนานนามว่า “ปิอุส” จนกระทั่งเมื่อขึ้นครองราชย์เป็นพระจักรพรรดิแล้ว การที่ทรงได้รับนามเช่นนั้นอาจจะมาจากการที่ทรงบังคับให้สภาเซเนทแต่งตั้งให้พระราชบิดาเลี้ยงเป็นเทพ แต่หนังสือ “ชีวประวัติของจักรพรรดิโรมัน” (Augustan History) เสนอว่าอาจจะเป็นเพราะทรงช่วยให้วุฒิสมาชิกให้รอดจากการถูกประหารชีวิตโดยพระราชบิดาในปลายรัชสมั.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิอันโตนีนุส ปิอุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอาร์กาดิอุส

ักรพรรดิอาร์กาดิอุส หรือ เฟลเวียส อาร์กาดิอุส (Arcadius; ชื่อเต็ม: Flavius Arcadius) (ค.ศ. 377 – 1 พฤษภาคม ค.ศ. 408) อาร์กาดิอุสมีตำแหน่งเป็นออกัสตัสภายใต้พระราชบิดาระหว่างวันที่ 23 มกราคม ค.ศ. 393 จนถึงปี ค.ศ. 395 เมื่อทรงขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิ แห่ง จักรวรรดิโรมันตะวันออก จนกระทั่งเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 408 โดยมีพระอนุชาจักรพรรดิโฮโนริอัสเป็นจักรพรรดิ แห่ง จักรวรรดิโรมันตะวันตก อาร์กาดิอุสเสด็จพระราชสมภพในสเปน เป็นพระราชโอรสองค์โตของจักรพรรดิธีโอโดเซียสที่ 1 และเอเลีย ยูโดเซีย และเป็นพระเชษฐาของโฮโนริอัส จักรพรรดิธีโอโดเซียสทรงประกาศแต่งตั้งให้อาร์กาดิอุสเป็น “ออกัสตัส” และผู้ร่วมราชบัลลังก์ในการปกครองครึ่งตะวันออกของจักรวรรดิในเดือนมกราคม ค.ศ. 393 และให้โฮโนริอัสเป็น “ออกัสตัส” และผู้ร่วมราชบัลลังก์ในการปกครองครึ่งตะวันตกของจักรวรร.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิอาร์กาดิอุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอีวานที่ 6 แห่งรัสเซีย

จักรพรรดิอีวานที่ 6 แห่งรัสเซีย จักรพรรดิอีวานที่ 6 แห่งรัสเซีย (Ivan Antonovich; Иван VI; Иван Антонович 23 สิงหาคม 1740 - 16 กรกฎาคม 1764) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิรัสเซีย เสด็จพระราชสมภพเมื่อ 23 สิงหาคม 1740 ได้รับการประกาศให้เป็นจักรพรรดิอย่างเป็นทางการในปี 1740 ในขณะที่พระองค์ยังเป็นทารก พระองค์ไม่เคยได้ปกครองรัสเซียอย่างแท้จริง หลังจากที่พระองค์ครองราชย์ได้เพียงปีกว่า จักรพรรดินีนาถเอลิซาเบธก็ทรงชิงบัลลังก์พระองค์ไป พระองค์จึงใช้ชีวิตที่เหลืออยู่ในคุก และถูกปลงพระชนม์โดยผู้คุม ขณะที่พระองค์กำลังพยายามหนี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2283 อ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์ในสมัยใหม่.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิอีวานที่ 6 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอเล็กซานเดอร์แห่งไบแซนไทน์

ักรพรรดิอเล็กซานเดอร์แห่งไบแซนไทน์ (Alexander; Αλέξανδρος) (19 กันยายน ค.ศ. 870 – 6 มิถุนายน ค.ศ. 913) บางครั้งก็ลำดับเป็นอเล็กซานเดอร์ที่ 3 พระองค์ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์มาซิโดเนียนผู้ทรงครองราชย์ระหว่าง ค.ศ. 912 จนถึง ค.ศ. 913 อเล็กซานเดอร์เป็นพระราชโอรสองค์ที่สามในพระจักรพรรดิบาซิลที่ 1 และจักรพรรดินียูโดเคีย อินเจรินา พระองค์ไม่ทรงมีปัญหาเหมือนกับพระเชษฐาจักรพรรดิลีโอที่ 6 เดอะไวส์ว่าผู้ใดเป็นพระราชบิดาที่แท้จริงระหว่างจักรพรรดิบาซิลและจักรพรรดิมิคาเอลที่ 3 เพราะประสูติหลายปีหลังจากที่จักรพรรดิมิคาเอลเสด็จสวรรคตไปแล้ว อเล็กซานเดอร์ทรงได้รับการสวมมงกุฎให้เป็นพระจักรพรรดิร่วมกับพระราชบิดาราวปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์แห่งไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 1 โคมเนนอส

ักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 1 โคมเนนอส (Alexios I Komnenos, Ἀλέξιος Α' Κομνηνός) (ค.ศ. 1048 – 15 สิงหาคม ค.ศ. 1118) อเล็กซิออสที่ 1 โคมเนนอสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ผู้ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากจักรพรรดินิเคโฟรอสที่ 3 โบตาเนอาตีสเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1081 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1118 โดยมีพระราชโอรสจักรพรรดิจอห์นที่ 2 โคมเนนอสเป็นผู้ครองราชย์ต่อมา อเล็กซิออสทรงเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์โคมเนนอส รัชสมัยของอเล็กซิออสเป็นรัชสมัยที่เต็มไปด้วยการสงครามทั้งจากฝ่ายเซลจุคตุรกี (Seljuk Turks) ในเอเชียไมเนอร์และจากนอร์มันทางตะวันตกของคาบสมุทรบอลข่าน พระองค์ทรงสามารถหยุดยั้งความเสื่อมของจักรวรรดิและทรงเริ่มการเปลี่ยนแปลงทางการทหาร, ทางการเศรษฐกิจ และทางการได้ดินแดนคืนที่เรียกว่่าสมัย “การปฏิรูปโคมีเนียน” (Komnenian restoration) อเล็กซิออสทรงยื่นคำร้องไปยังยุโรปตะวันตกให้มาช่วยต่อต้านฝ่ายตุรกีและทรงเป็นผู้มีส่วนในการเริ่มสงครามครู.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 1 โคมเนนอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 2 โคมเนนอส

ักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 2 โคมเนนอส (Alexios II Komnenos หรือ Alexius II Comnenus) (10 กันยายน ค.ศ. 1169 – ตุลาคม ค.ศ. 1183) อเล็กซิออสที่ 2 โคมเนนอสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์โคมเนนอส ผู้ทรงครองราชย์ต่อจากพระราชบิดาจักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอสระหว่างวันที่ ค.ศ. 1180 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ ตุลาคม ค.ศ. 1183.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 2 โคมเนนอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 3 อันเจลอส

ักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 3 อันเจลอส (Alexios III Angelos, Αλέξιος Γ' Άγγελος) (ค.ศ. 1153 – ค.ศ. 1211) อเล็กซิออสที่ 3 อันเจลอสทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์อันเจลิด ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 1195 จนถึงปี ค.ศ. 1211 เมื่อทรงถูกถอดจากการเป็นจักรพรร.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 3 อันเจลอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 4 อันเจลอส

ักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 4 อันเจลอส (Alexios IV Angelos หรือ Alexius IV Angelus; Αλέξιος Δ' Άνγελος) (ราว ค.ศ. 1182 – 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1204) อเล็กซิออสที่ 4 อันเจลอสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ของราชวงศ์อันเจลิด ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 1203 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1204 โดยมีจักรพรรดินิโคลอส คานาบอสเป็นผู้ครองราชย์ต่อมา อเล็กซิออสที่เสด็จพระราชสมภพเมื่อราว ค.ศ. 1182 เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิไอแซ็คที่ 2 อันเจลอสและไอรีนพระอัครมเหสีพระองค์แรก เป็นพระราชนัดดาของจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 3 อันเจลอ.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 4 อันเจลอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 5 ดูคาส

ักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 5 ดูคาส (Alexios V Doukas, Ἀλέξιος Δούκας Μούρτζουφλος) (เสียชีวิต ธันวาคม ค.ศ. 1205) อเล็กซิออสที่ 5 ดูคาสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ของราชวงศ์อันเจลิด ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 5 กุมภาพันธ์ จนถึงวันที่ 12 เมษายน ค.ศ. 1204 ในระหว่างครึ่งหลังของการล้อมเมืองคอนสแตนติโนเปิลโดยผู้เข้าร่วมสงครามครูเสดครั้งที่ 4 อเล็กซิออสทรงมีความเกี่ยวข้องกับตระกูลดูคาส ทรงได้รับการขนานพระนามเล่นว่า “Mourtzouphlos” ที่อาจจะหมายถึงพระเกศาที่เป็นพุ่มและพระขนงหนา หรืออาจจะเป็นการบ่งพระลักษณะนิสัยที่เป็นผู้ซึมเศร้าที่อาจจะโปรดที่จะขมวดพระขนง.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 5 ดูคาส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮอโนริอุส

ักรพรรดิฮอโนริอุส หรือ เฟลวิอัส ฮอโนริอุส (Honorius; ชื่อเต็ม: Flavius Honorius) (9 กันยายน ค.ศ. 384 – 15 สิงหาคม ค.ศ. 423) ฮอโนริอุสเป็นจักรพรรดิราชวงศ์ธีโอโดเชียนแห่งจักรวรรดิโรมันผู้ครองราชย์ระหว่างวันที่ 23 มกราคม ค.ศ. 393 จนถึงปี ค.ศ. 395 และของจักรวรรดิโรมันตะวันตกตั้งแต่ปี ค.ศ. 395 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 423 จักรพรรดิฮอโนริอุสเป็นพระราชโอรสองค์รองของจักรพรรดิธีโอโดเซียสที่ 1 กับพระมเหสีองค์แรกเอเลีย ฟลาซซิลลา และเป็นพระอนุชาของจักรพรรดิอาร์เคดิอัสแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์หรือจักรวรรดิโรมันตะวันออก จักรพรรดิฮอโนริอุสเป็นพระจักรพรรดิที่อ่อนแอ ราชบัลลังก์ของพระองค์ได้รับการปกป้องโดยจอมทัพเฟลวิอัส สติลิโคผู้เป็นผู้ปกครองฮอโนริอุสเมื่อยังทรงพระเยาว์ และพ่อตาเมื่อเจริญพระชนมายุขึ้น แม้ว่าจะมีเฟลวิอัส สติลิโคเป็นผู้พิทักษ์จักรวรรดิก็ยังอ่อนแอลงและหลังจากการประหารชีวิตชองสติลิโค จักรวรรดิก็อยู่ในสภาวะที่แทบจะล่ม.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิฮอโนริอุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นหฺวัน

ฮั่นหฺวัน (132–168) ชื่อตัวว่า หลิว จื้อ (劉志) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ฮั่น หลิว จื้อ เป็นเหลนของพระเจ้าฮั่นจาง ในปี 145 พระเจ้าฮั่นชงสิ้นพระชนม์ นางเหลียง น่า (梁妠) พระมารดาพระเจ้าฮั่นชง จึงยกหลิว จวั่น (劉纘) ญาติของพระเจ้าฮั่นชง ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่ เหลียง จี้ (梁冀) พี่ชายของนางเหลียง น่า ได้เป็นใหญ่ในราชการแผ่นดิน และในปี 146 เหลียง จี้ ก็ฆ่าหลิว จวั่น ทิ้ง นางเหลียง น่า จึงยกหลิว จื้อ ขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดินองค์ถัดมา ขณะนั้น หลิว จื้อ อายุได้สิบสี่ปี เมื่อเสวยราชย์แล้ว หลิว จื้อ กำจัดอิทธิพลของพี่น้องสกุลเหลียงเป็นผลสำเร็จ โดยได้ความช่วยเหลือจากเหล่าขันที แต่นั้นก็เป็นเหตุให้ขันทีเข้ามาครอบงำกิจการบ้านเมืองแทน ขันทีทั้งหลายฉ้อฉลไม่ต่างจากพี่น้องสกุลเหลียง ราษฎรจึงไม่สิ้นความเดือดร้อน ในปี 166 บัณฑิตจำนวนมากประท้วงต่อต้านรัฐบาล หลิว จื้อ จึงสั่งให้จับผู้ประท้วงทั้งสิ้น ราชวงศ์ฮั่นก็เข้าสู่ความเสื่อมอีกระดับหนึ่ง หลิว จื้อ อยู่ในสมบัติได้ยี่สิบสองปีก็วายชนม์ไปในปี 168 อายุได้สามสิบหก หลิว หง (劉宏) ญาติของหลิว จื้อ ได้เป็นกษัตริย์สืบต่อมา หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิฮั่นหฺวัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮาดริอานุส

ักรพรรดิฮาดริอานุส หรือ ปูบลิอุส เอลิอุส ฮาดริอานุส (Hadrian; ชื่อเต็ม: Publius Aelius HadrianusInscription in Athens, year 112 AD: CIL III, 550) (24 มกราคม ค.ศ. 76 – 10 กรกฎาคม ค.ศ. 138) ฮาดริอานุสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์เนอร์วัน-อันโตเนียนระหว่างวันที่ 10 สิงหาคม ค.ศ. 117 ถึงวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 138 พระนามเมื่อเป็นจักรพรรดิคือ “Imperator Caesar Divi Traiani filius Traianus Hadrianus Augustus” และ “Divus Hadrianus” หลังจากได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเทพ ฮาดริอานุสเป็นจักรพรรดิองค์ที่สามในบรรดา “จักรพรรดิโรมันผู้ทรงคุณธรรมห้าพระองค์” (Five Good Emperors) หรือองค์ที่สองของข้อเสนอของราชวงศ์อัลปิโอ-เอเลียนเมื่อไม่นานมานี้ นอกจากนั้นก็ยังทรงเป็นนักปรัชญาลัทธิสโตอิก (Stoicism) และ ลัทธิเอพิคิวเรียน (Epicureanism) ฮาดริอานุสมาจากตระกูลเอลิอุส (Aelius) ซึ่งเป็นตระกูลโรมันโบราณ.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิฮาดริอานุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิผู่อี๋

มเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ พระราชสมภพ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2449 มีพระนามเต็มว่า หรือ เฮนรี่ ผู่อี๋ (พระนามอังกฤษที่เรจินัล จอนสตันถวายให้) เป็นจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ชาวแมนจูแห่งราชวงศ์ชิง และเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ชิง (นับเริ่มแต่จักรพรรดิซุ่นจื้อ) และเป็นองค์สุดท้าย (末代皇帝) ของประเทศจีนมีพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเซวียนถ่ง จากปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิผู่อี๋ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจอห์นที่ 1

ักรพรรดิจอห์นที่ 1 (John I Tzimiskes หรือ Tzimisces; Ιωάννης Α΄ Τζιμισκής, Հովհաննես Ա Չմշկիկ) (ราว ค.ศ. 925 – 10 มกราคม ค.ศ. 976) จอห์นทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์มาซิโดเนีย ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 969 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 10 มกราคม ค.ศ. 976 จักรพรรดิจอห์นทรงเป็นแม่ทัพผู้ทรงประปรีชาสามารถ แม้จะทรงครองราชย์เพียงระยะเวลาอันสั้นแต่ก็ทรงสามารถทำการขยายดินแดนและสร้างเสริมเขตแดนให้แข็งแรงขึ้น ซึ่งทำให้จักรวรรดิมีความแข็งแกร่งขึ้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิจอห์นที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจอห์นที่ 2 โคมเนนอส

จักรพรรดิจอห์นที่ 2 โคมเนนอส (John II Komnenos) จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ทรงเป็น พระราชโอรสใน จักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 1 โคมเนนอส เสด็จขึ้นครองราชย์แทนพระราชบิดาเมื่อปี ค.ศ. 1118 ขณะพระชนม์ได้ 31 พรรษาตลอดรัชสมัยของจอห์นที่ 2 เต็มไปด้วยสงครามมากมายที่สืบเนื่องมาจากรัชสมัยพระราชบิดารวมทั้งสงครามครูเสด สวรรคตเมื่อวันที่ 8 เมษายน ค.ศ. 1143 ขณะพระชนม์ได้ 56 พรรษา หมวดหมู่:เสียชีวิตจากยาพิษ หมวดหมู่:จักรพรรดิไบแซนไทน์ หมวดหมู่:บุคคลในสงครามครูเสด.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิจอห์นที่ 2 โคมเนนอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจอห์นที่ 8 พาลาโอโลกอส

ักรพรรดิจอห์นที่ 8 พาลาโอโลกอส (John VIII Palaiologos; Ίωάννης Η' Παλαιολόγος) (18 ธันวาคม ค.ศ. 1392 – 31 ตุลาคม ค.ศ. 1448) จอห์นที่ 8 ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์พาลาโอโลกอส ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 1425 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม ค.ศ. 1448 จอห์นเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1392 เป็นพระราชโอรสองค์โตในจักรพรรดิมานูเอลที่ 2 พาลาโอโลกอสและจักรพรรดินีเฮเลนา ดรากาสผู้เป็นพระธิดาของเจ้าชายคอนสแตนติน ดรากาสแห่งเซอร์เบีย ก่อนที่จะทรงราชย์ด้วยพระองค์เองจอห์นทรงเป็นจักรพรรดิคู่กับพระราชบิดามาก่อน.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิจอห์นที่ 8 พาลาโอโลกอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจัสติเนียนที่ 2

ักรพรรดิจัสติเนียนที่ 2 (Justinian II; Ιουστινιανός Β΄) (ค.ศ. 669 – ธันวาคม ค.ศ. 711) จัสติเนียนทรงเป็นที่รู้จักกันในพระนามว่า “Rinotmetos” หรือ “Rhinotmetus” (Ρινότμητος) ทรงเป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายของราชวงศ์เฮราเคลียน พระองค์ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์สองครั้งๆ แรกระหว่างปี ค.ศ. 685 จนถึงปี ค.ศ. 695 และครั้งที่สองระหว่างปี ค.ศ. 705 จนเสด็จสวรรคตเมื่อเดือน ธันวาคม ค.ศ. 711 ในรัชสมัยของพระองค์จัสติเนียนทรงรวมตำแหน่งกงสุลกับจักรพรรดิเข้าด้วยกันซึ่งทำให้ตำแหน่งพระมหาจักรพรรดิเป็นตำแหน่งของประมุขของรัฐที่ไม่แต่จะเป็นตำแหน่งโดยพฤตินัยเท่านั้นแต่ยังเป็นตำแหน่งตามกฎหมายด้วย และเท่ากับเป็นการยุบเลิกสภากงสุลโดยปริยาย พระองค์ทรงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกงสุลในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจิ้นหมิ่น

มเด็จพระจักรพรรดิจิ้นหมิ่นตี้ (ค.ศ. 313 - 316, พ.ศ. 856 - 859) จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์จิ้นตะวันตก ทรงครองราชย์สืบต่อจากจักรพรรดิจิ้นหวยตี้ ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิจิ้นหมิ่น · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจีน

มเด็จพระเจ้ากรุงจีน หรือ จักรพรรดิจีน (หวงตี้; ฮกเกี้ยน:ฮ่องเต้; แต้จิ๋ว:อ้วงตี่) คือประมุขจักรวรรดิจีน โดยมีจิ๋นซีฮ่องเต้เป็นฮ่องเต้พระองค์แรก ก่อนสมัยราชวงศ์ฉิน ประเทศจีนได้ถูกแบ่งเป็นแว่นแคว้นต่าง ๆ มากมาย และแต่ละแคว้นจะมีผู้ปกครอง เรียกว่า อ๋อง (王; พินอิน:wáng) ซึ่งแปลว่า พระมหากษัตริย์ แต่ต่อมาหลังจากอ๋องแห่งแคว้นฉินได้รวบรวมแว่นแคว้นต่าง ๆ เป็นหนึ่งเดียวจึงสถาปนาแผ่นดินเป็นจักรวรรดิจีน และประกาศใช้เป็นพระนามคำนำหน้าว่าจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ คือฉินซือหวงตี้ หรือจิ๋นซีฮ่องเต้ ตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฉิน ฮ่องเต้ได้รับการเคารพในฐานะโอรสแห่งสวรรค์ คือเปรียบเสมือนได้รับอำนาจจากสวรรค์มาให้ปกครองประชาชน ตามหลักการ "สูงสุดโอรสสวรรค์ ล่างสุดนั้นประชาราษฎร" (最高的是天子,最低的是人民) การสืบทอดตำแหน่งฮ่องเต้มักอยู่ในรูปแบบจากบิดาไปยังบุตร โดยคำว่า ฮ่องเต้ หรือ หวงตี้ ถ้าแปลตรงตัวจะสามารถแปลได้ว่า "ผู้ปกครองที่ยิ่งใหญ่" (หวง 皇 - ผู้ทรงศักดิ์/Imperial, ตี้ 帝 - องค์อธิปัตย์/Sovereign) โดยนำมาจากพระนามฮ่องเต้องค์แรก คือ ฉินซือหวงตี้ (秦始皇帝) หลังจากนั้นตำแหน่งฮ่องเต้ก็ดำรงอยู่มานับพันปีซึ่งตั้งแต่ราชวงศ์ฉิน ราชวงศ์ฮั่น ราชวงศ์จิ้น ราชวงศ์สุย ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หมิง โดยมาสิ้นสุดที่ราชวงศ์ชิง เนื่องจากบริหารบ้านเมืองล้มเหลว และยังถูกประเทศต่างชาติรุกราน เป็นเหตุให้ประเทศจีนเกิดการปฏิรูปการปกครองจากระบอบระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ ตำแหน่งฮ่องเต้จึงสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1912 ฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายของประเทศจีนคือ จักรพรรดิฮงเซี่ยนหรือหยวน ซื่อไข่ แต่ไม่ได้รับการยอมรับจากประชาชน โดยฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายที่ได้รับการยอมรับจากประชาชนคือ สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋แห่งราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิดอมิติอานุส

ติตุส ฟลาวิอุส ไกซาร์ ดอมิติอานุส เอากุสตุส (TITVS FLAVIVS CAESAR DOMITIANVS AVGVSTVS; 24 ตุลาคม ค.ศ. 51 – 18 กันยายน ค.ศ. 96) เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์ฟลาวิอุส ที่ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากพระเชษฐา จักรพรรดิทีตุสเมื่อวันที่ 14 กันยายน ค.ศ. 81 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 96 โดยมีจักรพรรดิเนอร์วาเป็นผู้ครองราชย์ต่อม.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิดอมิติอานุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิดิออเกลติอานุส

ออเกลติอานุส (Gaius Aurelius Valerius Diocletianus; ภาษาอังกฤษ: Diocletian; ภาษากรีก: Διοκλής) (ราว 22 ธันวาคม ค.ศ. 244 - เสียชีวิต 3 ธันวาคม ค.ศ. 311) เมื่อแรกเกิดชื่อ “ไดโอคลีส” และรู้จักกันว่า “ดิออเกลติอานุส”เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมัน 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 284 ถึงวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 286 ด้วยพระองค์เอง และระหว่างวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 286 ถึงวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 305 ในฐานะออกัสตัสแห่งตะวันออก และร่วมกับแม็กซิเมียนในฐานะออกัสตัสแห่งตะวันตก ดิออเกลติอานุสเป็นจักรพรรดิที่เป็นผู้ยุติเหตุการณ์ที่นักประวัติศาสตร์เรียกว่า วิกฤติการณ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 3 ที่เกิดขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิดิออเกลติอานุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิดิอาดูแมนิอานุส

ักรพรรดิดิอาดูแมนิอานุส หรือ มาร์คัส โอเพลลิอัส อันโทนินัส ไดอะดูเมนิอานัส (Diadumenian; ชื่อเต็ม: Marcus Opellius Antoninus Diadumenianus) (สวรรคต ค.ศ. 218) ดิอาดูแมนิอานุสเป็นซีซาร์ภายใต้พระราชบิดาจักรพรรดิมาครินัสระหว่างเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 217 จนถึงปี ค.ศ. 218 และทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันในปี ค.ศ. 218 พระองค์เป็นพระราชโอรสของจักรพรรดินีโนเนีย เซลซาแต่โนเนียจะมีตัวตนจริงหรือไม่ก็ยังเป็นที่สงสัยกันอยู่เพราะพระนามปรากฏเฉพาะในบันทึก Historia Augusta พระนามเมื่อแรกเกิดคือ “มาร์คัส โอเพลลิอัส ไดอะดูเมนิอานัส” แต่ได้รับการเปลี่ยนโดยเพิ่ม “อันโทนินัส” เพื่อแสดงว่ามีความเกี่ยวข้องกับตระกูลของมาร์คัส ออเรลิอัสเช่นที่ทำกับคาราคัลลา ดิอาดูแมนิอานุสครองราชย์ได้เพียงไม่นานก็เกิดการปฏิวัติโดยกองทหารในสไตเรียที่ประกาศให้เอลากาบาลัสเป็นจักรพรรดิแทนที่ เมื่อมาครินัสทรงได้รับความพ่ายแพ้ในอันติโอค เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน ค.ศ. 218 ดิอาดูแมนิอานุสก็สิ้นพระชนม์ตามพระร.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิดิอาดูแมนิอานุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิดีดิอุส ยูลิอานุส

ักรพรรดิดีดิอุส ยูลิอานุส หรือ มาร์คัส ดีดิอุส เซเอวรัส ยูลิอานุส (Didius Julianus; ชื่อเต็ม: Marcus Didius Severus Julianus) (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 137 – 1 มิถุนายน ค.ศ. 193) ดีดิอุส ยูลิอานุสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันต่อจากจักรพรรดิเพอร์ทิแน็กซ์ ระหว่างวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ. 193 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน ของปีเดียวกัน ดีดิอุส ยูลิอานุสขึ้นเป็นจักรพรรดิโดยการซื้อการสนับสนุนจากองค์รักษ์เพรทอเรียนผู้สังหารเพอร์ทิแน็กซ์จักรพรรดิองค์ก่อนหน้านั้น ซึ่งเป็นชนวนที่ทำให้เกิดสงครามกลางเมืองระหว่างปี ค.ศ. 193 ถึงปี ค.ศ. 197 ดีดิอุส ยูลิอานุสถูกปลดจากตำแหน่งและถูกลงโทษประหารชีวิตโดยจักรพรรดิองค์ต่อมา – จักรพรรดิเซ็พติมิอัส เซเวอรั.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิดีดิอุส ยูลิอานุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนราดที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

มเด็จพระจักรพรรดิคอนราดที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Conrad II, Holy Roman EmperorBritannica online encyclopedia article on Conrad II (Holy Roman emperor)) (ราว ค.ศ. 990 - 4 มิถุนายน ค.ศ. 1039) คอนราดทรงเป็นบุตรของไฮนริคแห่งเสปเยอร์ขุนนางขั้นรองในฟรังโคเนียและอเดลเลดแห่งอัลซาซ ซึ่งทำให้ทรงได้รับฐานันดรศักดิ์เป็นเคานท์แห่งสเปเยอร์ และ เวิร์มส์เมื่อยังทรงเป็นทารกเมื่อไฮนริคแห่งเสปเยอร์เสียชีวิตเมื่อมีอายุได้เพียง 20 ปี เมื่อเจริญพระชันษาขึ้นพระองค์ก็ทรงเป็นที่รู้จักไกลออกไปจากบริเวณสเปเยอร์และเวิร์มส์ ฉะนั้นเมื่อสายแซกโซนีสิ้นสุดลงและตำแหน่งพรินซ์อีเล็คเตอร์แห่งราชอาณาจักรเยอรมนีว่างลง คอนราดก็ได้รับเลือกให้เป็นกษัตริย์แห่งเยอรมนีในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิคอนราดที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสตันไทน์มหาราช

ักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1 จักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1 (ConstantineI 27 กุมภาพันธ์ ประมาณ ค.ศ. 272Birth dates vary but most modern historians use "ca. 272". Lenski, "Reign of Constantine", 59. – 22 พฤษภาคม ค.ศ. 337) ครองราชสมบัติเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมัน ระหว่างวันที่ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 306 ถึงวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 312 มีพระนามเต็มว่า “Flavius Valerius Aurelius Constantinus” หรือที่รู้จักกันว่า “คอนสตันไทน์ที่ 1” ในบรรดาผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิก หรือ “คอนสตันไทน์มหาราช” หรือ “นักบุญคอนสตันไทน์” ในบรรดาผู้นับถือนิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์หรือนิกายไบแซนไทน์คาทอลิก พระราชกรณียกิจสำคัญที่สุดคือการประกาศให้ศาสนาคริสต์เป็นศาสนาที่ถูกต้องตามกฎหมายของจักรวรรดิโรมันเมือปี ค.ศ. 313 จักพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1 จึงเป็นจักรพรรดิพระองค์แรกของจักรวรรดิโรมันที่นับถือศาสนาคริสต์ตามพระราชกฤษฎีกาแห่งมิลาน (Edict of Milan) ที่ประกาศโดยจักรพรรดิลีซีนีอุส (Licinius) ผู้ทรงเป็นจักรพรรดิร่วมกับพระองค์ พระราชกฤษฎีกาแห่งมิลานเป็นพระราชกฤษฎีกาที่ยกเลิกการทารุณกรรมต่อคริสต์ศาสนิกชนทั่วทั้งจักรวรรดิโรมัน ตามปฏิทินศาสนาของไบเซ็นไทน์ของนิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ และนิการคาทอลิกตะวันออกแห่งไบเซนไทน์บันทึกจักพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1และเฮเลนแห่งคอนสแตนติโนเปิลพระมารดาว่าเป็นนักบุญ แต่ในปฏิทินศาสนาของตะวันตกไม่มีอยู่ในรายนามนักบุญ คอนสตันไทน์ได้รับนาม “มหาราช” เพราะพระราชกรณียกิจต่างที่ทรงทำให้ต่อคริสต์ศาสนา ในปี ค.ศ. 324 จักรพรรดิคอนสตันไทน์ทรงประกาศการปรับปรุงเมืองไบเซนเทียมให้เป็น “กรุงโรมใหม่” (Nova Roma) และเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 330 ทรงประกาศให้เมืองไบเซ็นเทียมเป็นเมืองหลวงใหม่ของจักรวรรดิโรมัน เมืองไบเซ็นเทียมเปลื่ยนชื่อเป็น “คอนสแตนติโนเปิล” แปลว่า “เมืองของคอนสตันไทน์” หลังจากจักพรรดิคอนสตันไทน์สิ้นพระชนม์เมื่อปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิคอนสตันไทน์มหาราช · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 2

จักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 2 เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1 และ พระนางฟาอัสตา ประสูติเมื่อปีค.ศ. 316 ปีค.ศ. 317พระชนม์เพียง 1 พรรษาก็ทรงครองจักรวรรดิโรมันร่วมกับพระราชบิดาทรงครองราชย์ร่วม กับพระราชบิดานานถึง 20 ปีก่อนที่จักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่1 จะสวรรคตในวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 337และทรงครองจักรวรรดิร่วม กับจักรพรรดิคอนแสตนติอัสที่ 2พระราชอนุชา และ จักรพรรดิคอนสแตนส์ ก่อนจะสวรคตในปีค.ศ. 340 ขณะพระชนม์เพียง 24 พรรษา คอนสตันไทน์ที่ 2 คอนสตันไทน์ที่ 2.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสแตนสที่ 2

ักรพรรดิคอนสแตนสที่ 2 (Constans II หรือ Constantine the Bearded; Κώνστας Β', Kōnstas II) (7 พฤศจิกายน ค.ศ. 630 – 15 กันยายน ค.ศ. 668) คอนสแตนสที่ 2 ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์เฮราเคลียน ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 641 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 668 นอกจากนั้นก็ยังทรงเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายที่เป็นกงสุลในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิคอนสแตนสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 11 พาลาโอโลกอส

จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 11 พาลาโอโลกอส (Constantine XI Palaiologos, 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1405-29 พฤษภาคม ค.ศ. 1453) เป็นจักรพรรดิโรมันองค์สุดท้าย ครองราชย์ระหว่าง ค.ศ. 1449-ค.ศ. 1453 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1947 หมวดหมู่:จักรพรรดิไบแซนไทน์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่เสด็จสวรรคตในสงคราม.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 11 พาลาโอโลกอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 3 แห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์

ักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 3 แห่งไบแซนไทน์ หรือ เฮราคลิอัส โนวัส คอนสแตนตินัส (Constantine III (Byzantine emperor); ชื่อเต็ม: Heraclius Novus Constantinus; Ηράκλειος (νέος) Κωνσταντίνος) (3 พฤษภาคม ค.ศ. 612 – 20 เมษายน หรือ 24/26 พฤษภาคม ค.ศ. 641) คอนสแตนตินที่ 3 ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ของราชวงศ์เฮราเคลียน ผู้ทรงครองราชย์เพียงสี่เดือนตั้งแต่เดือน กุมภาพันธ์ ค.ศ. 641 จนเสด็จสวรรคต คอนสแตนตินเป็นพระราชโอรสองค์โตในจักรพรรดิเฮราคลิอัสและพระอัครมเหสีองค์แรกจักรพรรดินียูโดเคี.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 3 แห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 4

ักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 4 (Constantine IV; Κωνσταντίνος Δ', Kōnstantinos IV, Constantinus) (ค.ศ. 652 – กันยายน ค.ศ. 685) คอนสแตนตินที่ 4 ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์เฮราเคลียน ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 668 จนเสด็จสวรรคตในเดือนกันยายน ค.ศ. 685 โดยมีพระราชโอรสจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 2 ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระองค์ ก่อนที่จะทรงเป็นจักรพรรดิด้วยพระองค์เองคอนสแตนตินที่ 4 ทรงเป็นจักรพรรดิร่วมกับพระราชบิดาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 7

ักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 7 (Constantine VII หรือ Constantine Porphyrogennetos (Constantine the Purple-born), Κωνσταντίνος Ζ΄ Πορφυρογέννητος, Kōnstantinos VII Porphyrogennētos) (2 กันยายน ค.ศ. 905 – 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 959) คอนสแตนตินเป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิลีโอที่ 6 เดอะไวส์และพระอัครมเหสีองค์ที่สี่โซอี คาร์โบนอพซินา และเป็นพระราชนัดดาในจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์แห่งไบแซนไทน์ คอนสแตนตินทรงมีชื่อเสียงในการทรงพระราชนิพนธ์หนังสือสองเล่ม “De Administrando Imperio” และ “De Ceremoniis” คอนสแตนตินที่ 7 ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ของราชวงศ์มาซิโดเนีย ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 908 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 959.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสแตนเชียสที่ 2

ักรพรรดิคอนสแตนเชียสที่ 2 (Constantius II) หรือฟลาวิอุส ยูลิอุส คอนสตานติอุส(Flavius Iulius Constantius) (7 สิงหาคม ค.ศ. 317 – 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 361) คอนสแตนเชียสที่ 2 เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์คอนแสตนติเนียน คอนสแตนเชียสที่ 2 ทรงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นซีซาร์โดยพระราชบิดาระหว่างวันที่ 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 324 จนถึงวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 337; ระหว่าง ค.ศ. 337 ถึง ค.ศ. 340 ทรงมีตำแหน่งเป็นออกัสตัสร่วมกับจักรพรรดิคอนสแตนและจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 2 ในการปกครองมณฑลในเอเชียและอียิปต์; ระหว่าง ค.ศ. 340 ถึง ค.ศ. 350 ทรงเป็นออกัสตัสร่วมกับจักรพรรดิคอนสแตนในการปกครองจังหวัดในเอเชียและอียิปต์ และระหว่าง ค.ศ. 350 ถึงวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 361 คอนสแตนเชียสที่ 2 ก็ขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันทั้งหม.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิคอนสแตนเชียสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคาร์ลที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

มเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หรือ ชาร์ลส์ผู้ศีรษะล้าน (Charles the Bald) (13 มิถุนายน ค.ศ. 823 - 6 ตุลาคม ค.ศ. 877) ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แห่งราชวงศ์คาโรแล็งเชียง ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ระหว่างปี ค.ศ. 875 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม ค.ศ. 877 พระองค์เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิลุดวิกที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และ จูดิธแห่งบาวาเรีย พระอัครมเหสีองค์ที่สอง.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิคาร์ลที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคาร์ลที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

มเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 4 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Charles IV, Holy Roman Emperor) (14 พฤษภาคม ค.ศ. 1316 - 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1378) เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่สองของโบฮีเมียจากราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก และทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ คาร์ลเป็นพระราชโอรสองค์โตและรัชทายาทของจอห์นแห่งโบฮีเมียผู้สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม ค.ศ. 1346 ฉะนั้นคาร์ลจึงทรงได้รับอาณาจักรเคานท์แห่งลักเซมเบิร์กและราชอาณาจักรโบฮีเมีย และทรงเข้าทำพิธีบรมราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์แห่งโบฮีเมียเมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1347 เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1346 สภาผู้เลือกตั้งจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Prince-elector) ก็เลือกพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวโรมันหรือพระมหากษัตริย์แห่งเยอรมนีในการต่อต้านสมเด็จพระจักรพรรดิลุดวิกที่ 4 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ คาร์ลทรงได้รับการสวมมงกุฎเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1346 ที่บอนน์ หลังจากจักรพรรดิลุดวิกเสด็จสวรรคตคาร์ลก็ได้รับเลือกเป็นพระจักรพรรดิอีกครั้งในปีเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1349 และทรงได้รับการสวมมงกุฎเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม และต่อมาเมื่อวันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1355 พระองค์ก็ทรงได้รับการสวมมงกุฎเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอิตาลี และสวมมงกุฎเป็นพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์เมื่อวันที่ 5 เมษายน การสวมมงกุฎเป็นพระมหากษัตริย์แห่งเบอร์กันดีถูกเลื่อนไปเป็นวันที่ 4 มิถุนายน ค.ศ. 1365 พระองค์ก็ทรงได้รับการสวมมงกุฎเป็นพระมหากษัตริย์แห่งเบอร์กันดี นอกจากจะเป็นพระมหากษัตริย์ในราชอาณาจักรต่างๆ แล้วพระองค์ก็ยังทรงดำรงตำแหน่งเป็นเคานท์ลักเซมเบิร์ก (ค.ศ. 1346–ค.ศ. 1378) และมากราฟแห่งบรันเดนเบิร์ก (ค.ศ. 1373–ค.ศ. 1378).

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิคาร์ลที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิติตุส

ติตุส ฟลาวิอุส ไกซาร์ แว็สปาซิอานุส เอากุสตุส (TITVS FLAVIVS CAESAR VESPASIANVS AVGVSTVS; 30 ธันวาคม ค.ศ. 39 – 13 กันยายน ค.ศ. 81) เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์ฟลาวิอุสองค์ที่สอง ระหว่างวันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ. 79 ถึงวันที่ 13 กันยายน ค.ศ. 81 ราชวงศ์นี้ก่อตั้งโดยพระราชบิดาแว็สปาซิอานุส ซึ่งเป็นราชวงศ์ที่มีจักรพรรดิเพียงสามพระองค์ที่รวมทั้งจักรพรรดิโดมิเซียนุสพระอนุชาผู้ครองราชย์ต่อจากติตุส ก่อนที่จะขึ้นครองราชย์เป็นพระจักรพรรดิติตุสเป็นแม่ทัพโรมันผู้มีชื่อเสียงผู้รับราชการภายใต้พระราชบิดาในจังหวัดยูเดีย (Iudaea Province) ระหว่างสงครามยิว-โรมันครั้งที่ 1 (First Jewish-Roman War) ที่เกิดขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิติตุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิติแบริอุสที่ 2

ักรพรรดิติแบริอุสที่ 2 กงสตันตีนุส หรือ เฟลเวียส ติแบริอุส กงสตันตีนุสัส ออกัสตัส (Tiberius II Constantine; Tiberios Konstantinos) (ราว ค.ศ. 520/ค.ศ. 535 – 14 สิงหาคม ค.ศ. 582) ติแบริอุสทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์จัสติเนียน ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 574 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 582 ระหว่างที่ทรงราชย์จักรพรรดิติแบริอุสพระราชทานทองจำนวน 7,200 ปอนด์ทุกปีเป็นเวลาสี่ปีJ.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิติแบริอุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซา ล็อง

ซา ล็อง (Gia Long, 嘉隆) หรือ เหงียน ฟุก อั๊ญ (Nguyễn Phúc Ánh, 阮福暎) เป็นที่รู้จักกันในพระนาม พระเจ้าเวียดนามยาลองทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค), เจ้าพร.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิซา ล็อง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งฮุ่ยจง

thumb ซ่งฮุ่ยจง (ค.ศ. 1100 - ค.ศ. 1126, พ.ศ. 1643- พ.ศ. 1669)ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิซ่งฮุ่ยจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเจ๋อจง

มเด็จพระจักรพรรดิซ่งเจ๋อจง สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งเจ๋อจง (ค.ศ. 1075 - ค.ศ. 1100, ทรงครองราชย์ ค.ศ. 1085 - ค.ศ. 1100) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ซ่งเหนือ เป็นพระราชโอรสใน จักรพรรดิซ่งเสินจง กับพระสนมซู ประสูติเมื่อ ค.ศ. 1075 (พ.ศ. 1618) และเมื่อจักรพรรดิซ่งเสินจงพระราชบิดาเสด็จสวรรคตลงขณะพระชันษา 10 พรรษา พระองค์จึงขึ้นครองราชย์แทนในปี ค.ศ. 1085 (พ.ศ. 1628) แต่เนื่องจากพระองค์ยังทรงพระเยาว์พระพันปีหลวง เกาจึงทรงเป็นผู้สำเร็จราชการและที่ปรึกษาราชกิจ และเมื่อทรงบรรลุนิติภาวะทรงสนับสนุนแนวทางอนุรักษ์แบบเก่าที่นำโดยซือหม่ากวงและทำให้แนวทางปฏิรูปของหวังอันสือยุติลง ส่วนเกาไทเฮาสิ้นพระชนม์ลงในปี ค.ศ. 1093 (พ.ศ. 1636) อันเป็นปีที่ 8 ในรัชกาล องค์จักรพรรดิซ่งเจ๋อจงครองราชย์ได้ 15 ปี สวรรคตลงเมื่อปี ค.ศ. 1100 (พ.ศ. 1643) ขณะพระชนม์เพียง 25 พรรษาจักรพรรดิซ่งฮุ่ยจงพระราชอนุชาจึงขึ้นครองราชย์สืบต่อ.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิซ่งเจ๋อจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิปูบลิอุส แซ็ปติมิอุส แกตา

ักรพรรดิปูบลิอุส แซ็ปติมิอุส แกตา (Geta; ชื่อเต็ม: Publius Septimius Geta) (7 มีนาคม ค.ศ. 189 – 26 ธันวาคม ค.ศ. 211) ปูบลิอุส แซ็ปติมิอุส แกตาเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์เซเวรัน ผู้ครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 209 จนถึงวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 211 ร่วมกับพระราชบิดาจักรพรรดิแซ็ปติมิอุส เซเวอรัสและพระเชษฐาจักรพรรดิการากัลลา และระหว่างวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 211 จนเสด็จสวรรคตร่วมกับพระเชษฐาจักรพรรดิการากัลล.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิปูบลิอุส แซ็ปติมิอุส แกตา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินิโคลอส คานาบอส

ักรพรรดินิโคลอส คานาบอส (Nikolaos Kanabos หรือ Nicolas Canabus) จักรพรรดินิโคลอสทรงได้รับเลือกให้เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์เมื่อวันที่ 25 หรือ 27 มกราคม ค.ศ. 1204 โดยที่ประชุมสภาเซเนตไบแซนไทน์ (Byzantine Senate), นักบวช และมหาชนของคอนแสตนติโนเปิลในการเป็นปฏิปักษ์ต่อจักรพรรดิไอแซ็คที่ 2 อันเจลอสและอเล็กซิออสที่ 4 อันเจลอส นิโคลอส คานาบอสทรงเป็นขุนนางหนุ่มที่ได้รับเลือกหลังจากที่สภาพยายามสรรหาผู้ที่เหมาะสมอยู่สามวัน และไม่ทรงยอมรับผลการเลือกตั้ง แม้ว่าจะทรงได้รับเลือกโดยเสียงของผู้นิยมแต่ก็ไม่ทรงมีอำนาจเท่าใดนักไม่ทรงยอมออกจากอะยาโซเฟีย จักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 5 ดูคาสผู้โค่นราชบัลลังก์ของจักรพรรดิไอแซ็คที่ 2 อันเจลอส และ จักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 4 อันเจลอสทรงพยายามมอบตำแหน่งสำคัญในการบริหารให้แต่นิโคลอสก็ไม่ทรงยอมรับข้อตกลง เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์จักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 5 ก็ทรงจับนิโคลอสคุมขังและสังหารในวันเดียวกันกับที่สังหารจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 4.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดินิโคลอส คานาบอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินี

จักรพรรดินี (Empress) หมายถึง ประมุขเพศหญิงผู้เป็นเจ้าครองแผ่นดินที่เป็นจักรวรรดิ หากเป็นบุรุษเพศที่เป็นประมุขเรียกว่าจักรพรรดิ (Emperor) แต่คำว่า “จักรพรรดินี” ก็ใช้เรียกพระมเหสีของจักรพรรดิด้วย ซึ่งในภาษาอังกฤษจะมีคำต่อท้ายให้เป็นที่เข้าใจคือ “Empress Consort” โดยทั่วไปถือกันว่า “จักรพรรดินี” มีฐานันดรสูงกว่า “กษัตริย์” ซึ่งเป็นผู้ปกครองของดินแดนที่เป็นประเทศหรืออาณาจักรเท่านั้น หมวดหมู่:จักรพรรดิ หมวดหมู่:จักรพรรดินี en:Empress.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดินี · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีโคลัสที่ 1 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดินิโคลัสที่ 1 แห่งรัสเซีย (Nicholas I of Russia) ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิพระองค์ที่ 12 แห่งจักรวรรดิรัสเซีย ตั้งแต่ปี 1825 จนถึงปี 1855 นอกจากนี้พระองค์ยังทรงพระอิสริยศเป็นพระมหากษัตริย์โปแลนด์และแกรนด์ดยุกแห่งฟินแลนด์ พระองค์เป็นพระโอรสในจักรพรรดิพอลที่ 1 กับโซฟีอา ดอโรเทีย แห่งเวือร์ทเทิมแบร์คW.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดินีโคลัสที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดินีแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย (Catherine II of Russia) ซึ่งทรงได้รับการถวายพระราชสมัญญาว่า "แคทเธอรีนมหาราชินี" (หรือ Екатерина II Великая; Katharina die Große; 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2272 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2339) พระองค์ทรงเป็นจักรพรรดินีนาถที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดและครองราชย์ยาวนานที่สุดของรัสเซีย ทรงขึ้นครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2305 หลังจากการรัฐประหารและการปลงพระชนม์จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 พระราชสวามีของพระองค์เอง (ไม่นานหลังจากการสิ้นสุดของสงครามเจ็ดปี) จนกระทั่งเสด็จสวรรคต การปกครองของพระองค์เป็นการอธิบายถึงการเป็น ผู้ใช้อำนาจเด็ดขาดที่ทรงเรืองปัญญา (enlightened despot) ทั้งยังทรงฟื้นฟูจักรวรรดิรัสเซียให้แข็งแกร่งและมีอาณาเขตกว้างกว่าเดิมอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน จนรัสเซียกลายมาเป็นชาติมหาอำนาจที่สำคัญมากที่สุดชาติหนึ่งในยุโรป ในการเข้าถึงขุมอำนาจและปกครองจักรวรรดิของพระองค์ พระนางแคทเธอรีนมักจะทรงพึ่งพาอำนาจจากเหล่าขุนนางที่ทรงโปรดปราน และผู้ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดเช่นกริกอรี ออโลฟ และกริกอรี โปเตมคิน หรือเหล่านายพลผู้มีอำนาจบารมีสูงเช่น ปิออตร์ รูเมียนเซฟ และอเล็กซานเดอร์ ซูโวโลฟ หรือแม้แต่พลเรือเอกเช่น ฟิโอดอร์ อูชาโคฟ พระนางปกครองรัสเซียในช่วงเวลาที่จักรวรรดิได้ทำการแผ่ขยายอาณาเขตของตนโดยทั้งการศึกสงครามและการทูต ทางทิศใต้, อาณาจักรข่านแห่งไครเมียร์ถูกบดขยี้และตามมาด้วยชัยชนะเหนือจักรวรรดิออตโตมันในสงครามรัสเซีย-ตุรกี ต่อมารัสเซียได้ทำการเข้ายึดครองดินแดนอันว่างเปล่าแห่งโนโวรอสซิยาตลอดจนชายฝั่งทะเลดำและทะเลอะซอฟ ทางทิศตะวันตก, เครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนียซึ่งถูกปกครองโดยอดีตคนรักของพระนาง พระเจ้าสตานิส์ลอว์ ออกุส โปเนียโทว์สกี ในที่สุดก็ถูกแบ่งแยกออกจากกันโดยรัสเซียได้ส่วนแบ่งของดินแดนมากที่สุด ทางทิศตะวันออก, รัสเซียเริ่มเข้ายึดครองอะแลสกาในรูปแบบของอาณานิคมจนนำไปสู่การก่อตั้งอเมริกาของรัสเซีย พระองค์ทรงทำการปฏิรูประบบราชการภายในของเขตกูเบอร์นิยา รวมไปถึงมีรับสั่งให้สถาปนาเมืองและหมู่บ้านขึ้นมากมาย และในฐานะที่ทรงเป็นผู้นิยมชมชอบพระราชกรณียกิจของจักรพรรดิปีเตอร์มหาราช พระองค์จึงได้ดำเนินพระราโชบายตามแนวทางของจักรพรรดิปีเตอร์มหาราชโดยการปฏิรูปรัสเซียให้เข้าสู่ความทันสมัยตามแบบฉบับชาติยุโรปตะวันตก อย่างไรก็ตามการเข้ารับราชการในกองทัพและระบบเศรษฐกิจของประเทศยังคงต้องพึ่งพาระบบทาสอยู่ต่อไป ในขณะที่ความต้องการใช้แรงงานของประเทศและของเหล่าผู้ครอบครองที่ดินเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้การใช้แรงงานทาสดำเนินไปถึงขั้นกดขี่แรงงานทาส และระบบทาสดังกล่าวก็เป็นหนึ่งในเหตุผลประการสำคัญของการก่อกบฏหลายต่อหลายครั้ง ดังเช่นกบฏปูกาเชฟที่มีกองทหารม้าและชาวนาจำนวนมากมายเข้าร่วมการกบฏ ตลอดระยะเวลาในการครองราชย์หรือ สมัยแคทเธอรีน ถูกพิจารณาว่าเป็นยุคทองของจักรวรรดิรัสเซียและของระบอบศักดินาในรัสเซีย แถลงการณ์ว่าด้วยเสรีภาพของขุนนางซึ่งเป็นที่โต้แย้งกันในรัชสมัยของจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 ก็ได้รับการยินยอมในช่วงรัชสมัยของพระนางแคทเธอรีน โดยแถลงการณ์ฉบับนี้ได้ให้อิสรภาพแก่บรรดาขุนนางไม่ต้องตกอยู่ภายใต้อำนาจของกองทัพหรือการรับราชการสนองคุณประเทศ ให้อิสรภาพในการครอบครองที่อยู่อาศัย เช่น แมนชันรูปแบบคลาสสิก โดยรูปแบบสถาปัตยกรรมดังกล่าวเป็นที่นิยมและได้รับการสนับสนุนโดยพระนางเจ้าแคทเธอรีนอย่างมาก ก่อให้เกิดตึกรามบ้านช่องอันหรูหราขึ้นจำนวนมาก ซึ่งตลอดช่วงการครองราชย์ของพระองค์ได้ทรงทำให้โฉมหน้าของประเทศเปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง จึงกล่าวได้ว่ารัชสมัยของพระนางคือยุคเรืองปัญญาของรัสเซียก็ว่าได้.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินโปเลียนที่ 1

นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

มเด็จพระจักรพรรดิรดิเฟอร์ดินานด์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Ferdinand II, Holy Roman Emperor) (9 กรกฎาคม ค.ศ. 1578 - 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1637) ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แห่งราชวงศ์ฮับส์บวร์ก ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ระหว่างปี ค.ศ. 1619 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1637 พระองค์ครองราชย์ต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิแม็ทไธยัสผู้ทรงเป็นลูกพี่ลูกน้องกัน.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

มเด็จพระจักรพรรดิเฟอร์ดินานด์ที่ 3 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Ferdinand III, Holy Roman EmperorFerdinand III, Holy Roman EmperorFerdinand III, Holy Roman Emperor) (13 กรกฎาคม ค.ศ. 1608 - 2 เมษายน ค.ศ. 1657) ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แห่งราชวงศ์ฮับส์บวร์ก ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ระหว่างปี ค.ศ. 1637 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1657 พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์โตในสมเด็จพระจักรพรรดิเฟอร์ดินานด์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และพระอัครมเหสีองค์แรกมาเรีย อันนาแห่งบาวาเรี.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิแฟร์ดีนันด์ที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิแว็สปาซิอานุส

ติตุส ฟลาวิอุส ไกซาร์ แว็สปาซิอานุส เอากุสตุส (TITVS FLAVIVS CAESAR VESPASIANVS AVGVSTVS) เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์เฟลเวียนระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิแว็สปาซิอานุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิแตรโบนิอานุส กัลลุส

ักรพรรดิแตรโบนิอานุส กัลลุส หรือ กาเอียส ไวบิอัส แตรโบนิอานุส กัลลุส (Trebonianus Gallus; ชื่อเต็ม: Gaius Vibius Trebonianus Gallus) (ค.ศ. 206 – สิงหาคม ค.ศ. 253) แตรโบนิอานุส กัลลุสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันที่ครองราชย์ในปี ค.ศ. 251 ร่วมกับจักรพรรดิโฮสติเลียน และระหว่างปี ค.ศ. 251 ถึงเดือนสิงหาคม ค.ศ. 253 ร่วมกับพระราชโอรสจักรพรรดิโวลุซิอานั.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิแตรโบนิอานุส กัลลุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิแซ็กสตุส มาร์ตินิอานุส

ักรพรรดิแซ็กสตุส มาร์ตินิอานุส หรือ แซ็กสตุส มาร์ซิอัส มาร์ตินิอานุส (Sextus Martinianus; ชื่อเต็ม: Sextus Marcius Martinianus) (สวรรคต ค.ศ. 325) แซ็กสตุส มาร์ตินิอานุสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันผู้ครองราชย์ระหว่างเดือนกรกฎาคม จนถึงวันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 325 ร่วมกับจักรพรรดิลิซินิอั.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิแซ็กสตุส มาร์ตินิอานุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิแซ็ปติมิอุส แซเวรุส

ักรพรรดิแซ็ปติมิอุส แซเวรุส มีพระนามเต็มว่า ลูเชียส แซ็ปติมิอุส แซเวรุส (Septimius Severus; ชื่อเต็ม: Lucius Septimius Severus) (11 เมษายน ค.ศ. 145 – 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 211) แซ็ปติมิอุส แซเวรุสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์เซเวอรันหลายสมัย แซ็ปติมิอุส แซเวรุสเกิดที่ในปัจจุบันเป็นประเทศลิเบียซึ่งทำให้เป็นจักรพรรดิโรมันองค์แรกที่เกิดในจังหวัดโรมันของแอฟริก.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิแซ็ปติมิอุส แซเวรุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิแซเวรุส อาแล็กซันแดร์

ักรพรรดิแซเวรุส อาแล็กซันแดร์ หรือ มาร์คัส ออเรลิอัส แซเวรุส อาแล็กซันแดร์ (Alexander Severus; ชื่อเต็ม: Marcus Aurelius Severus Alexander) (1 ตุลาคม ค.ศ. 208 – 18 มีนาคม ค.ศ. 235) แซเวรุส อาแล็กซันแดร์เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์เซเวอรัน ผู้ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากจักรพรรดิเอลากาบาลัสผู้ถูกลอบสังหารในปี ค.ศ. 222 จนเสด็จสวรรคตโดยการถูกลอบสังหารเช่นกันเมื่อวันที่ 18 มีนาคม ค.ศ. 235 ที่เป็นการเริ่มยุคประวัติศาสตร์โรมันที่เรียกว่ายุควิกฤติการณ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 3 (Crisis of the Third Century) ที่ยาวนานเกือบห้าสิบปีเมื่อจักรวรรดิโรมันต้องเผชิญกับสงครามกลางเมือง, ภาวะความวุ่นวายทางเศรษฐกิจ, การปฏิวัติในบริเวณต่างๆ ในจักรวรรดิ และอันตรายจากภายนอกที่แทบจะทำให้จักรวรรดิเกือบล่มสลาย แซเวรุส อาแล็กซันแดร์ทรงเป็นทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงของจักรพรรดิเอลากาบาลัสผู้เป็นลูกพี่ลูกน้องกัน เอลากาบาลัสและพระมารดาทรงถูกลอบสังหารและโยนร่างลงไปในแม่น้ำไทเบอร์โดยฝ่ายที่เป็นปฏิปักษ์เพราะทรงเป็นจักรพรรดิผู้ไม่ทรงเป็นที่นิยมเท่าใดนัก เอลากาบาลัสและแซเวรุส อาแล็กซันแดร์เป็นหลานของจูเลีย เมซา (Julia Maesa) ผู้มีอิทธิพลและมีอำนาจผู้ที่เป็นผู้จัดการให้เอลากาบาลัสขึ้นเป็นจักรพรรดิโดยกองทหารกอลลิคที่ 3 รัชสมัยของแซเวรุส อาแล็กซันแดร์เริ่มต้นด้วยการเป็นสมัยที่อุดมสมบูรณ์และสงบสุข ทางด้านความขัดแย้งทางการทหารในการต่อต้านการลุกฮือของจักรวรรดิซาสซานิด (Sassanid Empire) รายงานผลไม่เป็นที่ทราบแน่นอนแต่อันตรายทางด้านซาสซานิดก็ยุติลง แต่เมื่อมาถึงการรณรงค์ต่อต้านชนเจอร์มานิคในเจอร์มาเนียแซเวรุส อาแล็กซันแดร์ก็สร้างศัตรูกับกองทหารของพระองค์เองโดยการทรงพยายามหาวิธีเจรจาปรองดองและติดสินบนฝ่ายเจอร์มาเนีย กองทหารจึงสังหารพระองค์ แซเวรุส อาแล็กซันแดร์ทรงเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายของราชวงศ์เซเวอรัน และของประวัติศาสตร์โรมันสมัยที่เรียกว่า “จักรวรรดิโรมันสมัยแรก” (Principate).

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิแซเวรุส อาแล็กซันแดร์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิแปร์ตินักส์

ักรพรรดิแปร์ตินักส์ หรือ พูบลิอัส เฮลวิอัส แปร์ตินักส์ (Pertinax; ชื่อเต็ม: Publius Helvius Pertinax) (1 สิงหาคม ค.ศ. 126 – 28 มีนาคม ค.ศ. 193) แปร์ตินักส์เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันผู้ครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 192 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ. 193 แปร์ตินักส์ทรงครองราชย์ได้เพียง 86 วันและทรงเป็นจักรพรรดิองค์แรกของสมัยที่เรียกว่าปีห้าจักรพรรดิ (Year of the Five Emperors).

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิแปร์ตินักส์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิแนร์วา

มาร์กุส ก็อกแกย์ยุส แนร์วา ไกซาร์ เอากุสตุส (MARCVS COCCEIVS NERVA CAESAR AVGVSTVS; 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 30 – 25 มกราคม ค.ศ. 98) แนร์วาเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์เนอร์วัน-อันโตนิน ผู้ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากจักรพรรดิโดมิเชียนเมื่อวันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 96 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 25 มกราคม ค.ศ. 98 โดยมีพระราชโอรสจักรพรรดิทราจันเป็นผู้ครองราชย์ต่อมา แนร์วาขึ้นเป็นจักรพรรดิเมื่ออายุได้ 65 ปีหลังจากการรับราชการภายใต้จักรพรรดิเนโรและกษัตริย์ราชวงศ์เฟลเวียน--เวสเปเซียน, ไททัส และ โดมิเชียน ภายใต้จักรพรรดิเนโรแนร์วาเป็นหนึ่งในผู้ติดตามพระจักรพรรดิและเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการเปิดเผยการคบคิดพิโซเนียน (Pisonian conspiracy) ของปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิแนร์วา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโพกัส

ักรพรรดิโพกัส หรือ จักรพรรดิเฟลเวียส โพกัส ออกัสตัส (Phocas; ชื่อเต็ม: Flavius Phocas Augustus) (– ค.ศ. 610) โพกัสทรงขึ้นครองราชย์เป็นพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ โดยการชิงราชบัลลังก์จากจักรพรรดิเมาริกิอุส ต่อมาพระองค์เองก็ถูกโค่นราชบัลลังก์โดยจักรพรรดิเฮราคลิอัสหลังจากที่ทรงพ่ายแพ้ในสงครามกลางเมือง ระยะเวลาการครองราชย์ของพระองค์เริ่มขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 602 และสิ้นสุดลงใน ค.ศ. 610.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิโพกัส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโรมัน

จักรพรรดิโรมัน เป็นผู้ที่ปกครองจักรวรรดิโรมันตั้งแต่ 27 ปีก่อนคริสตกาล ถึง ค.ศ. 476 สำหรับ จักรวรรดิโรมันตะวันตก และปี ค.ศ. 1453 สำหรับ จักรวรรดิโรมันตะวันออก.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Kaiser des Heiligen Römischen Reiches; Emperor of the Holy Roman Empire) หรือจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Holy Roman Emperor) หรือจักรพรรดิโรมัน-เยอรมัน (Römisch-Deutscher Kaiser) เป็นคำที่นักประวัติศาสตร์ใช้หมายถึงประมุขรัฐในสมัยกลางที่พระสันตะปาปาทรงแต่งตั้งให้เป็น "จักรพรรดิแห่งชาวโรมัน" ต่อมาตำแหน่งนี้มาจากการเลือกตั้งแต่ยังคงต้องรับราชาภิเษกจากพระสันตะปาปาอยู่ จนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมาจึงหมายถึงผู้ปกครองจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเป็นมีอาณาเขตครอบคลุมดินแดนยุโรปกลาง.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโลทาร์ที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

มเด็จพระจักรพรรดิโลแธร์ที่ 3 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิโลแธร์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Lothair III, Holy Roman Emperor) (ค.ศ. 1075 - 4 ธันวาคม ค.ศ. 1137) ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แห่งตระกูลซัพพลิงบวร์ก ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ระหว่างปี ค.ศ. 1133 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1137 พระองค์เป็นพระราชโอรสของเก็บฮาร์ดแห่งซัพพลิงบวร์ก.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิโลทาร์ที่ 3 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิไอแซ็คที่ 2 อันเจลอส

ักรพรรดิไอแซ็คที่ 2 อันเจลอส (Isaac II Angelos, Ισαάκιος Β’ Άγγελος) (กันยายน ค.ศ. 1156 – มกราคม ค.ศ. 1204) ไอแซ็คที่ 2 อันเจลอสทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์อันเจลิดสองครั้งๆ แรกระหว่างปี ค.ศ. 1185 ถึงปี ค.ศ. 1195 และครั้งที่สองระหว่างปี ค.ศ. 1203 ถึงปี ค.ศ. 1204 จักรพรรดิไอแซ็คที่ 2 เป็นพระราชโอรสของอันโดรนิคอส ดูคาส อันเจลอสผู้เป็นแม่ทัพคนสำคัญของอานาโตเลีย (ราว ค.ศ. 1122 - หลังจาก ค.ศ. 1185).

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิไอแซ็คที่ 2 อันเจลอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิไฮน์ริชที่ 7 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิไฮน์ริชที่ 7 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Henry VII, Holy Roman EmperorBritannica online encyclopedia article on Henry VII (Holy Roman emperor)) (ราว ค.ศ. 1275 หรือ ค.ศ. 1279 - 24 สิงหาคม ค.ศ. 1313) ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แห่งราชวงศ์ลักเซมเบิร์กผู้ทรงครองราชบัลลังก์ระหว่างปี ค.ศ. 1312 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1313.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 7 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิไตรยานุส

อบเขตของจักรวรรดิเมื่อสิ้นรัชสมัยของพระองค์ (ค.ศ. 117)Bennett, J. ''Trajan: Optimus Princeps''. 1997. Fig. 1 จักรพรรดิไตรยานุส (Marcus Ulpius Nerva Traianus) หรือที่รู้จักกันในนาม จักรพรรดิทราจัน ประสูติเมื่อ วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 596 เป็นจักรพรรดิโรมันเมื่อ พ.ศ. 641 ถึง พ.ศ. 660 พระองค์เป็นจักรพรรดิองคืที่สามใน ห้าจักรพรรดิผู้ทรงธรรม นอกจากจะปกครองจักรวรรดิได้อย่างดีเยี่ยมแล้ว ในด้านการทหารพระองค์ก็มีความสามารถไม่แพ้กัน พระองค์เป็นที่รู้จักดีในการพิชิตดาเซีย ร่วมถึงการรบกับจักรวรรดิพาร์เทีย อาณาเขตของจักรวรรดิในรัชสมัยของพระองค์นั้นถือได้ว่ายิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ โยมีอาณาเขตจากกาลิเซีย ไปจนถึงเมโสโปเตเมี.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิไตรยานุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเกลาดิอุส กอทิกุส

ักรพรรดิเกลาดิอุส กอทิกุส หรือ จักรพรรดิเกลาดิอุสที่ 2 (Claudius Gothicus; ชื่อเต็ม: Marcus Aurelius Claudius) (10 พฤษภาคม ค.ศ. 213 – มกราคม ค.ศ. 270) เกลาดิอุส กอทิกุสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันผู้ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากจักรพรรดิกาลลิเอนัสในปี ค.ศ. 268 จนเสด็จสวรรคตในเดือนมกราคม ค.ศ. 270 โดยมีจักรพรรดิควินทิลลัสเป็นผู้ครองราชย์ต่อม.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิเกลาดิอุส กอทิกุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเมาริกิอุส

ักรพรรดิเมาริกิอุส หรือ จักรพรรดิเฟลเวียส มอริเชียส ไทบีเรียส ออกัสตัส (Maurice; ชื่อเต็ม: Flavius Mauricius Tiberius Augustus;; Մավրիկ, Mavrig) (ค.ศ. 539 – 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 602) เมาริกิอุสทรงเป็นนักการทหารและพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์จัสติเนียน ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 582 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 602 โดยมีพระราชจักรพรรดิโฟคาสเป็นผู้ครองราชย์ต่อมา จักรพรรดิเมาริกิอุสทรงเป็นประมุขคนสำคัญคนหนึ่งในสมัยแรกของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ในรัชสมัยของพระองค์เต็มไปด้วยการสงครามที่ต่อเนื่องกันตลอดรัชสมัยและจากทุกด้าน.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิเมาริกิอุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเสียนเฟิง

มเด็จพระจักรพรรดิเสียนเฟิงขณะทรงแก้ไขพระราชกิจ สมเด็จพระจักรพรรดิเสียนฟงขณะทรงพักผ่อนพระอิริยาบถ จักรพรรดิเสียนเฟิง พงศาวดารไทยเรียก สมเด็จพระเจ้าฮำหอง เป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 9 (นับจากจักรพรรดินู่เอ๋อร์ฮาชื่อ) แห่งราชวงศ์ชิง เป็นราชโอรสองศ์ที่ 4 ของจักรพรรดิเต้ากวง มีนามเดิมว่า อ้ายซินเจว๋หลัว อี้จู่ หรือองค์ชาย อี้จู่ ประสูติเมื่อปี พ.ศ. 2374 (ค.ศ. 1831) ขึ้นครองราชย์ได้ทั้ง ๆ ที่มิใช่รัชทายาทองค์เอกที่วางตัวไว้ แต่ว่าพระองค์สามารถเอาชนะใจพระราชบิดาได้ด้วยการออกล่าสัตว์ และพระองค์ไม่สังหารสัตว์ที่มีลูกอ่อน นอกจากนี้ยังมีคนกล่าวกันว่าพระราชวรกายของพระองค์อ่อนแอมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์แล้ว จึงมักประชวรบ่อย ๆ ขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ. 2393 (ค.ศ. 1850) ทันทีที่จักรพรรดิเต้ากวงสวรรคต ด้วยพระชนมายุ 19 พรรษา ซึ่งในระหว่างที่พระองค์ขึ้นครองราชย์ใหม่ ๆ พระราชประเพณีจีนห้ามจักรพรรดิองค์ใหม่มีมเหสีหรือพระสนม และต้องไว้ทุกข์เป็นเวลานานถึง 27 เดือน แต่ก่อนที่จักรพรรดิเต้ากวงจะสวรรคตมีพระมเหสีองค์แรกแล้ว คือ พระชายาสะโกตา ซึ่งสิ้นพระชนม์ก่อนที่จักรพรรดิเต้ากวงจะสวรรคต เมื่อจักรพรรดิเสียนเฟิงครองราชย์แล้วทรงสถาปนานางสะโกตะเป็น สมเด็จพระจักรพรรดินีเสี่ยวเต๋อเซียน เมื่อผ่านช่วงไว้ทุกข์ไปแล้ว จึงมีการเลือกพระสนม โดยองค์ประธาน คือ พระนางคังฉินไท่เฟย(康慈皇贵太妃) พระมเหสีองค์หนึ่งของสมเด็จพระจักรพรรดิเต้ากวง ที่ทรงดูพระราชวังหลัง ซึ่งพระอัครมเหสีองค์แรกของสมเด็จพระจักรพรรดิเสียงเฟิง คือ พระอัครมเหสีหนิวฮู่ลู่ หรือ ซูอันไทเฮา ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก พระนางคังฉินไท่เฟย ในสมัยพระองค์เกิดสงครามฝิ่นครั้งที่ 2 ซึ่งส่งผลให้เกาะฮ่องกงตกเป็นของจักรวรรดิอังกฤษโดยสมบูรณ์ และมาเก๊าตกเป็นของโปรตุเกส และกบฏไท่ผิง โดย หง ซิ่วฉวน ซึ่งล้วนแต่ส่งผลต่อความมั่นคงของประเทศและราชวงศ์ จักรพรรดิเสียนเฟิง มีพระมเหสีองค์รองอีกหนึ่งพระองค์ ที่ต่อมามีบทบาทอย่างมากในประวัติศาสตร์ภายหลัง คือ พระมเหสีเย่เฮ่อนาลา หรือ ซูสีไทเฮา พระองค์สวรรคตในปี พ.ศ. 2440 (ค.ศ. 1861) ด้วยพระชนมายุเพียง 30 พรรษา ด้วยพระโรคที่รุมเร้าจากทรงกลัดกลุ้มในปัญหาของบ้านเมือง และจักรพรรดิองค์ใหม่ คือ องค์ชายไจ้ฉุน หรือพระนามตอนขึ้นครองราชย์ คือ จักรพรรดิถงจื้อ.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิเสียนเฟิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเอลากาบาลุส

ักรพรรดิเอลากาบาลุส หรือ เฮลิโอกาบาลัส หรือ มาร์คัส ออเรลิอัส อันโตนินัส (Elagabalus หรือ Heliogabalus หรือ Marcus Aurelius Antoninus) (ราว ค.ศ. 203 – 11 มีนาคม ค.ศ. 222) เอลากาบาลุสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์เซเวอรัน ผู้ระหว่างปี ค.ศ. 218 จนถึงปี ค.ศ. 222 เอลากาบาลุสทรงเป็นชาวซีเรียจากทางฝ่ายพระมารดา เมื่อยังทรงพระเยาว์ทรงเป็นนักบวชของเทพเจ้าเอล-กาบาลที่เมืองบ้านเกิดอีเมซา เมื่อขึ้นครองราชย์ทรงได้รับพระนามว่า มาร์คัส ออเรลิอัส อันโตนินัส ออกัสตัส “เอลากาบาลุส” เป็นพระนามที่ทรงได้รับหลังจากที่เสด็จสวรรคตไปแล้ว.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิเอลากาบาลุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเฮราคลิอัส

ักรพรรดิเฮราคลิอัส หรือ จักรพรรดิเฮราเคลออส(Heraclius; ชื่อเต็ม: Flavius Heraclius Augustus, Φλάβιος) (ราว ค.ศ. 575 – 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 641) เฮราคลิอัสเป็นจักรพรรดิเชื้อสายอาร์มีเนียแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ของราชวงศ์เฮราเคลียน ผู้ทรงครองราชย์เป็นเวลากว่าสามสิบปีระหว่างวันที่ 5 ตุลาคม ค.ศ. 610 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 641 การเรืองอำนาจของพระองค์เริ่มขึ้นในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิเฮราคลิอัส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเฮราโคลนาส

ักรพรรดิเฮราโคลนาส (Heraklonas หรือ Heraclonas หรือ Heracleonas; Κωνσταντίνος Ηράκλειος) (ค.ศ. 626 – ค.ศ. 641) เฮราโคลนาสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ของราชวงศ์เฮราเคลียน ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนกันยายน ค.ศ. 641 เฮราโคลนาสเสด็จพระราชสมภพในปี ค.ศ. 626 เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิเฮราคลิอัสและจักรพรรดินีมาร์ตินา พระองค์มีพระนามอย่างเป็นทางการว่า “คอนแสตนตินัส เฮราคลิอัส” แต่พระนามเล่น “เฮราโคลนาส” (Ηρακλωνάς) หรือ “เฮราคลิอัสน้อย” กลายเป็นพระนามที่ปรากฏในบันทึกไบแซนไทน์และกลายเป็นพระนามที่มาใช้ในมาตรฐานของประวัติศาสตร์ศาสตร์ (historiography) เฮราโคลนาสอาจจะประสูติที่ลาซิคา (Lazica) ขณะที่พระราชบิดาทำการรณงค์ต่อต้านพระเจ้าโคสเราที่ 2 (Khosrau II) แห่งจักรวรรดิซาสซานิยะห์ และอาจจะเป็นพระราชโอรสองค์ที่สี่ของจักรพรรดิเฮราคลิอัสและจักรพรรดินีมาร์ตินาแต่เป็นพระองค์แรกที่ไม่ทรงมีความผิดปกติทางร่างกายจึงทรงทำให้เป็นผู้มีสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ ในตอนปลายของรัชสมัยของจักรพรรดิเฮราคลิอัส เฮราโคลนาสก็ทรงได้รับตำแหน่งออกัสตัสโดยอิทธิพลของพระราชมารดาเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิเฮราโคลนาส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเทออดอซิอุสที่ 2

ักรพรรดิเทออดอซิอุสที่ 2 หรือ เฟลเวียส เทออดอซิอุส หรือ คาลิกราเฟอร์ (Theodosius II; ชื่อเต็ม: Flavius Theodosius) (10 เมษายน ค.ศ. 401 – 28 กรกฎาคม ค.ศ. 450) เทออดอซิอุสทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ผู้ครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 408 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 450 จักรพรรดิเทออดอซิอุสทรงเป็นที่รู้จักจากกฎหมายที่ใช้พระนามของพระองค์ “ประมวลกฎหมายธีโอโดซิอานัส” (Codex Theodosianus) และกำแพงธีโอโดเซียนแห่งคอนสแตนติโนเปิลที่สร้างในรัชสมัยของพระอง.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรพรรดิเทออดอซิอุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิ

ักรวรรดิ (อ่านว่า จัก-กฺระ-หฺวัด, อังกฤษ: empire) ถูกนิยามว่าหมายถึง "กลุ่มชาติรัฐหรือชาติพันธุ์ที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิหรืออธิปไตยของรัฐอื่นๆที่ทรงอิทธิพล โดยทั่วไปมีอาณาเขตกว้างใหญ่กว่าราชอาณาจักร" นักวิชาการได้ถกเถียงกันมานานเกี่ยวกับคำว่า “Empire” ในภาษาอังกฤษหรือ “จักรวรรดิ” ในภาษาไทย (จากคำภาษาละติน “imperium” ที่หมายถึงสายการบังคับบัญชาทางการทหารของรัฐบาลโรมันโบราณ) โดยทั่วไปมักนิยามให้เป็นรัฐที่มีอาณาจักรอื่นที่มีประชากรและวัฒนธรรมที่แตกต่างชัดเจนอยู่ภายใต้อิทธิพลอำนาจการปกครองหรืออยู่ในเครือจักรภพ เช่นประเทศในเครือจักรภพอังกฤษในปัจจุบัน นิยามอีกรูปแบบหนึ่งอาจเน้นปัจจัยทางเศรษฐกิจหรือการเมือง แต่โดยทั่วไปมักหมายถึงการครอบงำทางอำนาจการทหาร เช่นเดียวกับรัฐทั่วไป จักรวรรดิจะมีโครงสร้างทางการเมืองของตนเอง หรืออย่างน้อยก็โดยวิธีกดขี่บังคับให้อยู่ใต้อำนาจ จักรวรรดิบนแผ่นดินใหญ่ (เช่นจักรวรรดิมองโกล หรือจักรวรรดิอาคีเมนิดเปอร์เชีย – Achaemenid Persia) มักจะขยายไปตามอาณาเขตที่ประชิดต่อเนื่องกัน ส่วนจักรวรรดิทางทะเล (เช่น จักรวรรดิเอเธนีเนียน จักรวรรดิโปรตุเกสและจักรวรรดิอังกฤษ) อาจมีอาณาเขตกระจัดกระจายหลวมๆ แต่อยู่ในอำนาจการควบคุมทางกองทัพเรือเป็นต้น จักรวรรดิที่มีมาก่อนจักรวรรดิโรมันหลายร้อยปี ได้แก่จักรวรรดิอียิปต์ซึ่งได้ก่อตั้งจักรวรรดิเมื่อประมาณ 1000 ปีก่อน..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรวรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิบราซิล

ักรวรรดิบราซิล (Empire of Brazil) เป็นจักรวรรดิที่เป็นประเทศบราซิลปัจจุบัน จักรวรรดิบราซิลที่ปกครองโดยจักรพรรดิเปดรูที่ 1 และพระราชโอรสจักรพรรดิเปดรูที่ 2 เป็นจักรวรรดิที่ก่อตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1822 และต่อมาแทนที่ด้วยสาธารณรัฐในปี ค.ศ. 1889 หลังจากการยึดครองโปรตุเกสโดยจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ราชวงศ์บราแกนซาก็ย้ายราชสำนักลี้ภัยไปตั้งอยู่ที่บราซิลซึ่งเป็นอาณานิคมที่สำคัญที่สุดของโปรตุเกส หลังจากนั้นบราซิลก็กลายเป็นเมืองหลวงของสหราชอาณาจักรโปรตุเกส บราซิล และแอลการ์ฟ ซึ่งเป็นฐานะใหม่และเป็นการมีรัฐบาลที่ปกครองตนเองโดยไม่ต้องคำนึงถึงอำนาจจากลิสบอน ความคิดที่ว่ารัฐบาลจะกลับไปตั้งอยู่ในโปรตุเกสเมื่อนโปเลียนถูกโค่นจึงเป็นความคิดที่ไม่เป็นที่ต้องใจเท่าใดนัก ฉะนั้นแม้ว่าจะได้รับการปกครองจากสมาชิกของราชวงศ์โปรตุเกสแต่บราซิลก็มีความรู้สึกว่าเป็นอิสระจากโปรตุเกส หลังจากที่ได้รับอิสรภาพจากโปรตุเกสเมื่อวันที่ 7 กันยายน ค.ศ. 1822 แล้วบราซิลก็ปกครองโดยระบอบราชาธิปไตย จักรวรรดิบราซิลรุ่งเรืองมาจนถึงการก่อตั้งรัฐบาลสาธารณรัฐเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรวรรดิบราซิล · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออตโตมัน

ักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman Empire, Osmanlı İmparatorluğu, โอสมานลือ อิมพาราโทรลู) ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) หลังการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูล) เป็นเมืองหลวง สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 เป็นผู้นำในการทำสงคราม ตอนแรกที่ยึดคอนสแตนติโนเปิลได้ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองคอนสแตนติโนเปิลใหม่เป็น อิสตันบูล และเปลี่ยนโบสถ์ฮาเจีย โซเฟีย ที่เป็นโบสถ์ในศาสนาคริสต์ เป็นมัสยิดในศาสนาอิสลาม จักรวรรดิออตโตมันมีอาณาเขตที่ครอบคลุมถึง 3 ทวีป ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา และยุโรป ซึ่งขยายไปไกลสุดถึงช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตะวันตก นครเวียนนาทางทิศเหนือ ทะเลดำทางทิศตะวันออก และอียิปต์ทางทิศใต้ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923) มีจักรพรรดิเมห์เหม็ดที่ 6 เป็นจักรพรรดิองค์สุดท้าย และมีสาธารณรัฐตุรกี ขึ้นมาแทนที่ และมีมุสตาฟา เคมาล อตาเติร์ก เป็นประธานาธิบดีคนแรก.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรวรรดิออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมัน

ักรวรรดิโรมันในช่วงเวลาต่างๆกัน จักรวรรดิโรมัน (Imperivm Romanvm; Ῥωμαϊκὴ Αὐτοκρατορία หรือ Ἡ Ῥωμαίων βασιλεία; Roman Empire) เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งของอารยธรรมโรมันโบราณซึ่งปกครองโดยรูปแบบอัตตาธิปไตย จักรวรรดิโรมันได้สืบต่อการปกครองมาจากสาธารณรัฐโรมัน (510 ปีก่อนคริสตกาล - ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตาล) ซึ่งได้อ่อนแอลงหลังจากความขัดแย้งระหว่างไกอุส มาริอุสและซุลลา และสงครามกลางเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์และปอมปีย์ มีวันหลายวันที่ได้ถูกเสนอให้เป็นเส้นแบ่งของการเปลี่ยนแปลงระหว่างสาธารณรัฐและจักรวรรดิ ได้แก.

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรวรรดิโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมันตะวันตก

ักรวรรดิโรมันตะวันตก (Western Roman Empire) หมายถึงครึ่งตะวันตกของจักรวรรดิโรมันหลังจากการแบ่งโดยไดโอคลีเชียนในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรวรรดิโรมันตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิไนเซีย

ักรวรรดิไนเซีย หรือ จักรวรรดิโรมันแห่งไนเซีย (Empire of Nicaea หรือ Roman Empire of Nicaea, Βασίλειον τῆς Νίκαιας) เป็นอาณาจักรที่ใหญ่ที่สุดในบรรดารัฐไบแซนไทน์กรีกที่ก่อตั้งโดยชนชั้นเจ้านายผู้ปกครองจักรวรรดิไบแซนไทน์ที่หนีมาหลังจากที่เสียคอนสแตนติโนเปิลไปในสงครามครูเสดครั้งที่ 4 จักรวรรดิไนเซียก่อตั้งโดยราชวงศ์ลาคาริสรุ่งเรืองระหว่างปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและจักรวรรดิไนเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ดิอิมพีเรียลมาร์ช

\relative c' \relative c' g' g g g' fis f e ees e aes cis c b bes a bes ees ­fis bes g bes d g' ­g g g' fis f e ees e gis cis c b bes a bes dis fis ees bes g --> ดิอิมพีเรียลมาร์ช (The Imperial March) หรือ ดาร์ธเวเดอร์ธีม (Darth Vader's Theme) บางครั้งอาจเรียกว่า "อิมพีเรียลเดธมาร์ช" (Imperial Death March) เป็นเพลงธีมจากภาพยนตร์ชุดสตาร์ วอร์ส ผลงานประพันธ์ของจอห์น วิลเลียมส์สำหรับภาพยนตร์ สตาร์ วอร์ส เอพพิโซด 5: ดิ เอ็มไพร์ สไตรค์ แบ็ค ดิอิมพีเรียลมาร์ชได้รับการออกแสดงครั้งแรกเมื่อวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1980 สามสัปดาห์ก่อนภาพยนตร์ออกฉาย ในการแสดงคอนเสิร์ตครั้งแรกของจอห์น วิลเลียมส์ ในฐานะผู้อำนวยเพลงประจำของวงบอสตันป็อปส์ออเคสตรา ผลงานนี้เป็นหนึ่งในเพลงธีมที่มีชื่อเสียง เป็นตัวอย่างที่ดีของลีทโมทีฟ (leitmotif) หรือทำนองซ้ำๆ ที่ใช้แทนตัวละคร หรือเหตุการณ์ในงานดราม่า ผลงานเพลงดิอิมพีเรียลมาร์ช มีท่วงทำนองที่ได้รับอิทธิพลจาก "มาร์ส เดอะบริงเกอร์ออฟวอร์" มูฟเมนต์ที่หนึ่งจาก เดอะพลาเนตส์ โอปุสที่ 32 ผลงานประพันธ์ของกุสตาฟ โฮลส์ในปี 1918-20 และมูฟเมนต์ที่สามจาก เปียโนโซนาตาหมายเลข 2 (เดอะฟิวเนอรัลมาร์ช) ผลงานของเฟรเดริก โชแปงในปี 1837-39 ในภาพยนตร์ชุดสตาร์ วอร์ส ดิอิมพีเรียลมาร์ช มักใช้บรรเลงพร้อมกับการปรากฏตัวของดาร์ธ เวเดอร์ สื่อแทนความชั่วร้ายของจักรวรรดิกาแลกติก บางครั้งอาจใช้พร้อมกับการปรากฏตัวของจักรพรรดิพัลพาทีน ส่วนในสตาร์ วอร์ส: ไตรภาคต้น ใช้กับตัวละครอนาคิน สกายวอล์คเกอร์หลายครั้ง เพื่อสื่อว่าตัวละครนี้จะถูกชักนำเข้าสู่ด้านมืดในอนาคต.

ใหม่!!: จักรพรรดิและดิอิมพีเรียลมาร์ช · ดูเพิ่มเติม »

ติรันต์โลบลังก์

หน้าปกนวนิยายฉบับแปลภาษาสเปนกัสติยาในปี ค.ศ. 1511 ติรันต์โลบลังก์ (Tirant lo Blanch; ติรันต์คนขาว) เป็นนวนิยายวีรคติโดยจูอาน็อต มาร์โตเร็ลย์ อัศวินชาวชาวบาเลนเซีย ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและติรันต์โลบลังก์ · ดูเพิ่มเติม »

ตุลาการทมิฬ

ตุลาการทมิฬ (新暗行御史 Shin Angyō Onshi 신암행어사 Sin-amhaengeosa Blade of the Phantom Master) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ผลงานของยองอินวันและยังกวางอิล ซึ่งเป็นชาวเกาหลี ลงตีพิมพ์ในนิตยสาร Sunday GENE-X รายเดือน ของสำนักพิมพ์โชงะกุกัง ชื่อภาษาอังกฤษของผลงานเรื่องนี้ใช้ชื่อว่า Blade of the Phantom Master และในบางประเทศใช้ชื่อว่า Shin Angyō Onshi ฉบับรวมเล่มทั้งหมดมี 17 เล่มจบ ในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและตุลาการทมิฬ · ดูเพิ่มเติม »

ซารีนา

มาร์ฟา อาปรัคซินา พระมเหสีในพระเชษฐาของจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย ซาริตซา หรือ "ซารีนา" เป็นตำแหน่งของพระประมุขสตรีซึ่งทรงราชย์ในระบอบอัตตาธิปไตย หรือ พระมหากษัตริย์ แห่งบัลแกเรีย, เซอร์เบีย และรัสเซีย หรือตำแหน่งนี้ใช้เรียกพระมเหสีในพระเจ้าซาร์ การสะกดคำมาเป็นภาษาอังกฤษได้ยึดมาจากภาษาเยอรมันว่า "ซาริน" (czarin หรือ zarin) เช่นเดียวกับภาษาฝรั่งเศสที่อ่านว่า "ซารีน" (tsarine/czarine) และในภาษาสเปนกับอิตาลีอ่านว่า "ซารินา" (czarina/zarina) ส่วนพระราชธิดาในซาร์จะถูกเรียกว่า ซาเรฟนา "ซาริตซา" เป็นตำแหน่งประมุขสูงสุดของประเทศในอดีตดังนี้.

ใหม่!!: จักรพรรดิและซารีนา · ดูเพิ่มเติม »

ซาร์กาโลยันแห่งบัลแกเรีย

ักรพรรดิคาโลยันแห่งบัลแกเรีย หรือ คาโลยันผู้สังหารโรมัน (Kaloyan of Bulgaria หรือ Kaloyan the Romanslayer) (ค.ศ. 1168/ค.ศ. 1168 – ตุลาคม ค.ศ. 1207) เป็นพรจักรพรรดิหรือซาร์แห่งจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 2ผู้ครองราชย์ระหว่าง ค.ศ. 1197 จนเสด็จสวรรคตเมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ. 1207 พระนามคาโลยัน (Caloiohannes) แปลว่า “Good John” หรือ “Handsome John” (จอห์นโฉมงาม) คาโลยันเป็นพระอนุชาของและทายาทของจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 4 (Petăr IV) และ จักรพรรดิไอวาน อาเซนที่ 1.

ใหม่!!: จักรพรรดิและซาร์กาโลยันแห่งบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ซิมโฟนีหมายเลข 3 (เบโทเฟน)

หน้าปก ''Eroica'' Symphony มีร่องรอยจากการที่เบโทเฟินขูดชื่อนโปเลียนออกไป ซิมโฟนีหมายเลข 3 ในบันไดเสียง อี แฟลต เมเจอร์ (Symphony No.) ของลุดวิจ ฟาน เบโทเฟิน รู้จักกันในชื่อ อีรอยกา ซิมโฟนี (Eroica Symphony; Eroica มาจากภาษาอิตาลี หมายถึง "heroic", วีรบุรุษ) เป็นผลงานซิมโฟนีของเบโทเฟินที่บางครั้งถูกอ้างถึงว่าเป็นจุดสิ้นสุดของดนตรียุคคลาสสิก และเป็นจุดเริ่มต้นของดนตรียุคโรแมนติก เบโทเฟินเริ่มแต่งซิมโฟนีบทนี้ด้วยความเลื่อมใสในตัวนโปเลียน โบนาปาร์ต (1769-1821) ในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส เดิมเมื่อเริ่มแต่ง เขาอุทิศผลงานชิ้นนี้ให้กับนโปเลียน พร้อมกับตั้งชื่อให้ว่า Bonaparte เริ่มตั้งแต่ช่วงปลายปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและซิมโฟนีหมายเลข 3 (เบโทเฟน) · ดูเพิ่มเติม »

ซีซาร์

ซีซาร์หรือ คาเอซาร์ (Caesar, Cæsar หรือ César) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: จักรพรรดิและซีซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ยุโรป

ทความนี้ว่าด้วยประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรปโดยรวม.

ใหม่!!: จักรพรรดิและประวัติศาสตร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์โลก

ประวัติศาสตร์โลกหรือประวัติศาสตร์มนุษยชาติเริ่มต้นที่ยุคหินเก่า ประวัติศาสตร์โลกไม่รวมประวัติศาสตร์ธรรมชาติที่ไม่ใช่มนุษย์และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยา ยกเว้นตราบเท่าที่โลกธรรมชาตินั้นกระทบต่อชีวิตมนุษย์เป็นอย่างมาก ประวัติศาสตร์โลกประกอบด้วยการศึกษาทางโบราณคดีและหลักฐานลายลักษณ์อักษรตั้งแต่สมัยโบราณ ประวัติศาสตร์โบราณที่มีบันทึกเริ่มต้นจากการประดิษฐ์การเขียน ทว่า รากเหง้าแห่งอารยธรรมมีมาแต่ก่อนการประดิษฐ์การเขียน สมัยก่อนประวัติศาสตร์เริ่มต้นในยุคหินเก่า ต่อด้วยยุคหินใหม่และการปฏิวัติเกษตรกรรม (ระหว่าง 8000 ถึง 5000 ปีก่อนคริสตกาล) ในพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ (Fertile Crescent) การปฏิวัติเกษตรกรรมเป็นเครื่องหมายการเปลี่ยนแปลงในประวัติศาสตร์มนุษย์ โดยมนุษย์เริ่มต้นทำการเกษตร คือ กสิกรรมและการเลี้ยงสัตว์อย่างเป็นระบบ เมื่อเกษตรกรรมก้าวหน้าขึ้น มนุษย์ส่วนมากเปลี่ยนจากวิถีชีวิตเร่ร่อนมาเป็นตั้งถิ่นฐานเป็นเกษตรกรในนิคมถาวร การเร่ร่อนยังมีอยู่ในบางที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ห่างไกลซึ่งมีพืชที่เพาะปลูกได้ไม่กี่ชนิด แต่ความมั่นคงสัมพัทธ์และผลิตภาพที่เพิ่มขึ้นจากกสิกรรมทำให้ชุมชนมนุษย์ขยายเป็นหน่วยที่ใหญ่กว่า ซึ่งความก้าวหน้าในการขนส่งก็มีส่วนช่วย เมื่อกสิกรรมพัฒนา การเพาะปลูกธัญพืชมีความซับซ้อนขึ้นและทำให้มีการแบ่งงานกันทำเพื่อเก็บอาหารระหว่างฤดูเพาะปลูก จากนั้นการแบ่งงานทำให้เกิดชนชั้นสูงที่สุขสบายและพัฒนาการนคร สังคมมนุษย์ที่ซับซ้อนมากขึ้นทำให้ระบบการเขียนและการบัญชีมีความจำเป็น หลายนครพัฒนาบนตลิ่งทะเลสาบและแม่น้ำ ตั้งแต่ 3000 ปีก่อนคริสตกาล เกิดนิคมโดดเด่นและมีการพัฒนา เช่นในเมโสโปเตเมีย ริมตลิ่งแม่น้ำไนล์แห่งอียิปต์ และหุบแม่น้ำสินธุ อาจมีอารยธรรมคล้ายกันพัฒนาขึ้นตามแม่น้ำสำคัญในจีน แต่หลักฐานทางโบราณคดีของการสร้างเมืองอย่างกว้างขวางในที่นั้นชัดแจ้งน้อยกว่า ประวัติศาสตร์โลกเก่า (โดยเฉพาะอย่างยิ่งยุโรปและเมดิเตอร์เรเนียน) โดยทั่วไปแบ่งเป็นยุคโบราณ ถึง..

ใหม่!!: จักรพรรดิและประวัติศาสตร์โลก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: จักรพรรดิและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ใหม่!!: จักรพรรดิและประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ปีศาจเจอร์ซีย์

วาดในจินตนาการของปีศาจเจอร์ซีย์ ในหนังสือพิมพ์ ''Philadelphia Evening Bulletin'' ฉบับเดือนมกราคม ค.ศ. 1909 ปีศาจเจอร์ซีย์ (Jersey Devil) สัตว์ประหลาดในตำนานพื้นถิ่นของชาวรัฐนิวเจอร์ซีย์ สหรัฐอเมริกา ปีศาจเจอร์ซีย์ในบางครั้งจะถูกเรียกว่า ปีศาจลีดส์ (Leeds Devil) เป็นสัตว์ประหลาดที่มีรูปร่างคล้ายปีศาจตามความเชื่อในคริสต์ศาสนา เชื่อว่ามีความสูงประมาณ 4–6 ฟุต มีส่วนหัวคล้ายม้าหรือแพะ แต่ลำตัวยาวคล้ายงูหรือมังกร มีปีกขนาดใหญ่คล้ายค้างคาว สามารถบินได้บนท้องฟ้า มีหาง 2 แฉก มีเขางอกบนหน้าผากเล็ก ๆ 2 ชิ้น ลำตัวปกคลุมด้วยขนสีดำ ปีศาจเจอร์ซีย์ เชื่อว่าอาศัยอยู่ในป่าสนที่ชื่อ ไพน์บาร์เรนส์ อันเป็นป่าสนขนาดใหญ่ในพื้นที่ทิศตะวันออกและใต้ของรัฐนิวเจอร์ซีย์ กินเนื้อที่ถึง 1 ใน 5 ของรัฐ ในปี ค.ศ. 1909 มีพยานหลายคนได้ยินเสียงน่าขนลุกจากแม่น้ำเดลาแวร์ และเห็นสัตว์ประหลาดเรืองแสงบินอยู่บนท้องฟ้า นอกจากนั้นยังพบรอยเท้าประหลาดบนหลังคาบ้านหรือบริเวณใกล้กับเล้าไก่อีกด้วย ในตำนานพื้นถิ่นของการกำเนิดปีศาจเจอร์ซีย์ เล่าว่า มันถือกำเนิดขึ้นในปี ค.ศ. 1745 จากการตั้งครรภ์ของผู้หญิงคนหนึ่งชื่อ เดเบอร่าห์ ลีดส์ โดยเป็นลูกคนที่ 13 ของเธอ (ซึ่งเลข 13 เป็นเลขอัปมงคลตามความเชื่อของคริสต์ศาสนา) ดังนั้นมันจึงได้อีกชื่อหนึ่งว่า ปีศาจลีดส์ ทั้งนี้เป็นเพราะว่าเธอได้ขายวิญญาณให้แก่ปีศาจ จึงถูกสาป จากนั้นมา ก็ได้มีผู้พบเห็นปีศาจเจอร์ซีย์นี้เป็นระยะ ๆ ในระยะเวลา 200 กว่าปีที่ผ่านมา จวบจนปัจจุบัน ซึ่งบุคคลหลายคนเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียง และน่าเชื่อถือด้วย เช่น โจเซฟ โบนาปาร์ต (พี่ชายของนโปเลียน โบนาปาร์ต—ต่อมาได้เป็นจักรพรรดิแห่งสเปน) ระบุว่าพบเห็นเมื่อปี ค.ศ. 1820 จนถึงปัจจุบัน ก็ยังมีผู้อ้างว่าได้ยินเสียงร้องน่ากลัวในเวลาค่ำคืนรวมถึงพบรอยเท้าประหลาดและข้าวของที่บิดเบี้ยวเสียหายในบ้าน บ้างก็อ้างว่าได้ขับรถยนต์สปอร์ตส์ไล่มันไป บ้างก็บอกว่าเห็นมันบินผ่านต่อหน้าหรือปรากฏตัวในป่าใกล้บ้าน ซึ่งยืนยันได้ว่าไม่ใช่ไก่หรือนกขนาดใหญ่แน่ รวมถึงได้มีกลุ่มบุคคลตั้งทีมขึ้นมาเพื่อล่าปีศาจเจอร์ซีย์นี้ด้วย โดยสถานที่ ๆ มีรายงานการพบเห็นมากที่สุด คือ ป่ารัฐวาร์ตัน รวมถึงมีพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในรัฐนิวเจอร์ซีย์ที่เก็บรวบรวมหลักฐานทางชีวภาพเกี่ยวกับปีศาจเจอร์ซีย์ด้วย หลายคนลงความเห็นว่าปีศาจเจอร์ซีย์มีลักษณะคล้ายสัตว์เลื้อยคลานในยุคก่อนประวัติศาสตร์จำพวก เทอโรซอร์ หรือ ดิโมฟอร์ดอน ซึ่งมีชีวิตร่วมสมัยเดียวกับไดโนเสาร์ ในวัฒนธรรมร่วมสมัย มีการอ้างอิงถึงปีศาจเจอร์ซีย์อยู่หลายอย่าง เช่น บรูซ สปริงส์ทีน นักร้องชื่อดังชาวอเมริกันได้แต่งเพลงชื่อ "A Night with the Jersey Devil" ลงในเว็บไซต์ส่วนตัวของตนเองและเปิดโอกาสให้ดาวน์โหลดได้ฟรี ในเทศกาลวันฮาโลวีนเมื่อปี ค.ศ. 2008 หรือ ในซีรีส์ชุด The X-Files ซีรีส์ไซไฟสืบสวนสอบสวนยอดนิยมทางโทรทัศน์ก็เคยมีตอนของปีศาจเจอร์ซีย์ด้วย ในซีซั่นแรก (ค.ศ. 1993) ในชื่อว่า "The Jersey Devil" รวมทั้งสารคดีชุด Lost Tapes ของช่องดิสคัฟเวอรี่ แชนนอลปีที่ 2 ในตอน "Jersey Devil" และสารคดีทางโทรทัศน์สำหรับเด็กของแคนาดาชุด Mystery Hunters ปีที่ 3 อีกทั้งยังเป็นชื่อสโมสรฮอกกี้น้ำแข็งประจำรัฐนิวเจอร์ซีย์ด้วย คือ นิวเจอร์ซีย์เดวิลส์ ในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิและปีศาจเจอร์ซีย์ · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดยุกคอนสแตนติน ปาฟโลวิชแห่งรัสเซีย

แกรนด์ดยุกคอนสแตนติน ปาฟโลวิชแห่งรัสเซีย แกรนด์ดยุกคอนสแตนติน ปาฟโลวิชแห่งรัสเซีย (Константи́н Па́влович) (27 เมษายน 1779 – 27 มิถุนายน 1831) เป็นแกรนด์ดยุกแห่งจักรวรรดิรัสเซีย พระองค์ทรงปกครองรัสเซียชั่วคราวต่อจากจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1 พระเชษฐา หลังจากนั้นก็ทรงสละราชบัลลังก์ สถานะการเป็นจักรพรรดิของพระองค์นั้นยังเป็นที่ถกเถียง.

ใหม่!!: จักรพรรดิและแกรนด์ดยุกคอนสแตนติน ปาฟโลวิชแห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดิวคัลไฮเนส

แกรนด์ดิวคัลไฮเนส (Grand Ducal Highness) หรือ แกรนด์ดิวคัลไฮนิส (/ˈhʌɪnɪs/) เป็นฐานันดรศักดิ์ของสมาชิกราชวงศ์บางชั้นในทวีปยุโรป มักใช้นำพระนามเจ้าชายหรือเจ้าหญิงที่เป็นพระราชบุตรในสมเด็จพระราชาธิบดี,สมเด็จพระราชินีนาถ,สมเด็จพระจักรพรรดิ ฐานันดรศักดิ์แกรนด์ดิวคัลไฮเนสมีศักดิ์ต่ำกว่า "อิมพีเรียลไฮเนส" "รอยัลไฮเนส" แต่สูงกว่า "ไฮเนส" และ "เซอรีนไฮเนส" เป็นต้น ฐานันดรศักดิ์แกรนด์ดิวคัลไฮเนสมักพบในพระราชวงศ์ของจักรวรรดิเยอรมันและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี.

ใหม่!!: จักรพรรดิและแกรนด์ดิวคัลไฮเนส · ดูเพิ่มเติม »

แอ็งกรีเบิดส์ (วิดีโอเกม)

แอ็งกรี เบิดส์ (Angry Birds) เป็นวิดีโอเกมแนวลับสมอง พัฒนาขึ้นโดยบริษัทจากฟินแลนด์ที่ชื่อ โรวิโอโมไบล์ ออกวางจำหน่ายครั้งแรกทางแอปสโตร์ทางไอโฟน และไอพ็อดทัช ของแอปเปิล และเกมยังอยู่ในรูปสมาร์ตโฟนแบบทัชสกรีนอื่นอีกด้วย ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: จักรพรรดิและแอ็งกรีเบิดส์ (วิดีโอเกม) · ดูเพิ่มเติม »

โฟสแต็ง ซูลุก

ฟสแต็ง-เอลี ซูลุก (Faustin-Élie Soulouque; 15 สิงหาคม 1782 - 6 สิงหาคม 1867) หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิโฟสแต็งที่ 1 แห่งเฮติ (Faustin Ier d'Haïti) พระองค์เป็นนายทหารในกองทัพเฮติ เมื่อประธานาธิบดีฌ็อง-บาติสต์ รีเช ถึงแก่อสัญกรรม พระองค์จึงได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีเฮติในปี 1847 เมื่อปี 1849 พระองค์จึงประกาศตนเป็นจักรพรรดิภายใต้พระนาม "สมเด็จพระจักรพรรดิโฟสแต็งที่ 1 แห่งเฮติ" หลังจากที่พระองค์ครองราชย์พระองค์ก็ได้กำจัดกองทัพของชนชั้นปกครองผิวดำที่มีตำแหน่งทางการบริหารประเทศ พระองค์ได้สร้างตำรวจลับและกองทัพส่วนตัว ในปี 1849 พระองค์สร้างสังคมชั้นสูงขึ้น และพระองค์ก็พยายามที่จะทำสงครามเอาชนะสาธารณรัฐโดมินิกันแต่ก็ไม่ประสบผลสำเร็จ ในที่สุด ฟาบร์ แฌฟราร์ก็ได้ทำลายอำนาจของพระองค์ และบังคับให้พระองค์ต้องสละราชบัลลังก์ในปี 1859 พระบรมสาทิสลักษณ์ของสมเด็จพระจักรพรรดิโฟสแต็งที่ 1 พระราชพิธีบรมราชาภิเษกของสมเด็จพระจักรพรรดิโฟสแต็งที่ 1.

ใหม่!!: จักรพรรดิและโฟสแต็ง ซูลุก · ดูเพิ่มเติม »

โรดรีกู แวร์จีลีอู

รดรีกู แวร์จีลีอู (Rodrigo Vergilio; 13 เมษายน ค.ศ. 1983 —) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ กาเรกา เป็นสไตรเกอร์ฟุตบอลชาวบราซิล ซึ่งปัจจุบันทำหน้าที่ร่วมสังกัดสโมสรฟุตบอลราชนาวี โดยก่อนหน้านี้ กาเรกาเคยทำหน้าที่ร่วมสังกัดเซเรซโซ โอซะกะ ในการแข่งขันเจลีก ดิวิชัน 2 ในภายหลัง กาเรกาได้เซ็นสัญญาร่วมสังกัดอัลกาดเซียในคูเวตพรีเมียร์ลีก แต่ก็ล้มเลิกข้อตกลงไปไม่นานหลังจากนั้น ครั้นในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: จักรพรรดิและโรดรีกู แวร์จีลีอู · ดูเพิ่มเติม »

ไกเซอร์

วิลเฮล์มที่ 2 แห่งจักรวรรดิเยอรมัน ไกเซอร์ (Kaiser) คือพระอิสริยยศเยอรมันซึ่งเทียบได้กับจักรพรรดิ มีรากศัพท์มาจากคำว่าซีซาร์ของอาณาจักรโรมัน เช่นเดียวกับคำว่าซาร์ในภาษารัสเซีย ตำแหน่งนี้เป็นตำแหน่งที่สูงที่สุด คำว่าไกเซอร์เป็นคำทั่วไปที่ใช้เรียกจักรพรรดิในภาษาฮอลแลนด์ จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์เรียกตนเองว่า ไกเซอร์ เนื่องจากมองว่าอาณาจักรของตนนั้นสืบทอดมาจากจักรวรรดิโรมัน จึงได้ใช้ชื่อนี้เพื่อแสดงถึงต้นกำเนิดเก่าก่อน นอกจากนี้ พระเจ้าแผ่นดินแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีที่มาจากราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค ก็ใช้พระอิสริยยศว่า "ไกเซอร์" เช่นกัน ไกเซอร์แห่งจักรวรรดิออสเตรีย (ค.ศ. 1804–1918) ได้แก่.

ใหม่!!: จักรพรรดิและไกเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไคเซิร์สเลาเทิร์น

แผนที่ตั้งเมืองไคเซิร์สเลาเทิร์น ไคเซิร์สเลาเทิร์น (Kaiserslautern) เป็นเมืองทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ในรัฐไรน์ลันท์-ฟัลทซ์ มีประชากรประมาณ 99,469 คน และเป็นที่ตั้งฐานทัพของนาโต ซึ่งส่วนมากเป็นทหารชาวอเมริกันและครอบครัว มีจำนวนประมาณ 30,000 คน ซึ่งเรียกเมืองนี้ว่า "K-town" เนื่องจากชื่อไคเซิร์สเลาเทิร์นออกเสียงเป็นภาษาอังกฤษยาก.

ใหม่!!: จักรพรรดิและไคเซิร์สเลาเทิร์น · ดูเพิ่มเติม »

ไปรโตริอานี

ปรโตริอานี (Praetoriani) เป็นกองทหารที่ทำหน้าที่เป็นองครักษ์ประจำพระองค์ของจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมัน ก่อนหน้านั้นเป็นตำแหน่งที่ใช้สำหรับองครักษ์ของจอมพลโรมัน ที่เริ่มอย่างน้อยก็ตั้งแต่ตระกูลสกีปิโอ (Scipio) ขึ้นมามีอำนาจราว 275 ก่อนคริสต์ศักราช จักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1 ทรงมายุบเลิกในคริสต์ศตวรรษที่ 4.

ใหม่!!: จักรพรรดิและไปรโตริอานี · ดูเพิ่มเติม »

เล่าปี่

หลิว เป้ย์ ตามสำเนียงมาตรฐาน หรือ เล่าปี่ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ค.ศ. 161 – 10 มิถุนายน ค.ศ. 223) ชื่อรองว่า เสวียนเต๋อ (玄德) เป็นขุนศึกสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออกผู้ก่อตั้งรัฐฉู่ฮั่น/จ๊กฮั่น (蜀漢) ในสมัยสามก๊กและได้เป็นผู้ปกครองคนแรกของรัฐดังกล่าว แม้จะเริ่มต้นด้วยความล้มเหลวเมื่อเทียบกับคู่แข่ง ทั้งยังปราศจากขุมกำลังและสถานะทางสังคมดังที่คู่แข่งมี แต่นานวันเข้า หลิว เป้ย์ ก็ได้การสนับสนุนจากกลุ่มผู้ภักดีต่อราชวงศ์ฮั่นซึ่งต่อต้านเฉา เชา/โจโฉ (曹操) ขุนศึกผู้สามารถควบคุมการปกครองส่วนกลางรวมถึงพระเจ้าฮั่นเสี่ยน/ฮั่นเหี้ยน (漢獻帝) จักรพรรดิหุ่นเชิด ไว้ได้ ครั้นแล้ว หลิว เป้ย์ ก็ขับเคลื่อนขบวนการประชาชนเพื่อรื้อฟื้นราชวงศ์ฮั่น จนก่อตั้งดินแดนของตนซึ่งกินอาณาเขตที่ปัจจุบันคือกุ้ยโจว ฉงชิ่ง ซื่อชวน หูหนาน และบางส่วนของกานซู่กับหูเป่ย์ ในทางวัฒนธรรมแล้ว สืบเนื่องความโด่งดังของนวนิยายสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 14 เรื่อง สามก๊ก หลิว เป้ย์ จึงได้รับการมองว่า เป็นผู้ปกครองที่โอบอ้อมอารี รักใคร่ปวงประชา และเลือกสรรคนดีเข้าปกครองบ้านเมือง เรื่องแต่งเหล่านี้เป็นไปเพื่อยกตัวอย่างเชิงสดุดีผู้ปกครองที่ยึดมั่นคุณธรรมแบบขงจื๊อ แต่ในทางประวัติศาสตร์แล้ว หลิว เป้ย์ ยึดถือเล่าจื๊อมากกว่า เฉกเช่นเดียวกับผู้ปกครองหลาย ๆ คนแห่งราชวงศ์ฮั่น ทั้งเขายังเป็นนักการเมืองที่ชาญฉลาด เป็นผู้นำที่ความสามารถฉายออกมาในแบบนักนิตินิยม ความนับถือขงจื๊อของหลิว เป้ย์ นั้นได้รับการแต่งเติมมากกว่าของคู่แข่งอย่างเฉา พี/โจผี (曹丕) กับซุน เฉวียน/ซุนกวน (孫權) ผู้ซึ่งบริหารบ้านเมืองอย่างนิตินิยมเต็มรูปแ.

ใหม่!!: จักรพรรดิและเล่าปี่ · ดูเพิ่มเติม »

เห็ดหลินจือ

ห็ดหลินจือ (Lingzhi) เป็นยาจีน (Chinese traditional medicine) ที่ใช้กันมานานกว่า 2,000 ปี นับตั้งแต่สมัยจักรพรรดิฉินซีฮ่องเต้เป็นต้นมา เห็ดหลินจือเป็นของหายากมีคุณค่าสูงในทางสมุนไพรจีน และได้ถูกบันทึกไว้ในคัมภีร์โบราณ “เสินหนงเปินเฉ่า” ซึ่งเป็นตำราเก่าแก่ที่สุดของจีนมีคนนับถือมากที่สุด ได้กล่าวไว้ว่า เห็ดหลินจือเป็น “เทพเจ้าแห่งชีวิต” (Spiritual essence) มีพลังมหัศจรรย์ บำรุงร่างกายใช้เป็นยาอายุวัฒนะในการยืดอายุออกไปให้ยืนยาว ทำให้ผิวพรรณเปล่งปลั่ง และยังสามารถรักษาโรคต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวาง.

ใหม่!!: จักรพรรดิและเห็ดหลินจือ · ดูเพิ่มเติม »

เฮอังเกียว

''Heian-kyō'' เฮอังเคียว หรือ เฮอังเกียว คืออดีตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น สถาปนาขึ้นในปี พ.ศ. 1337(ค.ศ. 794) โดยสมเด็จพระจักรพรรดิคังมุ ในจังหวัดเคียวโตะ หรือ เกียวโต ประเทศญี่ปุ่นในปัจจุบัน มีฐานะเป็นเมืองหลวงของประเทศนานถึง 1074 ปี ก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็นโตเกียว ในปี พ.ศ. 2411.

ใหม่!!: จักรพรรดิและเฮอังเกียว · ดูเพิ่มเติม »

เจได

ตราสัญลักษณ์ของนิกายเจได เจได เป็นสมาชิกของ นิกายเจได ซึ่งเป็นกลุ่มองค์กรหนึ่งในภาพยนตร์เรื่องสตาร์ วอร์ส นิกายเจไดเป็นนิกายที่ศึกษาและทำหน้าที่และใช้พลังลึกลับของสิ่งที่เรียกว่าพลังในด้านสว่าง เจไดได้ต่อสู้เพื่อสันติภาพและความยุติธรรมเพื่อความสงบเรียบร้อยในสาธารณรัฐกาแลคติค รวมทั้งต่อต้านกับ ซิธ ศัตรูที่ร้ายกาจ ผู้ที่เรียนรู้และใช้พลังด้านมืด แม้ว่านิกายนี้เกือบจะถูกทำลายถึงสองครั้ง ครั้งแรกโดยจักรวรรดิซิธของดาร์ธ รีแวน และ ครั้งต่อมาเมื่อผ่านไปอีก 4,000 ปี โดยการชำระบาปครั้งใหญ่ของดาร์ธ ซิเดียส นิกายยังคงอยู่จนกระทั่งรุ่งเรืองขึ้นด้วยความพยายามของ ลุค สกายวอล์คเกอร์ ผู้ก่อตั้งนิกายเจไดใหม่เพื่อปกป้องสาธารณรัฐใหม่ หลังจากนั้นก็ได้เป็นตัวแทนของ สหพันธรัฐพันธมิตรอิสระกาแลกติก (Galactic Federation of Free Alliances) โดยทั่วไปเจไดหมายถึง อัศวินเจได (Jedi Knight) ซึ่งเป็นบุคคลที่สามารถควบคุมและใช้งานพลัง โดยเจไดจะเลือกใช้งานเฉพาะด้านสว่างของพลังเท่านั้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิและเจได · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต

้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต (Princess Margaret of Connaught; มาร์กาเร็ต วิกตอเรีย ชาร์ล็อต ออกัสตา นอร่าห์ ภายหลังคือ มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน; 15 มกราคม พ.ศ. 2425 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2463) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในเจ้าชายอาร์เธอร์ ดยุกแห่งคอนน็อตและสแตรธเอิร์น พระราชโอรสพระองค์ที่สามในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรและ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี กับ เจ้าหญิงหลุยส์ มาร์กาเรเทแห่งปรัสเซีย พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเจ้าหญิงแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และมีพระนามลำลองในหมู่พระญาติสนิทและพระสหายว่า "เดซี่".

ใหม่!!: จักรพรรดิและเจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงวุ่นวายกับเจ้าชายเย็นชา

thumb เจ้าหญิงวุ่นวายกับเจ้าชายเย็นชา (มีชื่อเป็นภาษาเกาหลีคือ กุง) หรือมีชื่อภาษาอังกฤษหลายชื่อคือ Goong, The Imperial Household, Love in Palace, Palace Love or Palace, แต่เป็นที่นิยมที่สุดว่า Princess Hours) เป็นละครเกาหลี และการ์ตูนที่ได้รับความนิยมมากในเกาหลี แต่งโดย ปัก ซู ฮี และโด่งดังมากยิ่งขึ้นเมื่อสร้างเป็นละครโทรทัศน์แบบตลกกึ่งชีวิต ละครเจ้าหญิงวุ่นวายและเจ้าชายเย็นชาเป็นละครที่ได้รับความนิยมเป็นอันดับสองของสถานี MBC's ในปี พ.ศ. 2549 โดยเป็นรองแต่เพียงเรื่อง จูมง มหาบุรุษกู้แผ่นดิน เท่านั้น และจากความสำเร็จอย่างยิ่งยวดของภาคแรก มีการเตรียมที่จะสร้างภาคต่อไปของละครเรื่องนี้ หากแต่มีปัญหาทางด้านลิขสิทธิ์จึงทำให้โครงการเจ้าหญิงวุ่นวายและเจ้าชายเย็นชา ภาคสองถูกระงับไปก่อน ในขณะที่ผู้จัดทำภาคแรกได้สร้างละคร Goong S (รักวุ่นวายของเจ้าชายส้มหล่น) ขึ้น และได้เริ่มฉายในวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: จักรพรรดิและเจ้าหญิงวุ่นวายกับเจ้าชายเย็นชา · ดูเพิ่มเติม »

เทริด

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ทรงเทริด เทริด (tiara) เป็นมงกุฎรูปแบบหนึ่ง โบราณเป็นรูปกรวยสูงปลายแคบ ทำจากผ้าหรือหนังสัตว์ อลงกตด้วยอัญมณีต่าง ๆ เป็นราชภัณฑ์สำหรับกษัตริย์หรือจักรพรรดิ โดยเฉพาะในยุคเมโสโปเตเมีย ต่อมาเปลี่ยนไปเป็นทรงเตี้ย ทำจากโลหะต่าง ๆ ประดับอัญมณี หมวดหมู่:มงกุฎ.

ใหม่!!: จักรพรรดิและเทริด · ดูเพิ่มเติม »

เคานต์

นต์ (Count) หรือ กราฟ (Graf) เป็นบรรดาศักดิ์ของขุนนางที่ใช้กันในยุโรป ภริยาของเคานต์เรียกว่า เคาน์เตส (Countess) เคานต์ปกครองดินแดนที่มีศักดิ์เป็นเคาน์ตี อำนาจในทางปกครองของเคานต์จะเรียกว่า "countship" ชื่อตำแหน่งมาจากภาษาฝรั่งเศสว่า "comte" ที่มาจากภาษาลาติน "comes" ที่แปลว่าเพื่อน (companion) และต่อมาหมายถึง "สหายของจักรพรรดิ หรือผู้แทนของจักรพรรดิ" ในอังกฤษไม่ใช้ตำแหน่งเคานต์ แต่ใช้ตำแหน่งที่เท่าเทียมกันที่เรียกว่า "เอิร์ล" แต่ภริยาของเอิร์ลก็ยังคงเรียกว่าเคาน์เตส ตำแหน่งที่เท่ากับเคานต์ในประเทศอื่น เช่น กราฟ (Graf) ในเยอรมัน, ฮะกุชะกุ (伯爵)ในญี่ปุ่น พระราชวงศ์ยุโรปมักจะใช้ตำแหน่ง "เคานต์" เป็นตำแหน่งกิตติมศักดิ์เพื่อพระราชทานแก่สมาชิกในพระราชวงศ์โดยเฉพาะ ตำแหน่งกิตติมศักดิ์นี้จะไม่มีอำนาจในทางปกครอง ในสหราชอาณาจักร "เอิร์ล" มักจะเป็นบรรดาศักดิ์ที่ได้แก่บุตรชายคนแรกของดยุก.

ใหม่!!: จักรพรรดิและเคานต์ · ดูเพิ่มเติม »

เฉิน โหย่วเลี่ยง

เฉิน โหย่วเลี่ยง ประสูติเมื่อปี ค.ศ. 1320 ในครอบครัวชาวประมงที่ มณฑลหูเป่ย ต่อมาทรงเข้าร่วมกับกบฏโพกผ้าแดงและได้สังหารผู้เป็นหัวหน้า และทรงตั้งพระองค์ขึ้นเป็นหัวหน้าสืบต่อมา ต่อมาในปี ค.ศ. 1357 ทรงสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็น กษัตริย์แห่งฮั่น ที่ เจียงโจว และในปีต่อมาทรงสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็น จักรพรรดิ สวรรคตเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1363 ขณะพระชนม์เพียง 43 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1863 หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์หยวน.

ใหม่!!: จักรพรรดิและเฉิน โหย่วเลี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

เฉียนฉิน

เฉียนฉิน (Former Qin,, 351 – 394) แคว้นอิสระที่ตั้งขึ้นในช่วง ยุคห้าชนเผ่าสิบหกแคว้น โดยขุนนางแห่งแคว้น เฉียนเจ้า คือ ฝูเจียน หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศจีน.

ใหม่!!: จักรพรรดิและเฉียนฉิน · ดูเพิ่มเติม »

เซี่ยตะวันตก

ซี่ยตะวันตก (Western Xia) เป็นชื่ออาณาจักรแห่งหนึ่งซึ่งดำรงอยู่ตั้งแต่ปี 1038 ถึงปี 1227 ณ บริเวณที่ปัจจุบันเป็นเขตกานซู ชิงไห่ ซินเจียง มองโกเลียนอก มองโกเลียใน ส่านซี และหนิงเซี่ย ของสาธารณรัฐประชาชนจีน กินพื้นที่ราวแปดแสนตารางกิโลเมตร อาณาจักรเซี่ยตะวันตกถูกพวกมองโกลจากอาณาจักรมองโกลทำลายโดยสิ้นเชิง เป็นเหตุให้บันทึกและสถาปัตยกรรมล้วนดับสูญ ฉะนั้น ประวัติศาสตร์ของอาณาจักรนี้จึงเป็นที่โต้เถียงเรื่อยมา จนกระทั่งมีการสำรวจขนานใหญ่จากฝรั่งและคนจ?ีนเอง จึงพบว่า อาณาจักรเซี่ยตะวันตกประสบความส??سเร็จอย่างใหญ่หลวงในด้านน?าฏกรรม วรรณกรรม ศิลปกรรม และสถาปัตยกรรม ชนิดที่นักประวัติศาสตร์ถือกันว่า เป็นผลงานที่ "รุ่งโรจน์เรืองรอง" (shining and sparkling) อนึ่ง ยังพบว่า อาณาจักรเซี่ยตะวันตกสามารถจัดระเบียบกองทัพอย่างเป็นระบบ กองทัพเซี่ยมีทั้งพลธนู พลปืน (ติดตั้งปืนใหญ่ไว้บนหลังอูฐ) พลม้า พลรถ พลโล่ และทแกล้??اทหารที่เก่งทั้งน้ำและบก อาณาจักรเซี่ยตะวันตกจึงรุกรานอาณาจัก?รรอบข้าง เช่น จิน ซ่ง และเหลียว ?ได้อย่างมีประสิท.

ใหม่!!: จักรพรรดิและเซี่ยตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เซ็สโซและคัมปะกุ

งราชวงศ์สำหรับผู้สำเร็จราชการ ในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น เซ็สโซ เป็นยศของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ สำหรับจักรพรรดิที่ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าจะปกครองก่อนที่พระองค์จะเจริญพรรษาพอที่จะปกครองประเทศ เซ็สโซจะว่าราชการแทน และ คัมปะกุ เป็นตำแหน่งผู้สำเร็จราชการสำหรับจักรพรรดิที่ทรงเจริญพระชนพรรษาแล้ว โดยอ้างว่าพระจักรพรรดิทรงไม่รู้เรื่องงานบริหารประเทศ จึงต้องให้คัมปะกุ คอยช่วยบริหารจัดการ ตลอดสมัยเฮอัง อำนาจการบริหารประเทศอยู่ในสองตำแหน่งนี้ คือ เซ็สโซ และคัมปะกุตลอด 500 ปี ผูกขาดโดยคนของตระกูลฟุจิวะระ และสายย่อยของตระกูลนี้ตลอด โดยเราจะเรียกตระกูลเหล่านี้ว่า เซ็สกัง หรือตระกูลผู้สำเร็จราชการนั่นเอง ภายหลังจากสมัยเฮอังอำนาจอยู่ในมือของรัฐบาลทหาร โดยโชกุนปกครองประเทศแทน โดยผู้สำเร็จราชการของโชกุนจะเรียกว่า ชิกเก็ง.

ใหม่!!: จักรพรรดิและเซ็สโซและคัมปะกุ · ดูเพิ่มเติม »

18 พฤษภาคม

วันที่ 18 พฤษภาคม เป็นวันที่ 138 ของปี (วันที่ 139 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 227 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิและ18 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 มกราคม

วันที่ 18 มกราคม เป็นวันที่ 18 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 347 วันในปีนั้น (348 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: จักรพรรดิและ18 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สมเด็จพระจักรพรรดิ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »