โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คำสร้างใหม่

ดัชนี คำสร้างใหม่

ำสร้างใหม่ หรือ ศัพท์บัญญัติ หมายถึงคำที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ซึ่งอาจเริ่มมีการใช้งานทั่วไป แต่อาจยังไม่เป็นที่ยอมรับในภาษาทั่วไป อาจถูกสร้างขึ้นมาเพื่อความเฉพาะเจาะจง เกี่ยวกับคน การเผยแพร่ เวลา หรือเหตุการณ์ ในประเทศไทยราชบัณฑิตยสถานมีหน้าที่บัญญัติศัพท์ และมีคณะกรรมการบัญญัติศัพท์สาขาวิชาต่าง ๆ เช่น คณะกรรมการบัญญัติศัพท์ปรับอากาศ คณะกรรมการบัญญัติศัพท์วิทยาศาสตร์ คณะอนุกรรมการบัญญัติศัพท์แพทย์ และคณะกรรมการบัญญัติศัพท์พิมพ์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานทางด้านวิทยาการและเทคโนโลยีจาก ต่างประเทศเข้ามา และได้บัญญัติศัพท์เฉพาะขึ้นมาใช้เอง เช่น คณะกรรมการวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย คณะกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศึกษาของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ และกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการของกรมวิชาการ.

33 ความสัมพันธ์: บรรณานุกรมบัญญัติชุมชนแออัดฟรีเมียมการลงโทษทางกายการป้องกันความเสียหายภาษาวิทยาศาสตร์มลรัฐ (คำศัพท์)มหาธีรราชเจ้าราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญศัพทมูลวิทยาศัพท์ปัญญาประดิษฐ์ศึกษาบันเทิงศูนย์เกิดแผ่นดินไหวสีสันอาการกลัวอิสลามอุปาทานหมู่อีเมลฮู่ต้งผลิกศาสตร์ดิจิทัลคอมพิวเตอร์กราฟิกส์คีย์บอร์ด (คอมพิวเตอร์)ตรรกศาสตร์ปรัชญานิรุกติศาสตร์โมดูลโซเมีย (ภูมิศาสตร์)ไฟร์วอลล์ไทป์เฟซไปรษณีย์อืดอาดเสิร์ชเอนจินเคอร์เนล

บรรณานุกรม

ในทางสารนิเทศ บรรณานุกรม หมายถึงข้อความที่ประกอบ หรือระบุหรือไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ และเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านรายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม คำว่า "บรรณานุกรม" เป็นศัพท์บัญญัติมาจากภาษาอังกฤษ bibliography ซึ่งมีความหมายอย่างเดียวกันคือ รายการสื่อสารนิเทศทั้งหมดที่ผู้เขียนได้ใช้ประกอบการเขียนหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจั.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และบรรณานุกรม · ดูเพิ่มเติม »

บัญญัติ

ัญญัติ (บัน-หฺยัด) อาจหมายถึง; นิติศาสตร.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และบัญญัติ · ดูเพิ่มเติม »

ชุมชนแออัด

มชนแออัดที่ใหญ่ที่สุด 30 อันดับแรกของโลก ชุมชนแออัด คีเบรา ในเคนยา ชุมชนแออัด ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน สาขานิติศาสตร์ ปรับปรุง 11 มี..

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และชุมชนแออัด · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีเมียม

ในการทำธุรกิจแบบฟรีเมียม จะมีการเริ่มจากสิ่งที่ไม่เสียค่าใช้จ่ายก่อน ฟรีเมียม (Freemium) เป็นกลยุทธ์การตั้งราคาสินค้าที่สินค้าหรือบริการ (ปกติจะเป็นพวกที่ให้บริการทางดิจิตอล เช่น ซอฟต์แวร์ สื่อ เกม หรือบริการทางเว็บ) นั้นให้บริการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย แต่จะต้องใช้เงิน (พรีเมียม) ในการซื้อฟังก์ชันสงวนไว้หรือสินค้าเสมือน คำว่าฟรีเมียมเป็นการสร้างคำและความหมายใหม่ของรูปแบบธุรกิจสองแนว คือแบบฟรี และแบบพรีเมียม.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และฟรีเมียม · ดูเพิ่มเติม »

การลงโทษทางกาย

การลงโทษทางกาย(corporal punishment) คือ การลงโทษโดยการเฆี่ยนตีตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพื่อทำให้เกิดความเจ็บปวด อาจใช้ไม้เรียว สายหนัง หรือเข็มขัด เช่นการลงโทษเด็กนักเรียนในโรงเรียนหรือแม้แต่ที่บ้าน ซึ่งปัจจุบันหลายประเทศถือเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย อีกทั้งยังเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนประการหนึ่ง.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และการลงโทษทางกาย · ดูเพิ่มเติม »

การป้องกันความเสียหาย

การป้องกันความเสียหายที่เวลา 9:25 น. วันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941 ยูเอสเอส เนวาดา เกิดเกยฝั่งและไฟไหม้หลังการโจมตีด้วยระเบิดและตอร์ปิโดจากฝ่ายญี่ปุ่น เรือโยงจากท่าเรือกำลังช่วยระงับไฟไหม้ การป้องกันความเสียหาย หรือ การควบคุมความเสียหาย (Damage control) เป็นคำที่ใช้ในเรือสินค้า อุตสาหกรรมทางทะเล และ กองทัพเรือ สำหรับการควบคุมสถานการณ์ฉุกเฉินที่อาจมีอันตรายจนทำให้เรืออับปาง นอกจากนี้ยังใช้ในสภาพแวดล้อมอื่นๆตามที่อธิบายไว้ด้านล่าง.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และการป้องกันความเสียหาย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาวิทยาศาสตร์

ษาวิทยาศาสตร์ เป็นภาษาที่เกิดขึ้นใหม่อยู่เสมอ เพราะโลกมีความเคลื่อนไหว ความก้าวหน้าจากทฤษฎีใหม่ๆ จากการค้นพบใหม่ๆ ทั้งแบบค่อยเป็นค่อยไป และแบบก้าวกระโดด ส่งผลให้เกิดคำที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวิทยาศาสตร์ หลักการและการค้นพบทางวิทยาศาสตร์เป็นไปโดยเข้าใจตรงกัน จึงต้องมีการดำเนินการเกี่ยวกับภาษาวิทยาศาสตร์นั้นๆ ไม่ว่าจะเป็นการให้ความหมาย การบัญญัติศัพท์ การทับศัพท.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และภาษาวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มลรัฐ (คำศัพท์)

ำว่า มลรัฐ เป็นคำใช้เรียกหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นของบางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา และสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี บัญญัติ จากคำว่า "state" ในภาษาอังกฤษ ต่อมา "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี และประกาศราชบัณฑิตยสถาน เรื่องกำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง..

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และมลรัฐ (คำศัพท์) · ดูเพิ่มเติม »

มหาธีรราชเจ้า

มหาธีรราชเจ้า เป็นสารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสครบรอบ 100 ปี พระราชพิธีบรมราชาภิเษก และครบรอบ 100 ปี วชิราวุธวิทยาลัย โดยรูปแบบของสารคดีเป็นการผสมกันระหว่างสารคดี ๑๐๐ ปี ไกลบ้าน ตามเสด็จพระพุทธเจ้าหลวง ที่มีการถ่ายทำในสถานที่จริงและสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง กับธิราชเจ้าจอมสยาม ที่มีละครสั้นประกอบ แต่ในสารคดีชุดนี้จะไม่มีบทพูดของตัวแสดง นอกจากนี้ ในช่วงท้ายยังมีเกร็ดสิ่งแรกในเมืองไทยที่เกิดในรัชกาลที่ 6 อีกด้ว.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และมหาธีรราชเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ"ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ" เป็นศัพท์บัญญัติของ (constitutional monarchy) เป็นรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐโดยไม่ทรงมีบทบาททางการเมืองและทรงอยู่ในขอบเขตของรัฐธรรมนูญไม่ว่าเป็นหรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ถึงแม้ว่าพระมหากษัตริย์อาจมีพระราชอำนาจโดยพระบารมีและรัฐบาลอาจดำเนินการในพระนาม แต่พระมหากษัตริย์จะไม่ทรงกำหนดนโยบายสาธารณะหรือเลือกผู้นำทางการเมือง เวอร์นอน บอกดานอร์ (Vernon Bogdanor) นักรัฐศาสตร์ชาวอังกฤษ นิยามว่า ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญ คือ "องค์อธิปัตย์ที่ปกเกล้าแต่ไม่ปกครอง" (a sovereign who reigns but does not rule), excerpted from การปกครองรูปแบบนี้ต่างจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงควบคุมการตัดสินใจทางการเมืองโดยไม่ทรงถูกรัฐธรรมนูญควบคุมเอาไว้ ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางทีเรียกว่า ปรมิตตาญาสิทธิราชย์ (limited monarchy) สาธารณรัฐอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (crowned republic) หรือราชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา (parliamentary monarchy) นอกจากเป็นศูนย์รวมใจของชนในชาติแล้ว ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญอาจมีพระราชอำนาจอย่างเป็นทางการ เช่น ยุบสภานิติบัญญัติ หรืออนุมัติกฎหมาย แต่ส่วนใหญ่แล้วเป็นพระราชอำนาจทางพิธีการ มิใช่เป็นช่องให้พระมหากษัตริย์จัดการการเมืองได้โดยพลการ วอลเทอร์ แบกฮอต (Walter Bagehot) นักทฤษฎีการเมืองชาวอังกฤษ เขียนไว้ในหนังสือ ดิอิงลิชคอนสติติวชัน (The English Constitution) ว่า มีพระราชสิทธิ์สามประการเท่านั้นที่ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญทรงใช้ได้ตามพระทัย คือ แสวงหาคำปรึกษา ประทานคำปรึกษา และประทานคำตักเตือน ประเทศราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่โดดเด่น เช่น สหราชอาณาจักรและอดีตเมืองขึ้นทั้งสิบห้าซึ่งล้วนใช้การปกครองที่เรียกว่า "ระบบเวสมินสเตอร์" (Westminster system) ส่วนรัฐสามแห่ง คือ กัมพูชา มาเลเซีย และสันตะสำนัก ใช้ราชาธิปไตยแบบเลือกตั้ง โดยให้อภิชนกลุ่มเล็ก ๆ เป็นคณะผู้เลือกตั้งองค์อธิปัตย์ขึ้นมาเป็นระยะ ๆ นับแต่เดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

ศัพทมูลวิทยา

ศัพทมูลวิทยา เป็นศัพท์บัญญัติจากภาษาอังกฤษ etymology หมายถึง การศึกษาที่มาของคำศัพท์ โดยอาศัยเอกสารโบราณ และการเปรียบเทียบกับภาษาอื่นๆ นักศัพทมูลวิทยาจะสืบสร้างประวัติของคำนั้นๆ ว่าคำนั้นมีการใช้ในภาษานั้นเมื่อใด มาจากแหล่งใด และมีการพัฒนา และเปลี่ยนแปลงความหมายอย่างไร คำนี้มักจะใช้สับสนกับคำว่า นิรุกติศาสตร์ ซึ่งหมายถึงการศึกษาที่มาของภาษา หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ หมวดหมู่:ศัพทมูลวิทยา.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และศัพทมูลวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ศัพท์ปัญญาประดิษฐ์

ในปัจจุบัน ปัญญาประดิษฐ์ยังเป็นสาขาวิชาที่มีการศึกษาและวิจัย อยู่ในกลุ่มเล็กๆในไทย ทำให้มีคำศัพท์มากมาย ที่ทางราชบัณฑิตยสถานยังไม่ได้บัญญัติคำภาษาไทย หน้านี้จึงรวบรวมคำศัพท์ในสาขาปัญญาประดิษฐ์ที่ใช้ในวิกิพีเดียนี้ รวมถึงคำที่มีผู้อื่นบัญญัติไว้แล้ว.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และศัพท์ปัญญาประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศึกษาบันเทิง

อ็ดดูเทนเมนท์ (Edutainment) หรือ เอ็ดดูเคชันแนล เอ็นเตอร์เทนเมนท์ (educational entertainment) หรือ เอ็นเตอร์เทนเมนท์-เอ็ดดูเคชัน (entertainment-education) เป็นรูปแบบทางการบันเทิงที่ออกแบบสำหรับการอบรม ตลอดจนเป็นการทำให้เป็นที่ชอบใจสำหรับผู้เรียน.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และศึกษาบันเทิง · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว

ูนย์เกิดแผ่นดินไหวคือตำแหน่งใต้ผิวโลกที่เกิดการปลดปล่อยพลังงาน จุดเกิดแผ่นดินไหว (focus) หมายถึงตำแหน่งที่เกิดแผ่นดินไหวและเป็นศูนย์กลางที่เกิดการปลดปล่อยความเครียดและพลังงานซึ่งถูกกักเก็บไว้ในชั้นหิน จุดนี้เป็นจุดเดียวกับที่รอยเลื่อนเริ่มต้นการเคลื่อน ความลึกจุดเกิดแผ่นดินไหวสามารถคำนวณได้จากการวัดซึ่งขึ้นอยู่กับปรากฏการณ์คลื่นแผ่นดินไหว ด้วยปรากฏการณ์คลื่นทั้งหมดในทางฟิสิกส์ มีความไม่แน่นอนอยู่ในการวัดปริมาณดังกล่าวเพิ่มยิ่งขึ้นตามความยาวคลื่น ดังนั้นความลึกจุดเกิดแผ่นดินไหวของแหล่งที่มาของคลื่นที่มีความยาวนี้ (ความถี่ต่ำ) จึงเป็นการยากที่จะตรวจสอบให้แน่ชัด แผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงมากจะส่งพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาส่วนใหญ่ในรูปของคลื่นแผ่นดินไหวที่มีความยาวคลื่นมาก และดังนั้น แผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงมากขึ้นเท่าใดก็เป็นการปลดปล่อยพลังงานจากหินที่มีมวลมากยิ่งขึ้นเท่านั้น.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และศูนย์เกิดแผ่นดินไหว · ดูเพิ่มเติม »

สีสัน

ียวกัน แต่มี'''สีสัน'''ที่เปลี่ยนไป สีสัน หมายถึง ระดับสีภายในช่วงสเปคตรัมแสง หรือ ช่วงแสงที่มองเห็น เป็นการเพิ่มคุณลักษณะเฉพาะของที่ทำให้สีแดงแตกต่างจากสีเหลืองจากสีน้ำเงิน สีสันเหล่านี้ส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับความยาวคลื่นเป็นใหญ่ (dominant wavelength) ของแสงที่เปล่งออก หรือสะท้อนจากวัตถุ ตัวอย่างเช่น ในแสงที่มองเห็น ปกติจะอยู่ระหว่างแสงอินฟราเรด (ความยาวคลื่นประมาณ 700 นาโนเมตร) และแสงอัลตราไวโอเลต (ความยาวคลื่นประมาณ 400 นาโนเมตร) คำว่า "สีสัน" อาจหมายถึง สีพิเศษชนิดใดชนิดหนึ่งในสเปคตรัมนั้นก็ได้ ซึ่งกำหนดได้จากความยาวคลื่นหลัก หรือแนวโน้มกลางของความยาวคลื่นรวม ตัวอย่างเช่น คลื่นแสงที่มีแนวโน้มกลางภายใน 565-590 นาโนเมตร จะเป็นสีเหลือง ในทฤษฎีการระบายสี คำว่า "สีสัน" หมายถึง สีบริสุทธิ์ คือสีที่ไม่มีการเติมสีขาว หรือสีดำ เข้ามา สำหรับในปริภูมิสีแบบ RGB นั้น คำว่า "สีสัน" อาจถือได้ว่าเป็นมุมพไซ (φ) ในตำแหน่งมาตรฐาน การคำนวณ φ นั้น ให้ R, G และ B เป็นโคออร์ดิเนตสีในพื้นที่สี RGB ซึ่งกำหนดสเกลจาก 0 ถึง 1 จากนั้น เมื่อได้ค่าความสว่าง (brightness) μ และค่าความอิ่มตัว (saturation) σ แล้ว ก็จะได้สีสัน จากสูตร (เมื่อเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน) การใช้สูตรนี้ φ.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และสีสัน · ดูเพิ่มเติม »

อาการกลัวอิสลาม

อาการกลัวอิสลาม (Islamophobia) เป็นความเกลียดกลัวอย่างรุนแรง หรือความเดียดฉันท์ต่อศาสนาอิสลามหรือมุสลิม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมองว่าเป็นกำลังภูมิรัฐศาสตร์หรือบ่อเกิดของการก่อการร้าย คำนี้เป็นคำสร้างใหม่ในคริสต์ทศวรรษ 1970 และโดดเด่นขึ้นระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1980 และ 1990 และมีความโดดเด่นในนโยบายสาธารณะด้วยรายงานโดยคณะกรรมการพิพิธภัณฑ์และอาการกลัวอิสลามบริติชของรันนีมีดทรัสต์ ชื่อ อาการกลัวอิสลาม: ความท้าทายสำหรับเราทุกคน (ปี 1997) สาเหตุและลักษณะของอาการกลัวอิสลามยังมีการโต้เถียงกัน นักวิจารณ์บางคนระบุว่าอาการกลัวอิสลามเพิ่มขึ้นจากเหตุวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 บ้างว่ามาจากการก่อการร้ายหลายครั้งในทวีปยุโรปและสหรัฐ บ้างสัมพันธ์กับการมีมุสลิมในสหรัฐและสหภาพยุโรปมากขึ้น บ้างยังสงสัยความถูกต้องของคำนี้ นักวิชาการ S. Sayyid และ Abdoolkarim Vakil ยืนยันว่าอาการกลัวอิสลามเป็นการตอบสนองต่อการถือกำเนิดของอัตลักษณ์สาธารณะของมุสลิมที่แตกต่าง และการมีมุสลิมไม่ใช่ตัวบ่งชี้ระดับของอาการกลัวอิสลามในสังคม โดยว่าสังคมที่แทบไม่มีมุสลิมเลยแต่มีอาการกลัวอิสลามแบบสถาบันหลายแบบอยู.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และอาการกลัวอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

อุปาทานหมู่

อุปาทานหมู่ /อุปา- หรือ อุบปา-/ (collective hysteria, collective obsessional behavior, mass hysteria หรือ mass psychogenic illness) เป็นปรากฏการณ์ทางจิตสังคมอย่างหนึ่ง มีลักษณะเป็นการแสดงออกอย่างเดียวกับโรคฮิสเตอเรีย หรือโรคผีเข้า (hysteria) แต่อุปาทานหมู่นั้นเป็นอาการสมดังชื่อ คือ เกิดขึ้นในคนหมู่ โดยมักมีสาเหตุจากการที่คนกลุ่มหนึ่งเชื่อว่าตนกำลังประสบภาวะเจ็บป่วยหรืออาการอื่นอย่างเดียวกัน คำ "อุปาทานหมู่" นั้นอาจเขียนผิดเป็น "อุปทานหมู่" ซึ่งคำ "อุปทาน" นั้นเป็นศัพท์ทางเศรษฐศาสตร์ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า "supply" คู่กับ "demand" หรือ "อุปสงค์".

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และอุปาทานหมู่ · ดูเพิ่มเติม »

อีเมล

อีเมล (e-mail, email) หมายถึง จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (electronic mail) คือวิธีการหนึ่งของการแลกเปลี่ยนข้อความแบบดิจิทัล ซึ่งออกแบบขึ้นเพื่อให้มนุษย์ใช้เป็นหลัก ข้อความนั้นจะต้องประกอบด้วยเนื้อหา ที่อยู่ของผู้ส่ง และที่อยู่ของผู้รับ (ซึ่งอาจมีมากกว่าหนึ่ง) เป็นอย่างน้อย บริการอีเมลบนอินเทอร์เน็ตในทุกวันนี้เริ่มมีการจัดตั้งมาจากอาร์พาเน็ต (ARPANET) และมีการดัดแปลงโค้ดจนนำไปสู่มาตรฐานของการเข้ารหัสข้อความ RFC 733 อีเมลที่ส่งกันในยุคคริสต์ทศวรรษ 1970 นั้นมีความคล้ายคลึงกับอีเมลในปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงจากอาร์พาเน็ตไปเป็นอินเทอร์เน็ตในคริสต์ทศวรรษ 1980 ทำให้เกิดรายละเอียดแบบสมัยใหม่ของการบริการ โดยส่งข้อมูลผ่านเกณฑ์วิธีถ่ายโอนไปรษณีย์อย่างง่าย (SMTP) ซึ่งได้เผยแพร่เป็นมาตรฐานอินเทอร์เน็ต 10 (RFC 821) เมื่อ..

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และอีเมล · ดูเพิ่มเติม »

ฮู่ต้ง

ู่ต้ง (互动在线,, Hudong) เป็นเครือข่ายสังคมแสวงหาผลกำไรในจีน รวมทั้งเว็บไซต์สารานุกรม/ข่าวภาษาจีนที่ใหญ่ที่สุดของโลก แต่ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ใหม่โดยเสรี เป็นเว็บไซต์วิกิขนาดใหญ่ที่สุดของจีน โดยมีการโฆษณาที่ได้รับค่าตอบแทน, 10 December 2007 มีบทความมากกว่า 5 ล้านบทความและอาสาสมัครมากกว่า 2.5 ล้านคน จนถึงเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และฮู่ต้ง · ดูเพิ่มเติม »

ผลิกศาสตร์

ผลิกศาสตร์ (Crystallography) คือศาสตร์ที่ศึกษาการเรียงตัวของอะตอมในของแข็ง คำนี้ในการใช้งานเดิมจะหมายถึงศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับผลึก คำว่า ผลิก มีความหมายเช่นเดียวกับคำว่า ผลึก ก่อนที่จะมีพัฒนาการของผลิกศาสตร์ที่ใช้การเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ การศึกษาผลึกกระทำโดยใช้เรขาคณิตของผลึก โดยจะมีการวัดมุมของผลึกเทียบกับมุมอ้างอิงทางทฤษฎี และหาสมมาตรของผลึกนั้น ๆ ในปัจจุบันผลิกศาสตร์ใช้การวิเคราะห์รูปแบบของการเลี้ยวเบนที่เกิดจากการยิงลำแสงบางอย่างให้กับผลึกนั้น แม้ว่าลำแสงที่ใช้ไม่จำเป็นต้องเป็นรังสีแม่เหล็กไฟฟ้า แต่ตัวเลือกหลักมักเป็นรังสีเอ็กซ.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และผลิกศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดิจิทัล

ทัล (digital), เฉพาะชื่อเฉพาะอาจสะกดเป็น ดิจิทอล หรือ ดิจิตอล) หรือในศัพท์บัญญัติว่า เชิงเลข ในทฤษฎีข้อมูลหรือระบบข้อมูล เป็นวิธีแทนความหมายของข้อมูลหรือชิ้นงานต่างๆในรูปแบบของตัวเลข โดยเฉพาะเลขฐานสอง ที่ไม่ต่อเนื่องกัน ซึ่งต่างจากระบบแอนะล็อกที่ใช้ค่าต่อเนื่องหรือสัญญาณแอนะล็อกซึ่งเป็นค่าต่อเนื่อง หรือแทนความหมายของข้อมูลโดยการใช้ฟังชั่นที่ต่อเนื่อง ถึงแม้ว่า การแทนความหมายเป็นดิจิทัลจะไม่ต่อเนื่อง ข้อมูลที่ถูกแปลความหมายนั้นสามารถเป็นได้ทั้งไม่ต่อเนื่อง (เช่นตัวเลขหรือตัวหนังสือ) หรือต่อเนื่อง (เช่นเสียง,ภาพและการวัดอื่นๆ) คำว่าดิจิทัลที่มาจากแหล่งเดียวกันกับคำว่า digit และ digitus (ภาษาละตินแปลว่านิ้ว) เพราะนิ้วมือมักจะใช้สำหรับการนับที่ไม่ต่อเนื่อง นักคณิตศาสตร์ จอร์จ CStibitz ของห้องปฏิบัติการโทรศัพท์เบลล์ ใช้คำว่าดิจิทัลในการอ้างอิงถึงพัลส์ไฟฟ้าเร็วที่ปล่อยออกมาจากอุปกรณ์ที่ออกแบบเพื่อเล็งและยิงปืนต่อต้านอากาศยานในปี 1942 มันเป็นที่นิยมใช้มากที่สุดในการระบบคำนวณและระบบอิเล็กทรอนิกส์โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อข้อมูลในโลกแห่งความเป็นจริงจะถูกแปลงเป็นรูปแบบตัวเลขฐานสองเช่นในเสียงออดิโอดิจิทัลและการถ่ายภาพดิจิทัล.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และดิจิทัล · ดูเพิ่มเติม »

คอมพิวเตอร์กราฟิกส์

อมพิวเตอร์กราฟิกส์ (computer graphics) หรือในศัพท์บัญญัติว่า วิชาเรขภาพคอมพิวเตอร์ คือหนึ่งในศาสตร์ องค์ความรู้ ของระเบียบวิธีการแก้ปัญหาเชิงคอมพิวเตอร์ (computing methodology) ที่แก้ปัญหาเกี่ยวกับเรื่องของภาพหรือการแสดงภาพ โดยเน้นการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ ให้ข้อมูลนำเข้าเป็นข้อมูลตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญญานต่าง ๆ แทน ตำแหน่งพิกัด สี รูปทรง ความสว่าง ขั้นตอนแรกเริ่มต้นด้วยการสร้างแบบจำลอง (modeling) เพื่อแทนความสัมพันธ์ของข้อมูลต่าง ๆ เหล่านั้นให้สามารถประมวลผลได้ด้วยคอมพิวเตอร์ ตามด้วย การแปรเป็นภาพสุดท้าย หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเร็นเดอร์ หรือการเร็นเดอร์ (rendering) เป็นการแปรหรือแสดงผลลัพธ์ทางอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ เช่น จอภาพ หรือ อุปกรณ์อื่น ๆ ออกมาเป็นภาพเชิงเรขาคณิตมองเห็น รูปทรง สีสัน ลวดลาย ลายผิว หรือ ลักษณะแสงเงา รวมถึง ข้อมูลอื่น ๆ ของภาพ เช่น ข้อมูลการเคลื่อนไหว การเปลี่ยนแปลง ลักษณะการเชื่อมต่อ และ ความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุหรือสิ่งของในภาพ วิชานี้ยังครอบคลุมถึงการศึกษาด้านระบบในการแสดงภาพ ทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ สถาปัตยกรรมของเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เชื่อมต่อ หรือ อุปกรณ์ในการนำเข้า และ แสดงผล ปัจจุบันมีการประยุกต์ วิชาเรขภาพคอมพิวเตอร์ใช้งานร่วมกับเทคโนโลยีอื่น เช่น การสร้างภาพเคลื่อนไหวหรือ แอนิเมชัน งานภาพยนตร์ เกม สื่อประสมภาพและเสียง ศึกษาบันเทิง หรือ ระบบสร้างภาพความจริงเสมือน เป็นต้น ระเบียบวิธีที่นิยมแบ่งเป็นสองวิธีหลัก คือ การใช้หลักการฉายและการใช้หลักการตามรอยละแสง สำหรับวิธีการสร้างภาพโดยใช้หลักการฉาย (projective method) ซึ่งใช้หลักการแปลงพิกัดข้อมูลตำแหน่งต่าง ๆ ในสามมิติ ให้เป็นข้อมูลที่มีพิกัดสองมิติแล้วแสดงผลบนอุปกรณ์แสดงผลเช่นจอภาพ เป็นต้น โดยระหว่างการแปลงพิกัดจะมีการคำนวณย่อย เช่น การขริบ (clipping) การขจัดเส้นแฝงผิวแฝง (hidden line/surface removal) และ การทำให้เป็นจุดภาพ (rasterization) เป็นต้น อีกวิธีที่นิยมใช้คือ การตามรอยลำแสง (ray tracing) ซึ่งเป็นการคำนวณโดยอาศัยหลักไล่ตามรอยทางเดินของแสงที่มาจากแหล่งกำเนิดแสงมาตกกระทบที่วัตถุแล้วสะท้อนเข้าตาหรือกล้อง โดยไล่ตรวจสอบย้อนรอยแสง ไปดูค่าความสว่างของวัตถุที่จะแสดงในแต่ละจุดภาพบนอุปกรณ์แสดงผล.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

คีย์บอร์ด (คอมพิวเตอร์)

ีย์บอร์ดคอมพิวเตอร์ คียบอร์ด หรือ แป้นพิมพ์ (ศัพท์บัญญัติใช้ว่า แผงแป้นอักขระ) เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทุกเครื่องจำเป็นต้องมี เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการนำข้อมูลลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยปกติมักจะมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือใกล้เคียง มีแป้นต่างๆ ประมาณร้อยแป้นอยู่บนคีย์บอร์ด (ขึ้นอยู่กับผังแป้นพิมพ์) ซึ่งถอดแบบมาจากเครื่องพิมพ์ดีด ออกแบบมาเพื่อใช้สำหรับรับข้อมูลที่เป็นตัวอักขระ แล้วทำการเปลี่ยนเป็นรหัส 7 หรือ 8 บิต จากนั้นจึงส่งให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล หรือใช้ควบคุมฟังก์ชันการทำงานบางอย่างของคอมพิวเตอร์ และเพื่อให้การป้อนข้อมูลที่เป็นอักขระและตัวเลขทำได้ง่ายและสะดวกขึ้น คีย์บอร์ดจึงแยกแผงที่เป็นแป้นอักขระกับแป้นตัวเลขแยกไว้ต่างหาก.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และคีย์บอร์ด (คอมพิวเตอร์) · ดูเพิ่มเติม »

ตรรกศาสตร์

ตรรกศาสตร์ (logic - มีรากศัพท์จากภาษากรีกคือ λόγος, logos) โดยทั่วไปประกอบด้วยการศึกษารูปแบบของข้อโต้แย้งอย่างเป็นระบบ ข้อโต้แย้งที่สมเหตุสมผลคือข้อโต้แย้งที่มีความสัมพันธ์ของการสนับสนุนเชิงตรรกะที่เฉพาะเจาะจงระหว่างข้อสมมุติพื้นฐานของข้อโต้แย้งและข้อสรุป ตรรกศาสตร์เป็นการศึกษาเชิงปรัชญาว่าด้วยการให้เหตุผล โดยมักจะเป็นส่วนสำคัญของวิชาปรัชญา คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ รวมถึงภาษาศาสตร์ ตรรกศาสตร์เป็นการตรวจสอบข้อโต้แย้งที่สมเหตุสมผล (valid argument) หรือการให้เหตุผลแบบผิดๆ (fallacies) ตรรกศาสตร์ เป็นการศึกษาที่มีมานานโดยมนุษยชาติที่เจริญแล้ว เช่น กรีก จีน หรืออินเดีย และถูกยกขึ้นเป็นสาขาวิชาหนึ่งโดย อริสโตเติล.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และตรรกศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปรัชญา

มัยคลาสสิกไว้ในภาพเดียวกัน คำว่า ปรัชญา มีที่มามาจากภาษาสันสกฤต หมายถึงความรู้อันประเสริฐ โดยมีรากศัพท์มาจากคำว่า ปฺร ที่แปลว่าประเสริฐ กับ คำว่า ชฺญา ที่แปลว่ารู้ ซึ่งเป็นศัพท์บัญญัติโดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ แทนคำว่า philosophy ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำΦιλοσοφία ซึ่งไพธากอรัสเป็นผู้บัญญัติไว้ เมื่อราวศตวรรษที่ 6 ก่อน..

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และปรัชญา · ดูเพิ่มเติม »

นิรุกติศาสตร์

นิรุกติศาสตร์ เป็นศัพท์บัญญัติ จากคำว่า philology ในภาษาอังกฤษ นิยามที่ตรงที่สุดของคำนี้ ก็คือ การเรียนรู้ถึงภูมิหลัง และการใช้ในปัจจุบัน ของการสื่อสารของมนุษย์ ไม่ว่าด้วยวิธีการพูดหรือการเขียน แม้ว่าคุณลักษณะทั่วไปของภาษาที่ถูกศึกษา จะมีความสำคัญมากกว่าที่มา หรืออายุ แต่การศึกษาเรื่องที่มาและอายุของคำก็มีความสำคัญเช่นกัน คำว่า ฟิโลโลจี (philology) ในภาษาอังกฤษ มาจากคำศัพท์ภาษากรีก ฟิลอส (Φιλος) ความรักอย่างพี่น้อง และ โลกอส (λογος) สนใจ หมายถึง ความรักในคำศัพท์ การศึกษาเชิงนิรุกติศาสตร์ คือการทำความเข้าใจถึง ที่มาของภาษา และมักใช้ในการศึกษาภาษา หรือคัมภีร์โบราณ คำนี้ มักจะใช้สับสนกับคำว่า ศัพทมูลวิทยา (etymology) ซึ่งเป็นการศึกษาที่มาของคำศัพท์ หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ หมวดหมู่:การเขียน หมวดหมู่:นิรุกติศาสตร์.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และนิรุกติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

โมดูล

มดูล (module หรือมีการสะกด มอดูล หรือ มอยูล / มอจูล) หรือ ส่วนจำเพาะ เป็นส่วนประกอบของระบบที่ใช้ในการเชื่อมต่อกับระบบอื่น โดยตัวโมดูลเองจะมีการออกแบบและควบคุมดัดแปลงภายในตัวโมดูลเอง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และโมดูล · ดูเพิ่มเติม »

โซเมีย (ภูมิศาสตร์)

ซเมีย (Zomia) เป็นคำศัพท์ที่สร้างใหม่ในปี..

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และโซเมีย (ภูมิศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ไฟร์วอลล์

ฟร์วอลล์ (อังกฤษ: firewall; ศัพท์บัญญัติ ด่านกันบุกรุก) คือซอฟต์แวร์หรือฮาร์ดแวร์ในระบบเครือข่าย ซอฟต์แวร์หรือฮาร์ดแวร์ในระบบเครือข่าย หน้าที่ของไฟร์วอลล์คือเป็นตัวกรองข้อมูลสื่อสาร โดยการกำหนดกฎและระเบียบมาบังคับใช้โดยเฉพาะเรื่องของการดูแลระบบเครือข่าย โดยความผิดพลาดของการปรับแต่งอาจส่งผลทำให้ไฟล์วอลล์มีช่องโหว่ และนำไปสู่สาเหตุของการโจรกรรมข้อมูลคอมพิวเตอร์ได้.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และไฟร์วอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทป์เฟซ

ตัวอย่างการทดสอบการพิมพ์ไทป์เฟซด้วยขนาดและภาษาต่างๆ ไทป์เฟซ หรือ ฟอนต์ หรือในชื่อไทยว่า ชุดแบบอักษร (typeface หรือ font) คือชุดของรูปอักขระ (glyph) ที่ได้รับการออกแบบไว้อย่างเป็นเอกภาพด้วยรูปแบบเฉพาะตัว ไทป์เฟซอาจประกอบด้วยตัวอักษร ตัวเลข เครื่องหมายวรรคตอน และอาจรวมไปถึงอักษรภาพ (ideogram) เช่นอักษรจีนหรือสัญลักษณ์ต่างๆ เช่นสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์หรือทางเทคน.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และไทป์เฟซ · ดูเพิ่มเติม »

ไปรษณีย์อืดอาด

ปรษณีย์อืดอาด ซึ่งเป็นศัพท์บัญญัติจากภาษาอังกฤษว่า "snail mail" หรือ "smail" (จาก snail + mail) เป็นคำที่ประดิษฐ์กันขึ้นในทางเสียดสีระบบการขนส่งไปรษณียภัณฑ์ว่ากว่าจะบริการส่งถึงผู้รับนั้นช่างอืดอาดเหลือใจ โดยเฉพาะในภาษาอังกฤษนั้นว่าอืดอาดอย่าง "snail" คือหอยทาก เทียบไม่ได้กับไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ไปรษณีย์อืดอาดนี้ความจริงแล้วก็หมายถึงไปรษณียภัณฑ์ที่ไม่ได้ส่งผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์นั่นเอง คือเป็นไปรษณียภัณฑ์ทั่วไปซึ่งบางทีภาษาอังกฤษก็เรียก "ไปรษณีย์กระดาษ" (paper mail) หรือ "ไปรษณีย์บก" (land mail) นอกจากนี้ คำ "ไปรษณีย์อืดอาด" ยังหมายถึง มิตรสัมพันธ์ทางไปรษณีย์ (pen pal) อีกด้วย คำ "ไปรษณีย์อืดอาด" มีการใช้ครั้งแรกประมาณ พ.ศ. 2513 ในเรื่องสั้น "เดอะเลตเทอร์" (The Letter) ที่นายอาร์โนลด์ โลเบล (Arnold Lobel) เขียนไว้ในหนังสือ "ฟรอกแอนด์โทดอาร์เฟรนส์" (Frog and Toad are Friends) แต่มิใช่ในความหมายดังข้างต้น แต่หมายถึงไปรษณีย์ที่อืดอาดเพราะมีหอยทากจริง ๆ เป็นพนักงานไปรษณีย์ โดยในเรื่องสั้นนั้น เจ้ากบฝากจดหมายให้เจ้าหอยทากนำไปส่งให้แก่เจ้าคางคก พนักงานไปรษณีย์หอยทากใช้เวลาสี่วันในการนำพาจดหมายไปถึงจุดหมาย ต่อมายังมีการใช้คำนี้โดยหมายถึงไปรษณีย์ที่หอยทากจริง ๆ เป็นพนักงานไปรษณีย์อีกด้วย โดยในภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่อง "สตรอว์เบอร์รีชอร์ตเค้กอินบิ๊กแอปเพิลซิตี" (Strawberry Shortcake in Big Apple City) ฉายเมื่อ พ.ศ. 2524 เป็นมุกตลกซึ่งผลสตรอว์เบอร์รีได้รับจดหมายของเธอช้ากว่าปรกติถึงสามสัปดาห์ เพราะหอยทากเป็นพนักงานไปรษณีย์ และก็ยอมรับว่า "ไปรษณีย์หอยทาก (snail mail) อืดอาดเป็นธรรมดา".

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และไปรษณีย์อืดอาด · ดูเพิ่มเติม »

เสิร์ชเอนจิน

ร์ชเอนจิน (search engine) หรือ โปรแกรมค้นหา คือ โปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นหาข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต โดยครอบคลุมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่น ๆ ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่โปรแกรมหรือผู้ให้บริการแต่ละร.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และเสิร์ชเอนจิน · ดูเพิ่มเติม »

เคอร์เนล

อร์เนลเชื่อมต่อระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ เคอร์เนล (kernel อ่านว่า เคอร์เนิล เนื่องจากตัว e ไม่ออกเสียง) หมายถึง ส่วนประกอบหลักของระบบปฏิบัติการ ซึ่งคอยดูแลบริหารทรัพยากรของระบบ และติดต่อกับฮาร์ดแวร์และ ซอฟต์แวร์ เนื่องจากว่าเป็นส่วนประกอบพื้นฐานของระบบปฏิบัติการ เคอร์เนล นั้นเป็นฐานล่างสุดในการติดต่อกับทรัพยากรต่างๆ เช่น หน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง และ อุปกรณ์อินพุตและเอาต์พุต.

ใหม่!!: คำสร้างใหม่และเคอร์เนล · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

การบัญญัติศัพท์ศัพท์บัญญัติบัญญัติศัพท์คำใหม่

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »