โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คันจิ

ดัชนี คันจิ

ันจิ เป็นอักษรจีนที่ใช้ในระบบการเขียนภาษาญี่ปุ่นในปัจจุบัน จัดอยู่ในประเภทอักษรคำ (Logograms) ใช้ร่วมกับตัวอักษร อีก 4 ประเภท ได้แก่ ฮิรางานะ (ひらがな, 平仮名 Hiragana) คะตาคานะ (カタカナ, 片仮名 Katakana) โรมะจิ (ローマ字 Rōmaji) และตัวเลขอารบิก คำว่า "คันจิ" หากอ่านตามเสียงภาษาจีนกลางจะอ่านว่า "ฮั่นจื้อ" มีความหมายว่า ตัวอักษรของชาวฮั่น อันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศจีน คำว่าภาษาจีนในภาษาจีนเอง ก็เรียกว่า ภาษาฮั่น (ภาษาจีนกลาง: 漢語, hànyǔ) เช่นกัน.

147 ความสัมพันธ์: ชาฮังชิ (ち)ชิ (し)ชิบะ (เมือง)ชิชะโมะ (วงดนตรี)ชินอิชิ อิชิฮะระชินจิไตชินโตชื่อบุคคลญี่ปุ่นฟุริงะนะฟูริงกะซันการสอบวัดระดับความสามารถทางภาษาญี่ปุ่นการถอดเสียงการทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่นกาอาระภาษาญี่ปุ่นภาษาญี่ปุ่นโบราณภาษาเกาหลีไซนิชิมะชิโกะ โทะโยะชิมะมะยุมิ โชมันโยงะนะมาสค์ไรเดอร์ดับเบิลมาตราชั่งตวงวัดของญี่ปุ่นมิชิเอะ โทะมิซะวะยุมิ คะกะซุยุริ ชิระโตะริยุคเซ็งโงกุยูอิรหัสคิวอาร์รายชื่อตัวละครในบ้านของเสียงหัวใจรายชื่อตัวละครในวัยซนคนการ์ตูนรายชื่อตัวละครในฮายาเตะ พ่อบ้านประจัญบานรายชื่อตัวละครในทูเลิฟรูรายชื่อตัวละครในซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์รายชื่อตัวละครในนินจาคาถาโอ้โฮเฮะรายชื่อตัวละครในเซียนเกมรักขอเป็นเทพนักจีบรายชื่อโจโยกันจิรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะรีวกีวริกะ ฟุกะมิริกิยะ โคะยะมะรุมิ คะซะฮะระลัทธิโอมชินริเกียววะกะนะ ยะมะซะกิวะตะรุ ทะกะงิวัดนิตไตสกูลรัมเบิ้ล สูตรรักฉบับนักเรียนสึ (คะนะ)ส้วมในประเทศญี่ปุ่นอะอักษรญี่ปุ่น...อักษรฮันจาอักษรจีนอากิยามะ มิโอะอิอิชิกะวะ โกะเอะมงอุ (คะนะ)องเมียวฮะรุกะ โทะมะสึฮิฮิระงะนะฮิโรมิ สึรุฮิโระโกะ เอะโมะริฮิเดะกะซุ อิชิโนะเซะฮิเดะยุกิ โฮะริจักรวรรดิญี่ปุ่นจื๋อโนมจู้อินถนนสายนี้ เปรี้ยวทะทะนะกะทัตสึโนโกะ vs. แคปคอม: อัลติเมตออล-สตาร์สขบวนการไฟฟ้า เด็นจิแมนดิอะเมซิ่งเรซ: Ha'Merotz La'Millionคะคะตะกะนะคันจิคิคิมิ โตะ โบะกุคิมิงะโยะคุคุนิฮิโกะ ยูยามะคุโนะอิชิคู เฟยคีว ซะกะโมะโตะตำนานคนตัดไผ่ซะซะชิ ทะอินะกะซะกุระ ทังเงะซามูไรซาวาจิกะ เอริซุซุริโมะโนะซง โกคูซนโนโจอิประเทศญี่ปุ่นนาโงยะนินจานินจุสึแผนภูมิสวรรค์แผ่นดินไหวใหญ่ฮันชิน พ.ศ. 2538แคลมป์โกะมัตโตโรมาจิโลกของนินจาคาถาโอ้โฮเฮะโอะโอะกุริงะนะโอะโดะริจิโอซากะโอเซจิโจโยกันจิโทะโทะชิยุกิ โมะริกะวะโทะชิโกะ ฟุจิตะโทะโมะกะซุ เซะกิโคะโคะโตะโนะ มิสึอิชิโคเบะโซะโนะบุยุกิ ฮิยะมะไลต์โนเวลไอกิโดไดโงะฮนซงเมะงุมิ ฮะยะชิบะระเมงุมิ อุราวะเยนเรียว ซากาซากิเรียวโกะ ชิระอิชิเสียงผสมเสียดแทรก ปุ่มเหงือกกับเพดานแข็ง ไม่ก้องเสียงนาสิก ลิ้นไก่เอะเอะมิ ชิโนะฮะระเจ้าสาวของผมเป็นพระเจ้าแสนสวยเจ้าหญิงไอโกะ เจ้าหญิงโทชิเทะเทะสึยะ อิวะนะงะเคฮันชิงเคะเคียวอิกุกันจิเต่าดำ (เทพปกรณัม)เซะเซ็ปปุกุเซเน็งเนะซุมิ โคโซCh (ทวิอักษร)CJKX漢字 ขยายดัชนี (97 มากกว่า) »

ชาฮัง

ังของภัตตาคารแห่งหนึ่งในนะฮะ จังหวัดโอะกินะวะ การผัดชาฮัง ข้าวผัดกิมจิโปะด้วยไข่ดาวยางมะตูม ชาฮัง เป็นข้าวผัดแบบญี่ปุ่น มีส่วนประกอบหลักคือข้าว ผัดเข้ากับส่วนผสมอื่น ๆ และทำให้สุกในกระทะ คาดว่าชาฮังเกิดขึ้นราวปี..

ใหม่!!: คันจิและชาฮัง · ดูเพิ่มเติม »

ชิ (ち)

ป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า ち มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 知 และคะตะกะนะเขียนว่า チ มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 千 ออกเสียงว่า แต่ในการพูดจริงอาจแปรเป็น เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า หรือ แต่ในการพูดจริงอาจแปรเป็น หรือ (ぢ ออกเสียงเหมือน じ แต่มีที่ใช้น้อยกว่า) เสียงอ่านที่เปลี่ยนไปจากปกติเนื่องจากเหตุผลทางสัทศาสตร์ チ, ヂ ในบางโอกาสก็ใช้ทับศัพท์ ti, di ตามลำดับ และ ヂ บางครั้งก็ใช้แทนเสียง ที่มาจากภาษาต่างประเทศโดยการแปรเสียงสระ ち เป็นอักษรลำดับที่ 17 อยู่ระหว่าง た (ทะ) กับ つ (สึ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ ち เป็นอักษรลำดับที่ 8 อยู่ระหว่าง と (โทะ) กับ り (ริ).

ใหม่!!: คันจิและชิ (ち) · ดูเพิ่มเติม »

ชิ (し)

ป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า し มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 之 และคะตะกะนะเขียนว่า シ มีที่มาจากการดัดแปลงตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 之 ออกเสียงว่า แต่ในการพูดจริงอาจแปรเป็น เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า หรือ แต่ในการพูดจริงอาจแปรเป็น หรือ เสียงอ่านที่เปลี่ยนไปจากปกติเนื่องจากเหตุผลทางสัทศาสตร์ คะตะกะนะที่เติมดะกุเต็ง ジ นิยมใช้แทนเสียง ที่มาจากภาษาต่างประเทศโดยการแปรเสียงสระ ในบางโอกาสที่พบได้น้อยใช้ทับศัพท์ di แทนที่จะใช้ ヂ หรือ ディ เช่น Aladdin ทับศัพท์ว่า アラジン (อะระจิง) หรือ radio ทับศัพท์ว่า ラジオ (ระจิโอะ) เป็นต้น し เป็นอักษรลำดับที่ 12 อยู่ระหว่าง さ (ซะ) กับ す (ซุ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ し เป็นอักษรลำดับที่ 42 อยู่ระหว่าง み (มิ) กับ ゑ (เวะ).

ใหม่!!: คันจิและชิ (し) · ดูเพิ่มเติม »

ชิบะ (เมือง)

นครชิบะ เป็นเมืองเอกของจังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น อยู่ห่างจากศูนย์กลางของกรุงโตเกียวไปทางตะวันตกเฉียงใต้ราว 40 กิโลเมตร นครชิบะได้รับสถานะเป็น นครโดยรัฐบัญญัติ ในปี..

ใหม่!!: คันจิและชิบะ (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

ชิชะโมะ (วงดนตรี)

มะ (SHISHAMO., ภาษาญี่ปุ่น: シシャモ หรือ ししゃも, ภาษาไทย ชิชาโมะ) คือ วงดนตรีแนวอินดี้ร๊อค/อัลเทอร์เนทีฟร๊อค/ร็อก/เจ-ป๊อป เครื่องดนตรี 3 ชิ้น (3 Piece Band) จากประเทศญี่ปุ่น ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2010 ในขณะที่สมาชิกในวงกำลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมปลาย ที่โรงเรียน 崎総合科学高等学校 (Kawasaki City High School for Science and Technology) ที่เมืองคะวะซะกิ จังหวัดคะนะงะวะ ประเทศญี่ปุ่น และมีอัลบั้มแรกในปี 2012 โดยชื่อดั้งเดิมนั้น เขียนด้วยตัวอักษรคันจิ 柳葉魚 (อ่านว่า ชิชะโมะ) แต่เนื่องจากอ่านยาก จึงตัดสินใจใช้ตัวอักษรละติน ว่า SHISHAMO แทน เนื้อเพลงของวง SHISHAMO จะเน้นไปที่เพลงรักเป็นหลัก โดยเฉพาะรักในวัยเรียน คล้ายกับเรื่องราวในโชโจะมังกะ โดยต้องการเขียนเพลงรักในหลายๆรูปแบบและปรารถนาให้ผู้ฟังทุกคนได้ฟังเพลงรักที่ตรงกับชีวิตรักของผู้ฟังเอง.

ใหม่!!: คันจิและชิชะโมะ (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

ชินอิชิ อิชิฮะระ

นอิชิ อิชิฮะระ (คันจิ: 石原 慎一, ฮิรางานะ: いしはら しんいち)เป็นนักร้องชายชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2503 โดยส่วนใหญ่มักจะร้องเพลง ภาพยนตร์แนวโทคุซัทสึและเพลงแนวต่าง ๆ ส่วนเพลงที่ดังคือ เกราะเหล็กบี-ไฟเตอร์, ดราก้อนบอล Z, ขบวนการนักสู้, มาสค์ไรเดอร์ และ ดิสนีย์ เฮาส์ออฟเมาส์ ปัจจุบันอยู่ในสังกัด โคลัมเบียมิวสิกเอนเตอร์เทนเมนต.

ใหม่!!: คันจิและชินอิชิ อิชิฮะระ · ดูเพิ่มเติม »

ชินจิไต

นจิไต (ชินจิไต: 新字体; คีวจิไต: 新字體; แปลว่า อักษรแบบใหม่) เป็นรูปแบบของตัวอักษรคันจิที่ใช้ในประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่การประกาศใช้ชุดอักษรโทโยคันจิ (当用漢字 Tōyō kanji) หรือ "คันจิที่ใช้ทั่วไป" ที่ใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2489 ตัวอักษรชินจิไตบางตัวเป็นตัวอักษรเดียวกับอักษรจีนตัวย่อ แต่อักษรชินจิไตจะมีหลักการย่อตัวอักษรที่แคบกว่าอักษรจีนตัวย่อ อย่างไรก็ตาม อักษรคันจิของญี่ปุ่นในปัจจุบันส่วนใหญ่มีความคล้ายคลึงกับอักษรจีนตัวเต็มมากกว่า แต่มีจำนวนน้อยกว่าตัวอักษรจีนที่ใช้กันในภาษาจีนในปัจจุบันหลายเท่า เนื่องจากมีคำในภาษาญี่ปุ่นจำนวนมากต้องเขียนด้วยอักษรฮิระงะนะเท่านั้น เช่น คำง่ายๆ และคำช่วย เป็นต้น และยังมีคำที่ต้องเขียนด้วยอักษรคะตะคะนะ เช่น คำเลียนเสียงธรรมชาติ คำทับศัพท์ และชื่อสัตว์บางชนิด เป็นต้น อักษรแบบชินจิไต สร้างมาจากการย่อจำนวนขีดของอักษรแบบคีวจิไต (旧字体/舊字體 Kyūjitai) หรืออักษรแบบเก่า ซึ่งเทียบได้กับอักษรจีนตัวเต็ม (ในภาษาญี่ปุ่นจะเรียกว่า “เซจิ” (正字 seiji) แปลว่าอักษรที่ถูกต้อง) หลักการย่อ คือ จะย่อส่วนขวาของอักษรคันจิที่เรียกว่า “ทสึคุริ” (旁 tsukuri) ซึ่งเป็นส่วนบอกเสียงองของคันจิตัวนั้น โดยนำตัวอักษรที่มีเสียงองเดียวกัน แต่มีจำนวนขีดน้อยกว่ามาใส่แทน อีกวิธีหนึ่ง คือ ย่ออักษรส่วนที่เขียนซับซ้อน ด้วยตัวที่เขียนง่ายกว่า (จำนวนขีดน้อยกว่า) การย่อตัวอักษร เริ่มมีมาตั้งแต่ช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1950 จนกระทั่งพ.ศ. 2524 ได้มีการประกาศชุดอักษรคันจิที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เรียกว่า โจโยคันจิ (常用漢字 Jōyō kanji) เป็นมาตรฐานของอักษรคันจิในปัจจุบัน.

ใหม่!!: คันจิและชินจิไต · ดูเพิ่มเติม »

ชินโต

ทะริอิ ที่ ศาลเจ้าอิสึกุชิมะ สัญลักษณ์ที่สำคัญของชินโต ชินโต เป็นลัทธิตามความเชื่อเดิมของชาวญี่ปุ่น คำว่า ชินโต มาจากตัวอักษรจีน หรือคันจิ 2 ตัวรวมกัน คือ ชิน หมายถึงเทพเจ้า (ภาษาจีน: 神, พินอิน: shén, เสิน) และ โต หมายถึงวิถีทางหรือศาสตร์วิชา (ภาษาจีน: 道, พินอิน: dào, เต้า) หรือ เต๋า ในลัทธิเต๋านั่นเอง เมื่อรวมกันแล้ว จะหมายถึงศาสตร์แห่งเทพเจ้า หรือวิถีแห่งเทพเจ้า นั่นเอง ชินโตของญี่ปุ่นมีตำนานความเชื่อว่า เทพเจ้ามีมากมายนับไม่ถ้วน ทั้งในป่า บนภูเขา ทะเล แม่น้ำ ลำธาร ในสายลม แม้แต่ในบ้านเรือนและเรือกสวนไร่นาในธรรมชาติที่ที่มีความบริสุทธิ์ล้วนเป็นที่สถิตของเทพเจ้าได้ทั้งสิ้น จึงมีคำที่ว่า "เทพแปดล้านองค์" เป็นการรวมคำเพื่อแสดงว่ามีทวยเทพอยู่มากมาย ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถือให้เป็นลัทธิความเชื่อพื้นเมืองประจำประเทศญี่ปุ่น พิธีกรรมของลัทธิชินโตนี้มาจากวัฒนธรรมท้องถิ่นและธรรมเนียมปฏิบัติต่าง ๆ ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ แต่ก็ไม่ได้ถือเป็นพิธีกรรมอย่างเป็นทางการ จนกระทั่งศาสนาพุทธ และ ลัทธิขงจื๊อ กับ ลัทธิเต๋า รวมทั้งภายหลัง ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ได้เริ่มให้เข้ามาในดินแดนญี่ปุ่น ตั้งแต่ศตวรรษที่ 6 พิธีกรรมของลัทธิชินโตได้ถูกบันทึกและบัญญัติเป็นครั้งแรกในคัมภีร์โคะจิคิ และจดหมายเหตุนิฮงโชะกิ ในศตวรรษที่ 8 เพื่อตอบโต้ศาสนาที่มีระดับความพัฒนามากกว่าจากแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ตาม งานเขียนในยุคแรกๆก็ยังมิได้บ่งบอกว่าเป็น ลัทธิชินโต แต่งานเขียนในสมัยต่อมาก็ได้บ่งชี้อย่างชัดเจน พร้อมขนบธรรมเนียบของสังคมเกษตรกรรมและเทศกาลประจำปีเข้าไปด้วย รวมไปถึงความเชื่อเรื่องเทพปกรณัมและการกำเนิดโลกต่าง ๆ ซึ่งเล่าถึงต้นกำเนิดของชนชาติญี่ปุ่น ส่วนใหญ่จะหมายถึงเชื้อสายยะมะโตะ และอิสึโมะ ในสมัยนั้น พุทธศาสนาได้แพร่จากจีนเข้าสู่ญี่ปุ่น และมีผสมผสานความเชื่อดั้งเดิม อย่างเช่น ความเชื่อเรื่องเทพเจ้าในลัทธิชินโตและความเชื่อเรื่องพระโพธิสัตว์ในศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถูกจัดให้เป็นลัทธิบูชาเทพเจ้าหลายองค์ หรือ พหุเทวนิยม และลัทธิบูชาภูตผีวิญญาณ ที่เน้นความบริสุทธิ์ของพิธีกรรมเป็นอย่างมาก รวมถึงยกย่องเกียรติและความมีตัวตนของเทพเจ้า ซึ่งมีทั้งเทพเจ้าที่มีมาจากการยกบุคคลให้เป็นเทพ หรือการบูชาธรรมชาติ และเทพเจ้ายังสามารถมีลูกได้ด้วย ลัทธิชินโตเป็นลัทธิที่ให้ความสำคัญกับพิธีกรรมทางศาสนาเป็นอันดับหนึ่ง เนื่องจากเป็นวิธีที่จะทำให้ศาสนิกชนเข้าถึงและเป็นหนึ่งเดียวกับเทพเจ้าได้มากที่สุด ลัทธิชินโตยุคใหม่ไม่มีสถาบันที่ที่ยกตัวเป็นผู้ควบคุมส่วนกลาง มีเพียงแต่กลุ่มคนที่พยายามรักษาวิถีปฏิบัติของลัทธิชินโตมาตั้งแต่สมัยบรรพกาลจนถึงปัจจุบัน ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ชินโตได้ถูกยกเลิกจากการเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งในปัจจุบันชินโตเริ่มลดหายไปจากวัฒนธรรมญี่ปุ่น โดยที่ยังเห็นได้ในปัจจุบันได้แก่ โอมิคุจิ (การดึงฉลากเสี่ยงโชคในศาลเจ้าชินโต) และการเฉลิมฉลอง งานปีใหม่ญี่ปุ่น ที่มีจัดขึ้นตามศาลเจ้าชินโต.

ใหม่!!: คันจิและชินโต · ดูเพิ่มเติม »

ชื่อบุคคลญี่ปุ่น

มะดะ ทะโร ชื่อที่นิยมมากสุดของผู้ชายญี่ปุ่น ซึ่งชื่อผู้หญิงคือ ยะมะดะ ฮะนะโกะ ชื่อบุคคลญี่ปุ่น ในปัจจุบันประกอบด้วย ชื่อสกุล และตามด้วยชื่อตัว โดยอาจจะตามหลังด้วยคำอื่น ๆ เช่น คำว่า "ซัง" ที่มีความหมายเหมือนกับคำว่า "คุณ" ชื่อบุคคลญี่ปุ่นนิยมเขียนด้วยตัวอักษรคันจิ ชื่อที่เขียนด้วยตัวอักษรคันจิสามารถอ่านออกเสียงได้หลายแบบ ในบางครั้งจะเขียนอักษรฮิระงะนะอันเป็นตัวอักษรพื้นฐานของภาษาญี่ปุ่น กำกับไว้ในรูปแบบของฟุริงะนะ ชื่อสกุลที่มีมากในญี่ปุ่นได้แก่ ซะโตะ (佐藤) ซุซุกิ (鈴木) และ ทะกะฮะชิ (高橋).

ใหม่!!: คันจิและชื่อบุคคลญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ฟุริงะนะ

ฟูริงานะ คือ คานะตัวเล็ก ๆ ที่เอาไว้ช่วยบอกคำอ่านของคันจิในภาษาญี่ปุ่น ในข้อความตามแนวนอน ฟูริงานะจะวางอยู่บนคันจิ ในข้อความตามแนวตั้ง ฟูริงานะจะอยู่ทางขวาของคันจิดังรูปข้างล่าง ฟูริงานะมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า โยมิงานะ (読み仮名) หรือ รูบิ (ルビ) ในภาษาญี่ปุ่น.

ใหม่!!: คันจิและฟุริงะนะ · ดูเพิ่มเติม »

ฟูริงกะซัน

งฟูริงกะซัน ฟูริงกะซัน (โดยศัพท์แปลว่า "ลม, ป่า, ไฟ, ภุเขา") เป็นชื่อของธงออกศึกประจำกองทัพของทะเกะดะ ชิงเง็น ไดเมียวและขุนศึกผู้มีชื่อเสียงแห่งยุคเซ็งโก.

ใหม่!!: คันจิและฟูริงกะซัน · ดูเพิ่มเติม »

การสอบวัดระดับความสามารถทางภาษาญี่ปุ่น

การสอบวัดระดับความสามารถทางภาษาญี่ปุ่น (Japanese Language Proficiency Test ตัวย่อ JLPT) เป็นการสอบเพื่อวัดผลและรับรองความสามารถทางภาษาญี่ปุ่นของนักศึกษาต่างชาติที่ศึกษาภาษาญี่ปุ่นภายในและนอกประเทศ ถูกจัดขึ้นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) การสอบจะถูกจัดขึ้นในวันอาทิตย์แรกของเดือนธันวาคมในทุก ๆ ปี โดยแบ่งระดับความยากง่ายเป็น 4 ระดับ และมีระดับ 1 เป็นระดับที่มีความยากที่สุด ปัจจุบันได้มีการเปลี่ยนแปลงการสอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่น แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ซึ่งจะเริ่มใช้สอบตั้งแต่เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2553 เป็นต้นไป ในการสอบครั้งที่ 24 ปี..

ใหม่!!: คันจิและการสอบวัดระดับความสามารถทางภาษาญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

การถอดเสียง

การถอดเสียง หรือ การทับศัพท์แบบถ่ายเสียง (Transcription) เป็นระบบในการเขียนเสียงพูดของมนุษย์จากภาษาหนึ่ง เป็นเป็นระบบตัวอักษรในอีกภาษาหนึ่งตามกฎที่วางไว้ เพื่อให้คงเสียงของภาษาต้นฉบับ การถอดเสียงนี้จะแตกต่างกับการทับศัพท์แบบถอดอักษร ซึ่งเปลี่ยนระบบตัวอักษรจากภาษาหนึ่งไปเป็นอีกภาษาหนึ่ง เพื่อให้คงรูปของตัวอักษรมากที่สุดที่เป็นไปได้ เช่นการถอดอักษรซีริลลิกเป็นอักษรละตินสำหรับภาษารัสเซีย (เช่นชื่อ "เลนิน" ในอักษรซีริลลิก Ленин และอักษรละติน Lenin) แม้กระนั้น การถอดเสียงและการถอดอักษรบางครั้งจะถูกใช้ผสมกันซึ่งพบได้ทั่วไปสำหรับการเขียนชื่อที่มาจากภาษาอื่น มาตรฐานที่ใช้ในการทับศัพท์ได้แก่ สัทอักษรสากล และ แซมปา ตารางด้านล่าง แสดงตัวอย่างของการทับศัพท์ โดยมี การทับศัพท์แบบถอดอักษร และสัทอักษรสากลกำกั.

ใหม่!!: คันจิและการถอดเสียง · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่นนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามสำนักงานราชบัณฑิตยสภา (ประกาศใช้เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2561).

ใหม่!!: คันจิและการทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

กาอาระ

กาอาระ เป็นตัวละคร ในการ์ตูนเรื่อง นินจาคาถาโอ้โฮเฮะ โดยชื่อของกาอาระ มาจากภาษาญี่ปุ่นตัวคันจิ 3 ตัว ได้แก่ "กะ" (我 หมายถึง ตัวเอง) "อะ" (愛ใช้แทนคำว่า อะอิ ที่แปลว่า รัก) และ "ระ" (羅 หมายถึง ปีศาจ) เมื่อรวมกันหมายถึง ปีศาจที่รักตนเอง หรือมีความหมายโดยนัยว่า ปีศาจที่รักตนเอง ซึ่งอธิบายลักษณะเฉพาะตัวของกาอาร.

ใหม่!!: คันจิและกาอาระ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาญี่ปุ่น

ษาญี่ปุ่น (日本語) เป็นภาษาทางการของประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมีผู้ใช้ทั่วโลกราว 130 ล้านคน นอกเหนือจากประเทศญี่ปุ่นแล้ว รัฐอังกาอูร์ สาธารณรัฐปาเลา ได้กำหนดให้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่ง นอกจากนี้ภาษาญี่ปุ่นยังถูกใช้ในหมู่ชาวญี่ปุ่นที่ย้ายไปอยู่นอกประเทศ นักวิจัยญี่ปุ่น และนักธุรกิจต่างๆ คำภาษาญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลมาจากภาษาต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะภาษาจีน ที่ได้นำมาเผยแพร่มาในประเทศญี่ปุ่นเมื่อกว่า 1,500 ปีที่แล้ว และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ก็ได้มีการยืมคำจากภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาจีนมาใช้อีกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เช่นคำที่มาจากภาษาดัตช์ ビール (bier แปลว่า เบียร์) และ コーヒー (koffie แปลว่า กาแฟ).

ใหม่!!: คันจิและภาษาญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาญี่ปุ่นโบราณ

ษาญี่ปุ่นโบราณ เป็นภาษาญี่ปุ่นที่ใช้ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 1337 - 1728 (ค.ศ. 794 - 1185) หรือที่เรียกว่ายุคเฮอัง โดยรับสืบทอดมาจากภาษาญี่ปุ่นยุคเริ่มแรกในยุคนาร.

ใหม่!!: คันจิและภาษาญี่ปุ่นโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเกาหลีไซนิชิ

ษาเกาหลีไซนิชิ เป็นภาษาเกาหลีที่ใช้โดยชาวเกาหลีไซนิชิ คือชาวเกาหลีที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในประเทศญี่ปุ่น เนื่องจากชาวเกาหลีที่เข้ามาอาศัยอยู่ในญี่ปุ่นรุ่นแรก ๆ มาจากทางตอนใต้ของคาบสมุทร อาทิ จังหวัดคย็องกี จังหวัดช็อลลาเหนือ-ใต้ และจังหวัดเชจูจึงมีพื้นฐานของภาษาเกาหลีภาคใต้ และจากการที่แยกออกมาจากแผ่นดินแม่ ภาษาเกาหลีไซนิชิจึงรับอิทธิพลจากภาษาญี่ปุ่นเข้ามาค่อนข้างมากจนกลายเป็นเอกลักษณ์ทางภาษาที่ต่างออกไปจากภาษาเกาหลีที่ใช้ในประเทศเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ ภาษาเกาหลีไซนิชิไม่มีระบบการเขียน และรับอิทธิพลจากภาษาญี่ปุ่นอย่างสูงโดยเฉพาะไวยากรณ.

ใหม่!!: คันจิและภาษาเกาหลีไซนิชิ · ดูเพิ่มเติม »

มะชิโกะ โทะโยะชิมะ

มาจิโกะ โทโยชิมะ (คันจิ:豊嶋真千子; ฮิรางานะ:とよしま まちこ) เป็นนักพากย์หญิงที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น เนื่องจากเป็นคนที่มีเสียงหวานและอ่อนโยน บทส่วนใหญ่ที่โทโยชิมะได้รับจึงมักจะเป็นบทสาวเรียบร้อย แต่จริงๆแล้วเธอก็สามารถพากย์บทอื่นๆ เช่น สาวแก่นเซี้ยว ได้ดีเช่นกัน เพื่อนสนิทในวงการของเธอคือ มาริโกะ ซูซูกิ กับ จิซึ โยเนโมโตะ ซึ่งเป็นเพื่อนที่ร่วมพากย์ เซนติเมนทัล กราฟฟิตี้ มาด้วยกัน และนอกจากนี้ก็ยังมี โฮโกะ คุวาชิมะ อีกหนึ่งคน โดยสมัยก่อนโทโยชิมะเคยออกอัลบั้มร่วมกับคุวาชิมะในนามของ GIRLS BE มาแล้ว.

ใหม่!!: คันจิและมะชิโกะ โทะโยะชิมะ · ดูเพิ่มเติม »

มะยุมิ โช

มายูมิ โช (คันจิ:荘真由美; ฮิรางานะ:しょう まゆみ; คำอ่าน: โช มะยุมิ) เป็นนักพากย์หญิงที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น โดยหลังจากที่แต่งงานกับ เคอิจิ นัมบะ ที่เป็นนักพากย์เหมือนกัน เธอก็ลาวงการไปพักใหญ่ๆ แต่ปัจจุบันได้กลับมารับงานพากย์เหมือนเดิมแล้ว.

ใหม่!!: คันจิและมะยุมิ โช · ดูเพิ่มเติม »

มันโยงะนะ

มันโยงะนะ เป็นระบบการเขียนในสมัยโบราณของภาษาญี่ปุ่นโดยอักษรจีนหรือคันจิ ช่วงเวลาที่เริ่มใช้ระบบการเขียนนี้ไม่ทราบแน่ชัด แต่ประมาณกลางคริสต์ศตวรรษที่ 7 ชื่อ "มันโยงะนะ" นี้ ได้จากชื่อหนังสือ “มันโยชู” อันเป็นวรรณกรรมรวมบทกวีในยุคนาระที่เขียนด้วยระบบมันโยงะน.

ใหม่!!: คันจิและมันโยงะนะ · ดูเพิ่มเติม »

มาสค์ไรเดอร์ดับเบิล

มาสค์ไรเดอร์ ดับเบิล เป็นชื่อของ ภาพยนตร์ญี่ปุ่น แนว โทคุซัทสึ ในซีรีส์ มาสค์ไรเดอร์ ประจำปี 2009 (ลำดับที่ 2) เป็นลำดับที่ 20 โดย โตเอะ คัมปะนี และ อิชิโนะโมะริ โปรดักชั่นส์ โดยออกอากาศต่อจากตอนสุดท้ายของ "มาสค์ไรเดอร์ดีเคด" ในวันที่ 6 กันยายน ค.ศ. 2009 จนถึงวันที่ 29 สิงหาคม ค.ศ. 2010 ทางทีวีอาซาฮี ในช่วง ซูเปอร์ฮีโร่ ไทม์ โดยเป็นมาสค์ไรเดอร์ซีรีส์เรื่องแรกที่ทางโตเอะ คัมปะนี และ อิชิโนะโมะริ โปรดักชั่นส์ ได้มีแนวคิดในการออกอากาศมาสค์ไรเดอร์ถึง 2 เรื่องติดต่อกันโดยไม่มีการระงับการสร้างภาพยนตร์แต่อย่างใด อักษรย่อของมาสค์ไรเดอร์ดับเบิลคือ W ซึ่งเป็นคำย่อมาจากมาคำว่า Double โดยเป็นคำเฉพาะที่ใช้ในประเทศญี่ปุ่น จำนวนตอนของมาสค์ไรเดอร์ดับเบิล มีทั้ง 49 ตอน, ตอนพิเศษทางโรงภาพยนตร์ อีก 4 ตอน ได้แก่ มาสค์ไรเดอร์ดีเคด ออลไรเดอร์ส ปะทะ ไดซ็อกเกอร์ (仮面ライダーディケイド オールライダー対大ショッカー),มาสค์ไรเดอร์ x มาสค์ไรเดอร์ W & ดีเคด MOVIE ไทเซน 2010 (仮面ライダー×仮面ライダー W(ダブル)&ディケイド MOVIE大戦2010), มาสค์ไรเดอร์ดับเบิล FOREVER AtoZ / ไกอาเมมโมรี่แห่งชะตากรรม (仮面ライダーW(ダブル) FOREVER AtoZ/運命のガイアメモリ), มาสค์ไรเดอร์ x มาสค์ไรเดอร์ โอซ์ & ดับเบิล FEAT.สคัล MOVIE ไทเซน CORE (仮面ライダー×仮面ライダーオーズ&ダブル feat.スカル MOVIE大戦CORE), ตอนพิเศษทางดีวีดี อีก 2 ตอน ได้แก่ มาสค์ไรเดอร์ดับเบิลRETURNS: มาสค์ไรเดอร์เอเทอร์นัล และ มาสค์ไรเดอร์ดับเบิลRETURNS: มาสค์ไรเดอร์แอ็กเซล ลิขสิทธิ์ในประเทศไทยของมาสค์ไรเดอร์ดับเบิล ทั้งหมดเป็นลิขสิทธิ์ของ DEX ยกเว้น W x Decade มูฟวี่ไทเซน เท่านั้นที่เป็นลิขสิทธิ์ของ Dream Vision ในประเทศไทยได้ออกอากาศที่ช่อง โมเดิร์นไนน์ทีวี เวลา 7.30-8.00น.ในปี..

ใหม่!!: คันจิและมาสค์ไรเดอร์ดับเบิล · ดูเพิ่มเติม »

มาตราชั่งตวงวัดของญี่ปุ่น

ักกันโฮ เป็นชื่อเรียกมาตราชั่งตวงวัดตามประเพณีญี่ปุ่น ชื่อ "ชักกันโฮ" นี้มาจากการประสมระหว่างคำว่า ชะกุ (หน่วยวัดความยาว) และ คัง (หน่วยวัดมวล) มีต้นกำเนิดมาจากจีน สมัยราชวงศ์ซางในช่วงก่อนคริสต์ศักราชราว 13 ศตวรรษ และมีเสถียรภาพมากที่สุดในยุคราชวงศ์โจว และเริ่มแพร่หลายไปในญี่ปุ่น, โชซ็อน และชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งหน่วยการวัดของราชวงศ์ถังได้รับการนำมาใช้อย่างเป็นทางการในญี่ปุ่น ในปี..

ใหม่!!: คันจิและมาตราชั่งตวงวัดของญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

มิชิเอะ โทะมิซะวะ

มิจิเอะ โทมิซาวะ (คันจิ:富沢美智恵; ฮิรางานะ:とみざわ みちえ) เป็นนักพากย์และนักแสดงหญิงที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น เธอเริ่มเข้าสู่วงการนักพากย์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 มีผลงานเป็นที่รู้จักมากมาย แต่บทที่ทำให้เธอมีชื่อเสียงมากที่สุดคือ ฮิโนะ เร หรือ เซเลอร์มาร์ส ในเซเลอร์มูน.

ใหม่!!: คันจิและมิชิเอะ โทะมิซะวะ · ดูเพิ่มเติม »

ยุมิ คะกะซุ

ูมิ คาคาซึ (ฮิรางานะ(ชื่อในวงการ):かかず ゆみ; คันจิ(ชื่อจริง):嘉数由美; คำอ่าน: คะคะซึ ยุมิ) เป็นนักพากย์หญิงชาวญี่ปุ่น เธอเริ่มเข้าสู่วงการนักพากย์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 ซึ่งบทแรกที่ได้พากย์คือ ซาล่า ใน กันดั้มเอ็กซ์ และหลังจากนั้นก็มีผลงานอย่างต่อเนื่องมาตลอด โดยล่าสุด ในปี พ.ศ. 2548 เธอได้รับบทเป็น ชิซุกะ ใน โดราเอมอน ฉบับสร้างใหม.

ใหม่!!: คันจิและยุมิ คะกะซุ · ดูเพิ่มเติม »

ยุริ ชิระโตะริ

ริ ชิระโตะริ (คันจิ:白鳥由里; ฮิรางานะ:しらとり ゆり) เป็นนักพากย์หญิงชาวญี่ปุ่น ด้วยใบหน้าที่น่ารักและน้ำเสียงที่หวานสดใส ทำให้เธอได้รับความนิยมในหมู่แฟนๆผู้ชายอย่างสูง ชิระโตะริเริ่มเข้าวงการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 ผลงานการพากย์เรื่องแรกของเธอ คือ ฮิลด้า ในเรื่อง กรานโซทผู้พิชิต และหลังจากนั้นเธอก็มีผลงานอย่างต่อเนื่องมาตลอด โดยล่าสุดได้รับบทเป็น ซาโยะ ไอซากะ ในเรื่อง คุณครูจอมเวทย์ เนกิมะ! ซึ่งในบรรดานักพากย์ผู้ให้เสียงนักเรียนห้อง 3-A ทั้ง 31 คน เธอเป็นคนที่มีอายุมากที่สุด ชิระโตะริ เป็นเพื่อนที่เรียนจบจากโรงเรียนสอนนักพากย์ นิฮงนาร์เรชัน รุ่นเดียวกับ เท็ตสึยะ อิวานางะ ท้งคู่จึงมีความสนิทสนมกันเป็นพิเศษ ส่วนเพื่อนสนิทคนอื่นๆ ส่วนใหญ่จะเป็นอดีตเพื่อนร่วมค่าย เช่น เมงุมิ ฮายาชิบาระ, โนบุยูกิ ฮิยามะ, โนโซมุ ซาซากิ ฯลฯ นอกจากนี้เธอยังเป็นแฟนทีมเบสบอล เซบุไลออนส์ และเป็นสาวกของ มาซาอากิ โมริ อดีตโค้ชผู้ฝึกสอนของทีมอีกด้ว.

ใหม่!!: คันจิและยุริ ชิระโตะริ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเซ็งโงกุ

ซ็งโงกุ เป็นช่วงเวลาของความไม่สงบใน ญี่ปุ่น อันเกิดจากอำนาจการปกครองของ โชกุนตระกูลอาชิกางะในยุคมูโรมาจิเสื่อมลง ทำให้บรรดาไดเมียวผู้ปกครองแคว้นต่าง ๆ ในญี่ปุ่นต่างพากันตั้งตนเป็นอิสระ โดยเฉพาะไดเมียวที่อยู่ห่างจากเมืองหลวงเกียวโตมาก และทำสงครามกันเอง ทำให้ญี่ปุ่นลุกเป็นไฟ บ้านเมืองไม่มีขื่อแป โชกุนที่เกียวโตไม่สามารถทำอะไรได้เพราะเป็นเพียงหุ่นเชิดของไดเมียวที่มีอำนาจ สมัยเซ็งโงกุเป็นสมัยแห่งวีรบุรุษ โดยเฉพาะวีรบุรุษทั้งสามที่รวมประเทศญี่ปุ่นให้กลับเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งเป็นการสิ้นสุดสมัยเซ็งโงกุ ได้แก่ โอดะ โนบูนางะ, โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ, และ โทกูงาวะ อิเอยาซุ อักษรคันจิของคำว่ายุคเซ็งโงกุ ตรงกับคำว่า "ยุคจ้านกว๋อ" ในภาษาจีน หมายถึง "ยุครณรัฐ" ซึ่งเกิดขึ้นอยู่ในช่วงระหว่าง 477-222 ปีก่อน..

ใหม่!!: คันจิและยุคเซ็งโงกุ · ดูเพิ่มเติม »

ยูอิ

ูอิ หรือ ยุย (ゆい; yui) เป็นชื่อในภาษาญี่ปุ่น สามารถเขียนได้ด้วยอักษรคันจิหลายแบบ และอาจหมายถึง.

ใหม่!!: คันจิและยูอิ · ดูเพิ่มเติม »

รหัสคิวอาร์

รหัสคิวอาร์เก็บข้อมูลยูอาร์แอลของหน้าหลักของวิกิพีเดียภาษาอังกฤษ ผนังอาคารแห่งหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น แสดงภาพรหัสคิวอาร์สำหรับการโฆษณา รหัสคิวอาร์ (QR Code ย่อจาก Quick Response Code) หรือ คิวอาร์โค้ด เป็นเครื่องหมายการค้าของบาร์โค้ดเมทริกซ์ (หรือบาร์โค้ดสองมิติ) เดิมออกแบบสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ในญี่ปุ่น บาร์โค้ดเป็นป้ายสำหรับให้เครื่องอ่านด้วยแสงที่บรรจุข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งของที่ตัวรหัสติดอยู่ รหัสคิวอาร์มีมาตรฐานของหลักการเข้ารหัส 4 แบบ (ตัวเลข อักขระอักษรเลข ไบต์/เลขฐานสอง และคันจิ) สำหรับเก็บข้อมูลดิบ รหัสคิวอาร์ยังเป็นที่นิยมนอกเหนือจากอุตสาหกรรมยานยนต์ เนื่องจากความสามารถในการอ่านเร็วและพื้นที่เก็บข้อมูลที่มากกว่าเมื่อเทียบกับบาร์โค้ดรหัสผลิตภัณฑ์สากล รหัสคิวอาร์นำมาใช้ในการตามรอยผลิตภัณฑ์ การระบุสิ่งของ การระบุเวลา การจัดการเอกสาร และการตลาดทั่วไป รหัสคิวอาร์ประกอบด้วยมอดูลสีดำ (จุดสี่เหลี่ยม) จัดวางในกริดบนพื้นหลังสีขาว ซึ่งสามารถอ่านได้ด้วยเครื่องมืออ่านภาพ (เช่น กล้องถ่ายรูป เครื่องสแกน เป็นต้น) และประมวลผลด้วยกระบวนการแก้ไขข้อผิดพลาดรี้ด-โซโลมอน จนกระทั่งภาพถูกแปลความหมายอย่างเหมาะสม และถอดออกมาจากรหัสที่นำเสนอเป็นภาพในแนวตั้งและแนวนอนจนได้ข้อมูลที่ต้องการ.

ใหม่!!: คันจิและรหัสคิวอาร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในบ้านของเสียงหัวใจ

ตัวละครจากเรื่อง บ้านของเสียงหัวใ.

ใหม่!!: คันจิและรายชื่อตัวละครในบ้านของเสียงหัวใจ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในวัยซนคนการ์ตูน

ต่อไปนี้จะเป็นรายนามของตัวละครจากหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนโทรทัศน์เรื่อง วัยซนคนการ์ตูน แต่งเรื่องโดย ซึงุมิ โอบะ วาดภาพโดย ทาเคชิ โอบาต.

ใหม่!!: คันจิและรายชื่อตัวละครในวัยซนคนการ์ตูน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในฮายาเตะ พ่อบ้านประจัญบาน

ตัวละครจากการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง ฮายาเตะ พ่อบ้านประจัญบาน หมายเหตุ: ชื่อและข้อมูลที่เป็นเสียงภาษาญี่ปุ่น จะอิงจากการออกเสียงของอะนิเมะ ฉบับต้นฉบับโดยรวม ไม่อิงจากการแปลของมังงะ และเสียงพากย์ภาษาไท.

ใหม่!!: คันจิและรายชื่อตัวละครในฮายาเตะ พ่อบ้านประจัญบาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในทูเลิฟรู

ตัวละครจากการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง ทูเลิฟรู.

ใหม่!!: คันจิและรายชื่อตัวละครในทูเลิฟรู · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์

ตัวละครจากการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง ซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต.

ใหม่!!: คันจิและรายชื่อตัวละครในซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในนินจาคาถาโอ้โฮเฮะ

ตัวละครจากเรื่อง นินจาคาถาโอ้โฮเฮะ ชื่อที่เขียนนามสกุลนำหน้าชื่อ ตามต้นฉบับภาษาญี่ปุ่น และสะกดตามต้นฉบับจากหนังสือการ์ตูน ชื่อตัวละครส่วนมากมีที่มาจากชื่อนินจาในประวัติศาสตร์ หรือวรรณกรรมญี่ปุ่น แต่มิได้มีความเกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นใด เป็นตัวละครในการ์ตูนเท่านั้น.

ใหม่!!: คันจิและรายชื่อตัวละครในนินจาคาถาโอ้โฮเฮะ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในเซียนเกมรักขอเป็นเทพนักจีบ

นี่คือ ตัวละครจากการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง เซียนเกมรักขอเป็นเทพนักจี.

ใหม่!!: คันจิและรายชื่อตัวละครในเซียนเกมรักขอเป็นเทพนักจีบ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโจโยกันจิ

กันจิ คือตัวอักษรคันจิ 1,945 ตัวที่กำหนดโดยกระทรวงศึกษาธิการของประเทศญี่ปุ่น ว่าเป็นตัวอักษรคันจิที่ใช้ในชีวิตประจำวันเป็นประจำ.

ใหม่!!: คันจิและรายชื่อโจโยกันจิ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะรีวกีว

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะรีวกีว เริ่มต้นจากพระเจ้าชุนเท็นในศตวรรษที่ 12 ถึงพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายในศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: คันจิและรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะรีวกีว · ดูเพิ่มเติม »

ริกะ ฟุกะมิ

ริกะ ฟุกะมิ (คันจิ:深見梨加; ฮิรางานะ:ふかみ りか; คำอ่าน: ฟุกะมิ ริกะ) เป็นนักพากย์หญิงที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น มีผลงานมากมายเป็นที่รู้จัก โดยเฉพาะบทของ ไอโนะ มินาโกะ หรือ เซเลอร์วีนัส ในเรื่อง เซเลอร์มูน ที่สร้างชื่อให้กับเธอเป็นอย่างมาก แต่โดยปกติแล้ว ผลงานพากย์ของฟุกะมิจะเน้นหนักไปทางฝั่งภาพยนตร์ต่างประเทศมากกว่าอะนิเมะหรือเกม เพื่อนสนิทในวงการของเธอคือ เอมิ ชิโนฮาระ ผู้พากย์เสียงเซเลอร์จูปิเตอร์ ทั้งคู่เกิดในวันเดือนปีเดียวกัน และเคยออกอัลบั้มร่วมกันในนามของ FUNKY TWINS ด้วย ปัจจุบันฟุกะมิแต่งงานแล้ว กับ เอสุเกะ สึดะ นักพากย์และนักแสดงที่มีชื่อเสียงคนหนึ่ง.

ใหม่!!: คันจิและริกะ ฟุกะมิ · ดูเพิ่มเติม »

ริกิยะ โคะยะมะ

thumbnail ริกิยะ โคยามะ (คันจิ:小山力也; ฮิรางานะ:こやま りきや; คำอ่าน: โคะยะมะ ริกิยะ) เป็นนักแสดงและนักพากย์ชายที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น โดยจะมีผลงานการพากย์เน้นหนักไปทางภาพยนตร์ต่างประเทศเสียมาก โดยเฉพาะบทที่ จอร์จ คลูนี่ย์ เป็นผู้แสดง ทำให้ชื่อของเขาเป็นที่รู้จักในหมู่แฟนๆ ภาพยนตร์ต่างประเทศเป็นอย่างดี.

ใหม่!!: คันจิและริกิยะ โคะยะมะ · ดูเพิ่มเติม »

รุมิ คะซะฮะระ

รูมิ คาซาฮาระ (คันจิ:笠原留美; ฮิรางานะ:かさはら るみ; คำอ่าน: คะซะฮะระ รุมิ) เป็นนักพากย์หญิงที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น เธอเป็นเพื่อนที่เรียนจบมาจากโรงเรียนสอนนักพากย์ของอาโอนิโปรดักชัน รุ่นเดียวกับ เมงุมิ โองาตะ ผู้พากย์เสียงคุราม่า ในคนเก่งทะลุโลก และ ชิโฮะ นิอิยามะ ผู้พากย์เสียงเซยะ โค ในเซเลอร์มูน เซเลอร์สตาร.

ใหม่!!: คันจิและรุมิ คะซะฮะระ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิโอมชินริเกียว

ลัทธิโอมชินริเกียว (อังกฤษ: Aum Shinrikyo; ปัจจุบันใช้ชื่อว่า เอลป์ (Aleph)) เป็นลัทธิในประเทศญี่ปุ่นที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2530 โดย มัตซึโมโตะ ชิซูโอะ แต่เรียกกันภายในลัทธิว่า โชโก อะซะฮะระ มีสาวกนับหมื่นคนทั้งในญี่ปุ่นและรัสเซีย สอนให้ใช้การฝึกจิต การเข้าสมาธิ และโยคะ เพื่อให้ถึงการรู้แจ้ง เจ้าลัทธิยังมีความเชื่อเรื่องโลกาวินาศ ต้นทศวรรษ 1990 ได้ออกคำพยากรณ์ว่าจะเกิดภัยพิบัติในญี่ปุ่นและสงครามโลกครั้งที่ 3 ชื่อของลัทธิมาจากศัพท์ภาษาสันสกฤต โอม (ओम्) ตามด้วยตัวหนังสือคันจิ ชินริเกียว (Shinrikyō) ปัจจุบันได้เปลี่ยนชื่อลัทธิเป็น เอลป์ (ʾĀlep) ซึ่งหมายถึงอักษรตัวแรกในภาษาฮีบรู (א) และภาษาฟินิเชีย (10px) ลัทธินี้เป็นที่รู้จักกันไปทั่ว หลังผู้นำของลัทธิปล่อยแก๊สพิษซาริน โจมตีสถานีรถไฟใต้ดินกรุงโตเกียวเมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2538 ทำให้มีผู้เสียชีวิต 12 คน บาดเจ็บมากกว่า 6,000 คน ทำให้ญี่ปุ่นต้องแก้กฎหมายเพิ่มอำนาจให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐในการตรวจสอบป้องกันและให้อำนาจสั่งเลิก และ ยุติลัทธิพิธีที่เห็นว่าอันตราย คัตสึยะ ทาคาฮาชิ ผู้ต้องสงสัยคนสุดท้ายของลัทธิโอมชินริเกียวได้ถูกจับกุม ในวันที่ 15 มิถุนายน..

ใหม่!!: คันจิและลัทธิโอมชินริเกียว · ดูเพิ่มเติม »

วะกะนะ ยะมะซะกิ

วาคานะ ยามาซากิ (คันจิ:山崎和佳奈; ฮิรางานะ:やまざき わかな; คำอ่าน: ยะมะซะกิ วะคะนะ) เป็นนักพากย์หญิงชาวญี่ปุ่น เธอเริ่มเข้าสู่วงการนักพากย์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 โดยบทแรกที่ได้พากย์คือ รัน จากเรื่อง ขบวนการเซเบอร์คิดส์ และหลังจากนั้นก็มีผลงานอย่างต่อเนื่องมาตลอดในหลากหลายบทบาท ทั้งนางเอก นางรอง และนางร้าย ยามาซากิมีเพื่อนสนิทในวงการหลายคนด้วยกัน เช่น อากิระ อิชิดะ, เมงุมิ ฮายาชิบาระ, คัปเป ยามางุจิ, ไดสุเกะ นามิคาวะ, เคนอิจิ ซึซึมูระ นอกจากนี้เธอยังเป็นแฟนของละครเวทีเรื่อง Les Misérables และยังเป็นแฟนตัวยงของ มาอายะ ซากาโมโตะ ซึ่งเป็นผู้แสดงในละครเรื่องนี้ด้ว.

ใหม่!!: คันจิและวะกะนะ ยะมะซะกิ · ดูเพิ่มเติม »

วะตะรุ ทะกะงิ

วะตะรุ ทะกะงิ (คันจิ:高木 渉; ฮิรางานะ:たかぎ わたる; 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2509 —) เป็นนักพากย์ชายที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น มีผลงานมากมายเป็นที่รู้จัก ทั้งในบทบาทของพระเอก ผู้ร้าย และตัวประกอบ สังกัดอาตส์วิชัน.

ใหม่!!: คันจิและวะตะรุ ทะกะงิ · ดูเพิ่มเติม »

วัดนิตไต

วัดคะกุโอซัง นิตไต หรือ วัดญี่ปุ่น-ไทย เป็นวัดพุทธในนครนะโงะยะ จังหวัดไอชิ ประเทศญี่ปุ่น วัดแห่งนี้เป็นวัดพุทธที่ไม่ขึ้นกับสำนักและนิกายใดๆ ทุกวันที่ 21 ของเดือน บริเวณหน้าวัดจะมีการจัดถนนคนเดินขนาดใหญ.

ใหม่!!: คันจิและวัดนิตไต · ดูเพิ่มเติม »

สกูลรัมเบิ้ล สูตรรักฉบับนักเรียน

กูลรัมเบิ้ล สูตรรักฉบับนักเรียน เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวตลก แต่งเรื่องและวาดภาพโดยจิน โคบายาชิ ปัจจุบันกำลังถูกตีพิมพ์ในนิตยสารโชเน็นแม็กกาซีนรายสัปดาห์และแม็กกาซีนสเปเชียลในประเทศญี่ปุ่น และถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนออกแพร่ภาพทางสถานีโทรทัศน์ทีวีโตเกียวตั้งแต่วันที่ 5 ตุลาคม 2547 ถึงวันที่ 29 มีนาคม 2548 นอกจากนี้ยังมีโอวีเอความยาวสองตอนหนึ่งชุด วิดีโอเกมสำหรับเครื่อง เพลย์สเตชัน 2 หนึ่งเกม และละครเวทีภายใต้ชื่อเดียวกันอีกหนึ่งเรื่อง.

ใหม่!!: คันจิและสกูลรัมเบิ้ล สูตรรักฉบับนักเรียน · ดูเพิ่มเติม »

สึ (คะนะ)

ึ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า つ มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 川 และคะตะกะนะเขียนว่า ツ มีที่มาจากตัวเขียนหวัดอีกแบบหนึ่งของมันโยงะนะ 川 ออกเสียงว่า เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า หรือ (づ ออกเสียงเหมือน ず แต่มีที่ใช้น้อยกว่า) เสียงอ่านที่เปลี่ยนไปจากปกติเนื่องจากเหตุผลทางสัทศาสตร์ つ เป็นอักษรลำดับที่ 18 อยู่ระหว่าง ち (ชิ) กับ て (เทะ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ つ เป็นอักษรลำดับที่ 19 อยู่ระหว่าง そ (โซะ) กับ ね (เนะ).

ใหม่!!: คันจิและสึ (คะนะ) · ดูเพิ่มเติม »

ส้วมในประเทศญี่ปุ่น

น้ำที่ถูกออกแบบให้ทำความสะอาดทวารหนักของผู้ใช้ส้วมแบบบิเดต์ ปุ่มควบคุมส้วมญี่ปุ่นสมัยใหม่ ส้วมที่เป็นที่นิยมในประเทศญี่ปุ่นมี 2 แบบ ส้วมประเภทที่เก่าแก่ที่สุดเป็นส้วมแบบนั่งยอง ซึ่งปัจจุบันยังพบเห็นทั่วไปในห้องน้ำสาธารณะ ส่วนส้วมชักโครกและโถฉี่แบบตะวันตกเริ่มแพร่หลายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เทคโนโลยีปัจจุบันนิยมสำหรับส้วมแบบตะวันตกคือส้วมแบบบิเดต์ ซึ่งมีติดตั้งถึงร้อยละ 69 ของครัวเรือนญี่ปุ่น ในญี่ปุ่น ส้วมแบบบิเดต์นี้มักถูกเรียกว่าวอชเลต ซึ่งเป็นยี่ห้อผลิตภัณฑ์ของบริษัท โตโต้ จำกัด และมีความสามารถหลายอย่างเช่น การล้างทวารหนัก การล้างแบบบิเดต์ การอุ่นที่นั่ง และการกำจัดกลิ่น.

ใหม่!!: คันจิและส้วมในประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

อะ

อะ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า あ มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 安 และคะตะกะนะเขียนว่า ア มีที่มาจากส่วนซ้ายของมันโยงะนะ 阿 ออกเสียงว่า แต่ในการพูดจริงอาจแปรเป็น (คล้ายสระ ออ) あ เป็นอักษรลำดับที่ 1 อยู่ก่อน い (อิ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ あ เป็นอักษรลำดับที่ 36 อยู่ระหว่าง て (เทะ) กับ さ (ซะ).

ใหม่!!: คันจิและอะ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรญี่ปุ่น

ก่อน..

ใหม่!!: คันจิและอักษรญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฮันจา

ำว่า ฮันจา ในภาษาเกาหลี ตัวสีแดงเขียนด้วยตัวอักษรฮันจา และตัวสีน้ำเงินเขียนด้วยฮันกึล ฮันจา (ฮันจา: 漢字, ฮันกึล: 한자) หรือ ฮันมุน บางครั้งเรียกว่า อักษรจีน-เกาหลี หมายถึงอักษรจีนที่ยืมมาใช้ในภาษาเกาหลี และออกเสียงเป็นภาษาจีนแต่ในสำเนียงของภาษาเกาหลี ตัวอักษรฮันจาไม่เหมือนตัวอักษรคันจิ ในภาษาญี่ปุ่นที่ถูกปรับปรุงและย่อแบบญี่ปุ่นไปหลายตัว ในขณะที่อักษรฮันจาใช้ตัวอักษรจีนตัวเต็ม มีเพียงส่วนน้อยที่ย่อและใช้เหมือนตัวอักษรคัน.

ใหม่!!: คันจิและอักษรฮันจา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรจีน

รูปอักษรจีนของคำว่า "ฮั่นจื้อ"-คันจิ-ฮันจา-ฮั้นถื่อ (漢字 / 汉字 หมายถึง "อักษรจีน") สีแดงเป็นอักษรจีนตัวย่อ อักษรจีน คืออักษรภาพ (logogram) ที่โดยหลัก ๆ ในปัจจุบันใช้สำหรับเขียนภาษาจีน (เรียกว่า ฮั่นจื้อ) และภาษาญี่ปุ่น (เรียกว่า คันจิ) นอกจากนี้ก็ยังใช้เขียนระบบเลขของภาษาอื่นด้วย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดที่สุดเช่นภาษาเกาหลี (เรียกว่า ฮันจา) และภาษาเวียดนาม (เรียกว่า จื๋อโนม) และยังคงหลงเหลืออยู่ในภาษาเหล่านี้ในบางระดับ อักษรจีนเป็นระบบการเขียนที่ใช้กันมาอย่างต่อเนื่องอันเก่าแก่ที่สุดในโลก นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่เชื่อว่า การเขียนในจีนที่เก่าสุดเริ่มเมื่อ 957 ปีก่อนพุทธศักราช ไม่มีหลักฐานแสดงความเกี่ยวข้องกับการเขียนในบริเวณอื่น ตัวอย่างการเขียนภาษาจีนที่เก่าสุดมีอายุราว 957 – 407 ปี ก่อนพุทธศักราช (ราชวงศ์ซาง) ซึ่งเป็นจารึกบนกระดูกวัวและกระดองเต..

ใหม่!!: คันจิและอักษรจีน · ดูเพิ่มเติม »

อากิยามะ มิโอะ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: คันจิและอากิยามะ มิโอะ · ดูเพิ่มเติม »

อิ

อิ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า い มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 以 และคะตะกะนะเขียนว่า イ มีที่มาจากส่วนซ้ายของมันโยงะนะ 伊 ออกเสียงว่า แต่ในการพูดจริงอาจแปรเป็น หรือ (เหมือนสะกดด้วย ย) ถ้าอิต่อท้ายคะนะที่มีเสียงสระ เอะ จะทำให้เกิดการลากเสียงเป็นสระ เอ い เป็นอักษรลำดับที่ 2 อยู่ระหว่าง あ (อะ) กับ う (อุ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ い เป็นอักษรลำดับที่ 1 อยู่ก่อน ろ (โระ).

ใหม่!!: คันจิและอิ · ดูเพิ่มเติม »

อิชิกะวะ โกะเอะมง

อูกิโยะในสมัยเมจิ) อิชิกาวะ โกเอมง (คันจิ: 石川五右衛門, ฮิรางานะ: いしかわ ごえもん, Ishikawa Goemon, พ.ศ. 2101 - พ.ศ. 2137) นักรบนินจาและจอมโจรที่มีชื่อเสียงในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น ถูกประหารชีวิตหลังจากที่ลอบสังหารโทโยโตมิ ฮิเดโยชิไม่สำเร็จ โกเอมงถูกต้มในน้ำเดือดจนตายพร้อมกับลูกชาย โดยตำนานกล่าวไว้ว่าโกเอมงได้อุ้มลูกชายเหนือน้ำจนกระทั่งตัวตาย อ่างอาบน้ำที่มีรูปทรงกะทะในประเทศญี่ปุ่นได้ตั้งชื่อตามว่าโกเอมงบูโระ โกเอมงได้มาเป็นตำนานพื้นบ้านของญี่ปุ่น และเป็นตัวละครที่นิยมนำมาเล่นในละครคาบุกิ โดยเฉพาะตอนต่อสู้ที่ด่านนันเซนจิในเกียวโต.

ใหม่!!: คันจิและอิชิกะวะ โกะเอะมง · ดูเพิ่มเติม »

อุ (คะนะ)

อุ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า う มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 宇 และคะตะกะนะเขียนว่า ウ มีที่มาจากส่วนบนของมันโยงะนะ 宇 ออกเสียงว่า แต่ในการพูดจริงอาจแปรเป็น (คล้ายสระ อึ) หรือ (เหมือนสะกดด้วย ว) ถ้าอุต่อท้ายคะนะที่มีเสียงสระ โอะ จะทำให้เกิดการลากเสียงเป็นสระ โอ อุสามารถเติมดะกุเต็งได้เป็น ゔ, ヴ (วุ หรือ vu) ใช้แสดงเสียงภาษาต่างประเทศ ซึ่งตามธรรมเนียมทับศัพท์ด้วย ブ (บุ) และคะนะในกลุ่ม บ สำหรับสระเสียงอื่น う เป็นอักษรลำดับที่ 3 อยู่ระหว่าง い (อิ) กับ え (เอะ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ う เป็นอักษรลำดับที่ 24 อยู่ระหว่าง む (มุ) กับ ゐ (วิ).

ใหม่!!: คันจิและอุ (คะนะ) · ดูเพิ่มเติม »

องเมียว

องเมียวโด หรือในประเทศไทยนิยมเรียกว่า องเมียว คือ รูปแบบวิชาเวทมนตร์โบราณแขนงหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งมีรากฐานมาจากโหราศาสตร์และลัทธิเต๋าในประเทศจีน.

ใหม่!!: คันจิและองเมียว · ดูเพิ่มเติม »

ฮะรุกะ โทะมะสึ

รุกะ โทะมะสึ (คันจิ: 戸松 遥) เป็นนักร้อง และ นักพากย์หญิงในประเทศญี่ปุ่น สังกัด Music Ray'n.

ใหม่!!: คันจิและฮะรุกะ โทะมะสึ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิ

ひ ในตัวอักษรฮิระงะนะ หรือ ヒ ในตัวอักษรคะตะกะนะ, คือหนึ่งในตัวอักษณคะนะของญี่ปุ่น.

ใหม่!!: คันจิและฮิ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิระงะนะ

รางานะ คือ อักษรในภาษาญี่ปุ่น ซึ่งเป็นหนึ่งในสามของอักษรญี่ปุ่นที่ใช้ในปัจจุบันควบคู่กับคาตากานะและคันจิ ฮิรางานะและคาตากานะเป็นระบบคานะที่ตัวอักษรหนึ่งตัวแสดงถึงหนึ่งเสียง ในแต่ละ "คานะ" สามารถเป็นได้ทั้งในรูปสระและตัวสะก.

ใหม่!!: คันจิและฮิระงะนะ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิโรมิ สึรุ

ณฮิโรมิ สึรุ ฮิโรมิ สึรุ (คันจิ:鶴ひろみ; ฮิรางานะ:つる ひろみ; 29 มีนาคม พ.ศ. 2503 - 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560) เป็นนักพากย์หญิงชาวญี่ปุ่น ซึ่งอยู่ในวงการพากย์มานานกว่า 20 ปี ให้เสียงตัวละครมาแล้วมากมายหลากหลายบทบาท ผลงานเรื่องแรกของเธอคือ Perrine Monogatari (พ.ศ. 2521) โดยรับบทเป็น Perrine ตัวเอกของเรื่อง ฮิโรมิ สึรุ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 16 พฤศจิยายน 2560 โดยได้พบเธออยู่ในรถยนต์ส่วนตัว นั่งอยู่ในสภาพหมดสติและถูกส่งตัวไปที่โรงพยาบาล หลังจากนั้นแพทย์ได้ยืนยันว่าเธอได้เสียชิวิตลงแล้วด้วยวัย 57 ปี.

ใหม่!!: คันจิและฮิโรมิ สึรุ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิโระโกะ เอะโมะริ

ระโกะ เอะโมะริ (คันจิ:江森浩子; ฮิระงะนะ:えもり ひろこ) เป็นนักพากย์หญิงของประเทศญี่ปุ่น เกิดเมื่อวันที่ 27 มกราคม ที่จังหวัดไซตามะ ประเทศญี่ปุ่น สังกัดค่ายอาโอนิโปรดักชัน สามารถพากย์เสียงได้หลากหลายบทบาท ไม่ว่าจะเป็นเด็กผู้ชาย เด็กสาว หรือแม้แต่หญิงแก.

ใหม่!!: คันจิและฮิโระโกะ เอะโมะริ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิเดะกะซุ อิชิโนะเซะ

ซุ อิจิโนเสะ (คันจิ: 市瀬 秀和) มีชื่อเล่นว่า อิจิ (เป็นชื่อที่มาจากคำขึ้นต้นนามสกุล) อิจิเป็นนักพากย์ที่มีชื่อเสียงคนนึงของญี่ปุ่น ผลงานสร้างชื่อของเขาคือการพากย์ตัวละคร โกคุเดระ ฮายาโตะ จากเรื่อง ครูพิเศษ จอมป่วน รีบอร์น นอกจากงานนักพากย์ อิจิยังเป็นนายแบบและนักแสดงทั้งโฆษณา หนัง และละครเวทีเช่นกัน โดยส่วนมากในด้านการแสดงอิจิมักจะได้รับบทเป็นซามูไร เหนื่องจากเขามีทักษะทั้งในการฟันดาบ(ขั้น4) ยิงธนู ขี่ม้า และคาราเต้ ปจุบันอิจิอาศัยอยู่ในเมืองโตเกียวกับสุนัขของเขาที่มีชื่อว่าฮายาเตะ และยังคงเล่นละครเวทีตามโรงละครใหญ่ในโตเดียวโดยเขาจะได้รับบทเด่นเป็นส่วนมาก ส่วนผลงานล่าสุดในงานพากย์ของเขาตอนนี้คือการพากย์ตัวละคร ซาโต้ ฮิเดะ พระเอกจากการ์ตูนเรื่อง Poyopoyo kansatsu nikki ซึ่งเกิดกระแสเปรียบเทียบระหว่างบทฮิเดะและโกคุเดระว่า ทั้งสองตัวละครมีอะไรๆหลายอย่างที่คล้ายกันคือ ทรงผม นิสัยขี้โวยวาย และไม่ถูกกันกับแมว นอกจากนี้ตัวละครก็มีชื่อว่า"ฮิเดะ"ซึ่งเป็นชื่อคล้ายชื่อจริงของอิจิ ทำให้หลายคนตั้งข้อสังเกตว่าตัวละครซาโต้ ฮิเดะ เป็นตัวละครมีเพื่อให้อิจิพากย์โดยเฉพาะ ภาพของฮิเดคาซ.

ใหม่!!: คันจิและฮิเดะกะซุ อิชิโนะเซะ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิเดะยุกิ โฮะริ

ูกิ โฮริ (คันจิ:堀 秀行; ฮิรางานะ:ほり ひでゆき; คำอ่าน: โฮะริ ฮิเดะยุกิ) เป็นนักพากย์ชายที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของประเทศญี่ปุ่นที่อยู่ในวงการมานานหลายปี และมีผลงานเป็นที่รู้จักมากมาย แถมพี่ชายของเขา ยูกิโทชิ โฮริ ก็เป็นนักพากย์ด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: คันจิและฮิเดะยุกิ โฮะริ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิญี่ปุ่น

ักรวรรดิญี่ปุ่น หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ มหาจักรวรรดิญี่ปุ่น เป็นจักรวรรดิที่อยู่ทางตะวันออกที่สุดและเป็นหนึ่งในมหาอำนาจของโลก ในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 สถาปนาขึ้นภายหลังจากการปฏิรูปเมจิ เมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ใหม่!!: คันจิและจักรวรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จื๋อโนม

ื๋อโนม (chữ Nôm, 字喃/𡨸喃/𡦂喃) เป็นระบบอักษรที่ใช้เขียนภาษาเวียดนาม ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว จื๋อโนมประกอบด้วยอักษรจีน ("ฮั่นจื้อ" เรียกเป็นภาษาเวียดนามว่า "ฮ้านตึ" - Hán tự) และอักขระที่ประดิษฐ์ขึ้นตามแบบอักษรจีน ตัวอย่างที่เก่าที่สุดอยู่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 มักนิยมใช้เฉพาะในหมู่ชนชั้นสูงของเวียดนาม โดยส่วนใหญ่ใช้บันทึกวรรณคดีเวียดนาม (งานเขียนที่เป็นทางการส่วนใหญ่จะใช้ภาษาจีนแบบแผน ไม่ใช่ภาษาเวียดนาม) ปัจจุบันถือว่าถูกแทนที่โดยสมบูรณ์ด้วยจื๋อโกว๊กหงือซึ่งดัดแปลงจากอักษรละติน.

ใหม่!!: คันจิและจื๋อโนม · ดูเพิ่มเติม »

จู้อิน

ู้อินพื้นฐาน เทียบกับพินอิน จู้อิน หรือ จู้อินฝูเฮ่า (แปลว่า เครื่องหมายกำกับเสียง) เป็นระบบสัทอักษรสำหรับการถอดเสียงในภาษาจีน โดยเฉพาะภาษาจีนกลาง เป็นระบบกึ่งพยางค์ที่มีใช้อย่างกว้างขวางในสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ประกอบด้วยอักษร 37 ตัวและวรรณยุกต์ 4 ตัว ซึ่งเพียงพอที่จะใช้ถอดเสียงที่เป็นไปได้ในภาษาจีนกลาง ถึงแม้ว่าจู้อินจะถูกจัดว่าเป็นชุดตัวอักษร (alphabet) อย่างหนึ่ง ระบบนี้ก็ไม่ได้ประกอบด้วยพยัญชนะกับสระ แต่ประกอบด้วยต้นพยางค์ (syllable onset) กับสัมผัสพยางค์ (syllable rime) ระบบนี้มีพื้นฐานจากตารางสัมผัส (rime table) ของภาษาจีน แต่ใช้เครื่องหมายเสริมสัทอักษร (diacritics) แทนเสียงวรรณยุกต์แยกออกจากเสียงสัมผัส ในฐานะชุดตัวอักษร พยัญชนะต้นพยางค์มีอักษรใช้แทน 21 ตัว ที่เหลือเป็นสระเดี่ยว สระประสม และสระที่มีพยัญชนะสะกดซึ่งใช้อักษรแตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น luan จะเขียนเป็น ㄌㄨㄢ (l-u-an) ซึ่งอักษรตัวสุดท้ายใช้แทนสระที่มีพยัญชนะสะกด -an ทั้งชุด เป็นต้น (อย่างไรก็ตาม พยัญชนะสะกด -p, -t, -k ไม่มีการใช้ในภาษาจีนกลาง แต่มีในสำเนียงอื่น สามารถเขียนเป็นตัวห้อยของพยัญชนะเหล่านี้หลังเสียงสระแทน) ในภาษาพูดทุกวันนี้ จู้อินมักถูกเรียกว่า ปอพอมอฟอ (ㄅㄆㄇㄈ: bopomofo) ซึ่งเป็นอักษรชุดแรกในระบบนี้ เอกสารอย่างเป็นทางการในบางโอกาสจะเรียกว่า Mandarin Phonetic Symbols I (國語注音符號第一式) หรือย่อเป็น MPS I (注音一式) ซึ่งชื่อนี้ไม่ค่อยปรากฏการใช้ในภาษาอื่น เลขโรมันที่ปรากฏหลังชื่อมีไว้เพื่อแยกแยะออกจากระบบ MPS II ที่คิดค้นขึ้นในยุคเดียวกันแต่ไม่มีการใช้งานแล้วในปัจจุบัน.

ใหม่!!: คันจิและจู้อิน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสายนี้ เปรี้ยว

นนสายนี้ เปรี้ยว (Kimagure Orange Road) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ว่าด้วยเรื่องรักสามเส้าของนักเรียนมัธยมปลาย เขียนโดย อิสุมิ มัตซึโมโต้ ตีพิมพ์ลงในนิตยสารการ์ตูนโชเน็นจัมป์ของญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2527 และสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจได้รับลิขสิทธิ์พิมพ์จำหน่ายในประเทศไทย ภายหลังได้ถูกสร้างเป็นอะนิเมะ เริ่มออกฉายที่ญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2530 โดยแบ่งเป็นภาคที่ฉายทางโทรทัศน์ 48 ตอน ภาคโอวีเอ 8 ตอน และภาคที่ฉายทางโรงภาพยนตร์อีก 2 ตอน ส่วนภาคล่าสุดที่สร้างในปี พ.ศ. 2540 เป็นภาคต่อจากตอนจบในอีก 3 ปี ข้างหน้าของตอนจบในภาคปกติ ในประเทศไทย ถนนสายนี้ เปรี้ยว ภาคที่ฉายทางโทรทัศน์ (และโอวีเออีก 8 ตอน) ออกวางจำหน่ายในรูปแบบวิดีโอโดยบริษัท วิดีโอสแควร์ และเคยออกอากาศทางช่อง 3 โดยใช้ชื่อเรื่องว่า "หนุ่มเฟื่อง สาวเฟี้ยว" ส่วนภาคพิเศษที่สร้างในปี 2540 เคยออกอากาศทางช่อง 9 ช่วงวันหยุดนักขัตฤกษ.

ใหม่!!: คันจิและถนนสายนี้ เปรี้ยว · ดูเพิ่มเติม »

ทะ

ทะ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า た มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 太 และคะตะกะนะเขียนว่า タ มีที่มาจากส่วนบนของมันโยงะนะ 多 ออกเสียงว่า เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า た เป็นอักษรลำดับที่ 16 อยู่ระหว่าง そ (โซะ) กับ ち (ชิ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ た เป็นอักษรลำดับที่ 16 อยู่ระหว่าง よ (โยะ) กับ れ (เระ).

ใหม่!!: คันจิและทะ · ดูเพิ่มเติม »

ทะนะกะ

ทะนะกะ เป็นนามสกุลคนญี่ปุ่นที่นิยมใช้มากที่สุดอันดับ 4 สามารถเขียนเป็นคันจิได้หลายแบบ ได้แก่ 田中 (ทุ่งนา + กลาง), 多中 (มาก + กลาง), 多仲 (มาก + ความสัมพันธ์), 他中 (เขา (สรรพนามบุรุษที่สาม) + กลาง), 棚下 (ชั้นวาง + ต่ำ), 棚夏 (ชั้นวาง + ฤดูร้อน), 多名賀 (มาก + ชื่อ + การแสดงความยินดี) ฯลฯ ทะนะกะ อาจหมายถึง; บุคคล.

ใหม่!!: คันจิและทะนะกะ · ดูเพิ่มเติม »

ทัตสึโนโกะ vs. แคปคอม: อัลติเมตออล-สตาร์ส

ทัตสึโนโกะ vs.

ใหม่!!: คันจิและทัตสึโนโกะ vs. แคปคอม: อัลติเมตออล-สตาร์ส · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการไฟฟ้า เด็นจิแมน

วนการไฟฟ้า เดนจิแมน หรือ ขบวนการ 5 มนุษย์ไฟฟ้า (คันจิ: 電子戦隊デンジマン, ฮิรางานะ: でんしせんたいデンジマン) เป็นภาพยนตร์แนวขบวนการนักสู้ ลำดับที่ 4 ของประเทศญี่ปุ่น ออกอากาศทางสถานี ทีวีอาซาฮี ทุกวันเสาร์ เวลา 18.00-18.30 น. ตามเวลาประเทศญี่ปุ่น โดยเริ่มออกอากาศตั้งแต่เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 ถึง 31 มกราคม พ.ศ. 2524 รวมความยาวทั้งสิ้น 51 ตอน และมีตอนพิเศษสำหรับออกฉายในโรงภาพยนตร์อีก 1 ตอน (ออกฉาย 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2523) เดนจิแมนเป็นขบวนการนักสู้เรื่องแรกที่ได้เข้ามาฉายในประเทศไทย ทางช่อง 7 โดยใช้ชื่อว่า "ขบวนการ 5 มนุษย์ไฟฟ้า" และลิขสิทธิ์ในการจัดจำหน่ายรูปแบบวิดีโอคือ บริษัท วิดีโอสแควร์ จำกั.

ใหม่!!: คันจิและขบวนการไฟฟ้า เด็นจิแมน · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ: Ha'Merotz La'Million

อะเมซิ่ง เรซ: Ha'Merotz La'Million (המירוץ למיליון‎; The Race to the Million; ดิ อะเมซิ่ง เรซ: การแข่งขันสู่เงินล้าน) เป็นเวอร์ชันอิสราเอลของรายการเรียลลิตี้โชว์ชื่อดังของสหรัฐอเมริกาที่ชื่อ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นรายการแข่งขันเดินทางรอบโลกโดยมีผู้เข้าแข่งขันทั้งหมด 10 คู่ และทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านเชเกล รายการนี้มีการผลิตและออกอากาศทางช่อง Reshet Channel 2 ของเครือข่ายโทรทัศน์อิสราเอล Reshet โดยเริ่มออกอากาศในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 และออกอากาศทุกวันพฤหัสบดี ในเวลา 21 นาฬิกา (เวลามาตรฐานอิสราเอลที่ใช้ DST ตรงกับเวลา 18 นาฬิกาของ GMT) และมีพิธีกรประจำรายการคือราซ เมอร์แมน.

ใหม่!!: คันจิและดิอะเมซิ่งเรซ: Ha'Merotz La'Million · ดูเพิ่มเติม »

คะ

ป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า か มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 加 และคะตะกะนะเขียนว่า カ มีที่มาจากส่วนซ้ายของมันโยงะนะ 加 ออกเสียงว่า เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า ในพยางค์แรก และแปรเสียงอยู่ระหว่าง กับ ในพยางค์อื่น か มักใช้เป็นคำอนุภาคเพื่อแสดงออกมาเป็นคำถาม และบางครั้งใช้เป็นตัวคั่นลำดับรายการ ส่วน が ใช้แสดงจุดสนใจของประโยคโดยเฉพาะประธานของประโยค か เป็นอักษรลำดับที่ 6 อยู่ระหว่าง お (โอะ) กับ き (คิ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ か เป็นอักษรลำดับที่ 14 อยู่ระหว่าง わ (วะ) กับ よ (โยะ).

ใหม่!!: คันจิและคะ · ดูเพิ่มเติม »

คะตะกะนะ

ตากานะ เป็นตัวอักษรสำหรับแทนเสียงในภาษาญี่ปุ่นประเภทหนึ่ง คาตากานะได้รับการนำไปเขียนภาษาไอนุซึ่งเป็นภาษาของชนกลุ่มน้อยอยู่ทางภาคเหนือของเกาะฮกไก.

ใหม่!!: คันจิและคะตะกะนะ · ดูเพิ่มเติม »

คันจิ

ันจิ เป็นอักษรจีนที่ใช้ในระบบการเขียนภาษาญี่ปุ่นในปัจจุบัน จัดอยู่ในประเภทอักษรคำ (Logograms) ใช้ร่วมกับตัวอักษร อีก 4 ประเภท ได้แก่ ฮิรางานะ (ひらがな, 平仮名 Hiragana) คะตาคานะ (カタカナ, 片仮名 Katakana) โรมะจิ (ローマ字 Rōmaji) และตัวเลขอารบิก คำว่า "คันจิ" หากอ่านตามเสียงภาษาจีนกลางจะอ่านว่า "ฮั่นจื้อ" มีความหมายว่า ตัวอักษรของชาวฮั่น อันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศจีน คำว่าภาษาจีนในภาษาจีนเอง ก็เรียกว่า ภาษาฮั่น (ภาษาจีนกลาง: 漢語, hànyǔ) เช่นกัน.

ใหม่!!: คันจิและคันจิ · ดูเพิ่มเติม »

คิ

ป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า き มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 幾 และคะตะกะนะเขียนว่า キ มีที่มาจากการดัดแปลงตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 幾 ออกเสียงว่า เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า ในพยางค์แรก และแปรเสียงอยู่ระหว่าง กับ ในพยางค์อื่น き เป็นอักษรลำดับที่ 7 อยู่ระหว่าง か (คะ) กับ く (คุ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ き เป็นอักษรลำดับที่ 38 อยู่ระหว่าง さ (ซะ) กับ ゆ (ยุ).

ใหม่!!: คันจิและคิ · ดูเพิ่มเติม »

คิมิ โตะ โบะกุ

มิ โตะ โบะกุ เป็นการ์ตูนโดย คิอิชิ ฮตตะ มังงะออกวางตลอดในปี..

ใหม่!!: คันจิและคิมิ โตะ โบะกุ · ดูเพิ่มเติม »

คิมิงะโยะ

มิงะโยะ เป็นเพลงชาติของประเทศญี่ปุ่น และนับได้ว่าเป็นเพลงชาติที่สั้นที่สุดในโลก โดยมีความยาวเพียง 11 ห้องเพลง มีตัวโน้ตเพียง 40 ตัว เนื้อเพลงนั้นมาจากบทกลอนประเภทวะกะในยุคเฮอังของญี่ปุ่น (ระหว่าง ค.ศ. 794-1185) ส่วนทำนองเพลงนั้น ได้ประพันธ์ขึ้นใหม่ในยุคเมจิ โดยทำนองแรกสุดนั้นประพันธ์โดยนักดนตรีชาวไอริชเมื่อ ค.ศ. 1869 ภายหลังราชสำนักญี่ปุ่นจึงเลือกใช้ทำนองเพลงใหม่ ซึ่งเรียบเรียงโดยนักดนตรีชาวญี่ปุ่น เป็นทำนองของเพลงคิมิงะโยะในปัจจุบัน เมื่อ ค.ศ. 1880 แม้ว่าเพลงคิมิงะโยะจะเป็นเพลงชาติของญี่ปุ่นโดยพฤตินัยมานานแล้วก็ตาม แต่การรับรองฐานะทางกฎหมายเพิ่งจะมีขึ้นในปี ค.ศ. 1999 จากการตราพระราชบัญญัติว่าด้วยธงชาติและเพลงชาติของญี่ปุ่นในปีนั้น ซึ่งหลังจากการผ่านกฎหมายดังกล่าว ก็ได้มีข้อขัดแย้งเกี่ยวกับการขับร้องและบรรเลงเพลงชาติในโรเรียนต่าง ๆ ของญี่ปุ่นขึ้น ด้วยเหตุผลเดียวกับธงฮิโนะมารูอันเป็นธงชาติของญี่ปุ่น กล่าวคือ เพลงคิมิงะโยะอ้างถึงในฐานะสัญลักษณ์ของลัทธิจักรวรรดินิยมและลัทธิทหารของญี่ปุ่น.

ใหม่!!: คันจิและคิมิงะโยะ · ดูเพิ่มเติม »

คุ

ป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า く มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 久 และคะตะกะนะเขียนว่า ク มีที่มาจากส่วนซ้ายของมันโยงะนะ 久 ออกเสียงว่า เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า ในพยางค์แรก และแปรเสียงอยู่ระหว่าง กับ ในพยางค์อื่น ชาวญี่ปุ่นอาจออกเสียงคุที่อยู่ท้ายคำหรือท้ายประโยคเป็น โดยละเสียงสระเพื่อความสะดวกในการสนทนา く เป็นอักษรลำดับที่ 8 อยู่ระหว่าง き (คิ) กับ け (เคะ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ く เป็นอักษรลำดับที่ 28 อยู่ระหว่าง お (โอะ) กับ や (ยะ).

ใหม่!!: คันจิและคุ · ดูเพิ่มเติม »

คุนิฮิโกะ ยูยามะ

นิฮิโกะ ยูยามะ (คันจิ:湯山 邦彦; คำอ่าน: ยูยามะ คุนิฮิโกะ) เป็นนักผู้กำกับภาพยนตร์อะนิเมะ เป็นผู้ก่อตั้งสตูดิโอของโอแอลเอ็ม ที่รู้จักกันในอะนิเมะคือเรื่อง โปเกมอน (อะนิเมะ) ทำผลงานหลายเรื่องอีกมากมาย ในเรื่องล่าอสูรกาย, ถนนสายนี้ เปรี้ยว และ เวดดิ้งพีช สาวน้อยผู้พิทักษ.

ใหม่!!: คันจิและคุนิฮิโกะ ยูยามะ · ดูเพิ่มเติม »

คุโนะอิชิ

นะอิจิ คือ นินจาหญิง มีหน้าที่หลัก คือ หาข่าวสารและลอบสังหาร การฝึกฝนของคุโนะอิจิจะเน้นการใช้ยาพิษ การปลอมตัว ศิลปะการแสดง และการใช้เสน่ห์ให้เป็นประโยชน์ เพื่อล้วงความลับหรือจัดการกับเป้าหม.

ใหม่!!: คันจิและคุโนะอิชิ · ดูเพิ่มเติม »

คู เฟย

ู เฟยเค็ง อะกะมะสึ; 2551, 31 ตุลาคม: 168-169 เป็นตัวละครจากการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง คุณครูจอมเวท เนกิมะ!.

ใหม่!!: คันจิและคู เฟย · ดูเพิ่มเติม »

คีว ซะกะโมะโตะ

ีว ซะกะโมะโตะ หรือชื่อจริง ฮิซะชิ โอชิมะ เกิดวันที่ 10 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: คันจิและคีว ซะกะโมะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานคนตัดไผ่

ตะเกะโตริ โนะ โอะกินะนำคะงุยะ-ฮิเมะกลับบ้านไปให้ภรรยาโดยโตะซะ ฮิโรมิชิ (Tosa Hiromichi), ราว ค.ศ. 1600 ตำนานคนตัดไผ่ หรือ ตำนานเจ้าหญิงคะงุยะ (竹取物語 หรือ かぐや姫, The Tale of the Bamboo Cutter หรือ The Tale of Princess Kaguya) เป็นตำนานพื้นบ้านของญี่ปุ่นที่มีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 10 ที่ถือกันว่าเป็นวรรณกรรมญี่ปุ่นชิ้นที่เก่าแก่ที่สุด และเป็นตัวอย่างของที่มาของนวนิยายเชิงวิทยาศาสตร์ (cf.) เรื่องดำเนินไปโดยมีศูนย์กลางคือเด็กหญิงที่ไม่ทราบที่มา ชื่อ คะงุยะฮิมะ (Kaguya-hime) ที่คนตัดไผ่ไปพบเมื่อยังเป็นทารกภายในปล้องไผ่ที่เรืองแสง กล่าวกันว่าคะงุยะมาจากจันทรประเทศ (月の都) และมีผมที่ “เงาวาวเหมือนทอง”.

ใหม่!!: คันจิและตำนานคนตัดไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

ซะ

ซะ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า さ มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 左 และคะตะกะนะเขียนว่า サ มีที่มาจากส่วนซ้ายบนของมันโยงะนะ 散 ออกเสียงว่า เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า さ เป็นอักษรลำดับที่ 11 อยู่ระหว่าง こ (โคะ) กับ し (ชิ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ さ เป็นอักษรลำดับที่ 37 อยู่ระหว่าง あ (อะ) กับ き (คิ).

ใหม่!!: คันจิและซะ · ดูเพิ่มเติม »

ซะชิ ทะอินะกะ

ซะชิ ทะอินะกะ นักร้องชาวญี่ปุ่นผู้ซึ่งรู้จักกันดีในผลงานเพลงเปิดแอนิเมชันเรื่อง เฟท/สเตย์ ไนท.

ใหม่!!: คันจิและซะชิ ทะอินะกะ · ดูเพิ่มเติม »

ซะกุระ ทังเงะ

ซะกุระ ทังเงะ (คันจิ:丹下 桜; ฮิรางานะ:たんげ さくら) เป็นนักพากย์หญิงที่มีชื่อเสียงในประเทศญี่ปุ่น เธอเกิดวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2516 ณ ไอจิ ประเทศญี่ปุ่น และสังกัดอาโอนิ โปรดักชัน.

ใหม่!!: คันจิและซะกุระ ทังเงะ · ดูเพิ่มเติม »

ซามูไร

ซามูไรในชุดเกราะ ถ่ายในช่วงทศวรรษที่ 1860 โดย เฟรีเช บีอาโต ซามูไร แปลเป็นภาษาไทยว่าทหาร คำว่า ซามูไร มีต้นกำเนิดจากคำว่า ซะบุระอุ ซึ่งเป็นคำกริยาในภาษาญี่ปุ่นโบราณ ที่มีความหมายว่า รับใช้ ฉะนั้น ซามูไรก็คือคนรับใช้นั่นเอง.

ใหม่!!: คันจิและซามูไร · ดูเพิ่มเติม »

ซาวาจิกะ เอริ

ซาวาจิกะ เอริ เป็นหนึ่งในตัวละครจาก หนังสือ/ภาพยนตร์การ์ตูน เรื่องสกูลรัมเบิ้ล สูตรรักฉบับนักเรียน.

ใหม่!!: คันจิและซาวาจิกะ เอริ · ดูเพิ่มเติม »

ซุ

ซุ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า す มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 寸 และคะตะกะนะเขียนว่า ス มีที่มาจากส่วนขวาล่างของมันโยงะนะ 須 ออกเสียงว่า เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า ชาวญี่ปุ่นอาจออกเสียงซุที่อยู่ท้ายคำหรือท้ายประโยคเป็น โดยละเสียงสระเพื่อความสะดวกในการสนทนา す เป็นอักษรลำดับที่ 13 อยู่ระหว่าง し (ชิ) กับ せ (เซะ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ す เป็นอักษรลำดับที่ 47 อยู่ระหว่าง せ (เซะ) กับ ん (อึง) (ถ้านับ ん เป็นลำดับสุดท้ายด้วย).

ใหม่!!: คันจิและซุ · ดูเพิ่มเติม »

ซุริโมะโนะ

มพ์ “ซุริโมะโนะ” โดย คะสึชิกะ โฮะกุไซ ซุริโมะโนะ (Surimono) คือประเภทหนึ่งของภาพพิมพ์แกะไม้อุกิโยะของญี่ปุ่น ที่เป็นภาพประเภทที่สร้างขึ้นจากการจ้างให้ทำขึ้นสำหรับโอกาสพิเศษ เช่นปีใหม่ญี่ปุ่น “ซุริโมะโนะ” แปลตรงตัวว่า “สิ่งพิมพ์”.

ใหม่!!: คันจิและซุริโมะโนะ · ดูเพิ่มเติม »

ซง โกคู

ซง โกคู ในวัยเด็ก ซง โกคู ในสภาพซูเปอร์ไซย่า ซง โกคู (孫悟空, そんごくう, ซง โงะคู) ตัวละครหลักจากการ์ตูนชุดเรื่องดราก้อนบอล และเป็นตัวละครการ์ตูนที่เป็นที่นิยมที่สุดคนหนึ่ง ทั้งนี้ ชื่อ ซง โกคู มาจากชื่อ ตัวละคร ซง หงอคง ในนิยายเรื่องไซอิ๋ว ซึ่งสะกดว่า 孫悟空 (ซน โงะกู) ในภาษาญี่ปุ่นเหมือนกัน โกคู หรือ ซง โกคู ในประเทศไทยเรียกชื่อ ซุน โงกุน ซึ่งน่าจะอ่านคล้ายกับ โงะกู หรือ หงอคงในภาษาจีน เป็นพระเอกของเรื่องเป็นชาวไซย่าที่เก่งที่สุด มีพ่อชื่อบาดั๊ก พี่ชายชื่อ ราดิซ โกคูเป็นชาวไซย่าที่มีอีกชื่อหนึ่งว่า คาคาล็อต โกคูเมื่อตอนเริ่มเรื่องเล่มที่ 1 บอกกับบูลม่าว่ามีอายุ 14 ปี แต่ในเล่ม 3 บอกว่าอายุ 12 ปี เนื่องจากนับเลขผิด โกคูได้ช่วยปกป้องโลกเอาไว้หลายครั้งแล้วจากการทำลายโลกของฝ่ายร้าย เช่น จอมมารพิคโกโร่ ฟรีเซอร์ เซล จอมมารบู โกคูชอบกินข้าวมากๆ และชอบชวนคนอื่นอาบน้ำ และจะหิวบ่อยเป็นคนที่อารมณ์ดีไม่ชอบทะเลาะ ซึ่งต่างกับเบจิต้าอย่างมาก โกคูได้เรียนฝึกวิชากังฟูกับ ซง โก ฮัง ปู่บุญธรรม ซึ่งถูกโกคูที่แปลงเป็นลิงยักษ์หลังจากเผลอไปมองดวงจันทร์เต็มดวงเหยียบตาย จากนั้นไปเรียนวิชากับผู้เฒ่าเต่า หรือผู้เฒ่ามูเท็น ซึ่งเป็นอาจารย์ของ ซง โก ฮัง และ ราชาปีศาจวัว ต่อมาเป็นท่านคารินแห่งหอคอยคาริน ถัดมาอีกได้ไปฝึกกับพระเจ้าโดยมีมิสเตอร์โปโปเป็นผู้ช่วยสอน ต่อมาเป็นท่านจ้าวพิภพได้สอนพลังหมัดจ้าวพิภพจนโกคูเก่งขึ้นมาก พลังที่มากที่สุดของโกคูคือพลังบอลเก็งกิ ซึ่งเอาพลังของสิ่งมีชีวิตทั้งโลกหรือจักรวาลมารวมกันแล้วปล่อยออกไปซึ่งสามารถทำลายล้างได้สูงมาก อาจาย์คนต่อมาของโกคูคือ ชาวดาวยาโดแร็ต ซึ่งยานที่โกคูใช้หนีออกจากดาวนาเม็กได้ตั้งที่หมายไว้อัตโนมัติ ในเรื่องไม่ได้เอ่ยชื่อว่าชื่ออะไร ซึ่งโกคูได้เล่าว่าอ้อนวอนอยู่นานจึงจะสอนวิชาเคลื่อนย้ายในพริบตาให้ อาจารย์คนสุดท้ายของโกคูคือ ชาวดาวเมตามอร์ ที่สอนวิชาฟิวชั่นให้ในปรโลก เป็นวิชาที่ใช้รวมร่างกับคนที่มีขนาดของพลังเท่าๆ กันซึ่งจะทำให้พลังและความเร็วเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล ในเรื่องไม่ได้เอ่ยชื่อ.

ใหม่!!: คันจิและซง โกคู · ดูเพิ่มเติม »

ซนโนโจอิ

มพ์ญี่ปุ่นในปี ค.ศ. 1861 แสดงออกถึงการต่อต้านคนต่างชาติ ("โจอิ" - 攘夷, "ขับคนป่าเถื่อน") ซนโนโจอิ เป็นชื่อของปรัชญาการเมืองและขบวนการทางสังคมของญี่ปุ่นที่มีรากฐานมาจากลัทธิขงจื้อใหม่ (Neo-Confucianism) ซึ่งได้กลายเป็นคำขวัญทางการเมืองในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1850 - 1860 ในความพยายามล้มล้างรัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะในช่วงยุคบะคุมะสึ.

ใหม่!!: คันจิและซนโนโจอิ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: คันจิและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

นาโงยะ

นครนาโงยะ เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในภาคชูบุ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 4 ของประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บนชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกบนเกาะฮนชู เป็นเมืองเอกของจังหวัดไอชิและเป็นหนึ่งในเมืองท่าหลักของญี่ปุ่น ซึ่งประกอบด้วย โตเกียว, โอซะกะ, โคเบะ, โยะโกะฮะมะ, ชิบะ และ คิตะกีวชู นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลางของเขตมหานครที่ใหญ่เป็นอันดับสามของญี่ปุ่นที่เรียกว่า เขตมหานครชูเกียว ซึ่งมีประชากรกว่า 9.1 ล้านคน.

ใหม่!!: คันจิและนาโงยะ · ดูเพิ่มเติม »

นินจา

การวาดแม่แบบนินจาจากชุดสเก็ตช์ ("โฮะกุไซ มังงะ")โดย คะสึชิกะ โฮะกุไซ ภาพพิมพ์แกะไม้ในประเทศญี่ปุ่นบนกระดาษตอนที่ 6 ค.ศ. 1817 คุนะอิ '''คุนะอิ'''มีไว้ขุดหลุมหรือขว้างใส่ศัตรูเหมือนดาวกร.

ใหม่!!: คันจิและนินจา · ดูเพิ่มเติม »

นินจุสึ

นินจุสึ (คันจิ: 忍術, โรมะจิ: Ninjutsu) หมายถึง วิชาการต่อสู้ของนินจา เป็นวิชาการต่อสู้โบราณของญี่ปุ่น มีประวัติไม่แน่นอน แต่คาดกันว่ามีพระจาริกนำมาจากเมืองจีน และเมื่อได้เข้ามาในญี่ปุ่นก็ปรับเปลี่ยนไปตามประเพณีและวัฒนธรรมญี่ปุ่น ในอดีตมีสำนักของนินจุสึอยู่ทั่วประเทศญี่ปุ่นกว่า 20 สำนัก กลุ่มของนินจาที่โด่งดังของญี่ปุ่นในอดีตได้แก่ อิกะ โคกะ ฟูมะ แต่หลังจากถูกกวาดล้างจากสงครามของโอดะ โนบุนากะที่ให้วิชาจำนวนมากหายสาบสูญไป ในบางช่วงของประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นวิชานินจุสึถูกสั่งห้ามไม่ให้ฝึก ทำให้คนรู้จักวิชานี้หลงเหลืออยู่น้อยมาก.

ใหม่!!: คันจิและนินจุสึ · ดูเพิ่มเติม »

แผนภูมิสวรรค์

แผนภูมิสวรรค์ แผนภูมิสวรรค์ (กานจือ) คือระบบเลขฐาน 60 แบบวนรอบที่เขียนด้วยอักษรจีน ซึ่งประกอบด้วยส่วนย่อย 2 ส่วน ได้แก่ ภาคสวรรค์ เรียกว่า "ราศีบน" มี 10 ตัวอักษร (天干; tiāngān เทียนกาน) และภาคปฐพี เรียกว่า "ราศีล่าง" มี 12 ตัวอักษร (地支; dìzhī ตี้จือ) แผนภูมิสวรรค์ใช้สำหรับการนับวันและปีแบบดั้งเดิม ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในโหราศาสตร์ของจีน นอกจากจีนแล้วประเทศในเอเชียตะวันออกอื่นๆ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี เวียดนาม ก็ใช้ระบบเลขนี้ด้วย “ปีหนไท” ซึ่งเป็นระบบปฏิทินแบบไทโบราณที่เคยใช้ในอาณาจักรสิบสองปันนา ล้านนา ล้านช้าง และสมัยสุโขทัยตอนต้น ก็เชื่อว่าได้รับอิทธิพลจากปฏิทินกานจือของจีนโบราณเช่นกัน เนื่องจากมีองค์ประกอบเหมือนกันทุกประการ และมีชื่อเรียกต่างกันเล็กน้อย เช่น ภาคสวรรค์ (แม่มื้อ) ได้แก่ กาบ ดับ ระวาย เมือง เปลิก กัด กด ร้วง เต่า ก่า (เทียบเท่ากับ เอกศก โทศก ตรีศก ในปัจจุบัน) และภาคปฐพี (ลูกมื้อ) ได้แก่ ใจ้ เปล้า ญี เหม้า สี ใส้ สะง้อ เม็ด สัน เร้า เส็ด ใค้ (เทียบเท่ากับ ชวด ฉลู ขาล ฯลฯ ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: คันจิและแผนภูมิสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวใหญ่ฮันชิน พ.ศ. 2538

แผ่นดินไหวใหญ่ฮันชิน (The Great Hanshin earthquake) หรือ แผ่นดินไหวโกเบ เกิดขึ้นเมื่อวันอังคารที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2538 เวลา 05:46 น. ตามเวลาท้องถิ่น บริเวณตอนใต้ของจังหวัดเฮียวโงะ ประเทศญี่ปุ่น มีขนาด 6.8 ตามมาตราโมเมนต์ ลึกลงไปใต้ผิวโลก 16 กิโลเมตร จุดเหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่บริเวณเกาะอาวาจิ ซึ่งอยู่ห่างจากเมืองโกเบ 20 กิโลเมตร ระยะเวลาการสั่นสะเทือนนานประมาณ 20 วินาที มีผู้เสียชีวิตทั้งสิ้น 6,434 คน (นับถึงวันที่ 22 ธันวาคม 2538) ในจำนวนนี้ประมาณ 4,600 คน มาจากโกเบ ซึ่งเป็นเมืองใหญ่ที่อยู่ใกล้ที่สุด และมีประชากรทั้งสิ้น 1.5 ล้านคน เหตุแผ่นดินไหวครั้งนี้ ร้ายแรงที่สุดในรอบ 72 ปี นับตั้งแต่แผ่นดินไหวครั้งใหญ่คันโต พ.ศ. 2466 ที่มีผู้เสียชีวิต 6,434 คน ความเสียหายเบื้องต้น ทำให้บ้านเรือนพังพลายกว่า 200,000 หลัง, โครงสร้างยกระดับของทางด่วนสายฮันชิน พังทลายเป็นระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร, ปั้นจั่นของท่าเรือโกเบเสียหายกว่าหนึ่งร้อยตัว มูลค่าตวามเสียหายทั้งสิ้นประมาณ 10 ล้านล้านเยน (ประมาณ 102.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) คิดเป็น 2.5% ของจีดีพีของญี่ปุ่นในปีนั้น.

ใหม่!!: คันจิและแผ่นดินไหวใหญ่ฮันชิน พ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

แคลมป์

กลุ่มนักวาดการ์ตูน CLAMP จากซ้ายไปขวา: เนโกอิ ซึบากิ โอกาวะ อาเกฮะ อิการะชิ ซาซึกิ และ โมโคนะ แคลมป์ (CLAMP) คือกลุ่มนักวาดการ์ตูนของญี่ปุ่น โดยเริ่มก่อตั้งเป็น Clamp ณ ปี พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) โดยในช่วงแรกมีนักวาดทั้งหมด 12 คน และในปีต่อมา 2533 สมาชิกลดลงเหลือ 7 คน และในปัจจุบันมีทั้งหมด 4 คน โดยมีผลงานที่เป็นที่รู้จักมากมายเช่น โตเกียวบาบิโลน, เอกซ์ พลังล้างโลก, เมจิกไนท์ เรย์เอิร์ธ, ซากุระ มือปราบไพ่ทาโร่, สมองกลนักสู้, ดิจิทัล เลดี้, TSUBASA-RESERVoir CHRoNiCLE-, XXXHOLiC, CODE GEASSโค้ดกีอัส ซึ่งมีผลงานทั้ง หนังสือการ์ตูน ภาพวาด แอนิเมชัน และ แม็กกาซีน.

ใหม่!!: คันจิและแคลมป์ · ดูเพิ่มเติม »

โกะมัตโต

กะมัตโต (ญี่ปุ่น: ごまっとう / โรมะจิ: Gomattou) คือ อดีตกลุ่มนักร้องหญิงญี่ปุ่นของสังกัดเฮลโล! โปรเจกต์ ได้รับการก่อตั้งขึ้นมาครั้งแรกในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2545 โดยมีแนวเพลงหลักเป็นแนวอาร์แอนด์บี ที่ผสมผสานไปกับลีลาการเต้นของสมาชิกในกลุ่มทั้ง 3 คน ได้แก่ มากิ โกะโต (หัวหน้ากลุ่ม), อายะ มัตสึอูระ และมิกิ ฟูจิโมโตะ ผลงานชิ้นเดียวที่กลุ่มนี้ได้ฝากเอาไว้ก็คือ เพลงซิงเกิลที่ชื่อ แชลวีเลิฟว์? เปิดตัวครั้งแรกในวันพุธที่ 20 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: คันจิและโกะมัตโต · ดูเพิ่มเติม »

โรมาจิ

รมาจิ เป็นอักษรโรมันที่ใช้ในภาษาญี่ปุ่นในระบบการเขียนภาษาญี่ปุ่นใช้ คานะและคันจิเป็นหลัก โรมาจิเป็นวิธีที่นิยมสำหรับบุคคลที่ไม่ใช่ชาวญี่ปุ่นเรียนภาษาญี่ปุ่น และยังเป็นที่นิยมในการพิมพ์ข้อมูลภาษาญี่ปุ่นลงในคอมพิวเตอร์ โดยการพิมพ์บนคีย์บอร์ดเป็นโรมาจิและคอมพิวเตอร์แสดงผลเป็นภาษาญี่ปุ่นตัวอักษรแบบต่าง ๆ โรมาจิเริ่มเป็นที่นิยมตั้งแต่สมัยสงครามโลก ซึ่งเริ่มเรียนตั้งแต่ระดับประถมศึกษา สำหรับการเขียนและการอ่านโรมาจิ โรมาจิในปัจจุบันมีอยู่ 3 ระบบ ได้แก่ นิฮงชิกิ (日本式) แบบดั้งเดิม, คุงเรชิกิ (訓令式) แบบที่ดัดแปลงจากนิฮงชิกิ และเฮ็ปเบิร์นหรือเฮบงชิกิ (ヘボン式) แบบปรับปรุงพัฒนาตามการออกเสียงจริง ซึ่งเป็นที่นิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบัน ตัวอย่างของการทับศัพท์แบบต่าง.

ใหม่!!: คันจิและโรมาจิ · ดูเพิ่มเติม »

โลกของนินจาคาถาโอ้โฮเฮะ

แผนที่ภายในการ์ตูน 1.หมู่บ้านโคโนฮะ 2.หมู่บ้านคิริ 3.หมู่บ้านโอโตะ 4.หมู่บ้านอิวะ 5.หมู่บ้านอาเมะ 6.หมู่บ้านคุสะ 7.หมู่บ้านทากิ 8.หมู่บ้านคุโมะ 9.หมู่บ้านซึนะ แผนที่ภายในการ์ตูนฉบับละเอียด ในเรื่องนินจาคาถาโอ้โฮเฮะ โลกแบ่งออกเป็นเป็นแคว้นต่างๆแยกตามการปกครอง แต่ละแคว้นจะมีหมู่บ้านนินจาลับซึ่งทำหน้าที่ตามแต่ผู้ปกครองแคว้นจะสั่ง คือ 1 แคว้นจะมี 1 หมู่บ้านในนั้นเท่านั้น.

ใหม่!!: คันจิและโลกของนินจาคาถาโอ้โฮเฮะ · ดูเพิ่มเติม »

โอะ

อะ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า お มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 於 และคะตะกะนะเขียนว่า オ มีที่มาจากส่วนซ้ายของมันโยงะนะ 於 ออกเสียงว่า แต่ในการพูดจริงอาจแปรเป็น (คล้ายสระ ออ) お เป็นอักษรลำดับที่ 5 อยู่ระหว่าง え (เอะ) กับ か (คะ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ お เป็นอักษรลำดับที่ 27 อยู่ระหว่าง の (โนะ) กับ く (คุ).

ใหม่!!: คันจิและโอะ · ดูเพิ่มเติม »

โอะกุริงะนะ

อกูริงานะ คือ คานะที่ต่อท้ายคันจิในภาษาญี่ปุ่น มักใช้ผันคำคุณศัพท์และคำกริยา โอกูริงานะยังใช้บอกกาล ความเป็นบอกเล่า/ปฏิเสธ ความสุภาพ และทำหน้าที่ต่าง ๆ ได้อีกมากมาย ปัจจุบันโอกูริงานะเขียนด้วยฮิรางานะ ในอดีตเขียนด้วยคาตากาน.

ใหม่!!: คันจิและโอะกุริงะนะ · ดูเพิ่มเติม »

โอะโดะริจิ

อะโดะริจิ (踊り字, 躍り字) หมายถึงเครื่องหมายซ้ำ เป็นเครื่องหมายวรรคตอน (หรือสัญลักษณ์) กลุ่มหนึ่งที่ใช้สำหรับซ้ำคำหรือพยางค์เป็นหลักในภาษาญี่ปุ่น มีหลายลักษณะเช่น 々, ヽ, ゝ ขึ้นอยู่กับโอกาสในการใช้ โอะโดะริจิอาจมีชื่อเรียกอย่างอื่นเช่น โอะโดะริ (おどり), คุริกะเอะชิฟุโง (繰り返し符号), คะซะเนะจิ (重ね字), โอะกุริจิ (送り字), ยุซุริจิ (揺すり字), จูจิ (重字), จูเต็ง (重点), โจจิ (畳字) ซึ่งทั้งหมดก็แปลว่าเครื่องหมายซ้ำเหมือนกัน.

ใหม่!!: คันจิและโอะโดะริจิ · ดูเพิ่มเติม »

โอซากะ

อซากะ เป็นเมืองที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 2 และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และยังเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในสามนครเคฮันชิง ตั้งอยู่ในภาคคันไซบนเกาะฮนชู ในเขตจังหวัดโอซากะ เป็นหนึ่งในไม่กี่เมืองที่มีสถานะเป็นนครโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่น นครโอซากะมีประชากรทั้งหมดประมาณ 2.7 ล้านคน แต่ในช่วงเวลาทำงานจะเพิ่มขึ้นเป็น 3.7 ล้านคน ซึ่งเป็นรองเพียงแต่โตเกียวเท่านั้น อัตราส่วนประชากรกลางวันต่อกลางคืนเท่ากับ 141 เปอร์เซ็นต์ นครตั้งอยู่ที่ปากแม่น้ำโยะโดะ อ่าวโอซากะ และทะเลเซะโตะ โอซากะเป็นเป็นเมืองสำคัญทางประวัติศาสตร์ ทั้งการค้าและวัฒนธรรมเมืองหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น มีสมญาว่า ครัวของชาติ เพราะเป็นศูนย์กลางการค้าข้าวของญี่ปุ่นตั้งแต่สมัยเอะโดะ และปัจจุบันเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: คันจิและโอซากะ · ดูเพิ่มเติม »

โอเซจิ

อเซจิ (御節/ お節) หรือ โอเซจิเรียวริ (御節料理/ お節料理) (เรียวริ แปลว่า การทำอาหาร) เป็นสำรับอาหารสำหรับเทศกาลปีใหม่ในญี่ปุ่น เป็นขนบประเพณีที่มีมาตั้งแต่ยุคเฮอัง โอเซจิ นั้นจะถูกจัดเรียงอยู่ในกล่องสี่เหลี่ยม 3-4 กล่องที่เรียกว่า จูบาโกะ (重箱) ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับกล่องเบ็นโต จูบาโกะจะถูกซ้อนเก็บไว้ทั้งก่อนการใช้งานและหลังใช้งาน โอเซจินั้นมักรับประทานร่วมกับโทโซะ ชาวญี่ปุ่นจะรับประทานโอเซจิเรียวริกันในช่วงเวลา 3 วันหลังวันขึ้นปีใหม่ (1 มกราคม) ซึ่งนิยมรับประทานโอเซจิเรียวริเป็นมื้อแรกของปีพร้อมกับครอบครัว.

ใหม่!!: คันจิและโอเซจิ · ดูเพิ่มเติม »

โจโยกันจิ

กันจิ เป็นตัวอักษรคันจิ 2,136 ตัว (เดิม 1,945) ที่กระทรวงศึกษาของประเทศญี่ปุ่น กำหนดว่าเป็นตัวอักษรคันจิที่ใช้ในชีวิตประจำวันเป็นประจำ ประกอบด้ว.

ใหม่!!: คันจิและโจโยกันจิ · ดูเพิ่มเติม »

โทะ

ทะ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า と มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 止 และคะตะกะนะเขียนว่า ト มีที่มาจากส่วนบนของมันโยงะนะ 止 ออกเสียงว่า เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า と เป็นอักษรลำดับที่ 20 อยู่ระหว่าง て (เทะ) กับ な (นะ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ と เป็นอักษรลำดับที่ 7 อยู่ระหว่าง へ (เฮะ) กับ ち (ชิ).

ใหม่!!: คันจิและโทะ · ดูเพิ่มเติม »

โทะชิยุกิ โมะริกะวะ

ทะชิยุกิ โมะริกะวะ (คันจิ:森川智之; 26 มกราคม พ.ศ. 2510 —) เป็นนักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น มักได้รับบทเป็นตัวละครที่ดูเคร่งขรึม นอกจากนี้ยังมีผลงานการพากย์ในการ์ตูนแนวบอยส์เลิฟเยอะมาก โดยเฉพาะในรูปแบบดราม่าซีดี จนถึงกับได้ฉายาว่า จักรพรรดิ ในวงการบอยส์เลิฟ ซึ่งเจ้าตัวเองก็ยอมรับในฉายานี้ ส่วนในด้านของภาพยนตร์ต่างประเทศเขาก็ได้พากย์เสียงพระเอกชื่อดังของฮอลลีวูดมาแล้วมากมายหลายคน โดยเฉพาะ แบรด พิตต์ และ ทอม ครูซ ในปี พ.ศ. 2546 โมะริกะวะ ได้ร่วมกับ ฟูมิฮิโกะ ทาจิกิ ตั้งวงดนตรีแบบดูโอขึ้นมาในชื่อว่า 2 Hearts โดยมีผลงานออกมาแล้ว 2 อัลบั้ม กับอีก 1 ซิงเกิล.

ใหม่!!: คันจิและโทะชิยุกิ โมะริกะวะ · ดูเพิ่มเติม »

โทะชิโกะ ฟุจิตะ

ทะชิโกะ ฟุจิตะ (คันจิ:藤田淑子; 5 เมษายน พ.ศ. 2493 —) เป็นนักพากย์หญิงที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น โดยมักจะได้พากย์เสียงตัวเอกของเรื่องที่เป็นเด็กผู้ชายอยู่เสมอ แต่สำหรับบทหญิงสาว เธอก็สามารถพากย์ได้ดีเช่นกัน.

ใหม่!!: คันจิและโทะชิโกะ ฟุจิตะ · ดูเพิ่มเติม »

โทะโมะกะซุ เซะกิ

ทะโมะกะซุ เซะกิ (คันจิ:関 智一; 8 กันยายน พ.ศ. 2515 —) เป็นนักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น เนื่องจากสามารถดัดเสียงได้หลายแบบจึงส่งผลให้เขามีผลงานมากมาย เซกิเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นจากบทโดมอน กัช จากจีกันดั้ม และหลังจากนั้นเขาก็มีผลงานโดดเด่นอย่างต่อเนื่องมาตลอด เช่น ซางาระ โซสุเกะ จากฟูลเมทัล พานิค, โซมะ เคียว จากเสน่ห์สาวข้าวปั้น, อิซาค จูล จากกันดั้มซี้ด และในปี พ.ศ. 2548 ได้รับบทเป็นซูเนโอะในโดราเอมอนฉบับสร้างใหม.

ใหม่!!: คันจิและโทะโมะกะซุ เซะกิ · ดูเพิ่มเติม »

โคะ

ป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า こ มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 己 และคะตะกะนะเขียนว่า コ มีที่มาจากส่วนบนของมันโยงะนะ 己 ออกเสียงว่า เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า ในพยางค์แรก และแปรเสียงอยู่ระหว่าง กับ ในพยางค์อื่น こ เป็นอักษรลำดับที่ 10 อยู่ระหว่าง け (เคะ) กับ さ (ซะ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ こ เป็นอักษรลำดับที่ 33 อยู่ระหว่าง ふ (ฟุ) กับ え (เอะ).

ใหม่!!: คันจิและโคะ · ดูเพิ่มเติม »

โคะโตะโนะ มิสึอิชิ

ตะโนะ มิสึอิชิ (คันจิ:三石琴乃; ฮิรางานะ:みついし ことの) เป็นนักพากย์หญิงชาวญี่ปุ่น มักได้พากย์เป็นเด็กสาวที่ร่าเริง ได้รับฉายาว่า "เจ้าแม่เสียงสาวเลือดกรุ๊ป O" (超O型声優) รับงานพากย์ครั้งแรกจากบทของซูโก อาสึกะ ในเรื่องไซเบอร์ฟอร์มูล่า และบทที่ทำให้มีชื่อเสียงคือบทสึคิโนะ อุซางิ จากเรื่องเซเลอร์มูน ปัจจุบันมิตสึอิชิแต่งงานแล้ว และมีบุตรสาว 1 คน.

ใหม่!!: คันจิและโคะโตะโนะ มิสึอิชิ · ดูเพิ่มเติม »

โคเบะ

() เป็นเมืองเอกของจังหวัดเฮียวโงะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นเมืองขนาดใหญ่อันดับที่ 5 และเป็นเมืองท่าที่สำคัญของญี่ปุ่น ตั้งอยู่ทางฝั่งใต้ของเกาะฮนชู ห่างจากเมืองโอซะกะไปทางตะวันตกประมาณ 30 กิโลเมตร มีประชากรประมาณ 1.5 ล้านคนและเป็นส่วนหนึ่งของมหานครเคฮันชิง โคเบะปรากฏในหลักฐานลายลักษณ์อักษรเป็นครั้งแรกในพงศาวดารนิฮงโชะกิที่กล่าวถึงการก่อตั้งศาลเจ้าอิกุตะโดยพระจักรพรรดิจิงกูเมื่อ..

ใหม่!!: คันจิและโคเบะ · ดูเพิ่มเติม »

โซะ

ซะ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า そ มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 曽 และคะตะกะนะเขียนว่า ソ มีที่มาจากส่วนบนของมันโยงะนะ 曽 ออกเสียงว่า เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า そ เป็นอักษรลำดับที่ 15 อยู่ระหว่าง せ (เซะ) กับ た (ทะ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ そ เป็นอักษรลำดับที่ 18 อยู่ระหว่าง れ (เระ) กับ つ (สึ).

ใหม่!!: คันจิและโซะ · ดูเพิ่มเติม »

โนะบุยุกิ ฮิยะมะ

นะบุยุกิ ฮิยะมะ (คันจิ:檜山修之; ฮิรางานะ:ひやま のぶゆき; 25 สิงหาคม พ.ศ. 2510 —) เป็นนักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น เขาแจ้งเกิดและโด่งดังสุดขีดจากบทบาทของ ฮิเอ ในเรื่อง คนเก่งทะลุโลก หลังจากนั้นก็มีงานพากย์อย่างต่อเนื่องมาตลอด เนื่องจากสามารถพากย์เสียงได้หลากหลายบทบาท ตั้งแต่พระเอกบุคลิกนุ่มนวล ไปจนถึงตัวร้ายสุดโฉด เพื่อนสนิทในวงการของฮิยามะคือกลุ่มของเมงุมิ ฮายาชิบาระ ที่มักจะไปสังสรรค์ด้วยกันเสมอในอดีต และโทชิยูกิ โมริคาวะ ที่เป็นคู่หูจัดรายการวิทยุด้วยกันในปัจจุบัน เขาสังกัดอาตส์วิชัน.

ใหม่!!: คันจิและโนะบุยุกิ ฮิยะมะ · ดูเพิ่มเติม »

ไลต์โนเวล

ลต์โนเวล เป็นนิยาย ที่นำตัวละครและเนื้อเรื่อง หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับอะนิเมะหรือมังงะ มาใช้เป็นภาพประกอบ โดยเป็นลักษณะของการเขียนเป็นบทความ บทละคร หรือเรื่องที่แต่งขึ้นอาจจะเกี่ยวพันหรือไม่มีความเกี่ยวข้องกันเล.

ใหม่!!: คันจิและไลต์โนเวล · ดูเพิ่มเติม »

ไอกิโด

อกิโด เป็นศิลปะการต่อสู้ญี่ปุ่นสมัยใหม่พัฒนาโดยโมะริเฮอิ อุเอะชิบะ เป็นการรวมศิลปะการต่อสู้ ปรัชญา และความเชื่อทางศาสนาไว้ด้วยกัน ไอกิโดมักแปลว่า "หนทางแห่งการรวมพลังงานชีวิต" หรือ "หนทางแห่งจิตวิญญาณที่ประสานกัน" เป้าหมายของอุเอะชิบะคือสร้างศิลปะที่ผู้ฝึกฝนใช้ป้องกันตัวและป้องกันไม่ให้คู่ต่อสู้บาดเจ็บด้วย ทักษะไอกิโดประกอบด้วยการเคลื่อนไหวที่เปลี่ยนทิศทางโมเมนตัมของท่าโจมตีของคู่ต่อสู้ และการทุ่มหรือล็อกข้อต่อที่ยุติทักษะดังกล่าว ไอกิโดแผลงมาจากศิลปะการต่อสู้ชื่อ ไดโตรีว ไอกิจูจุสึ แต่เริ่มเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมในปลายคริสต์ทศวรรษ 1920 ส่วนหนึ่งมาจากที่อุเอะชิบะเข้าไปพัวพันกับศาสนานิกายโอโมะโตะ ในเอกสารของลูกศิษย์ยุคแรกของอุเอะชิบะยังคงใช้คำว่า "ไอกิจูจุสึ" ลูกศิษย์อาวุโสของอุเอะชิบะมีวิธีการฝึกไอกิโดที่แตกต่างกันขึ้นกับช่วงเวลาที่พวกเขาศึกษากับอาจารย์ ปัจจุบันพบไอกิโดทั่วโลกในหลายรูปแบบ โดยมีพิสัยการตีความและการเน้นฝึกฝนที่กว้าง อย่างไรก็ตามพวกเขาต่างแบ่งปันทักษะที่อุเอะชิบะ และเป็นการต่อสู้ที่คำนึงถึงความปลอดภัยของคู่ต่อสู้มากที.

ใหม่!!: คันจิและไอกิโด · ดูเพิ่มเติม »

ไดโงะฮนซง

งะฮนซง เป็นสิ่งสักการบูชาสูงสุดของศาสนาพุทธนิกายนิชิเร็งโชชู คำว่า "ได" (大) แปลว่า "ยิ่งใหญ่, สูงสุด" ส่วน "โงะฮนซน" (御本尊) หมายถึง สิ่งสักการะ คำว่า "ไดโงะฮนซง" จึงแปลว่า "สิ่งสักการะสูงสุด" ไดโงะฮนซนมีลักษณะเป็นรูปมัณฑละ (มณฑล) จารึกภาษาจีนและภาษาสันสกฤต ซึ่งทำจากไม้การบูร โดยหลักแล้วมัณฑละดังกล่าวประกอบด้วยนามของพุทธะ พระโพธิสัตว์ เทพในพุทธศาสนา และคุรุอาจารย์ต่างๆ ในศาสนาพุทธเป็นจำนวนมาก รายล้อมรอบอักษรคันจิ (อักษรจีน) ที่อยู่ศูนย์กลางมัณฑละ ซึ่งจารึกเป็นคาถาว่า "นัมเมียวโฮเร็งเงเคียวนิชิเร็ง" ตามประวัติกล่าวว่าโงะฮนซงถูกจารึกขึ้นโดยพระนิชิเร็ง (หรือ "นิชิเร็งไดโชนิง" ในหมู่สานุศิษย์แห่งนิกายนิชิเร็งโชชู) เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 1279 เป็นการจำลองธรรมสภาในห้วงอวกาศขณะที่พระโคดมพุทธเจ้า (ฝ่ายมหายานนิยมเรียกว่า "พระศากยมุนีพุทธะ") แสดงพระธรรมเทศนาเรื่องสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ปัจจุบันไดโงะฮนซงประดิษฐานอยู่ ณ โฮอันโดะ วัดไทเซคิจิ จังหวัดชิซุโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น อันเป็นศูนย์กลางใหญ่ของศาสนาพุทธนิกายนิชิเร็งโชชู สานุศิษย์แห่งนิกายนิชิเร็งโชชูถือว่าไดโงะฮนซงคือการรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของบุคคลและธรรม และคือจุดมุ่งหมายในการมาเกิดของพระนิชิเร็งไดโชนิง.

ใหม่!!: คันจิและไดโงะฮนซง · ดูเพิ่มเติม »

เมะงุมิ ฮะยะชิบะระ

มงุมิ ฮายาชิบาระ (คันจิ:林原めぐみ; ฮิรางานะ:はやしばら めぐみ; คำอ่าน: ฮะยะชิบะระ เมะงุมิ) เป็นนักพากย์และนักร้องหญิงชาวญี่ปุ่น ที่มีชื่อเสียงโด่งดัง เธอมีชื่อเล่นว่า เมงุซัง (คุณเมงุ), เมงุเน่ (พี่เมงุ) และอีกหลากหลายชื่อ ฮายาชิบาระสามารถพากย์เสียงได้หลายบทบาท ไม่ว่าจะเป็นเด็กผู้หญิงที่ร่าเริง เด็กสาวที่เงียบขรึม หรือเด็กผู้ชายที่ดูห้าวหาญ โดยผลงานแทบทุกเรื่องที่เธอพากย์ มักจะได้รับความนิยมเป็นอย่างสูง ปัจจุบันฮายาชิบาระแต่งงานแล้ว กับพนักงานบริษัทหนุ่มคนหนึ่ง และมีลูกสาวด้วยกัน 1 คน.

ใหม่!!: คันจิและเมะงุมิ ฮะยะชิบะระ · ดูเพิ่มเติม »

เมงุมิ อุราวะ

มงุมิ อุราวะ (คันจิ:浦和めぐみ; ฮิรางานะ:うらわ めぐみ; คำอ่าน: อุรุวะ เมะงุมิ) เป็นนักพากย์หญิงที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น เกิดเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508 ที่จังหวัดจิบะ สังกัดค่ายอาโอนิโปรดักชัน.

ใหม่!!: คันจิและเมงุมิ อุราวะ · ดูเพิ่มเติม »

เยน

แบงก์ 1000 เยน โดยมีรูปของ นัทซึเมะ โซเซกิ เยน (ญี่ปุ่น: 円, สัญลักษณ์ ¥, รหัส ISO 4217 JPY) เป็นสกุลเงินของประเทศญี่ปุ่น มีหน่วย่อยคือ cen.

ใหม่!!: คันจิและเยน · ดูเพิ่มเติม »

เรียว ซากาซากิ

รียว ซากาซากิ เป็นตัวละครจากเกมต่อสู้ อาร์ทออฟไฟท์ติ้ง ของค่าย SNK Playmore (เดิมชื่อ SNK).

ใหม่!!: คันจิและเรียว ซากาซากิ · ดูเพิ่มเติม »

เรียวโกะ ชิระอิชิ

รียวโกะ ชิระอิชิ (คันจิ: 白石 涼子, ฮิรางานะ: しらいしりょうこ, คำอ่าน: เรียวโกะ ชิระอิชิ) เป็นนักร้อง และ นักพากย์หญิงที่มีชื่อเสียง ในประเทศญี่ปุ่น โดยมีผลงานมากมายที่เป็นที่รู้จัก ในฐานะนักร้อง เธออยู่ในวงดนตรี ชื่อ DROPS.

ใหม่!!: คันจิและเรียวโกะ ชิระอิชิ · ดูเพิ่มเติม »

เสียงผสมเสียดแทรก ปุ่มเหงือกกับเพดานแข็ง ไม่ก้อง

ียงผสมเสียดแทรก ปุ่มเหงือกกับเพดานแข็ง ไม่ก้อง เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ /t͡ɕ/ (เดิมใช้ /ʨ/) และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ ts\ เสียงนี้ในภาษาไทยจะสะกดด้วยตัวอักษร จ เมื่อไม่พ่นลม และ ฉ ช ฌ เมื่อพ่นลม.

ใหม่!!: คันจิและเสียงผสมเสียดแทรก ปุ่มเหงือกกับเพดานแข็ง ไม่ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

เสียงนาสิก ลิ้นไก่

ียงนาสิก ลิ้นไก่ เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่นภาษาญี่ปุ่น ภาษาสเปน ภาษาเกชัว ภาษาพม่า ฯลฯ แต่ไม่มีเสียงนี้ในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ N\ ออกเสียงคล้าย ŋ แต่ดันโคนลิ้นแตะที่ลิ้นไก่แทนเพดานอ่อน การทับศัพท์เสียงนี้มักใช้ ง.

ใหม่!!: คันจิและเสียงนาสิก ลิ้นไก่ · ดูเพิ่มเติม »

เอะ

อะ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า え มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 衣 และคะตะกะนะเขียนว่า エ มีที่มาจากส่วนขวาของมันโยงะนะ 江 ออกเสียงว่า แต่ในการพูดจริงอาจแปรเป็น (คล้ายสระ แอ) เมื่อเอะขึ้นต้นคำหรืออยู่หลังเสียง หรือ จะเกิดการแปรเสียงเป็น ดังจะเห็นได้จาก 円 (えん, เย็ง) คือสกุลเงินของประเทศญี่ปุ่น え เป็นอักษรลำดับที่ 4 อยู่ระหว่าง う (อุ) กับ お (โอะ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ え เป็นอักษรลำดับที่ 34 อยู่ระหว่าง こ (โคะ) กับ て (เทะ).

ใหม่!!: คันจิและเอะ · ดูเพิ่มเติม »

เอะมิ ชิโนะฮะระ

อะมิ ชิโนะฮะระ (คันจิ:篠原恵美; ฮิรางานะ:しのはら えみ; คำอ่าน: ชิโนะฮะระ เอะมิ) เป็นนักพากย์หญิงของประเทศญี่ปุ่นที่อยู่ในวงการมานาน แต่เพิ่งมาแจ้งเกิดในบทของ มาโกโตะ หรือ เซเลอร์จูปิเตอร์ แห่ง เซเลอร์มูน และหลังจากนั้นก็มีงานพากย์อย่างต่อเนื่องมาตลอด ชิโนะฮะระเป็นเพื่อนสนิทที่เกิดวันเดือนปีเดียวกับ ริกะ ฟุกะมิ ผู้พากย์เสียงเซเลอร์วีนัส และเคยออกอัลบั้มร่วมกันในนามของ FUNKY TWINS ด้วย ปัจจุบันชิโนะฮะระแต่งงานแล้ว กับ ฮิโรชิ วาตาริ พระเอกภาพยนตร์แนวเมทัลฮีโร่เรื่อง ชาลีบัน และ สปิลบัน.

ใหม่!!: คันจิและเอะมิ ชิโนะฮะระ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าสาวของผมเป็นพระเจ้าแสนสวย

้าสาวของผมเป็นพระเจ้าแสนสวย (My Wife Is Beautiful God เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวคอมเมดี้,โรแมนติค,ตลก,แฟนตาซี,ต่อสู้ แต่งเรื่องและวาดภาพโดย เคนจิ สุงาวาระ เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับเด็กหนุ่มที่ไปขอพรกับศาลเจ้าว่า ขอเจ้าสาวที่แสนน่ารัก แต่เทพธิดาประจำศาลเจ้ากลับฟังผิดเป็น ขอให้เธอมาเป็นเจ้าสาวที่แสนน่ารัก ทำให้ทั้งคู่ลงเอยที่ทำพันธสัญญาการขอพรซึ่งกันและกัน และเทพธิดาต้องมาเป็นคู่แต่งงานเด็กหนุ่ม พร้อมกันนั้น ทั้งคู่ยังต้องเผชิญหน้ากับเหล่าเทพอื่นๆ เพื่อต่อสู่แย่งชิงอาณาเขตตามพันธสัญญาที่มี ปัจจุบันตีพิมพ์ออกมาแล้ว 2 เล่ม.

ใหม่!!: คันจิและเจ้าสาวของผมเป็นพระเจ้าแสนสวย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงไอโกะ เจ้าหญิงโทชิ

้าหญิงไอโกะ เจ้าหญิงโทะชิ (1 ธันวาคม พ.ศ. 2544) เป็นพระธิดาพระองค์เดียวในเจ้าชายนะรุฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น กับเจ้าหญิงมะซะโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ กับสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโก.

ใหม่!!: คันจิและเจ้าหญิงไอโกะ เจ้าหญิงโทชิ · ดูเพิ่มเติม »

เทะ

ทะ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า て มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 天 และคะตะกะนะเขียนว่า テ มีที่มาจากส่วนซ้ายบนของมันโยงะนะ 天 ออกเสียงว่า เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า て เป็นอักษรลำดับที่ 19 อยู่ระหว่าง つ (สึ) กับ と (โทะ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ て เป็นอักษรลำดับที่ 35 อยู่ระหว่าง え (เอะ) กับ あ (อะ).

ใหม่!!: คันจิและเทะ · ดูเพิ่มเติม »

เทะสึยะ อิวะนะงะ

ท็ตสึยะ อิวานางะ (คันจิ:岩永哲哉; ฮิรางานะ:いわなが てつや; Tetsuya Iwanaga) เป็นนักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น โดยมีผลงานมากมายเป็นที่รู้จัก ซึ่งนอกจากเป็นนักพากย์แล้ว เขายังเคยเขียนนวนิยาย และเขียนคอลัมน์ให้กับนิตยสารต่าง ๆ มาแล้วด้ว.

ใหม่!!: คันจิและเทะสึยะ อิวะนะงะ · ดูเพิ่มเติม »

เคฮันชิง

ันชิง เป็นชื่อเรียกอาณาบริเวณเมืองนครและปริมณฑลของประเทศญี่ปุ่น ที่ถือเป็นพื้นที่ทางเศรษฐกิจที่สำคัญของญี่ปุ่น ครอบคลุมพื้นที่สามเมืองในสามจังหวัด ได้แก่ 1.

ใหม่!!: คันจิและเคฮันชิง · ดูเพิ่มเติม »

เคะ

ป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า け มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 計 และคะตะกะนะเขียนว่า ケ มีที่มาจากส่วนซ้ายของมันโยงะนะ 介 ออกเสียงว่า เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า ในพยางค์แรก และแปรเสียงอยู่ระหว่าง กับ ในพยางค์อื่น け เป็นอักษรลำดับที่ 9 อยู่ระหว่าง く (คุ) กับ こ (โคะ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ け เป็นอักษรลำดับที่ 31 อยู่ระหว่าง ま (มะ) กับ ふ (ฟุ).

ใหม่!!: คันจิและเคะ · ดูเพิ่มเติม »

เคียวอิกุกันจิ

ียวอิกุกันจิ เป็นอักษรคันจิซึ่งกระทรวงศึกษาธิการของญี่ปุ่น กำหนดไว้ว่าเป็นอักษรคันจิที่จำเป็นต้องเรียนในชั้นประถมศึกษา มีทั้งหมด 1,006 ตัว.

ใหม่!!: คันจิและเคียวอิกุกันจิ · ดูเพิ่มเติม »

เต่าดำ (เทพปกรณัม)

ประติมากรรมเต่าดำ สมัยจักรพรรดิหย่งเล่อ แห่งราชวงศ์หมิง (ศตวรรษที่ 15) เต่าดำ (Black tortoise, Black turtle; ฮันกึล: 현무; ฮันจา: 玄武; คันจิ: 玄武; ฮิระกะนะ: げんぶ; โรมะจิ: Genbu; เวียดนาม: Huyền Vũ; 玄武; พินอิน: Xuan Wu; เสวียนอู่) เป็นสัตว์สัญลักษณ์ในความเชื่อของจีนโบราณ ที่ครอบคลุมรวมไปถึงชนชาติอื่น ๆ ในแถบเอเชียตะวันออก เช่น เวียดนามHuyền Vũ Ngô Gia Tự Hà Nội Việt Nam, ญี่ปุ่น และเกาหลี เต่าดำ เป็นหนึ่งในสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ประจำทิศทั้งสี่ (四霛/四灵) เป็นสัญลักษณ์ของทิศเหนือธาตุน้ำ และฤดูหนาว มีรูปลักษณ์เป็นเต่า แต่มีเกล็ดคล้ายงู มีลักษณะร่วมกันของเต่าและงู บ้างใช้สัญลักษณ์เป็นรูปเต่าที่มีงูพันรัดกลางลำตัว แต่เดิมมาจากการใช้กระดองเต่าในการทำนายทายทัก ซึ่งหมายถึงการให้เต่านำคำถามลงไปสู่โลกแห่งวิญญาณเพื่อนำคำตอบกลับมายังโลกมนุษย์ อีกทั้งกระดองเต่ามีสีดำ จึงปรากฏในรูปเต่าดำ ภายหลังได้มีการขยายความออกไป โดยเห็นว่าเต่าอาศัยอยู่กับน้ำ ทั้งแม่น้ำลำคลองน้อยใหญ่จนถึงท้องทะเลกว้าง จึงได้รับการขนานนามให้เป็นเทพเจ้าแห่งน้ำ อีกทั้งเต่ามีอายุยืนนาน จึงเป็นสัญลักษณ์แทนการมีอายุวัฒนะ ต่อมาได้รับการยกสถานะจากลัทธิเต๋าให้เป็นปรมาจารย์เจินอู่ โดยกล่าวกันว่าเจินอู่เป็นภาคหนึ่งของเง็กเซียนฮ่องเต้มาจุติยังโลกมนุษย์ แต่ด้วยความเบื่อหน่ายในโลกีย์ จึงเก็บตัวบำเพ็ญภาวนาบนเขาบู๊ตึ๊ง จนสำเร็จมรรคผลเป็นเซียนขึ้นสถิตบนฟ้า ครองตำแหน่งทิศเหนือ.

ใหม่!!: คันจิและเต่าดำ (เทพปกรณัม) · ดูเพิ่มเติม »

เซะ

ซะ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า せ มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 世 และคะตะกะนะเขียนว่า セ มีที่มาจากส่วนซ้ายของมันโยงะนะ 世 ออกเสียงว่า เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า せ เป็นอักษรลำดับที่ 14 อยู่ระหว่าง す (ซุ) กับ そ (โซะ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ せ เป็นอักษรลำดับที่ 46 อยู่ระหว่าง も (โมะ) กับ す (ซุ).

ใหม่!!: คันจิและเซะ · ดูเพิ่มเติม »

เซ็ปปุกุ

ีกรรมฮาราคีรี เซ็ปปุกุ หรือ ฮาราคีรี เป็นการฆ่าตัวตายโดยการคว้านท้อง ในยุคซามูไร ของประเทศญี่ปุ่น โดยใช้มีดสั้นแทงที่หน้าท้องใต้เอวขวา แล้วกรีดมาทางซ้ายแล้ว ดึงมีดขึ้นข้างบน ซึ่งเป็นการเปิดเยื่อบุช่องท้องแล้วตัดลำไส้ให้ขาด หลังจากนั้นซามูไรอีกคนหนึ่งจะใช้ดาบซามูไรตัดศีรษะจนขาด การตายด้วยวิธีนี้ เชื่อว่าเป็นการตายอย่างมีเกียรติแล้ว ส่วนใหญ่ผู้ทำเซ็ปปุกุทำตามหลักศาสนาชินโตที่จารึกไว้ในคัมภีร์โคะจิคิ เพราะแสดงความกล้าหาญและพิสูจน์ให้เห็นถึงความสามารถในการบังคับจิตใจของตนเอง การคว้านท้องถูกนำมาใช้โดยสมัครใจที่จะตายกับซามูไรที่มีเกียรติแทนที่จะตกอยู่ในมือของศัตรูของพวกเขา (และน่าจะถูกทรมาน) เป็นรูปแบบของโทษประหารชีวิตสำหรับซามูไรที่มีการกระทำผิดร้ายแรงหรือดำเนินการ เหตุผลอื่น ๆ ที่ได้นำความอัปยศแก่พวกเขา การฆ่าตัวตายโดยการจำยอมจึงถือเป็นพิธีซึ่งโดยปกติจะเป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมซับซ้อนมากขึ้นและการดำเนินการในฐานะที่ต้องการให้ผู้อื่นเข้าใจในการต้องการในการรักษาเกียรติของพวกเขาจึงควรมีผู้คนมาชมขณะทำเซ็ปปุกุด้วย ในญี่ปุ่น คำว่า "ฮาราคีรี" ถือเป็นคำหยาบและไม่เคารพต่อผู้กระทำเซ็ปปุกุ และการเขียนตัวอักษรคันจิของสองคำนี้เขียนเหมือนกันโดยสลับตัวอักษรหน้าหลัง.

ใหม่!!: คันจิและเซ็ปปุกุ · ดูเพิ่มเติม »

เซเน็ง

ซเน็ง เป็นแนวการ์ตูนญี่ปุ่นที่เน้นกลุ่มผู้ชายอายุ 18-25 ปีเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก มีเนื้อหาที่หลากหลาย เช่น แนวทดลอง แนวเน้นความน่ารักของตัวละครเป็นจุดขาย และแนวที่เน้นความรุนแรง ด้วยเหตุนี้การ์ตูนแนวเซเน็งหลายเรื่องจึงถูกจัดอยู่ในกลุ่มโชโจะ และโชเน็น ด้วย การที่จะบอกว่าการ์ตูนเรื่องใดเป็นการ์ตูนเซเน็งคือการดูว่าตัวอักษรคันจิเป็นตัวอะไร ถ้ามีกำกับส่วนมากจะเป็นแนวเซเน็ง ถ้าไม่มีแสดงว่าการ์ตูนเรื่องนั้นมีเป้าหมายเป็นกลุ่มอื่น การดูนิตยสารที่ตีพิมพ์ก็เป็นอีกวิธีหนึ่ง โดยนิตยสารการ์ตูนที่ขึ้นต้นชื่อด้วยคำว่า "ยัง" (young) คือ ต่ำกว่า 16 ห้ามอ่าน มักจะเป็นนิตยสารการ์ตูนเซเน็ง เช่น ยังจัมป์ ยังแอนิมอล เป็นต้น นิตยสารการ์ตูนเซเน็ง อื่น ๆ ที่มีชื่อเสียง ได้แก่ อุลตร้าจัมป์ อาฟเตอร์นูน และบิ๊กคอมิก.

ใหม่!!: คันจิและเซเน็ง · ดูเพิ่มเติม »

เนะซุมิ โคโซ

นะซุมิ โคโซ หรือ จอมโจรหนู ยิโรคิจิ (คันจิ: 次郎吉, ฮิรางานะ: ねずみ小僧 เสียชีวิต พ.ศ. 2375) เป็นจอมโจรในตำนานพื้นบ้านของญี่ปุ่น โดยปล้นคนรวยเอาเงินมาแจกคนจนเหมือนโรบินฮูดของอังกฤษ เนะซุมิ โคโซ โยในเมืองเอโดะ (ปัจจุบันคือเมือง โตเกียว) ในช่วงยุคเอโดะ สาเหตุที่ได้ชื่อว่า "จอมโจรหนู" เนื่องมาจากที่เนะซุมิ โคโซ เวลาแอบปล้นบ้านเศรษฐี เขาได้ขนถุงที่เต็มไปด้วยหนู และได้ปล่อยหนูให้วิ่งทั่วในบ้านเพื่อสร้างความแตกตื่นแก่เจ้าของบ้าน ในปี พ.ศ. 2365 โคโซได้ถูกจับและถูกขับไล่ออกจากเอโดะ และสิบปีให้หลังในปี พ.ศ. 2375 ได้ถูกจับอีกครั้งและถูกจับมัด โดยขี่ม้ารอบเมืองประจานต่อหน้าสาธารณชน ก่อนที่จะถูกประหารชีวิต โดยหัวของเนะซุมิ โคโซ ได้ถูกเสียบประจานกลางตัวเมือง ก่อนที่จะเสียชีวิตได้กล่าวถึงเงิน 30,000 เรียว ที่ขโมยมาจากซามูไรเศรษฐีกว่า 100 คนในช่วงเวลา 15 ปีของเขา สุสานของเนะซุมิ โคโซตั้งอยู่ที่เอโคะ ในโตเกียว ในช่วงชีวิตที่เป็นจอมโจร โคโซได้เป็นที่ชื่นชอบของผู้คนที่ถูกกดขี่ข่มเหงจากความไม่เป็นธรรมของรัฐบาลญี่ปุ่นในสมัยนั้น หลังจากที่เสียชีวิตลง ตำนานของเนะซุมิ โคโซ ได้ถูกเล่าต่อกันมา โดยมีกล่าวถึงว่า เนะซุมิ โคโซ ได้เคยเป็นนินจามาก่อน เรื่องราวของเนะซุมิ โคโซ นิยมนำมาแสดงในละครคาบุกิ ภาพยนตร์ ละครย้อนยุค เนื้อเพลง วิดีโอเกม และ วัฒนธรรมป๊อป ต่างๆ เนะซุมิ โคโซ ได้ถูกเทียบกับอิชิคาวา โกเอมอน โดยถึงแม้ว่าจะอยู่ในช่วงคนละยุคกัน และในวิดีโอเกมกัมบาเระ โกเอมอน ของโคนามิ ได้มีโคโซและโกเอมอนเป็นตัวละครหลัก.

ใหม่!!: คันจิและเนะซุมิ โคโซ · ดูเพิ่มเติม »

Ch (ทวิอักษร)

Ch Ch เป็นทวิอักษรที่พบได้ในหลาย ๆ ภาษา ในบางภาษาจะจัดใช้ ch เป็นอักษรเดี่ยว โดยในพจนานุกรมก็จะไม่ได้รวมอยู่ในหมวดเดียวกับอักษร c แต่จะแยกออกไปต่างหาก อักษร ch ใช้แทนเสียงที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษ.

ใหม่!!: คันจิและCh (ทวิอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

CJK

thumb thumb CJK เป็นการใช้คำศัพท์ ภาษาจีน, ภาษาญี่ปุ่น และภาษาเกาหลี ร่วมกัน สำหรับใช้ในด้านซอฟต์แวร์และการสื่อสารสากล และนิยามของ CJKV จะหมายรวมถึง CJK ที่เพิ่มภาษาเวียดนามเข้าไปด้วย ซึ่งเป็นการประกอบภาษาเอเชียตะวันออกหลักๆเข้าไว้ด้วยกัน.

ใหม่!!: คันจิและCJK · ดูเพิ่มเติม »

X

X เป็นอักษรละตินลำดับที่ 24 ซึ่งในภาษากรีกตัวอักษร X อ่านว่า "ไค" ตัวอักษร X เป็นตัวอักษรที่ไม่มีในภาษาอิตาลียกเว้นคำยืมจากภาษาอื่น และไม่มีคำศัพท์ภาษาอังกฤษดั้งเดิมขึ้นต้นด้วยตัวอักษร X ในภาษาอังกฤษบางครั้งจะอ่านเหมือนคำว่า ไค ใช้แทนคำว่า คริสต์ ซึ่งเห็นได้ใน X'mas (คริสต์มาส) และมีการใช้ซึ่งอ่านว่า "ครอส" แทนเครื่องหมายไขว้ เช่นในคำว่า Xing.

ใหม่!!: คันจิและX · ดูเพิ่มเติม »

漢字

รูปอักษร "漢字" อาจหมายถึง.

ใหม่!!: คันจิและ漢字 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Kanjiอักษรคันจิ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »