เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ดัชนี คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Agriculture, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นพร้อมกับคณะวิทยาศาสตร์และอักษรศาสตร์ (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นคณะวิทยาศาสตร์) และคณะวิศวกรรมศาสตร์ ซึ่งได้ถือว่าเป็นคณะแรกตั้งของการสถาปนามหาวิทยาลัย ถือว่าเป็นสถาบันการศึกษาทางด้านเกษตรศาสตร์แห่งแรกในภูมิภาค รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 03.

สารบัญ

  1. 19 ความสัมพันธ์: การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.มหาวิทยาลัยขอนแก่นมาลีรัตน์ แก้วก่ามีนวิทยารายชื่อคณะประมงในประเทศไทยรายชื่อคณะเกษตรศาสตร์ในประเทศไทยรายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยสมจิตต์ ยอดเศรณีสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุกสรชาติ วิชย สุวรรณพรหมสายสุรี จุติกุลอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์งานประเพณี ๔ จอบแห่งชาตินิติพงษ์ ห่อนาค

การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.

ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้เริ่มจัดการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ตั้งแต..

ดู คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยขอนแก่น (อังกฤษ: Khon Kaen University; อักษรย่อ: มข.) เดิมชื่อมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู่ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น มีจุดประสงค์เพื่อให้การศึกษาชั้นสูงขยายออกไปถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงประกอบพิธีเปิดเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม..

ดู คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและมหาวิทยาลัยขอนแก่น

มาลีรัตน์ แก้วก่า

นางมาลีรัตน์ แก้วก่า (เกิด 15 ตุลาคม พ.ศ. 2496) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร และ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสกลนคร.

ดู คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและมาลีรัตน์ แก้วก่า

มีนวิทยา

มีนวิทยา (Ichthyology) เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องที่เกี่ยวข้องกับปลา ลักษณะรูปร่างภายนอกของปลา ระบบภายในตัวปลา รวมถึงอนุกรมวิธานของปลา ออกเป็นกลุ่มหรือประเภท ปลาในที่นี้ประกอบด้วยปลากระดูกแข็ง ปลากระดูกอ่อน ได้แก่ ฉลามและกระเบน และปลาไม่มีขากรรไกร โดยไม่ครอบคลุมไปถึงสัตว์น้ำจำพวกอื่น เช่น หมึก, กบ, กุ้ง, ปู, วาฬ หรือโลมา ซึ่งไม่จัดว่าเป็นปลา การศึกษาทางด้านมีนวิทยามีความสัมพันธ์อย่างมากกับสาขาวิชาชีววิทยาทางทะเล ชลธีวิทยา และสมุทรศาสตร์ และเรียกนักวิทยาศาสตร์ที่เชี่ยวชาญและศึกษาศาสตร์ทางด้านนี้ว่า "นักมีนวิทยา" มีนวิทยา ถือได้ว่าเป็นแขนงย่อยของสัตววิทยา โดยคำว่า "Ichthyology" ที่ใช้เป็นชื่อภาษาอังกฤษนั้น มาจากภาษากรีกคำว่า "Ichthys" (ἰχθύς) แปลว่า ปลา, "logy" หรือ "logos" (λόγος) แปลว่า วิชา หรือ เรื่องราว, "มีน" มาจากภาษาบาลีสันสกฤต แปลว่า ปลา และ "วิทยา" มาจากภาษาสันสกฤต แปลว่า ความรู้ โดยบุคคลแรกที่ถือได้ว่าศึกษาศาสตร์มีนวิทยาเป็นคนแรกของโลก คือ อริสโตเติล นักปราชญ์ชาวกรีกโบราณที่มีชื่อเสียง เพราะเป็นผู้ริเริ่มจำแนกสิ่งมีชีวิต บันทึกของอริสโตเติลได้กล่าวถึงโครงสร้าง อุปนิสัย การอพยพย้ายถิ่น ฤดูกาลสืบพันธุ์ และความรู้อื่น ๆ ที่น่าสนใจเกี่ยวกับปลามากชนิด แต่ความจริงมนุษย์รู้จักปลามานานกว่า 50,000 ปีแล้ว จากหลักฐานที่มนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ได้วาดภาพปลาไว้ที่ผนังถ้ำ เช่น รูปปลาบึกที่อุทยานแห่งชาติผาแต้ม เป็นต้น การศึกษาเกี่ยวกับปลาในระยะต่อมาโดยมากยังอ้างอิงผลงานของอริสโตเติล จะมีเพิ่มเติมก็เป็นเรื่องปลีกย่อย จนกระทั่งในศตวรรษที่ 18 การศึกษาเกี่ยวกับปลาตื่นตัวมากขึ้น มีการเขียนตำราวิชาทางวิชาการ ซึ่งใช้อ้างอิงมาจนถึงทุกวันนี้ มีการจำแนกหมวดหมู่ปลากระดูกอ่อน ปลากระดูกแข็ง ศึกษากายวิภาค สรีรวิทยา วิวัฒนาการของปลาจากซากดึกดำบรรพ์ มีนักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาศาสตร์ด้านมีนวิทยาที่มีชื่อเสียงหลายคน อาทิ อัลเบิร์ต กึนเธอร์, จอร์จส์ คูเวียร์, อเล็กซานเดอร์ เอ็มมานูเอล อกาซซี, หลุยส์ อกาซซี (บุตรของอกาซซี) รวมถึง คาโรลัส ลินเนียส ผู้ให้กำเนิดหลักการอนุกรมวิธานที่ใช้มาถึงปัจจุบันด้วย สำหรับในประเทศไทย ศาสตร์แขนงนี้เริ่มต้นขึ้นเมื่อ ดร.

ดู คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและมีนวิทยา

รายชื่อคณะประมงในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาด้านการประมง หมายถึง การจัดการของมนุษย์ด้านการจับปลาหรือสัตว์น้ำอื่น ๆ การดูแลรักษาปลาสวยงามและการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ประมง เช่น น้ำมันปลา เป็นต้น.

ดู คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและรายชื่อคณะประมงในประเทศไทย

รายชื่อคณะเกษตรศาสตร์ในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาด้านเกษตรศาสตร์ คือ วิชาว่าด้วยการเกษตรกรรม.

ดู คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและรายชื่อคณะเกษตรศาสตร์ในประเทศไทย

รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

ดู คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและรายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น เป็นรางวัลเพื่อเชิดชูเกียรตินักวิทยาศาสตร์ไทยที่มีผลงานดีเด่น โดยจะประกาศรางวัลในต้นเดือนสิงหาคมของทุกปี และมอบรางวัลในวันที่ 18 สิงหาคม ซึ่งเป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" โดยถือเป็นที่ยอมรับในวงการวิชาการว่ารางวัลนี้เป็นรางวัลสูงสุดของประเทศสำหรับนักวิทยาศาสตร์พื้นฐานและนักวิทยาศาสตร์ประยุกต์ โดยมีรางวัลเป็นโล่พระราชทานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และเงินรางวัล 200,000-400,000 บาท พระราชทานโดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวันที่ 18 สิงหาคม ของทุกปี ซึ่งเป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" ที่งานมหกรรมวิทยาศาสตร์แห่งชาติพร้อมกันกับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ รางวัลนี้สนับสนุนโดย มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ สวท.

ดู คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย

สมจิตต์ ยอดเศรณี

รองศาสตราจารย์ สมจิตต์ ยอดเศรณี (10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2475—17 กันยายน พ.ศ. 2555) อดีตอธิการบดีผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อดีตอาจารย์ประจำภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เกิดเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและสมจิตต์ ยอดเศรณี

สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก

มเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก (ภาษาซองคา: འཇིགས་མེད་གེ་སར་རྣམ་རྒྱལ་དབང་ཕྱུག་) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรภูฏาน รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์วังชุก ทรงได้รับการยกย่องจากชาวภูฏานรวมถึงชาวไทยส่วนใหญ่ว่ามีพระจริยวัตรที่งดงาม และเป็นที่รักยิ่งของประชาชนชาวภูฏาน สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังซุก ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของพสกนิกรทุกหมู่เหล่า จากการที่ทรงวางพระองค์อย่างเป็นกันเองในหมู่ประชาชน จึงสร้างความประทับใจแก่พสกนิกรอย่างสูง ถึงแม้ว่าพระองค์ไม่ต้องทรงรับพระราชภารกิจการบริหารประเทศ เนื่องจากสมเด็จพระราชบิดาได้ทรงวางระบอบปกครองแบบประชาธิปไตยขึ้นมาอยู่ก่อนแล้ว แต่พระองค์เองก็ยังทรงเป็นสัญลักษณ์สำคัญ ในการสร้างเอกภาพและเสถียรภาพ ในประเทศที่มีประชากรเพียง 753,947 คน โดยมุ่งเน้นด้านความสุขมวลรวมของประชากรภายในประเทศเป็นสำคัญ.

ดู คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก

สรชาติ วิชย สุวรรณพรหม

ว่าที่พันตรีสรชาติ วิชย สุวรรณพรหม (เกิด 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2503) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองบัวลำภู 2 สมั.

ดู คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและสรชาติ วิชย สุวรรณพรหม

สายสุรี จุติกุล

รองศาสตราจารย์ สายสุรี จุติกุล ที่ปรึกษาด้านสตรี เด็ก เยาวชน การศึกษาและพัฒนาสังคมสำนักงานปลัด สำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี..

ดู คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและสายสุรี จุติกุล

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยในที่นี้ เป็นการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทยโดยหน่วยงานของไทยเอง และนิตยสารของต่างประเทศ สำหรับหน่วยงานของไทย ในปี พ.ศ.

ดู คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 7 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งเป็นคณะวิชาที่โอนย้ายมาจาก "คณะวิทยาศาสตร์และอักษรศาสตร์" (ปัจจุบัน คือ คณะวิทยาศาสตร์) มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดการเรียนการสอนวิชาพื้นฐานให้กับนักศึกษาคณะต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัย และผลิตบัณฑิตทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อการพัฒนาภูมิภาคและสนับสนุนความเจริญจากส่วนกลางไปยังภูม.

ดู คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Engineering, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นพร้อมกับคณะวิทยาศาสตร์และอักษรศาสตร์ (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นคณะวิทยาศาสตร์) และคณะเกษตรศาสตร์ ซึ่งได้ถือว่าเป็นคณะแรกตั้งของการสถาปนามหาวิทยาลัย ถือว่าเป็นสถาบันการศึกษาทางด้านวิศวกรรมศาสตร์แห่งแรกในส่วนภูมิภาค รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 04.

ดู คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Science, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นพร้อมกับคณะเกษตรศาสตร์ และคณะวิศวกรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นคณะแรกตั้งของการสถาปนามหาวิทยาลัย มีชื่อเดิมว่า "คณะวิทยาศาสตร์และอักษรศาสตร์" เพื่อการจัดการบริหารมหาวิทยาลัยให้ดียิ่งขึ้น จึงมีการแยกภาควิชาที่เกี่ยวกับมนุษยศาสตร์ออกไปจัดตั้งเป็นคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จึงมีการเปลี่ยนชื่อคณะเป็น "คณะวิทยาศาสตร์" นับแต่นั้นเป็นต้นม.

ดู คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันอุดมศึกษาด้านวิชาการประมง และทรัพยากรทางน้ำแห่งแรกของประเทศไทย เน้นการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ทั้ง วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์เป็นหลัก นอกจากนี้ยังมีการศึกษาทางเศรษฐศาสตร์ บริหารศาสตร์ พัฒนศาสตร์ นิติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอีกด้วย ปัจจุบัน เปิดสอนในสาขา การจัดการประมง ชีววิทยาประมง ผลิตภัณฑ์ประมง เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ วิทยาศาสตร์ทางทะเล และวิทยาศาสตร์การประมง ตั้งแต่ระดับปริญญาตรี ถึงระดับปริญญาเอก คณะประมงผ่านการประเมินด้วยคะแนนสูงสุด(5/5)ระดับดีมาก โดยสกว.

ดู คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

งานประเพณี ๔ จอบแห่งชาติ

right งานประเพณี 4 จอบ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนิสิต นักศึกษาจากสถาบันต่าง ๆ ในการแลกเปลี่ยนความรู้และทักษะทางวิชาการสาขาเกษตรศาสตร์ 4 ภูมิภาค คือ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ในการแลกเปลี่ยนความรู้และทักษะทางวิชาการสาขาเกษตรศาสตร์ ที่จะนำไปสู่ความร่วมมือและการพัฒนาการเกษตรของประเทศไทยในอนาคต.

ดู คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและงานประเพณี ๔ จอบแห่งชาติ

นิติพงษ์ ห่อนาค

นิติพงษ์ ห่อนาค อดีตสมาชิกและหัวหน้าวงวงเฉลียง และนักแต่งเพลงชาวไทยที่มีชื่อเสียง เคยดำรงตำแหน่งรองกรรมการผู้อำนวยการ สายงานธุรกิจดนตรี ของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และผู้บริหารค่ายสหภาพดนตรี.

ดู คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและนิติพงษ์ ห่อนาค

หรือที่รู้จักกันในชื่อ คณะเกษตรศาสตร์ ม.ขอนแก่น