เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ดัชนี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Arts, Chulalongkorn University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

สารบัญ

  1. 160 ความสัมพันธ์: ชมัยภร บางคมบางบรรจบ บรรณรุจิบรูซ แกสตันชลิต พุกผาสุขชอุ่ม ปัญจพรรค์บุญส่ง นาคภู่บุญเลื่อน เครือตราชูบุษกร หงษ์มานพบุษยา มาทแล็งชงโคชนิด สายประดิษฐ์พ.ศ. 2505พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)พระราชญาณกวี (สุวิทย์ ปิยวิชฺโช)พระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์พะเยาว์ พัฒนพงศ์พินิจ รัตนกุลพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยากระต่ายขูดมะพร้าวกรุณา บัวคำศรีกรณ์ ศิริสรณ์กฤษณา ไกรสินธุ์กฤตภาศ ศักดิษฐานนท์กอล์ฟ-ไมค์กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยากาญจนา นาคสกุลกาญจนา นาคนันทน์การศึกษาภาษาญี่ปุ่นในประเทศไทยกิจกรรมระหว่างมหาวิทยาลัยในประเทศไทยกิตติพัทธ์ ชลารักษ์กุสุมา รักษมณีญาณี จงวิสุทธิ์ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยภิญโญ สาธรภูวดล ทรงประเสริฐภคกัญญา เจริญยศมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยมินดา นิตยวรรธนะมณฑารัตน์ ทรงเผ่ามนัสนิตย์ วณิกกุลมนันยา ธนะภูรวงทอง ทองลั่นธมรัดเกล้า อามระดิษรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนรายชื่อคณะมนุษยศาสตร์ในประเทศไทยรายชื่อคณะสังคมศาสตร์ในประเทศไทยรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรตวรรณ ออมไธสงวรลักษณ์ พับบรรจง... ขยายดัชนี (110 มากกว่า) »

ชมัยภร บางคมบาง

นางชมัยภร บางคมบาง (แสงกระจ่าง) ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี 2557 นามเดิม ชมัยพร วิทูธีรศานต์ เกิดเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชมัยภร บางคมบาง

บรรจบ บรรณรุจิ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ร้อยโท ดร.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบรรจบ บรรณรุจิ

บรูซ แกสตัน

รูซ แกสตัน (เกิด พ.ศ. 2490) เป็นนักดนตรีชาวอเมริกัน ที่มาใช้ชีวิตอยู่ในประเทศไทยตั้งแต่อายุ 22 ปี เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งวงดนตรีฟองน้ำร่วมกับครูบุญยงค์ เกตุคง ตั้งแต่ พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบรูซ แกสตัน

ชลิต พุกผาสุข

ลอากาศเอก ชลิต พุกผาสุข (5 เมษายน พ.ศ. 2491 —) องคมนตรี, เลขาธิการมูลนิธิพระดาบส, อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศของไทย และอดีตรองหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) คนที่ 1.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชลิต พุกผาสุข

ชอุ่ม ปัญจพรรค์

อุ่ม ปัญจพรรค์ หรือ ชอุ่ม แย้มงาม (6 ธันวาคม พ.ศ. 2464 - 28 กันยายน พ.ศ. 2556) นักเขียน นักแต่งเพลงชาวไทย ได้รับการเชิดชูเกียรติรางวัลนราธิป ประจำปี..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชอุ่ม ปัญจพรรค์

บุญส่ง นาคภู่

ญส่ง นาคภู่ (ชื่อเล่น: สืบ) นักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์อิสระชาวไทย เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2511 ในครอบครัวชาวนาที่อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย บุญส่งชื่นชอบในศาสตร์ทางด้านภาพยนตร์มาตั้งแต่เด็ก ๆ โดยมี สรพงษ์ ชาตรี เป็นนักแสดงในดวงใจ บุญส่งเดินทางเข้าสู่กรุงเทพมหานคร ด้วยการเข้าเรียนทางด้านการแสดง ในคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเริ่มทำงานเบื้องหลังภาพยนตร์เรื่องต่าง ๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบุญส่ง นาคภู่

บุญเลื่อน เครือตราชู

ณหญิงบุญเลื่อน เครือตราชู (13 พฤษภาคม พ.ศ. 2459 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2555) อดีตอธิบดีกรมสามัญศึกษา ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ผู้ก่อตั้งโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์ และ โรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบุญเลื่อน เครือตราชู

บุษกร หงษ์มานพ

ษกร หงษ์มานพ (สกุลเดิม: ตันติภนา; 7 ธันวาคม พ.ศ. 2531) ชื่อเล่น เอ้ก เป็นนักแสดง, นักร้อง, นางแบบ และพิธีกรรายการโทรทัศน์ประจำสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบุษกร หงษ์มานพ

บุษยา มาทแล็ง

ษยา มาทแล็ง (เกิด 15 ธันวาคม 2502) กรรมการสภาราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ กรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559กรรมการในสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติกรรมการในคณะกรรมการนโยบายป่าไม้แห่งชาติ อดีตเอกอัครราชทูตหลายประเทศและอดีตผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบุษยา มาทแล็ง

ชงโค

งโค มีถิ่นกำเนิดทางตอนใต้ของประเทศจีนรวมถึงฮ่องกงและทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ ดังนี้: ชงโค เสี้ยวเลื่อย (ภาคใต้), เสี้ยวดอกแดง (ภาคเหนือ), เสี้ยวหวาน (แม่ฮ่องสอน) กะเฮอ สะเปซี (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ในสหรัฐอเมริกานิยมปลูกกันที่รัฐฮาวาย, รัฐแคลิฟอร์เนีย, ทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐฟลอริดา และทางตอนใต้ของรัฐเทกซัส ชงโคเป็นไม้ที่ชอบแดด ควรปลูกในที่ได้รับแสงแดดทั้งวัน ดินปลูกควรเป็นดินร่วนหรือดินร่วนปนทรายที่ระบายน้ำดี มีความชื้นสูง.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชงโค

ชนิด สายประดิษฐ์

นิด สายประดิษฐ์ (15 มกราคม พ.ศ. 2456 - 15 มิถุนายน พ.ศ. 2553) เป็นนักเขียน นักแปล เจ้าของนามปากกา จูเลียต และเป็นภรรยาของ กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้รับการเชิดชูเกียรติ รางวัลนราธิป ประจำปี..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชนิด สายประดิษฐ์

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2505

พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา) (19 ธันวาคม พ.ศ. 2429 - 28 ธันวาคม พ.ศ. 2518) ผู้บัญชาการ (อธิการบดี) คนที่ 2 แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ดูแลนักเรียนไทยในประเทศอังกฤษ ปลัดเทศบาลนครกรุงเทพคนแรก เทศมนตรีและสมาชิกว.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)

พระราชญาณกวี (สุวิทย์ ปิยวิชฺโช)

ระราชญาณกวี (สุวิทย์ ปิยวิชฺโช) หรือนามปากกา ปิยโสภณ ปัจจุบันเป็น ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก และรักษาการเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย (ธรรมยุต) ทั้งยังเป็นพระนักวิชาการ, นักเขียนและนักบรรยายธรรมที่ผลิตผลงานออกมาในรูปวีซีดีและหนังสือออกมาสม่ำเสมอในยุคปัจจุบัน เป็นพระนักวิชาการรุ่นใหม่ที่มีผลงานสำคัญคือการหาทุนปั้นศาสนทายาท โดยโครงการนี้ อยู่ที่วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระราชญาณกวี (สุวิทย์ ปิยวิชฺโช)

พระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)

ระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป พระสารประเสริฐ นามเดิม ตรี นาคะประทีป (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2432 - 4 มิถุนายน พ.ศ. 2488) ผู้เชี่ยวชาญวิชาอักษรศาสตร์ภาษาไทย ผู้ร่วมแปลและถ่ายหนังสือหิโตปเทศจากภาษาอังกฤษร่วมกับพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) และได้ร่วมงานกันต่อเนื่องมาเป็นเวลานานและใช้นามปากกาที่มีชื่อเสียงร่วมกันคือ “เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป”.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

ตราจารย์ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 5 กันยายน พ.ศ. 2519) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานสมัชชาองค์การสหประชาชาติ และอดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน รวมถึงเป็นผู้ร่วมสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และทรงเสนอให้คณะรัฐมนตรีจัดตั้งโรงเรียนการเมืองชั้นสูง(เป็นจุดเริ่มต้นแนวคิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง) พระปรีชาสามารถในด้านการทูตและการต่างประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับโลก และทรงมีชื่อเสียงการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย ทั้งยังทรงเป็นผู้วางกฎเกณฑ์ในการบัญญัติศัพท์ภาษาต่างประเทศด้วยคำบาลีและสันสกฤต สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กันยายน..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

พะเยาว์ พัฒนพงศ์

อาจารย์พะเยาว์ พัฒนพงศ์ (เยาว์) เป็นนักพูด วิทยากร และผู้บรรยายให้ความรู้การอบรมด้านการพูดที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย thumb.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพะเยาว์ พัฒนพงศ์

พินิจ รัตนกุล

รองศาสตราจารย์ ดร.พินิจ รัตนกุล รองศาสตราจารย์ ดร.พินิจ รัตนกุล นักวิชาการทางชีวจริยธรรม (Bioethics) จบการศึกษาปริญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับสอง) จากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาเอกวิชาปรัชญาจากมหาวิทยาลัยเยล สหรัฐอเมริกา หลังจากสอนวิชาปรัชญาที่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ย้ายมาก่อตั้งภาควิชามนุษยศาสตร์ ที่คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล‎ และนำวิชาปรัชญาไปบูรณาการกับวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และการพยาบาล พร้อมทั้งจัดทำหลักสูตรวิชาศาสนาเปรียบเทียบเพื่อสร้างครูอาจารย์สอนวิชาศาสนาในปริบทของศาสนาสัมพันธ์ ต่อจากนั้น ได้จัดตั้งโครงการศูนย์พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทางศาสนาและจริยธรรมที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล สมัยที่รองศาสตราจารย์ ดร.มันตรี จุลสมัย เป็นคณบดี และก่อตั้งวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ในปี..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพินิจ รัตนกุล

พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา

ตราจารย์ ท่านผู้หญิง พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ไกรยง) (12 ตุลาคม พ.ศ. 2453 - 23 ตุลาคม พ.ศ. 2558) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เกิดในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรีของนายฮันส์ ไกรเยอร์ นักธุรกิจชาวเยอรมันและนางเจียม ไกรยง ข้าหลวงในพระราชวังสวนสุนันทา ขณะอายุ 3 ปีครึ่ง บิดามารดาได้นำไปถวายตัวกับสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง ได้รับพระราชทานชื่อ “พูนทรัพย์” แต่เนื่องจากยังเล็กมาก จึงทรงฝากให้สมเด็จเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ทรงเลี้ยงดูไปก่อน โดยโปรดให้นอนหน้าพระแท่นบรรทม จากนั้นได้เจริญวัยอยู่ในพระราชวังพญาไท เป็นเวลานานถึง 20 ปี และด้วยการอุปการะเลี้ยงดูอย่างดี ทำให้ท่านเป็นผู้ที่มีกิริยาวาจา เรียบร้อย สง่างาม ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ มีแววเฉลียวฉลาดตั้งแต่วัยเด็ก สมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร จึงทรงสนับสนุนให้ได้เรียนที่โรงเรียนราชินี เมื่อจบการศึกษาแล้ว ได้เข้าเรียนต่อในคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยสำเร็จเป็นอักษรศาสตร์บัณฑิตรุ่นแรก และได้รับราชการในสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ต่อมาได้รับทุนบาเบอร์ประเทศสหรัฐอเมริกาไปศึกษาต่อด้านจิตวิทยาการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน แล้วจึงโอนมารับราชการเป็นอาจารย์ประจำที่ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นอกจากนี้แล้วยังเป็นผู้ก่อตั้งทุนธนชาต และธนาคารนครหลวงไท.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา

กระต่ายขูดมะพร้าว

กระต่ายขูดมะพร้าว เป็นเครื่องมือสำหรับขูดมะพร้าวที่ยังไม่ได้กะเทาะเปลือกออก เดิมทีการขูดเนื้อมะพร้าวคั้นกะทิ จะใช้ช้อนทำจากกะลามะพร้าวขูดให้เป็นฝอย ต่อมาทำเป็นฟันซี่โดยรอบ บางแห่งใช้ซีกไม้ไผ่บากรอยเป็นซี่สำหรับขูดมะพร้าว จนกระทั่งเมื่อมีการใช้เหล็กมาทำของใช้ในครัวเรือน จึงได้ตีเหล็กแผ่นบาง ๆ ตัดรูปโค้งมน ใช้ตะไบถู ทำซี่ละเอียดปลายเหล็กคมเรียกว่า "ฟันกระต่าย" นำส่วนเหล็กขูดฟันกระต่ายนี้ไปประกบหรือเข้าเดือยกับรูปตัวสัตว์ที่เตรียมไว้จนเป็นกระต่ายขูดมะพร้าว.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระต่ายขูดมะพร้าว

กรุณา บัวคำศรี

กรุณา บัวคำศรี เกิดวันที่ 18 เมษายน..2514 ชื่อเล่น นา ปัจจุบันเป็นพิธีกร และผู้ผลิตรายการ The World with Karuna ทาง PPTV HD ช่อง 36 กรุณา จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาโทจาก University of Sussex ประเทศอังกฤษ ชีวิตส่วนตัว กรุณาสมรสกับหนุ่มชาวต่างชาติอเล็กซานเดอร์ คอร์น เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรุณา บัวคำศรี

กรณ์ ศิริสรณ์

กรณ์ ศิริสรณ์ (เดิมชื่อ: วรกร ศิริสรณ์) เกิด 30 ตุลาคม..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรณ์ ศิริสรณ์

กฤษณา ไกรสินธุ์

ตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง กฤษณา ไกรสินธุ์ เกิดเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 เป็นเภสัชกรชาวไทยที่อุทิศตนช่วยเหลือผู้ป่วยในการผลิตยาในทวีปแอฟริกาและเอเชีย กฤษณาเป็นชาวเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี บิดาและมารดาเป็นบุคลากรทางสาธารณสุขทั้งคู่ จึงเป็นแรงบันดาลใจให้เธอประกอบวิชาชีพทางสาธารณสุขเช่นกัน ศาสตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง กฤษณา ไกรสินธุ์ หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ จบการศึกษาระดับอุดมศึกษา ณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หลังจากนั้นได้ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท สาขาเภสัชวิเคราะห์ มหาวิทยาลัยสตราห์ไคลด์ และปริญญาเอก สาขาเภสัชเคมี มหาวิทยาลัยบาธ สหราชอาณาจักร หลังจากจบการศึกษาแล้ว กฤษณาได้กลับมาดำรงตำแหน่งอาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาเภสัชเคมี ในปี พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกฤษณา ไกรสินธุ์

กฤตภาศ ศักดิษฐานนท์

กฤตภาศ ศักดิษฐานนท์ หรือ กฤต เป็นนักแสดงชาวไท.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกฤตภาศ ศักดิษฐานนท์

กอล์ฟ-ไมค์

กอล์ฟ - พิชญะ นิธิไพศาลกุล และ ไมค์ - พิรัชต์ นิธิไพศาลกุล เป็นคู่ศิลปินนักร้องเพลงไทยสากลแนวป็อป และ ฮิปฮอป อาร์แอนด์บี สังกัดบริษัทจีเอ็มเอ็ม แกรมมี.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกอล์ฟ-ไมค์

กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา

ตราจารย์ กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา (24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2457 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2539) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 อดีตเลขาธิการพระราชวัง และอดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลั.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา

กาญจนา นาคสกุล

ตราจารย์กิตติคุณ ดร.กาญจนา นาคสกุล ศาสตราจารย์กิตติคุณ กาญจนา นาคสกุล ราชบัณฑิตสำนักศิลปกรรม ประเภทวรรณศิลป์ สาขาภาษาไทย เป็นผู้เชี่ยวชาญภาษาและวรรณคดีไทย รวมทั้งภาษาและวรรณคดีเขมรมากที่สุดคนหนึ่งของประเทศ มีผลงานด้านการเขียนเกี่ยวกับภาษาไทยและภาษาเขมรเป็นจำนวนมาก กาญจนาเป็นที่รู้จักกันมากยิ่งขึ้นเมื่อจัดรายการ "ภาษาไทยวันละคำ" โดยหยิบยกคำภาษาไทยที่คนไทยใช้กันผิดพลาดมากมาอธิบายเพื่อให้เกิดความเข้าใจและใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องยิ่งขึ้น ในปี 2555 กาญจนาได้เสนอแนวทางการปรับปรุงคำยืมจากภาษาอังกฤษ 176 คำ แต่ได้ถูกคัดค้าน และทางราชบัณฑิตยสถานได้ ประกาศว่าจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกาญจนา นาคสกุล

กาญจนา นาคนันทน์

กาญจนา นาคนันทน์ เป็นนามปากกาของ นงไฉน ปริญญาธวัช (สกุลเดิม: นาคามดี; 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2464 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2557) ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (นวนิยายและเรื่องสั้น)..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกาญจนา นาคนันทน์

การศึกษาภาษาญี่ปุ่นในประเทศไทย

การศึกษาภาษาญี่ปุ่นในประเทศไทย บันทึกว่ามีจัดการเรียนการสอนยุคแรกเมื่อปีพุทธศักราช 2477 ในระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 7-8 แผนกวิสามัญภาษาต่างประเทศ ณ โรงเรียนมัธยมวัดบพิตรภิมุข กรมวิสามัญศึกษา กระทรวงธรรมการ ปัจจุบันคือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ พื้นที่บพิตรพิมุข จักรวรรดิ และเริ่มการสอนระดับอุดมศึกษาที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดสอนวิชาภาษาญี่ปุ่นเป็นวิชาเลือกใน..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการศึกษาภาษาญี่ปุ่นในประเทศไทย

กิจกรรมระหว่างมหาวิทยาลัยในประเทศไทย

กิจกรรมระหว่างมหาวิทยาลัย เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยต่าง ๆ อาทิ การจัดการแข่งขันกีฬา งานด้านวิชาการ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการจัดงานระหว่างคณะเดียวกัน ในแต่ละมหาวิทยาลัยอีกด้ว.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกิจกรรมระหว่างมหาวิทยาลัยในประเทศไทย

กิตติพัทธ์ ชลารักษ์

ท กิตติพัทธ์ ชลารักษ์ ชื่อเล่น กอล์ฟ เป็นนักแสดง พิธีกร ฝ่ายสร้างสรรค์รายการ (ครีเอทีฟ) จากรายการยอดฮิต เทยเที่ยวไท.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกิตติพัทธ์ ชลารักษ์

กุสุมา รักษมณี

ตราจารย์เกียรติคุณ กุสุมา รักษมณี เป็นนักภาษาและวรรณคดี ที่มีความเชี่ยวชาญทั้งภาษาและวรรณคดีสันสกฤต และภาษาและวรรณคดีไทย เคยสอนอยู่ที่ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพฯ อาจารย์กุสุมามีบทบาทอย่างมากในการนำทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤตมาอธิบายวรรณคดีไทย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ กุสุมา รักษมณี หรือ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.กุสุมา รักษมณี เกิดเมื่อวันที่ ปัจจุบันเป็นข้าราชการบำนาญ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกุสุมา รักษมณี

ญาณี จงวิสุทธิ์

ญาณี จงวิสุทธิ์ มีชื่อเล่นว่า ตุ๊ก เป็นนักแสดง และพิธีกรชาวไทย เป็นรุ่นพี่คณะเดียวกันกับ ผอูน จันทรศิริ นักแสดง และผู้กำกับการแสดงทั้งละครโทรทัศน์ ละครเวที และภาพยนตร.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและญาณี จงวิสุทธิ์

ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิชาภูมิศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดทำการเรียนการสอนทางด้านภูมิศาสตร.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ภิญโญ สาธร

ตราจารย์ ดร.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภิญโญ สาธร

ภูวดล ทรงประเสริฐ

การชุมนุมเมื่อปี พ.ศ. 2551 ศาสตราจารย์ ภูวดล ทรงประเสริฐ (เกิด พ.ศ. 2493 - ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช) ศาสตราจารย์ระดับ 10 ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปัจจุบัน เกษียณอายุราชการแล้ว ศาสตราจารย์ ภูวดล ทรงประเสริฐ หรือ ศาสตราจารย์ ดร.ภูวดล ทรงประเสริฐ เกิดที่ตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช เข้าศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนวัดสุทธิวราราม ปริญญาตรีและโทด้าน ประวัติศาสตร์ จากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาเอก ด้านประวัติศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยมอนาช ประเทศออสเตรเลี.ดร.ภูวดล ทรงประเสริฐ เป็นผู้ที่เคลื่อนไหวทางด้านสังคมและการเมืองมาโดยตลอด ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภูวดล ทรงประเสริฐ

ภคกัญญา เจริญยศ

กัญญา เจริญยศ อดีตสมาชิก คิส มี ไฟฟ์ จากค่าย กามิกาเซ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภคกัญญา เจริญยศ

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(มจร.) คือสถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนาชั้นสูงในรูปแบบมหาวิทยาลัย ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาขึ้นเพื่อถวายแด่คณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย โดยเริ่มจัดการเรียนการสอนด้านพุทธศาสตร์เป็นสาขาแรก แล้วต่อมาได้ขยายการเรียนการสอนไปยังสาขาวิชาอื่นๆ คล้ายกับรูปแบบการก่อตั้ง มหาวิทยาลัยปารีส ประเทศฝรั่งเศส และมหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด ประเทศอังกฤษ ที่เริ่มต้นจากสาขาด้านศาสนาแล้วขยายไปยังสาขาอื่นอีกมายมาย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือกำเนิดจาก "มหาธาตุวิทยาลัย" ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นภายในวัดมหาธาตุฯ เมื่อปี พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มินดา นิตยวรรธนะ

มินดา นิตยวรรธนะ (ชื่อเล่น: ปู; ชื่อเดิม: ศรินทรา) พิธีกรข่าว ครอบครัวข่าว 3 ทางไทยทีวีสีช่อง 3, อดีตพิธีกรข่าว สังกัดมีเดียออฟมีเดียส์ ทางช่อง 7 สี และอดีตผู้ประกาศข่าว สำนักข่าวไทย ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมินดา นิตยวรรธนะ

มณฑารัตน์ ทรงเผ่า

มณฑารัตน์ ทรงเผ่า (ชื่อเล่น: ปุ๋ย) เป็นนักแปลชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสตรีวิทยา 2 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (เอกภาษาอังกฤษธุรกิจ) และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (เอกการแปลและล่าม) มณฑารัตน์เริ่มทำงานที่บริษัทประกิตเอฟซีบี ซึ่งเป็นเอเยนซี่โฆษณา ต่อมาย้ายมาทำงานที่บริษัทมายด์แชร์ (ประเทศไทย) จำกัด เริ่มต้นทำงานแปลครั้งแรกกับสำนักพิมพ์มติชน โดยแปลเรื่อง ชิงหมาเกิด (Sick Puppy) ของ Carl Hiaasen และเมื่อออกจากงานประจำแล้วก็เริ่มแปลงานของ Jane Green จนติดอันดับหนังสือขายดี ได้แก่ รักของฉันพร่องมันเนย (Jemima J: A Novel About Ugly Ducklings and Swans) นอกจากนี้ ยังได้แปลหนังสือชุดบันทึกของเจ้าหญิง (Princess Diaries) ของ Meg Cabotและหนังสือชุดไมรอนโบลิทาร์ (Myron Bolitar)โดย Harlan Coben กับทางสำนักพิมพ์อมรินทร์ โดยผลงานล่าสุดคือการเป็นบรรณาธิการต้นฉบับให้กับนิยายชุดแนวแฟนตาซีเรื่อง เคหาสน์รัตติกาล (House of Night) ซึ่งตีพิมพ์ออกมาแล้วสิบเล่มด้วยกัน ปัจจุบันได้ออกจากงานประจำและหันมาทำงานแปลเป็นอาชีพ ร่วมกับการเป็นบรรณาธิการต้นฉบับ และเป็นวิทยากรสอนในคอร์สการแปลนิยายของสำนักพิมพ์อมรินทร.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมณฑารัตน์ ทรงเผ่า

มนัสนิตย์ วณิกกุล

ท่านผู้หญิงมนัสนิตย์ วณิกกุล (สกุลเดิม: ศรีวิสารวาจา; 27 มกราคม พ.ศ. 2471 - 30 เมษายน พ.ศ. 2558) อดีตราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สำนักราชเลขาธิการ และอดีตเลขาธิการมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ โดยได้ถวายงานรับใช้เบื้องพระยุคลบาทมาเป็นเวลานานกว่า 60 ปี.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมนัสนิตย์ วณิกกุล

มนันยา ธนะภู

มนันยา เป็นนามปากกาของ มนันยา ธนะภูมิ (นามสกุลเดิม วิทยานนท์) นักเขียนเรื่องสั้น สารคดี และนักแปลนวนิยายจากภาษาอังกฤษ ผลงานที่มีชื่อเสียงคือเรื่องสั้นชุด "ชาวเขื่อน" ที่เขียนจากประสบการณ์จริงขณะติดตามสามีที่เป็นวิศวกรกรมชลประทาน ควบคุมงานก่อสร้างเขื่อนกิ่วลม จังหวัดลำปาง เมื่อ พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมนันยา ธนะภู

รวงทอง ทองลั่นธม

รวงทอง ทองลั่นธม (บางแห่งเขียนเป็น รวงทอง ทองลั่นทม) (8 พฤษภาคม พ.ศ. 2480 -) นักร้องวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ และ วงสุนทราภรณ์ มีชื่อเสียงจากเพลง จำได้ไหม และ ขวัญใจเจ้าทุย รวมทั้งได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ ประจำปี..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรวงทอง ทองลั่นธม

รัดเกล้า อามระดิษ

รัดเกล้า อามระดิษ (เกิด 16 ตุลาคม พ.ศ. 2512) เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย ด้านการร้องเพลง รัดเกล้าเป็นศิลปินหญิงสุดยอดคุณภาพระดับแนวหน้าของประเทศไทย และเป็น 1 ใน 3 นักร้องสมัครเล่นยอดเยี่ยมแห่งเอเซีย (อีกสองท่านคือ นันทิดา แก้วบัวสาย และมณีนุช เสมรสุต) มีผลงานเพลงเป็นที่รู้จัก เช่น "ลมหายใจ", "โปรดเถอะ" และ"บีบมือ" ด้านการแสดงรัดเกล้าได้รับรางวัลนาฏราชสาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากละครสุดแค้นแสนรักใน..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัดเกล้า อามระดิษ

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

รายชื่อคณะมนุษยศาสตร์ในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาในกลุ่มมนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ และอักษรศาสตร์ เช่น วิชาด้านภาษา ภาษาศาสตร์ วรรณกรรม วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา และจิตวิทยา เป็นต้น.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายชื่อคณะมนุษยศาสตร์ในประเทศไทย

รายชื่อคณะสังคมศาสตร์ในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาในกลุ่มสังคมศาสตร์ คือ สาขาวิชาที่ใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เพื่อศึกษาโลกในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ หน่วยสังคมต่าง ๆ ของมนุษย์ รวมทั้งพฤติกรรมของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ วิชาในสังคมศาสตร์แตกต่างจากวิชาในกลุ่มมนุษยศาสตร์ เนื่องจากหลาย ๆ สาขาวิชาในสังคมศาสตร์เน้นการหาความรู้และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการดำเนินพฤติกรรมของมนุษย์และปรากฏการณ์ทางสังคมด้วยกระบวนการแบบปฏิฐานและประจักษ์นิยม ทั้งเชิงปริมาณ (quantitative method) และเชิงคุณภาพ (qualitative method) อย่างเป็นวิทยาศาสตร.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายชื่อคณะสังคมศาสตร์ในประเทศไทย

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รตวรรณ ออมไธสง

รตวรรณ ออมไธสง (ชื่อเล่น: มิน,เนย) เป็น นักแสดง ชาวไท.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรตวรรณ ออมไธสง

วรลักษณ์ พับบรรจง

รองศาสตราจารย์ วรลักษณ์ พับบรรจง เป็นอาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร และผู้สอนภาษาบาลีและสันสกฤตในภาษาไท.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวรลักษณ์ พับบรรจง

วันภาษาไทยแห่งชาติ

วันภาษาไทยแห่งชาติ หรือ วันภาษาไทย ตรงกับวันที่ 29 กรกฎาคม ของทุกปี เพื่อระลึกถึงเหตุการณ์ในวันที่ 29 กรกฎาคม..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวันภาษาไทยแห่งชาติ

วิกรม คุ้มภัยโรจน์

ร.วิกรม คุ้มภัยโรจน์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ดร.วิกรม จบการศึกษาปริญญาเอกทางประวัติศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตท ใน รัฐมิชิแกน สหรัฐอเมริกา มีผลงานวิทยานิพนธ์เรื่องปัญหาสิทธิของชาวต่างชาติในประเทศไทย โดยปัญหาที่ศึกษาส่วนใหญ่เป็นเรื่องของการสูญเสียดินแดนของประเทศไทย ให้กับประเทศมหาอำนาจอย่างอังกฤษและฝรั่งเศส หลังจบการศึกษา ดร.วิกรม เคยเป็นอาจารย์พิเศษสอนนักศึกษาระดับปริญญาโทอยู่ที่ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดร.วิกรม เป็นหนึ่งในบอร์ดสโมสรฟุตบอล แมนเชสเตอร์ ซิตี ของ.ต.ท.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิกรม คุ้มภัยโรจน์

วิรัตน์ ชมะนันทน์

ณหญิง วิรัตน์ ชมะนันทน์ ภริยาของพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ นายกรัฐมนตรี คนที่ 15 ของไท.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิรัตน์ ชมะนันทน์

วิสุทธ์ บุษยกุล

ตราจารย์วิสุทธิ์ บุษยกุล ศาสตราจารย์วิสุทธิ์ บุษยกุล (เกิด: 8 พฤศจิกายน 2462, จังหวัดอุดรธานี; อนิจกรรม: 21 มกราคม 2554, กรุงเทพมหานคร) บิดาเป็นชาวจังหวัดอุดรธานี มารดาเป็นชาวสมุทรสงคราม เนื่องจากบิดารับราชการในแผนกคลังจังหวัด เด็กชายวิสุทธิ์จึงต้องติดตามบิดาไปอยู่จังหวัดนครพนมตั้แต่อายุประมาณ 2-3ขวบ และได้เริ่มเรียนหนังสือที่โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จึงได้ย้ายไปศึกษาต่อที่ โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิสุทธ์ บุษยกุล

วุฒิเฉลิม วุฒิชัย

วุฒิเฉลิม วุฒิชัย (21 พฤษภาคม พ.ศ. 2477) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร กับหม่อมประพันธ์ วุฒิชัย ณ อ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวุฒิเฉลิม วุฒิชัย

ศรีศักร วัลลิโภดม

.พิเศษศรีศักร วัลลิโภดมในการบรรยายที่แพร่งภูธร เมื่อ 31 กค.2553 ศาสตราจารย์พิเศษ ศรีศักร วัลลิโภดม นักวิชาการด้านโบราณคดีและมานุษยวิทยาชาวไทย เจ้าของรางวัลวัฒนธรรมเอเชียฟูกูโอกะ ประจำปี..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศรีศักร วัลลิโภดม

ศิรินุช เพ็ชรอุไร

รินุช เพ็ชรอุไร (ชื่อเล่น: ก้อย) นักแสดงละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ ละครเวที และครูสอนการแสดงชาวไทย ปัจจุบันเป็นผู้กำกับละครเวที และแสดงละครโทรทัศน์ เช่น ปิ่นอนงค์, ธรณีนี่นี้ใครครอง, แม่ยายคงกระพัน, สุสานคนเป็น และ แค้นเสน่หา เป็นต้น.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศิรินุช เพ็ชรอุไร

สมฤทัย พรหมจรรย์

มฤทัย พรหมจรรย์ (ชื่อเล่น พริ้ง) เกิดเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมฤทัย พรหมจรรย์

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมัคร สุนทรเวช

สมาพร รังษีกุลพิพัฒน์

มาพร รังษีกุลพิพัฒน์ (ชื่อเล่น: ปุ๊ก; นามสกุลเดิม: ชูกิจ; เกิด: 17 ตุลาคม พ.ศ. 2515) พิธีกรและนักจัดรายการวิทยุชาวไทย การศึกษา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมรสกับสัมพันธ์ รังษีกุลพิพัฒน์ เลขานุการนายกเทศมนตรี เทศบาลนครเชียงราย โดยจดทะเบียนสมรส เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมาพร รังษีกุลพิพัฒน์

สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา

ท่านผู้หญิง สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา (10 มกราคม 2456 - 5 มีนาคม 2550) เป็นผู้ประพันธ์คำร้องในเพลงพระราชนิพนธ์ ค่ำแล้ว, มหาจุฬาลงกรณ์, เมื่อโสมส่อง, ลมหนาว, พณิชยการพระนคร.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

สวัสดี

วัสดี เป็นคำทักทายของคนไทย โดยจะใช้เมื่อแรกพบกัน หรือ เมื่อต้องการบอกลา โดยพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายของคำว่า "สวัสดี (สวัสดิ์) " ว่าหมายถึง ความดี ความงาม ความเจริญรุ่งเรือง และความปลอดภั.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสวัสดี

สว่างวัน ไตรเจริญวิวัฒน์

ว่างวัน ไตรเจริญวิวัฒน์ ผู้แปลภาษาสเปนอย่างเป็นทางการ โดยการรับรองจากสถานเอกอัครราชทูตสเปนประจำประเทศไทย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ ประจำสาขาวิชาภาษาสเปน ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาวรรณคดีสเปนและละตินอเมริกัน.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสว่างวัน ไตรเจริญวิวัฒน์

สืบแสง พรหมบุญ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สืบแสง พรหมบุญ อดีตนักวิชาการทางประวัติศาสตร์ นักการศึกษา และนักการเมืองชาวไทย ผ.ดร.สืบแสง เกิดเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสืบแสง พรหมบุญ

สุภา สิริสิงห

ริสิงห (13 สิงหาคม พ.ศ. 2488 -) นักเขียนชาวไทย เจ้าของนามปากกา "โบตั๋น" ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุภา สิริสิงห

สุภาพรรณ ณ บางช้าง

thumb รองศาสตราจารย์ ดร.สุภาพรรณ ณ บางช้าง หรือ แม่ชีวิมุตติยา เป็นแม่ชีในศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ในอดีตท่านเคยเป็นรองศาสตราจารย์ ประจำคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่านสำเร็จการศึกษาอักษรศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) เมื่อ..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุภาพรรณ ณ บางช้าง

สุมาลี บำรุงสุข

มาลีที่ร้านนานมีบุ๊คส์ สุมาลี เกิดที่กรุงเทพฯ เมื่อ พ.ศ. 2498 เติบโตขึ้นมาในครอบครัวที่รักการอ่าน เป็นพี่น้องร่วมสายเลือดกับศาสตราจารย์ ดร.สุรชาติ บำรุงสุข และผ.ดร.สุกัญญา บำรุงสุข คุณสุมาลีเริ่มเขียนหนังสือสำหรับเด็กให้นิตยสาร สตรีสารภาคพิเศษ ตั้งแต่อายุ 15 ปี เมื่อจบจากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทำงานในกองบรรณาธิการวารสารสำหรับเด็กชื่อ สวิตา อยู่ระยะหนึ่ง ก่อนเบนเข็มไปทำงานวิชาการ แต่ยังคงเขียนและแปลหนังสือสำหรับเด็กเป็นงานอดิเรกอยู่เสมอ ปัจจุบันมีอาชีพเป็นนักเขียนอิสระ พำนักอยู่ที่แมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ ผลงานหนังสือเด็กที่พิมพ์เผยแพร่แล้ว นอกจากชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ซึ่งสุมาลีแปลแฮร์รี่ภาค1,2,5,6และ7 และเขียนเรื่อง เรื่องของม่าเหมี่ยว ม่าเหมี่ยวและเพื่อน นิทานเจ้าหญิง (แปลร่วมกับเพื่อนๆ) เรื่องเล่าก่อนเข้านอน และ ปริศนาหน้าร้อน นิยายสำหรับวัยรุ่นคือ ลวงรัก หลังจากเสร็จสิ้นงานแปล แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต เธอกำลังปรับปรุงต้นฉบับเรื่องเด็กล่าสุด ม็อกแมวมหัศจรรย์ หลังจากนั้นสุมาลียังได้แปลเรื่อง นิทานของบีเดิลยอดกวีซึ่งเป็นหนังสือประกอบของหนังสือชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์อีกด้ว.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุมาลี บำรุงสุข

สุริยา รัตนกุล

ตราจารย์เกียรติคุณ ดร. คุณหญิงสุริยา รัตนกุล ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.คุณหญิง สุริยา รัตนกุล จบการศึกษาระดับปริญญาตรีได้รับ เกียรตินิยมอันดับหนึ่งจากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมทั้งได้รับพระราชทานทุนอานันทมหิดล ในการศึกษาต่อระดับปริญญาเอกทางภาษาศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยปารีส(ซอร์บอน) ในระยะต่อมาหลังจากจบปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยปารีสแล้ว อาจารย์ท่านได้สอนที่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แล้วย้ายมามหาวิทยาลัยมหิดลก่อตั้งรวมถึงเป็นผู้อำนวยการโครงการศูนย์ศึกษาวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชียอาคเนย์ ซึ่งต่อมาพัฒนาโครงการนี้มาเป็นสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท พร้อมทั้งดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการคนแรก 2 วาระติดกัน ระหว่าง..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุริยา รัตนกุล

สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ

รองศาสตราจารย์ ดร.สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ (28 เมษายน พ.ศ. 2499 – 27 กันยายน พ.ศ. 2560) คือ นักวิชาการทางด้านประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ อดีตรองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุธาชัย ยิ้มประเสริฐ

สุเนตร ชุตินธรานนท์

ตราจารย์ สุเนตร ชุตินธรานนท์ นักประวัติศาสตร์ และนักเขียนบทภาพยนตร์ชาวไท.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุเนตร ชุตินธรานนท์

สีเทา

ีเทา เป็นสีที่อยู่ระหว่างสีขาวและสีดำซึ่งเป็นสีที่ไม่มีสีสัน สีเทาในภาษาอังกฤษสะกดได้สองอย่างคือ grey (อังกฤษบริเตน) และ gray (อังกฤษอเมริกัน) ไทยสมัยโบราณมีคำเรียก "สีเหล็ก" หมายถึงสีเทาออกดำ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสีเทา

สถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chulalongkorn University Language Institute) มีชื่อย่อคือ CULI เป็นสถาบันหนึ่งในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดขึ้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 27 พฤศจิกายน..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

สดใส พันธุมโกมล

รองศาสตราจารย์ สดใส พันธุมโกมล (สกุลเดิม วานิชวัฒนา) เกิดเมื่อวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2476 ที่กรุงเทพมหานคร อาจารย์พิเศษคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยเข้าร่วมประกวดนางงามจักรวาล ปี 1959 ที่สหรัฐอเมริกาด้วย และคว้าตำแหน่งนางงามมิตรภาพ หรือ Miss Amity มาครองได้สำเร็จ รองศาสตราจารย์ สดใส พันธุมโกมล เป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาศิลปะการละคร ผู้ร่วมก่อตั้งชมรมดนตรีสากล สจม.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสดใส พันธุมโกมล

หม่อมราชวงศ์พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิวัตน์

รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์ พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตคณบดีวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และอดีตรองอธิการบดีฝ่ายวางแผนพัฒนา ม.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมราชวงศ์พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิวัตน์

หม่อมราชวงศ์กัลยา ติงศภัทิย์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.หม่อมราชวงศ์ กัลยา ติงศภัทิย์ รองอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,อดีตคณบดีคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมราชวงศ์กัลยา ติงศภัทิย์

หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ

ตราจารย์พิเศษ หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ (13 ธันวาคม พ.ศ. 2454 - 7 มิถุนายน พ.ศ. 2524) เดิมชื่อ หม่อมหลวงบุญเหลือ กุญชร เป็นนักเขียน และนักวิชาการภาษาไทย เป็นธิดาลำดับที่ 32 ของเจ้าพระยาเทเวศรวงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ

หม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาค

ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค มีนามเดิมว่า หม่อมหลวงมณีรัตน์ สนิทวงศ์ ป.., ท..ว.,.ป.ร. 1 (23 มิถุนายน พ.ศ. 2465-23 เมษายน พ.ศ. 2543) เป็นน้องสาวร่วมบิดามารดาเพียงคนเดียวของหม่อมหลวงบัว กิติยากร พระชนนีในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ท่านมีผลงานที่สร้างชื่อเสียงมากมาย อาทิเช่น เป็นผู้ประพันธ์คำร้องภาษาไทยในเพลงพระราชนิพนธ์ ความฝันอันสูงสุด เพลินภูพิงค์ เกิดเป็นไทย ตายเพื่อไทย แผ่นดินของเรา เตือนใจ ไร้เดือน เกาะในฝัน มาร์ชราชนาวิกโยธิน หม่อมหลวงมณีรัตน์ สมรสกับนายสุรเทิน บุนนาค บุตรอำมาตย์ตรี พระพิศาลสุริยศักดิ์ (เทิน บุนนาค) และ นางผัน พิศาลสุริยศักดิ์ (สกุลเดิม สินธุสาร) มีบุตรชาย 2 คน คือ พลตรีกรีเมศร์ บุนนาค และพันโทสุรธัช บุนนาค หม่อมหลวงมณีรัตน์ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ จึงใช้คำนำหน้าท่านผู้หญิง.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาค

หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์

ตราจารย์ ร้อยเอก หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2455 - 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) อดีตองคมนตรี,อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการและเป็นนักภาษาศาสตร์ชาวไทยเชี่ยวชาญด้านภาษาบาลีและสันสกฤต หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมายได้แก่องคมนตรี,อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ,ราชบัณฑิต สำนักศิลปกรรม แห่งราชบัณฑิตยสภา ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาบาลีและสันสกฤต คณบดีคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานคณะกรรมการแผนกอักษรศาสตร์ มูลนิธิอานันทมหิดล ระหว่างที่ศึกษาอยู่เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพา หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ไปทำงานเสรีไทย เป็นทหารในกองทัพบกอังกฤษ จนกระทั่งสงครามเสร็จสิ้นจึงปลดประจำการขณะมียศร้อยเอก.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์

หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์

หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์ เป็นธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติแต่หม่อมเจิม สนธิรัตน.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์

หม่อมเจ้ารัชฎาภิเศก โสณกุล

ตราจารย์ หม่อมเจ้ารัชฎาภิเศก โสณกุล (16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2435 — 5 กันยายน พ.ศ. 2492) ประสูติเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2435 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดากับหม่อมเอม ในปีที่ประสูตินั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงฉลองสิริราชสมบัติครบ 25 ปีสัจธรรม.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมเจ้ารัชฎาภิเศก โสณกุล

หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล

ตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล (23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 — 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) เป็นนักประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีชาวไทย ทรงเป็นบุคคลคนแรกที่พบทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ ปราสาทพนมรุ้ง อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ ในสถาบันศิลปะแห่งชิคาโก สหรัฐอเมริกา จนมีการทวงทับหลังชิ้นกลับคืนสู่ประเทศไทย ทรงเป็นหนึ่งในบุคคลไทยที่ทรงมีคุณูปการเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีไท.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล

หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร

หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร (15 มีนาคม พ.ศ. 2444 - 28 มกราคม พ.ศ. 2510) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าหญิงอัปสรสมาน เทวกุล หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ เมื่อสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนราชวิทยาลัย สมัยบางขวางแล้ว ก็ทรงศึกษาต่อที่ประเทศฝรั่งเศส เมื่อ..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร

หลวงพรตพิทยพยัต (พรต เดชา)

ตราจารย์พรต เดชา หรือ อำมาตย์โท ศาสตราจารย์ หลวงพรตพิทยพยัต (Luang Brata) เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2438 เป็นอาจารย์ชาวไทย เริ่มดำรงตำแหน่งเป็นอาจารย์พิเศษสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ พรตเคยดำรงตำแหน่งสำคัญทางการศึกษาเป็นคณบดีคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในช่วง..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหลวงพรตพิทยพยัต (พรต เดชา)

หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกโดยย่อว่า หอประชุมจุฬาฯ เป็นหอประชุมใหญ่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีความเป็นมาคู่กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาอย่างยาวนาน อีกทั้งยังมีเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์เกิดขึ้นที่อาคารแห่งนี้หลายเหตุการณ์ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร หอประชุมจุฬาฯ เป็นสิ่งปลูกสร้างที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของภูมิทัศน์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำให้เกิดการปรับภูมิทัศน์โดยรอบ เช่น การขุดสระน้ำด้านหน้าประตูใหญ่ ตัดถนนรอบสนามรักบี้และสร้างลานพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า จนกระทั่งในปี พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อลีสญาฌ์ ทอย

อลีสญาฌ์ ทอย หรือ อลิส ทอย (1 มิถุนายน พ.ศ. 2534 —) ลูกครึ่งไทย-ฮ่องกง เป็นบุตรสาวคนโตของครอบครัว ”ทอย” มีน้อง 2 คน ได้แก่ สมิทธ์ ทอยและอมิตา ทอย เริ่มเข้าวงการจากการประกวด S’Club Talented Boys and Girl 2008 และมีผลงานทั้งถ่ายแบบ เอ็มวี โฆษณา และอื่นๆ ร่วมไปถึงภาพยนตร์เรื่อง “หลุดสี่หลุด” และ “เพื่อนไม่เก่า” จากนั้นได้ตำแหน่งผู้ชนะจากรายการ “The Hunt (ถ้าใช่ ได้เกิด)” ของจีเอ็มเอ็มทีวี และได้เป็นพิธีกรในช่องแบงแชนแนลจนถึงปัจจุบัน.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอลีสญาฌ์ ทอย

อักษรศาสตรบัณฑิต

อักษรศาสตรบัณฑิต (Baccalaureus Litterarum หรือ Litterarum Baccalaureus, Bachelor of Letters ตัวย่อ อ.บ., B.Litt. หรือ Litt.B.) เป็นปริญญาในระดับปริญญาตรีระดับสองในมหาวิทยาลัยสำหรับนักศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาที่เกี่ยวข้องตามความสนใจเฉพาะบุคล วิชาชีพ หรือการพัฒนาทางวิชาการ ขอบเขตของการศึกษาในสาขานี้อาจได้รับก่อนการศึกษาในระดับปริญญาตรีไม่ได้ศึกษาในเชิงลึก หรืออาจไม่เคยมีการเรียนการสอนต่อนักศึกษาอย่างเป็นทางการมาก่อนก็ได้ ปริญญานี้มีการมอบที่น้อยกว่าในหลายศตวรรษก่อนหน้าและในช่วงเวลาปัจจุบัน มีเพียงมหาวิทยาลัยสองแห่งในออสเตรเลียที่มอบปริญญานี้เท่านั้น.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอักษรศาสตรบัณฑิต

อัญชลี วิวัธนชัย

อัญชลี วิวัธนชัย หรือที่รู้จักกันในนามปากกา อัญชัน (26 กันยายน พ.ศ. 2495 -) เกิดที่ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เดิมชื่อ อัญชลี สุธรรมพิทักษ์ สมรสกับ อนุสรณ์ วิวัธนชัย เมื่อ..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอัญชลี วิวัธนชัย

อัฐมา ชีวนิชพันธ์

อัฐมา ชีวนิชพันธ์ (ชื่อเล่น: โบวี่) เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2528 เป็นนักแสดงชาวไทย จบการศึกษาระดับประถมที่โรงเรียนถนอมพิศวิทยา ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 จากโรงเรียน นวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา และระดับปริญญาตรี คณะอักษรศาสตร์ ภาควิชาศิลปะการละคร เกียรตินิยมอันดับ 2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ก่อนหน้าอัฐมาเคยศึกษาในสาขาภาษาญี่ปุ่น คณะเดียวกัน).

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอัฐมา ชีวนิชพันธ์

อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ

อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ (ชื่อเล่น: จิ๊) ซึ่งเป็นที่รู้จัก และเรียกกันติดปากว่า ป้าจิ๊ เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย ได้รับรางวัลจากผลงานการแสดง ครบทั้ง 4 รางวัลหลักคือ รางวัลพระสุรัสวดี, รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์, รางวัลโทรทัศน์ทองคำ และรางวัลเมขลา มีน้องชายหนึ่งคน (ชื่อเล่น: โจ้)อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ, รักแม่ สุดหัวใจ, ลิปส์ พับลิชชิง,..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ

อังกาบ บุณยัษฐิติ

ท่านผู้หญิงอังกาบ บุณยัษฐิติ เป็นผู้จัดการและผู้อำนวยการโรงเรียนจิตรลดา และเป็นอธิการบดีวิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรล.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอังกาบ บุณยัษฐิติ

อันธิยา เลิศอัษฎมงคล

ร.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอันธิยา เลิศอัษฎมงคล

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

การจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

อารดา อารยวุฒิ

อารดา อารยวุฒิ (ชื่อเล่น: ดาร์ลิ่ง) เกิดเมื่อ วันพุธ ที่ 3 กุมภาพันธ์ 2536 เป็นอดีตสมาชิกวงชูการ์ อายส์ สำเร็จการศึกษาที่ระดับมัธยมที่ Wells International School และระดับอุดมศึกษาที่ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักสูตรนานาชาต.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอารดา อารยวุฒิ

อาคารอนุรักษ์

อาคารอนุรักษ์ คืออาคารเก่าที่มีคุณค่าทางทางสถาปัตยกรรม สมควรได้รับการบูรณะและอนุรักษ์ โดยหน่วยงานที่เป็นกำลังหลักในการส่งเสริมคือ คณะกรรมาธิการอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีกิจกรรมมอบรางวัลด้านการอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นองค์ประธานการมอบรางวัลอาคารอนุรักษ์ดีเด่น อย่างต่อเนื่องทุกปี ตั้งแต..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอาคารอนุรักษ์

อำพล ตั้งนพกุล

อำพล ตั้งนพกุล หรือมักเรียกกันว่า อากง (1 มกราคม 2491 — 8 พฤษภาคม 2555) เป็นชายไทยซึ่งเป็นที่รู้จักเนื่องจากถูกฟ้องว่า ในกลางปี 2553 ได้ส่งข้อความสั้นทางโทรศัพท์เคลื่อนที่สี่ข้อความไปหาสมเกียรติ ครองวัฒนสุข เลขานุการของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น โดยมีเนื้อหาหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้ายต่อพระมหากษัตริย์และพระราชินี อันเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 และกฎหมายว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ต่อมา ถูกศาลอาญาพิพากษาจำคุกยี่สิบปี ได้ถึงแก่ความตายในเรือนจำ และผู้สนับสนุนตั้งพิธีศพที่หน้าศาลอาญากับรั.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอำพล ตั้งนพกุล

อิราวดี นวมานนท์

อิราวดี นวมานนท์ (น้ำอบ) อิราวดี นวมานนท์ (18 มีนาคม พ.ศ. 2494 – 1 ตุลาคม พ.ศ. 2540) หรือนามปากกา น้ำอบ เป็นนักเขียนชาวไทย ผู้เขียน คือหัตถาครองพิภพ และ ผู้ชายไม้ประดับ อิราวดี นวมานนท์ เกิดเมื่อวันที่ 18 มีนาคม..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอิราวดี นวมานนท์

อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล

ร.อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล จบการศึกษาระดับปริญญาตรี (เกียรตินิยม) ปริญญาโท (ภาษาบาลี) และปริญญาเอก (ภาษาไทย) จากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล หรือ ดร.อนันต์ มีความรู้ ความสนใจพิเศษในภาษาตะวันออกหลายภาษา เช่น ภาษาบาลี, สันสกฤต, ภาษาจีน, ภาษาเขมร, ภาษามลายู โดยเฉพาะในส่วนที่สัมพันธ์กับภาษาไทย และมีความสนใจศึกษาถึงวัฒนธรรมของชนชาติต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย เช่น ชาวอินเดีย, ชาวไท มีผลงานด้านวิชาการที่เป็นการอธิบายศัพท์และสำนวนภาษาต่าง ๆ ซึ่งได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีเด่นระดับชาติ ประจำปี พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอนันต์ เหล่าเลิศวรกุล

ผอูน จันทรศิริ

ผอูน จันทรศิริ เป็นนักแสดง และผู้กำกับการแสดง มีผลงานกำกับทั้งละครโทรทัศน์ ละครเวที และภาพยนตร.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผอูน จันทรศิริ

ผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศ

ผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 ประธานผู้ตรวจการแผ่นดินของประเทศไทย อดีตปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และอดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศ

ผุสชา โทณะวณิก

ผุสชา โทณะวณิก (ชื่อเล่น ตุ้ม) มีความสามารถหลากหลาย ทั้งงานเบื้องหน้าและเบื้องหลัง มีชื่อเสียงจากการเป็นพิธีกรโทรทัศน์รายการจันทร์กะพริบ และคอนเสิร์ตคอนเทสต์ เป็นนักร้องเสียงหวานที่มีผลงานมาแล้ว 4 อัลบั้มเพลงที่โด่งดังคือ ฝัน ฝันหวาน เธอยังเป็นจิตอาสาร้องเพลงเพื่อเด็กและศาสนาให้แก่เสถียรธรรมสถานและสถาบันวิมุตตยาลัยและยังเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ด้านการพูด การนำเสนอ การเป็นพิธีกรให้แก่คนรุ่นใหม่ และบุคลากรในองค์กรต่าง.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผุสชา โทณะวณิก

จันทนีย์ อูนากูล

ันทนีย์ อูนากูล หรือ จันทนีย์ พงศ์ประยูร (19 พฤษภาคม 2500 —) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง ที่มีผลงานที่มีชื่อเสียงจากเพลง "สายชล" และ "ลองรัก" จันทนีย์ เกิดที่กรุงเทพมหานคร เติบโตที่จังหวัดชลบุรี จบการศึกษาจากโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และศึกษาต่อที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังจบการศึกษาเมื่อ..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจันทนีย์ อูนากูล

จำกัด พลางกูร

ันตรี จำกัด พลางกูร เลขาธิการขบวนการเสรีไทยสายในประเทศ พันตรี จำกัด พลางกูร (30 ตุลาคม พ.ศ. 2457 - 7 ตุลาคม พ.ศ. 2486) สมาชิกและเลขาธิการเสรีไทยสายในประเทศ และ ผู้แทนขบวนการเสรีไทยผู้มีอำนาจเต็มเดินทางไปแจ้งข่าวและเจรจากับฝ่ายสัมพันธมิตรที่เมืองฉงชิ่ง ประเทศจีน ระหว่างปลายเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจำกัด พลางกูร

จิตร ภูมิศักดิ์

ตร ภูมิศักดิ์ (25 กันยายน พ.ศ. 2473 — 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2509) เป็นนักคิดด้านการเมือง นักประวัติศาสตร์ และนักภาษาศาสตร์ นับเป็นนักปราชญ์และนักปฏิวัติทางความคิดและวิชาการคนสำคัญของประเทศไทย จิตรเป็นนักวิชาการคนแรกๆ ที่กล้าถกเถียงและคัดค้านปราชญ์คนสำคัญ ด้วยวิธีคิดที่มีเหตุผลและลุ่มลึก มีความโดดเด่นจากผลงานการค้นคว้าทางวิชาการที่แปลกใหม่และลึกซึ้ง ขณะเดียวกันจิตรยังมีความคิดต่อต้านระบบเผด็จการและการใช้อำนาจกดขี่ของชนชั้นสูงมาโดยตลอด, จากโซ่ตรวนถึงความตายวาระสุดท้ายแห่งชีวิตจิตร ภูมิศักดิ์ จิตรเสียชีวิตในปี..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจิตร ภูมิศักดิ์

จินตนา ภักดีชายแดน

นตนา ภักดีชายแดน (นามสกุลเดิม ปิ่นเฉลียว) เป็นชื่อจริงของนักเขียนนวนิยายแนวระทึกขวัญที่รู้จักกันดีในนาม จินตวีร์ วิวัธน์ และยังได้ชื่อว่าเป็นกวีหญิงฝีปากกล้าคนหนึ่งของคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่มีชื่อเสียงเลื่องลือไกลออกไปนอกรั้วอุดมศึกษา ไม่ว่าจะเป็นกลอนวิพากษ์สังคม การเมือง กลอนหวาน หรือแม้แต่กลอนหักมุม ส่วนบทประพันธ์นวนิยายของจินตนา นอกจากจะเป็นแนวสยองขวัญที่หยิบยกเอาเรื่องผีสาง ความเร้นลับ หรือความเชื่อโบราณ มาผูกเป็นเรื่องราวแล้ว ยังมีอีกหลายเรื่องที่ถือเป็นนวนิยายอันโดดเด่นและฉีกแนวออกไปจากนวนิยายของนักเขียนคนอื่น ๆ ในสมัยเดียวกันเป็นอย่างมาก จากการนำเรื่องราวของวิทยาศาสตร์ ปรจิตวิทยา หรือแม้แต่พฤกษศาสตร์ เข้ามาผนวกกับความเชื่อและความสยองขวัญอันชวนระทึก จนเกิดเป็นนวนิยายแนวไซ-ไฟระทึกขวัญที่มีความเหนือล้ำกาลเวลา ชนิดไม่ว่าจะผ่านไปกี่สิบปี ความทันสมัยของตัวเนื้อหาในนวนิยายก็ล้วนยังชวนให้น่าทึ่ง ระคนไปกับความระทึกอันเป็นอารมณ์หลักของเรื่อง ซึ่งมีจุดเชื่อมโยงกันได้อย่างลงตัว เช่น กึ่งหล้าบาดาล ศีรษะมาร มนุษย์สังเคราะห์ มฤตยูเขียว เป็นต้น แม้กระทั่งงานเขียนแนวร่วมสมัยที่นำเอาเรื่องราวต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น อารยธรรมโบราณ เทพปกรณัม อสุรกาย ภูตผี มาผนวกเข้ากับความสยองขวัญจนเกิดเป็นจินตนิยายระทึกขวัญที่ผสมกลมกลืนกับความเป็นไทยได้อย่างกลมกล่อม อาทิ อมฤตาลัย หรือสาบนรสิงห์ เป็นต้น ก็ได้ปรากฏภายใต้การจรดอักษรของจินตนามาแล้วเช่นกัน ที่สำคัญ บทประพันธ์หลายเรื่องภายใต้นามปากกาต่าง ๆ ของจินตนา ยังได้ถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์โทรทัศน์มาแล้วแทบทั้งสิ้น อาทิ ศีรษะมาร สาบนรสิงห์ คฤหาสน์ดำ ขุมทรัพย์โสมประภา อมฤตาลัย สุสานภูเตศวร มฤตยูเขียว วังไวกูณฑ์ อาศรมสาง บ้านศิลาทราย มายาลวง มายาพิศวาส นอกจากนี้ก็ยังมี บุปผาเพลิง ที่ได้รับการสร้างเป็นละครวิทยุอีกด้วย จากการประสบความสำเร็จดังกล่าวข้างต้น จึงถือเป็นเครื่องยืนยันความยอดเยี่ยมในผลงานของจินตนาได้เป็นอย่างดี ทว่าจะมีสักกี่คนที่รู้ว่าผลงานชวนระทึกขวัญทุกชิ้นดังกล่าวนั้น จะเกิดจากจรดอักษรขึ้นโดยนักเขียนหญิงซึ่งเป็นคนกลัวผีมาก มากเสียจนถูกขนานนามว่าเป็น ราชินีนิยายสยองขวัญที่กลัวผีมากที.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจินตนา ภักดีชายแดน

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จี-ทเวนตี้

ี-ทเวนตี้ (G-TWENTY) เป็นศิลปินกลุ่มหญิงลำดับที่ 2 ที่มีจำนวนสมาชิกถึง 5 คน ภายใต้สังกัดโมโน มิวสิกโดยมีสมาชิกภายในวงได้แก่ธญา ศุภกิจจารัก หรรษา จึงวิวัฒนวงศ์ แคทลียา อินทะชัย ณัฐนันท์ จันทรเวช และพชรวรรณ วาดรักชิตและในเวลานิวเคลียร์หรือ นิวเคลียร์ หรรษา ได้ขอลาออกจากวง และได้มีแพร-ปัญชลีย์ สุริยประพัฒน์ เข้ามาเป็นสมาชิกแทนนิวเคลียร์ ล่าสุด G-20 ได้มีการปรับเปลี่ยนสมาชิกใหม่ภายในวง คือ ไม่มี ม็อก-แคท-มิลค์กี้ ที่ลาออกไป เหลือเพียง ทิชา หัวหน้าวง กับ แพร น้องใหม่ที่ยังอยู่ จึงมีการดึงเอาสมาชิกใหม่เข้ามาเสริม 5 คนรวด รวมเป็น 7 คน เพื่อหวังปรับโฉมใหม่ให้ไฉไลกว่าเดิมประกอบสมาชิก นิสา, พัช, ซูกัส, มิ้นท์, กิ๊ฟท์ ปัจจุบัน มิ้นท์ ออกจากวง ได้เซ็นสัญญาเป็นนักแสดงสังกัดช่อง 7 สี.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจี-ทเวนตี้

ถนนอังรีดูนังต์

นนอังรีดูนังต์ มองไปทางทิศใต้ จากมุมมองสะพานลอยหลังสยามสแควร์ ถนนอังรีดูนังต์ มองไปทางทิศเหนือ จากมุมมองสะพานลอยด้านหลังคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนอังรีดูนังต์ (Thanon Henri Dunant) เป็นถนนในท้องที่แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากถนนพระรามที่ 1 (สามแยกเฉลิมเผ่า) ถึงถนนพระรามที่ 4 (สี่แยกอังรีดูนังต์) เดิมเรียกถนนสายนี้ว่า "ถนนสนามม้า" เนื่องจากผ่านสนามม้าปทุมวัน (ปัจจุบันคือราชกรีฑาสโมสร) ตัดผ่านสถานที่สำคัญ คือ สถานเสาวภา สภากาชาดไทย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน สยามสแควร์ โรงพยาบาลตำรวจ และ สำนักงานตำรวจแห่งชาต.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและถนนอังรีดูนังต์

ทัชชกร บุญลัภยานันท์

ทัชชกร บุญลัภยานันท์ เดิมชื่อ กรัณย์ บุญลัภยานันท์ ชื่อเล่น ก๊อต โดยคุณพ่อเป็นผู้ตั้งชื่อนี้ ซึ่งได้มาจากภาพยนตร์เรื่อง The Godfather ภายหลังเข้ามาทำงานใน GMM Grammy ป๋อมแป๋ม ก็ได้เรียกก็อต ว่า "ก็อตจิ" แต่นั้นมา เป็นนักแสดง พิธีกร จากรายการท่องเที่ยวยอดฮิต เทยเที่ยวไท.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทัชชกร บุญลัภยานันท์

ทิชา สุทธิธรรม

ทิชา สุทธิธรรม ชื่อเล่น ซอส เป็นมิสยูลีกปี พ.ศ. 2543 อดีตผู้ประกาศข่าวทางด้านเศรษฐกิจในรายการ "เช้านี้...ที่หมอชิต" และเป็นผู้ดำเนินรายการ "เจาะเกาะติด" ปัจจุบันเป็นผู้ประกาศข่าวทางช่อง3HD,ผู้ดำเนินรายการจอโลกเศรษฐกิจ FM106 วิทยุครอบครัวข่าว, และรายการ Money360ทางMoney Channel.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทิชา สุทธิธรรม

ณัฐพิมล นาฏยลักษณ์

ฟาริด้า วัลเลอร์ (Farida Waller; 24 ตุลาคม พ.ศ. 2536) หรือ ณัฐพิมล นาฏยลักษณ์ ได้รับตำแหน่ง มิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ ปี 2012 และเป็นตัวแทนของประเทศไทยในการประกวดมิสยูนิเวิร์ส 2012 ณ ลาสเวกัส รัฐเนวาดา สหรั.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและณัฐพิมล นาฏยลักษณ์

ณัฐภัสสร สิมะเสถียร

ณัฐภัสสร สิมะเสถียร (หรือชื่อเดิม หทัยภัทร สิมะเสถียร) หรือ "ดาว" ในอดีตเป็นนักร้องเด็กที่มีชื่อเสียงคนหนึ่ง โดยใช้ชื่อว่า ดาวโอเกะ(Dao•ke) ณัฐภัสสรเกิดเมื่อ วันจันทร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและณัฐภัสสร สิมะเสถียร

ณัฐวรา หงษ์สุวรรณ

ณัฐวรา หงษ์สุวรรณ เกิดเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2532 เป็นนักแสดง และพิธีกร ชาวไท.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและณัฐวรา หงษ์สุวรรณ

ณัฐวุฒิ พิมพา

รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐวุฒิ พิมพา เป็นนักวิชาการชาวไทย ณ RMIT University (Royal Melbourne University of Technology) ประเทศออสเตรเลีย โดยมีผลงานทางวิชาการในด้านการตลาดและการจัดการระหว่างประเทศ และ มีบทบาทต่อสื่อมวลชนภายในประเทศออสเตรเลียในฐานะนักวิชาการผู้นำเสนอข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยและอาเซียนในออสเตรเลีย โดยเฉพาะในช่วงวิกฤตการเมืองไทย ร.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและณัฐวุฒิ พิมพา

ดวงกมล ลิ่มเจริญ

วงกมล ลิ่มเจริญ (24 สิงหาคม พ.ศ. 2507 - 8 ธันวาคม พ.ศ. 2546) อดีตผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ เป็นผู้บุกเบิกการสร้างภาพยนตร์ไทยที่ประสบความสำเร็จในตลาดต่างประเทศ ดวงกมล ลิ่มเจริญ เป็นพี่สาวของพรพิมล ลิ่มเจริญ นักวิจารณ์ภาพยนตร์และนักเขียนประจำหนังสือพิมพ์มติชน ดวงกมลจบการศึกษาคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาศิลปการละคร เมื่อ..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและดวงกมล ลิ่มเจริญ

ดิเรกสิน รัตนสิน

ันโท ดิเรกสิน รัตนสินหมายรับสั่ง ที่ 6820 ลงวันที่ 16 มีนาคม 2555 (24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 — 3 มกราคม พ.ศ. 2555) เป็นทหารไทยผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เกิดเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและดิเรกสิน รัตนสิน

ครุยและเข็มวิทยฐานะของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รุยวิทยฐานะของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นเสื้อครุยที่ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวให้จัดสร้างขึ้นเพื่อเป็นเกียรติยศสำหรับผู้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ต่อมา คือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) เมื่อสามารถจัดการเรียนการสอนถึงขั้นปริญญาได้ แต่ในขณะนั้นโรงเรียนข้าราชการพลเรือนจัดการเรียนการสอนในระดับประกาศนีบัตรเท่านั้นจึงไม่มีการจัดสร้างครุยขึ้น แต่ในเบื้องต้นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเข็มที่ทำด้วยเงินล้วนเป็นรูปพระเกี้ยว เรียกว่า เข็มบัณฑิต (เข็มวิทยฐานะ ในปัจจุบัน) เพื่อใช้เป็นเครื่องหมายเพื่อแสดงว่าเป็นผู้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนข้าราชการพลเรือนตั้งแต..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและครุยและเข็มวิทยฐานะของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Political Science, Chulalongkorn University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ถือได้ว่าเป็นคณะวิชาที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ เป็นคณะรัฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดทำการเรียนการสอนทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก อีกทั้งยังเป็นคณะที่ได้รับการเลือกเข้าศึกษาจากผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดจากการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีด้วยระบบ Admission ถึง 4 ปีซ้อน (2553 - 2556).

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่มีอาจารย์ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติมากที่สุดของประเทศไทย และเป็นคณะวิทยาศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย โดยเป็นหนึ่ง 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในขณะนั้นใช้ชื่อว่า "คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์" ปัจจุบันประกอบด้วย 14 ภาควิชา แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มวิทยาศาสตร์ชีวภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์กายภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และกลุ่มเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ภายในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยด้านตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างสระน้ำ การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติจาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 258 ของโลก และเป็นเพียงแห่งเดียวในประเทศที่ติดอันดั.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Faculty of Liberal Arts, Thammasat University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Arts, Silpakorn University) จัดตั้งขึ้นเมื่อ..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Archaeology, Silpakorn University) ตั้งขึ้นเป็นคณะที่ 3 ของมหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อ..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

คนเดือนตุลา

นเดือนตุลา เป็นชื่อเรียกกลุ่มบุคคลที่เข้าร่วมชุมนุม ในเหตุการณ์ 14 ตุลา และ 6 ตุลา ซึ่งส่วนมากขณะนั้นเป็นนักศึกษา โดยในปัจจุบัน กลุ่มคนเดือนตุลาบางส่วน ก็เข้าสู่แวดวงการเมืองและสังคม.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคนเดือนตุลา

ตรีดาว อภัยวงศ์ สุขุม

ตรีดาว อภัยวงศ์ สุขุม เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519 เป็นบุตรสาวคนที่ 2 ของ พันตำรวจเอกวิจิตร และนางเกื้อกูล อภัยวงศ์ จบการศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลจนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนราชินี และต่อในระดับปริญญาที่ภาควิชาศิลปการละคร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังจากเรียนจบได้รับการทาบทามให้เป็นอาจารย์ประจำที่คณะ หนึ่งปีต่อมาไปศึกษาเพิ่มเติมทางด้านศิลปะการละคร (MA in Theatre Practice) ในระดับมหาบัณฑิต ที่ มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ ประเทศอังกฤษ ซึ่งเป็นนักเรียนชาวเอเชีย เพียงคนเดียวที่ได้รับการตอบรับให้เข้าเรียนในสาขานี้ ซึ่งเปิดสอนนักศึกษาเพียงแค่ 5 คนในปีนั้น จากนั้นกลับมารับราชการเป็นอาจารย์ประจำ ที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นอาจารย์พิเศษในปัจจุบัน ตรีดาวเคยเป็นพิธีกรในรายการ "เรียงร้อย ถ้อยไทย" ซึ่งเป็นรายการเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง ซึ่งเป็นรายการสั้น ๆ ช่วงหัวค่ำวันธรรมดา ทางช่อง 3 อยู่พักหนึ่ง ชีวิตครอบครัว สมรสกับ พงษ์ สุขุม บุตรชายคนโตของ ปราโมทย์ สุขุม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และนักการเมืองพรรคประชาธิปัตย์กับคุณหญิงกัญญา หงส์ลดารมภ์ ไปเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและตรีดาว อภัยวงศ์ สุขุม

ตอบปัญหาภาษาอังกฤษกับเชลล์

ตอบปัญหาภาษาอังกฤษกับเชลล์ (Shell English Quiz) หรือที่นิยมเรียกว่า เชลล์ควิซ เป็นรายการโทรทัศน์ที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จำกัด ผลิตขึ้นตามโครงการสนับสนุนการศึกษา เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ รวมถึงทดสอบทักษะความรู้ในสาขาวิชาต่างๆ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ตลอดทั้งเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ชมทางโทรทัศน์ เพิ่มพูนความรู้ทางภาษาอังกฤษ และความรู้ทั่วไป ร่วมด้วยเช่นกัน โดยจัดรูปแบบเป็นการแข่งขันตอบคำถาม ซึ่งมีชาวต่างประเทศเป็นผู้ถามด้วยภาษาอังกฤษ และมีการคัดเลือกคณะนักเรียนมัธยมปลาย ซึ่งเป็นผู้แทนโรงเรียนต่างๆ จากทั้งกรุงเทพมหานครและทั่วประเทศ เข้าเป็นผู้ตอบในห้องส่ง อันเป็นการฝึกทักษะทั้งการฟังและพูดภาษาอังกฤษ เพื่อสร้างความคุ้นเคยต่อสำเนียงการออกเสียงของชาวต่างชาติ ในเว็บไซต์ เชลล์ควิซ เริ่มออกอากาศตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและตอบปัญหาภาษาอังกฤษกับเชลล์

ปกรณ์ ปิ่นเฉลียว

ันตำรวจเอก (พิเศษ) ปกรณ์ ปิ่นเฉลียว (18 พฤษภาคม พ.ศ. 2468 - ?) นักเขียนชาวไท.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปกรณ์ ปิ่นเฉลียว

ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์

ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์ เป็นนักวิชาการทางบูรพคดีศึกษา สังกัดมหาวิทยาลัยมหิดล เคยมีผลงานเขียนทั้งบทกวีและบทความตามสื่อมวลชนมาระยะหนึ่งก่อนจะปักหลักทำงานสอนและวิจัยในวิชาชีพที่ถนัดอย่างจริงจังในปัจจุบัน.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์

ประพจน์ อัศววิรุฬหการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประพจน์ อัศววิรุฬหการ หนือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประพจน์ อัศววิรุฬหการ เกิดที่จังหวัดอุทัยธานี เป็นนักภาษาศาสตร์และนักอักษรศาสตร์ชาวไทย เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาและวรรณคดีบาลีและภาษาสันสกฤต พระไตรปิฎกฉบับภาษาจีน และพระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เคยดำรงตำแหน่งเป็นคณบดีคณะอักษรศาสตร์คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันเป็น กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประพจน์ อัศววิรุฬหการ

ประยอม ซองทอง

ประยอม ซองทอง (1 มกราคม พ.ศ. 2477 -) เป็นนักเขียนชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากการเขียนกลอน มีผลงานรวมเล่มตีพิมพ์เป็นจำนวนมาก และยังมีผลงานเขียนบทความรณรงค์การใช้ภาษา และบทความเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย ในหนังสือพิมพ์และนิตยสาร ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประยอม ซองทอง

ประวัติศาสตร์เภสัชกรรม

ลังยาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในประเทศอิตาลี ประวัติศาสตร์เภสัชกรรม มีวิวัฒนาการไปพร้อมกับประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ เนื่องจากยาเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ และเภสัชกรรมเป็นส่วนหนึ่งของวิวัฒนาการทางการแพทย์ ทั้งแผนตะวันตกและตะวันออกมาช้านาน โดย "การแพทย์" สามารถแบ่งออกเป็นหลายสาขา ได้แก่ เวชกรรม เภสัชกรรม พยาบาล ทันตกรรม เป็นต้น โดยในระยะเริ่มแรก การแพทย์ของทั้งฝั่งตะวันตกและตะวันออกจะอยู่ในรูปองค์รวม โดยมี "แพทย์" เป็นผู้รับผิดชอบทั้งการรักษา การปรุงยา การดูแล จนกระทั่งเมื่อวิทยาการทางการแพทย์มีความก้าวหน้า ได้มีการจำแนกวิชาชีพออกตามความชำนาญมากขึ้น เพื่อฝึกหัดให้เกิดความชำนาญเฉพาะด้านแต่ละสาขา ระบบการแพทย์ในสมัยโบราณมักผูกพันกับอำนาจลี้ลับ เทพเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ผสมผสานกับการสังเกต ทดลอง วิเคราะห์ และหาความเชื่อมโยง รวมถึงการสังเกตพฤติกรรมสัตว์ในการบริบาลตนเองเมื่อเจ็บป่วย และได้นำมาดัดแปลงตามความเหมาะสม เกิดแนวคิดและถ่ายทอดสู่รุ่นลูกหลาน และพัฒนาขึ้นเป็นระบบ และเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นในแต่ละภูมิภาค ในสมัยโบราณ การจัดทำเภสัชตำรับขึ้นครั้งแรกเกิดขึ้นในดินแดนเมโสโปเตเมีย ซึ่งมีการบันทึกโดยใช้อักษรคูนิฟอร์ม นับเป็นเภสัชตำรับฉบับแรกของโลก และเริ่มมีการแบ่งสายวิชาชีพเภสัชกรรมออกจากวิชาชีพเวชกรรมในสมัยพระเจ้าฮัมมูราบี ส่วนในจีน การแพทย์มักมีความผูกพันกับธรรมชาติ และใช้ปรัชญาของจีนร่วมในการรักษา ในอียิปต์เริ่มมีการจดบันทึกเภสัชตำรับเมื่อประมาณ 1500 ปีก่อนคริสต์ศักราช หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า "ปาปิรุสอีเบอร์" ตลอดจนบูชาเทพเจ้าในการบำบัดโรคกว่า 10 องค์ ในสมัยกรีกโบราณ ชาวกรีกได้บูชาเทพแอสคลีปิอุส ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นเทพแห่งการแพทย์ เช่นเดียวกับพระธิดา คือ เทพีไฮเจีย เทพีแห่งสุขอนามัย โดยพระองค์จะถือถ้วยยาและงูไว้ งูเป็นสัญลักษณ์ในการดูดพิษของชาวกรีกโบราณ จนกระทั่งเป็นสัญลักษณ์ของวิชาชีพเภสัชกรรมในปัจจุบัน กรีกมีนักปราชญ์มากมาย จึงใช้ปรัชญาและทฤษฎีในการบำบัดรักษาโรคทั่วไป ส่วนในยุคโรมัน ซึ่งได้รับวิทยาการถ่ายทอดจากกรีก ได้ใช้ปรัชญาจากนักปราชญ์ในการบริบาลผู้ป่วยสืบต่อมา สมัยจักรวรรดิโรมัน กาเลนนับเป็นบุคคลสำคัญในการบริบาลผู้ป่วย โดยกาเลนจะปรุงยาด้วยตนเองเสมอจนถือว่ากาเลนเป็น "บิดาแห่งเภสัชกรรม" ในสมัยกลาง เมื่อโรมันเสื่อมอำนาจลง วิทยาการด้านการแพทย์เสื่อมถอยลง แต่วิทยาการทางการแพทย์ตะวันตกยังคงได้รับการถ่ายทอดจากชาวอาหรับที่มาค้าขายด้วย ในสมัยสมเด็จพระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ พระองค์ทรงประกาศกฎหมายเกี่ยวกับวิชาชีพเภสัชกรรม (Magna Charta of the Profession of Pharmacy) เมื่อ ค.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประวัติศาสตร์เภสัชกรรม

ประคอง นิมมานเหมินท์

ตราจารย์ ดร.ประคอง นิมมานเหมินท์ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ประคอง นิมมานเหมินท์ (27 พฤษภาคม 2482 -) นักวิชาการผู้เชี่ยวชาญภาษาไทยและวรรณคดีไทยเป็นผู้บุกเบิกการศึกษาวรรณกรรมท้องถิ่นด้วยการเขียนวิทยานิพนธ์เรื่อง "ลักษณะวรรณกรรมภาคเหนือ" และจากนั้นยังมีผลงานศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมไทยและวรรณกรรมชนชาติไทจำนวนมาก ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์พิเศษ ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นราชบัณฑิต ประจำสำนักศิลปกรรม ราชบัณฑิต.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประคอง นิมมานเหมินท์

ประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยา

ประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยา (สกุลเดิม กรองทอง; 6 กันยายน พ.ศ. 2462 — 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) มีนามปากกาว่า อุชเชนี และ นิด นรารักษ์ เป็นนักเขียนและนักแปลชาวไท.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยา

ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร

นายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อดีตกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ในเวลาต่อมาได้เป็นวิทยากรให้กับวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร และมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายซึ่งนำมาซึ่งคำสั่งที่ 66/2523 เรื่องนโยบายต่อสู้เพื่อเอาชนะคอมมิวนิสต์ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประเสริฐ ทรัพย์สุนทร

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2505

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2505 ในประเทศไท.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประเทศไทยใน พ.ศ. 2505

ปราณี ฬาพานิช

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ปราณี ฬาพาณิช เป็นนักวิชาการทางบูรพคดีศึกษา (Oriental Studies) ประจำคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีความชำนาญภาษาสันสกฤตและภาษาปรากฤตเป็นพิเศษ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปราณี ฬาพานิช

ปารีณา บุศยศิริ

ปารีณา บุศยศิริ นักแสดงชาวไทย สังกัดสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปารีณา บุศยศิริ

ปีเตอร์ สกิลลิง

ร.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปีเตอร์ สกิลลิง

นพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา

ตราจารย์ ท่านผู้หญิง นพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา ป.., ป.ม., ท..ว. นามเดิม โนบุโกะ ทาคากิ อดีตอาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้ประพันธ์คำร้องภาษาอังกฤษในเพลงพระราชนิพนธ์ Falling Rain (สายฝน), Near Dawn (ใกล้รุ่ง), Lullaby (ค่ำแล้ว).

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา

นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์

นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์ (ชื่อเล่น เต๋อ) เกิดเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2527 เป็นนักเขียนบทภาพยนตร์ นักเขียน และผู้กำกับภาพยนตร์ ผลงานภาพยนตร์ที่สร้างชื่อเสียงคือภาพยนตร์อิสระ เรื่อง Mary is happy, Mary is happy จากผลงานเรื่องนี้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลสุพรรณหงส์ประจำปี 2556 จำนวน 10 สาขา และได้รับรางวัล 4.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนวพล ธำรงรัตนฤทธิ์

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ หมายถึง นักวิจัยที่ได้รับเชิดชูเกียรติจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ มีการมอบรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ

นิลวรรณ ปิ่นทอง

ณนิลวรรณ ปิ่นทอง เกิดเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2458 เป็นนักเขียนชาวไทย อดีตบรรณาธิการนิตยสาร สตรีสาร อดีตนายกสมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูถัมภ์ ได้รับรางวัลแมกไซไซ เมื่อปี..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนิลวรรณ ปิ่นทอง

นิธิ เอียวศรีวงศ์

ตราจารย์ นิธิ เอียวศรีวงศ์ (23 พฤษภาคม พ.ศ. 2483) เป็นนักคิด นักเขียน และศาสตราจารย์ด้านประวัติศาสตร์ชาวไทย ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นจากสภาวิจัยแห่งชาติ, รางวัลฟูกูโอกะ และรางวัลศรีบูรพา อดีตอาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนิธิ เอียวศรีวงศ์

นิติ ชัยชิตาทร

นิติ ชัยชิตาทร ชื่อเล่น ป๋อมแป๋ม เป็นนักแสดงตลก พิธีกร ฝ่ายสร้างสรรค์รายการ (ครีเอทีฟ) จากรายการยอดฮิต เทยเที่ยวไทย และ ทอล์ก-กะ-เทย Tonight และเป็นนักเขียน มีผลงานการเขียนเล่มแรกชื่อ มะงุมมะงาหร.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนิติ ชัยชิตาทร

นุสบา ปุณณกันต์

นุสบา ปุณณกันต์ (ชื่อเล่น นุส) นามสกุลเดิม วานิชอังกูร เป็นนักแสดง นางแบบ และนักธุรกิจชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนุสบา ปุณณกันต์

แถมสุข นุ่มนนท์

ตราจารย์เกียรติคุณ แถมสุข นุ่มนนท์ เป็นอาจารย์มหาวิทยาลัยและนักประวัติศาสตร์ชาวไทย ผู้ซึ่งมีผลงานจากหนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ เช่น เมืองไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ขบวนการ ร.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแถมสุข นุ่มนนท์

แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ

แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (ชื่อย่อ: นปช.; United Front of Democracy Against Dictatorship; UDD) มีชื่อเดิมว่า แนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ (ชื่อย่อ: นปก.; Democratic Alliance Against Dictatorship: DAAD) เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ ดร.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์

รงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนหญิงล้วน สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2459 ภายหลังพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์สิ้นพระชนม์ โดยบรรดาทายาทของพระองค์ได้บริจาคตำหนักส่วนพระองค์ และที่ดินข้างเคียงเพื่อตั้งเป็นโรงเรียนสตรีและรับโรงเรียนไว้ในอุปการะ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ผู้เป็นพระนัดดา ทรงนำความขึ้นกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามโรงเรียนว่า “สายปัญญา” ต่อมาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับโรงเรียนสายปัญญา ไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ปัจจุบันโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มีอายุ ปี เปิดรับสอนเฉพาะนักเรียนหญิง ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ตั้งอยู่บนถนนกรุงเกษม เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 0.6 ตารางวา มีอาคารเรียน 4 หลัง มี 53 ห้องเรียน 53  ห้องเรียน แบ่งตามแผนการจัดชั้นเรียนระดับมัธยมต้นและมัธยมปลายดังนี้ 6-6-8/11-12-10 มีครูทั้งหมด 108 คน มีนักเรียนในปีการศึกษา 2557 รวมทั้งสิ้น 2,641 คน.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์

โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา มีประวัติการก่อตั้งโรงเรียนสืบเนื่องมาจาก "โรงเรียนมัธยมหอวังแห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย" ซึ่งเป็นโรงเรียนสาธิตสังกัดแผนกวิชาครุศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีวัตถุประสงค์เพื่อการฝึกหัดครู ชั้นประโยคครูมัธยม ครั้นต่อมาโรงเรียนมัธยมหอวังฯ ได้เปลี่ยนรูปงานเป็น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แผนกวิชาครุศาสตร์จึงไม่มีโรงเรียนสำหรับฝึกหัดครูเป็นระยะเวลานานประมาณ 15 ปี เมื่อแผนกวิชาครุศาสตร์ขยายงานเป็น คณะครุศาสตร์ โดยมีศาสตราจารย์ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา เป็นคณบดีคนแรก ท่านได้เล็งเห็นความจำเป็นในการจัดตั้งโรงเรียนสาธิต เพื่อการฝึกหัดครูขั้นปริญญาขึ้นแทนโรงเรียนมัธยมหอวังฯ จึงได้ดำเนินการจัดตั้งโรงเรียนขึ้นโดยให้ชื่อว่า "โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" และทำพิธีเปิดป้ายชื่อโรงเรียนเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Triam Udom Suksa School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์

รงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์ ตั้งอยู่บนถนนคอนแวนต์ แขวงสีลม เขตบางรัก เป็นโรงเรียนสตรีและคอนแวนต์ของคณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร จากประเทศฝรั่งเศส ที่เข้ามาเผยแพร่ธรรมและช่วยส่งเสริมงานพัฒนาสังคมไทยด้านการศึกษา การรักษาพยาบาลและการช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ผู้ยากไร้.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์

โครงการพัฒนานักอักษรศาสตร์รุ่นใหม่

รงการพัฒนานักอักษรศาสตร์รุ่นใหม่ ตามแนวพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จัดตั้งขึ้นในปีการศึกษา 2549 โดยความร่วมมือของคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ตามแนวพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่จะสร้างนักอักษรศาสตร์ที่มีมุมมองและแนวคิดใหม่เพื่อเป็นกำลังของชาติ เปิดรับนักเรียนรุ่นแรกในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549 เฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 30 คน (ผ่านการคัดเลือก 29 คน) โดยนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกจะมีสิทธิ์เข้าศึกษาต่อ ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยทันทีโดยไม่ต้องแอดมิชชั่น ทั้งยังจะพิจารณามอบทุนการศึกษาให้แก่นักเรียนจนถึงระดับสูงสุดตามความสามารถของนักเรียนโดยไม่มีข้อผูกมัดใดๆ ทั้งสิ้น และในปี 2551 ทางคณะอักษรศาสตร์จะเปิดรับนักเรียนเพิ่มอีก 2 โรงเรียนเข้าร่วมโครงการ ได้แก่ โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม และโรงเรียนสาธิตปทุมวัน.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโครงการพัฒนานักอักษรศาสตร์รุ่นใหม่

ไขศรี ศรีอรุณ

ตราจารย์เกียรติคุณ คุณหญิง ไขศรี ศรีอรุณ (29 มกราคม 2480 -ปัจจุบัน) นายกสภามหาวิทยาลัยพะเยา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร และอีกทั้งยังเคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร และนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและไขศรี ศรีอรุณ

เกรียง กีรติกร

นายเกรียง กีรติกร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ ในระหว่างปี..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเกรียง กีรติกร

เรืองอุไร กุศลาสัย

ตราจารย์พิเศษ เรืองอุไร กุศลาสัย (สกุลเดิม: หิญชีระนันทน์; 21 มิถุนายน พ.ศ. 2463 – 31 มกราคม พ.ศ. 2561) เป็นนักเขียน นักแปล ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับประเทศอินเดีย มีชื่อเสียงจากหนังสือและบทความเกี่ยวกับประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นผลงานร่วมกับกรุณา กุศลาสัย ซึ่งเป็นสามี ได้รับการเชิดชูเกียรติ รางวัลนราธิป ประจำปี..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเรืองอุไร กุศลาสัย

เวคอัปนิวส์

วคอัปนิวส์ (Wake Up News) เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทวิเคราะห์กับสนทนาเชิงข่าวและเหตุการณ์ปัจจุบัน มีสถานะเทียบเท่าข่าวภาคเช้า ของสถานีโทรทัศน์วอยซ์ทีวี ลักษณะเด่นของรายการอยู่ที่ทรรศนะการนำเสนอ ซึ่งแหลมคมและแตกต่างไปจากสื่อมวลชนกระแสหลัก โดยเฉพาะแนวความคิดทางการเมืองแบบก้าวหน้า รายการนี้ออกอากาศเป็นครั้งแรก เมื่อวันจันทร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเวคอัปนิวส์

เสนีย์ วิลาวรรณ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ร้อยเอก เสนีย์ วิลาวรรณ ปูชนียบุคคลด้านภาษาไทย ประจำปีพุทธศักราช 2554 เกิดเมื่อ..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเสนีย์ วิลาวรรณ

เจริญใจ สุนทรวาทิน

ริญใจ สุนทรวาทิน (16 กันยายน พ.ศ. 2458 - 10 เมษายน พ.ศ. 2554) เป็นศิลปิน และนักวิชาการชาวไทยด้านศิลปวัฒนธรรมแบบราชสำนัก มีความสามารถในด้านการละคร ชำนาญในการบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประเภทวงเครื่องสายและวงมโหรี โดยเฉพาะซอสามสาย มีความเชี่ยวชาญในการขับร้องเพลงประกอบการแสดงนาฏกรรม รวมถึงเพลงไทยเพื่อการฟังตามแบบฉบับและแนวทางร่วมสมัย กล่าวได้ว่า เป็นผู้ที่มีน้ำเสียงไพเราะ ขับร้องด้วยอารมณ์อันสมจริง ประณีตละเมียดละไม ได้อรรถรสของวรรณคดี ได้รับการขนานนามจากนักดนตรีไทยว่าเป็น “เพชรประดับมงกุฎแห่งคีตศิลป์ไทย” เจริญใจ สุนทรวาทิน เป็นที่รู้จักในวงการเพลงไทยตั้งแต่วัยเยาว์ เคยเป็นข้าราชบริพารในยุคก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เคยได้รับรางวัลชนะเลิศระดับชาติจากการประกวดขับร้องเพลงไทย เป็นครูผู้ควบคุมวงดนตรีและสอนการขับร้องเพลงไทย เป็นอาจารย์ผู้ถวายงานสอนดนตรีและขับร้องแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป์) ประจำปีพุทธศักราช 2530 จากคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาต.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเจริญใจ สุนทรวาทิน

เตียง ศิริขันธ์

นายเตียง ศิริขันธ์ (คนกลาง) ในเครื่องแบบเสรีไทย กับนายทหารสัมพันธมิตร นายเตียง ศิริขันธ์ กับนางนิวาศน์ ภริยา นายชาญ บุนนาค บุคคลที่ถูกสังหารพร้อมนายเตียง เตียง ศิริขันธ์ (5 ธันวาคม พ.ศ.

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเตียง ศิริขันธ์

เฉลิม ม่วงแพรศรี

นายเฉลิม ม่วงแพรศรี (2 สิงหาคม พ.ศ. 2481 - 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2557) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย)..

ดู คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเฉลิม ม่วงแพรศรี

วันภาษาไทยแห่งชาติวิกรม คุ้มภัยโรจน์วิรัตน์ ชมะนันทน์วิสุทธ์ บุษยกุลวุฒิเฉลิม วุฒิชัยศรีศักร วัลลิโภดมศิรินุช เพ็ชรอุไรสมฤทัย พรหมจรรย์สมัคร สุนทรเวชสมาพร รังษีกุลพิพัฒน์สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสวัสดีสว่างวัน ไตรเจริญวิวัฒน์สืบแสง พรหมบุญสุภา สิริสิงหสุภาพรรณ ณ บางช้างสุมาลี บำรุงสุขสุริยา รัตนกุลสุธาชัย ยิ้มประเสริฐสุเนตร ชุตินธรานนท์สีเทาสถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3สดใส พันธุมโกมลหม่อมราชวงศ์พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิวัตน์หม่อมราชวงศ์กัลยา ติงศภัทิย์หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณหม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาคหม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์หม่อมเจ้ารัชฎาภิเศก โสณกุลหม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลหม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากรหลวงพรตพิทยพยัต (พรต เดชา)หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอลีสญาฌ์ ทอยอักษรศาสตรบัณฑิตอัญชลี วิวัธนชัยอัฐมา ชีวนิชพันธ์อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณอังกาบ บุณยัษฐิติอันธิยา เลิศอัษฎมงคลอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาอารดา อารยวุฒิอาคารอนุรักษ์อำพล ตั้งนพกุลอิราวดี นวมานนท์อนันต์ เหล่าเลิศวรกุลผอูน จันทรศิริผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศผุสชา โทณะวณิกจันทนีย์ อูนากูลจำกัด พลางกูรจิตร ภูมิศักดิ์จินตนา ภักดีชายแดนจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจี-ทเวนตี้ถนนอังรีดูนังต์ทัชชกร บุญลัภยานันท์ทิชา สุทธิธรรมณัฐพิมล นาฏยลักษณ์ณัฐภัสสร สิมะเสถียรณัฐวรา หงษ์สุวรรณณัฐวุฒิ พิมพาดวงกมล ลิ่มเจริญดิเรกสิน รัตนสินครุยและเข็มวิทยฐานะของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากรคนเดือนตุลาตรีดาว อภัยวงศ์ สุขุมตอบปัญหาภาษาอังกฤษกับเชลล์ปกรณ์ ปิ่นเฉลียวปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์ประพจน์ อัศววิรุฬหการประยอม ซองทองประวัติศาสตร์เภสัชกรรมประคอง นิมมานเหมินท์ประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยาประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประเทศไทยใน พ.ศ. 2505ปราณี ฬาพานิชปารีณา บุศยศิริปีเตอร์ สกิลลิงนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยานวพล ธำรงรัตนฤทธิ์นักวิจัยดีเด่นแห่งชาตินิลวรรณ ปิ่นทองนิธิ เอียวศรีวงศ์นิติ ชัยชิตาทรนุสบา ปุณณกันต์แถมสุข นุ่มนนท์แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์โครงการพัฒนานักอักษรศาสตร์รุ่นใหม่ไขศรี ศรีอรุณเกรียง กีรติกรเรืองอุไร กุศลาสัยเวคอัปนิวส์เสนีย์ วิลาวรรณเจริญใจ สุนทรวาทินเตียง ศิริขันธ์เฉลิม ม่วงแพรศรี