สารบัญ
77 ความสัมพันธ์: ชลิต พุกผาสุขชาญชัย ลิขิตจิตถะชุมพล ปัจจุสานนท์บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2560พระมหากษัตริย์ไทยพระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย)พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)พระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ)พระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร)พฤษภาทมิฬพลากร สุวรรณรัฐพะจุณณ์ ตามประทีปพิจิตร กุลละวณิชย์พงษ์เทพ หนูเทพกัมปนาท รุดดิษฐ์กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยาการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531การเสด็จออกมหาสมาคมในรัชกาลที่ 9กำธน สินธวานนท์กิตติ สีหนนทน์รัฐบุรุษวัดสุทธิวรารามวิรัช ชินวินิจกุลวีระกานต์ มุสิกพงศ์ศักดา โมกขมรรคกุลศุภชัย ภู่งามสภากรรมการองคมนตรีสวัสดิ์ วัฒนายากรสัญญา ธรรมศักดิ์สันติ ทักราลสำราญ แพทยกุลสิทธิ จิรโรจน์สิทธิ เศวตศิลาสุรยุทธ์ จุลานนท์หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากรหม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุลหม่อมหลวงอัศนี ปราโมชหม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุลอภิรัฐมนตรีสภาอภิรดี ยิ่งเจริญอรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทรอรรถนิติ ดิษฐอำนาจอำพล เสนาณรงค์อดุล อดุลเดชจรัสจรัลธาดา กรรณสูตจำรัส เขมะจารุจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา... ขยายดัชนี (27 มากกว่า) »
ชลิต พุกผาสุข
ลอากาศเอก ชลิต พุกผาสุข (5 เมษายน พ.ศ. 2491 —) องคมนตรี, เลขาธิการมูลนิธิพระดาบส, อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศของไทย และอดีตรองหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) คนที่ 1.
ดู คณะองคมนตรีไทยและชลิต พุกผาสุข
ชาญชัย ลิขิตจิตถะ
นายชาญชัย ลิขิตจิตถะ (25 เมษายน พ.ศ. 2489 - 18 มกราคม พ.ศ. 2560) อดีตองคมนตรี อดีตประธานศาลฎีกา และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตผู้พิพากษาอาวุโส ชาญชัย เป็นผู้มีบทบาทในการแก้ไขวิกฤตการเมือง อันเนื่องจากการเลือกตั้งวันที่ 2 เมษายน พ.ศ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและชาญชัย ลิขิตจิตถะ
ชุมพล ปัจจุสานนท์
ลเรือเอก ชุมพล ปัจจุสานนท์ (30 มิถุนายน พ.ศ. 2487-) อดีตองคมนตรี และ อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ พลเรือตรีแชน - นางไพโรจน์ ปัจจุสานนท์ สมรสกับ พลตรีหญิงคุณหญิง ทรรศนีย์ ปัจจุสานนท์ มีบุตร 2 คน.
ดู คณะองคมนตรีไทยและชุมพล ปัจจุสานนท์
บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2560
้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2560.
ดู คณะองคมนตรีไทยและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2560
พระมหากษัตริย์ไทย
ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและพระมหากษัตริย์ไทย
พระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย)
มหาอำมาตย์โท พระยาพิจารณาปฤชามาตย์ มานวธรรมศาสตร์สุปรีชา (สุหร่าย วัชราภัย) ป.ม. ท..ว. ท..
ดู คณะองคมนตรีไทยและพระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย)
พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)
ลเรือโท พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน) (9 มิถุนายน พ.ศ. 2429 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พลเรือโท พระยาราชวังสัน มีนามเดิมว่า ศรี กมลนาวิน เกิดที่ตำบลบ้านท่าจีน อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร เป็นบุตรนายเล็ก-นางจู กมลนาวิน เป็นพี่ชายของหลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน) สมรสกับ นางสาวถนอมศรี วีระศิริ (นางถนอมศรี ประดิยัตินาวายุทธ) เมื่อ..
ดู คณะองคมนตรีไทยและพระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)
พระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ)
ระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ) (? — 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2525) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงการต่างประเทศ เอกอัครราชทูตไทยคนแรกประจำประเทศญี่ปุ่น และองคมนตรีไทย พระยาศรีเสนา มีนามเดิมว่า ฮะ สมบัติศิริ ได้ศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญ ก่อนที่จะเป็นคนไทยกลุ่มแรกๆ ที่ไปศึกษาด้านการปกครอง ที่ London School of Economics ประเทศอังกฤษ เมื่อ..
ดู คณะองคมนตรีไทยและพระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ)
พระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร)
ระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร) ม.ว.ม. ป..
ดู คณะองคมนตรีไทยและพระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร)
พฤษภาทมิฬ
หตุการณ์พฤษภาทมิฬ เป็นเหตุการณ์ที่ประชาชนเคลื่อนไหวประท้วงรัฐบาลครั้งสำคัญครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์การเมืองที่มีพลเอกสุจินดา คราประยูร เป็น นายกรัฐมนตรี และต่อต้านการสืบทอดอำนาจของ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ระหว่างวันที่ 17-24 พฤษภาคม พ.ศ.
พลากร สุวรรณรัฐ
นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี เกิดเมื่อ พ.ศ. 2491 เป็นบุตรของนายพ่วง สุวรรณรัฐ อดีตปลัดและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และหม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ (ราชสกุลเดิมทองแถม บุตรีหม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม) สมรสกับท่านผู้หญิงทัศนียา สุวรรณรัฐ นายพลากร สุวรรณรัฐ มีพี่น้องร่วมบิดามารดา ดังนี้.
ดู คณะองคมนตรีไทยและพลากร สุวรรณรัฐ
พะจุณณ์ ตามประทีป
ลเรือเอก พะจุณณ์ ตามประทีป (ชื่อเล่น: ตุ้ม) กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบและสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตหัวหน้าสำนักงานมูลนิธิรัฐบุรุษและนายทหารคนสนิท พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ อดีตนายกรัฐมนตรีและประธานองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและพะจุณณ์ ตามประทีป
พิจิตร กุลละวณิชย์
ลเอก พิจิตร กุลละวณิชย์ (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 —) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 นายกสภาวิทยาลัยสันตพล, อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบกและรองผู้บัญชาการทหารสูง.
ดู คณะองคมนตรีไทยและพิจิตร กุลละวณิชย์
พงษ์เทพ หนูเทพ
ลเรือเอกพงษ์เทพ หนูเทพ (ชื่อเล่น: นิค, บิ๊กนิค; เกิด 29 สิงหาคม 2500) องคมนตรีไทยในรัชสมัย สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ประธานคณะกรรมการบริหารมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช อดีตรอง ปลัดกระทรวงกลาโหม และอดีตผู้บัญชาการ โรงเรียนนายเรือ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและพงษ์เทพ หนูเทพ
กัมปนาท รุดดิษฐ์
ลเอก กัมปนาท รุดดิษฐ์ หรือ บิ๊กโชย กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชองคมนตรี ราชองครักษ์พิเศษตุลาการศาลทหารสูงสุด ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก กรรมาธิการวิสามัญกิจการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาตินายทหารพิเศษประจำหน่วยทหารรักษาพระองค์เป็นหนึ่งในนายทหารที่ ควบคุมการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและกัมปนาท รุดดิษฐ์
กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา
ตราจารย์ กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา (24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2457 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2539) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 อดีตเลขาธิการพระราชวัง และอดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลั.
ดู คณะองคมนตรีไทยและกัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา
การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551
การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไต..
ดู คณะองคมนตรีไทยและการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551
การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475
การปฏิวัติสยาม..
ดู คณะองคมนตรีไทยและการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..
ดู คณะองคมนตรีไทยและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531
การเสด็จออกมหาสมาคมในรัชกาลที่ 9
การเสด็จออกมหาสมาคม เป็นพระราชพิธีที่พระมหากษัตริย์เสด็จออกที่ประชุมใหญ่เพื่อการสำคัญ โดยในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร มีการเสด็จออกมหาสมาคม ทั้งเป็นพระราชพิธีประจำปี และพระราชพิธีในโอกาสพิเศษ แต่ละครั้งมีขึ้นในสถานที่ต่าง ๆ อาทิ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน พระที่นั่งไพศาลทักษิณมหินทรพิมาน สีหบัญชร พระที่นั่งอนันตสมาคม พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท มุขเด็จ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท และพระที่นั่งองค์พิเศษ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง ทั้งนี้ เพื่อพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าทูลละอองธุลีพระบาท คณะองคมนตรี คณะรัฐมนตรี สมาชิกรัฐสภา คณะทูตานุทูต ข้าราชการ ทหาร ตำรวจ ตลอดจนพสกนิกรทุกหมู่เหล่า เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท.
ดู คณะองคมนตรีไทยและการเสด็จออกมหาสมาคมในรัชกาลที่ 9
กำธน สินธวานนท์
ลอากาศเอกกำธน สินธวานนท์ อดีตองคมนตรี เกิดเมื่อวันที่ 20 มีนาคม..
ดู คณะองคมนตรีไทยและกำธน สินธวานนท์
กิตติ สีหนนทน์
นายกิตติ สีหนนทน์ (14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 - 24 มกราคม พ.ศ. 2527) อดีตองคมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในสมัยรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ และอดีตรองประธานศาลฎีก.
ดู คณะองคมนตรีไทยและกิตติ สีหนนทน์
รัฐบุรุษ
รัฐบุรุษคือ บุคคลผู้ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งสำคัญในการบริหารราชการแผ่นดินในฐานะต่าง ๆ อาทิ ผู้นำทางการเมือง หรือผู้นำทางทหาร โดยตลอดระยะเวลาที่อยู่ในตำแหน่งได้ประกอบคุณงามความดี ปฏิบัติราชการอย่างเต็มกำลังความสามารถ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และได้ช่วยเหลือจงรักภักดีต่อชาตินั้น ๆ จนเป็นที่ประจักษ์กันโดยทั่วไป.
วัดสุทธิวราราม
วัดสุทธิวราราม ตั้งอยู่บน ถนนเจริญกรุง แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 5 ไร่ 3 งาน 13 วา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและวัดสุทธิวราราม
วิรัช ชินวินิจกุล
วิรัช ชินวินิจกุล (เกิด 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495) เป็นอดีตองคมนตรีและอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ,อดีตรองประธานศาลฎีกา,เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรม,เลขานุการศาลฎีกา,ผู้พิพากษาศาลฎีก.
ดู คณะองคมนตรีไทยและวิรัช ชินวินิจกุล
วีระกานต์ มุสิกพงศ์
วีระกานต์ มุสิกพงศ์ หรือชื่อเดิม วีระ มุสิกพงศ์ อดีตประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ อดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย มีฉายาว่า ไข่มุกดำ เป็นผู้นำเคลื่อนไหวต่อต้านเผด็จการทหาร เมื่อปี พ.ศ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและวีระกานต์ มุสิกพงศ์
ศักดา โมกขมรรคกุล
นายศักดา โมกขมรรคกุล (8 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550) อดีตองคมนตรี และอดีตประธานศาลฎีกา สมรสกับแพทย์หญิง คุณหญิงสำรวย โมกขมรรคกุล.
ดู คณะองคมนตรีไทยและศักดา โมกขมรรคกุล
ศุภชัย ภู่งาม
นายศุภชัย ภู่งาม (4 มิถุนายน พ.ศ. 2488 -) องคมนตรี และอดีตประธานศาลฎีก.
ดู คณะองคมนตรีไทยและศุภชัย ภู่งาม
สภากรรมการองคมนตรี
กรรมการองคมนตรี เป็นคณะที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแต่งตั้งองคมนตรี จำนวน 40 คน ตั้งเป็น สภากรรมการองคมนตรี ทำหน้าที่พิจารณาร่างกฎหมาย ต่อมาได้โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งองคมนตรี ขึ้นใหม่ทุกปีในวันที่ 4 เมษายน เนื่องในพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา ในขณะที่กฎหมายกำหนดให้องคมนตรี ดำรงตำแหน่งจนถึงสิ้นรัชกาล และมีกำหนดหลังจากนั้นอีก 6 เดือน เมื่อสิ้นรัชกาลจึงมีองคมนตรีมากถึง 233 คน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแต่งตั้งคณะที่ปรึกษาขึ้นสามคณะ ประกอบด้วย อภิรัฐมนตรีสภา เสนาบดีสภา และ สภากรรมการองคมนตรี โดยอาศัยอำนาจตาม พระราชบัญญัติองคมนตรี พุทธศักราช ๒๔๗๐ ซึ่งทรงตราขึ้นมาใช้บังคับแทน พระราชบัญญัติปรีวีเคาน์ซิล พุทธศักราช ๒๔๑๗ ประกอบด้วยกรรมการองคมนตรีจำนวน 40 คน ซึ่งจะทรงตั้งจากองคมนตรี มีหน้าที่ประชุมปรึกษาหารือ ถวายความเห็นเกี่ยวกับสวัสดิภาพแห่งบ้านเมืองและประชาชน โดยกำหนดให้กรรมการองคมนตรี อยู่ในตำแหน่งได้ครั้งละ 3 ปี หลังจากนั้นอาจจะทรงแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งซ้ำอีกก็ได้ สภากรรมการองคมนตรี ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีทั้งสิ้น 2 ชุด คือ ชุดที่หนึ่ง ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 2 กันยายน 2470 - 31 มีนาคม 2474 และชุดที่สอง ตั้งแต่ 1 เมษายน 2474 - 31 มีนาคม 2476 ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและสภากรรมการองคมนตรี
สวัสดิ์ วัฒนายากร
นายสวัสดิ์ วัฒนายากร (8 ตุลาคม พ.ศ. 2477 — 13 มีนาคม พ.ศ. 2555) เป็นอดีตองคมนตรี อดีตตุลาการศาลปกครองสูงสุด และอธิบดีกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและสวัสดิ์ วัฒนายากร
สัญญา ธรรมศักดิ์
ตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2450 — 6 มกราคม พ.ศ. 2545) เคยดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา, คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการข้าราชการพลเรือนผู้ทรงคุณวุฒิ,ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ปลัดกระทรวงยุติธรรมรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ, ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรม ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและสัญญา ธรรมศักดิ์
สันติ ทักราล
นายสันติ ทักราล (8 มีนาคม พ.ศ. 2485 - 29 เมษายน พ.ศ. 2554) อดีตองคมนตรี (ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง) และอดีตประธานศาลฎีก.
ดู คณะองคมนตรีไทยและสันติ ทักราล
สำราญ แพทยกุล
ลเอก สำราญ แพทยกุล (? - 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2529) อดีตรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตแม่ทัพภาคที่ 1และแม่ทัพภาคที่ 3 และองคมนตรีไทย พลเอก สำราญ แพทยกุล เคยดำรงตำแหน่งผู้บังคับบัญชา กรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์ ระหว่าง..
ดู คณะองคมนตรีไทยและสำราญ แพทยกุล
สิทธิ จิรโรจน์
ลเอก สิทธิโรจน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมัย พล.อ.สิทธิ์ เกิดเมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2463 ที่ตำบลบางหว้า อำเภอภาษีเจริญ จังหวัดธนบุรี เป็นบุตรชายของนายทองดีและนางสร้อย จิรโรจน์ จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดรางบัวและโรงเรียนวัดนวลนรดิศ โรงเรียนเทคนิคทหารบก (รุ่นเดียวกับ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี 4 สมัยและประธานองคมนตรีในรัชกาลปัจจุบัน) โดยเรียนดีเคยสอบได้ที่ 1 โรงเรียนเสนาธิการทหารบกรุ่นที่ 21 และวิทยาลัยการทัพบกรุ่นที่ 5 ชีวิตราชการทหารบกเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและสิทธิ จิรโรจน์
สิทธิ เศวตศิลา
ลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา (7 มกราคม พ.ศ. 2462 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558) อดีตองคมนตรีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ อดีตเลขาธิการสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาต.
ดู คณะองคมนตรีไทยและสิทธิ เศวตศิลา
สุรยุทธ์ จุลานนท์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและสุรยุทธ์ จุลานนท์
หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร
หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร (2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2473 – 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2547) เป็นอดีตรองประธานศาลฎีกา และหนึ่งในสมาชิกคณะองคมนตรีไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระบิดาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม..
ดู คณะองคมนตรีไทยและหม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร
หม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล
หม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล (หม่อมราชวงศ์เทพกมล เทวกุล) (12 เมษายน 2479 -) อดีตองคมนตรีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล เป็นบุตรของหม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุลและหม่อมเจ้าหญิงกมลปราโมทย์ กิติยากร สมรสกับคุณหญิงขวัญตา เทวกุล ณ อยุธยา สกุลเดิม ศิริวงศ์ บุตรีของ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและหม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล
หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช
ลเรือเอก หม่อมหลวง อัศนี ปราโมช (ภาษาอังกฤษ: Admiral ML Usni Pramoj; 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2477 - 2 เมษายน พ.ศ. 2560) อดีตองคมนตรี และผู้จัดการทรัพย์สินส่วนพระองค์ พลเรือเอก หม่อมหลวงอัศนี มีชื่อเล่นว่า "ตุ้ย" เป็นบุตรของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี และท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช ณ อยุธยา สมรสกับท่านผู้หญิงวราพร ปราโมช ณ อยุธยา (สกุลเดิม ชลวิจารณ์) มีบุตรทั้งหมด 5 คน ม.ล.อัศนี ปราโมช มีผลงานทางดนตรีมากมาย เป็นนักไวโอลิน นักวิโอล่า ผู้ประพันธ์เพลง และผู้อำนวยเพลง เป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งวงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพ ทำให้ได้รับการยกย่องเป็น ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล) เมื่อปี พ.ศ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและหม่อมหลวงอัศนี ปราโมช
หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์
ตราจารย์ ร้อยเอก หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2455 - 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) อดีตองคมนตรี,อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการและเป็นนักภาษาศาสตร์ชาวไทยเชี่ยวชาญด้านภาษาบาลีและสันสกฤต หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมายได้แก่องคมนตรี,อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ,ราชบัณฑิต สำนักศิลปกรรม แห่งราชบัณฑิตยสภา ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาบาลีและสันสกฤต คณบดีคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานคณะกรรมการแผนกอักษรศาสตร์ มูลนิธิอานันทมหิดล ระหว่างที่ศึกษาอยู่เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพา หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ไปทำงานเสรีไทย เป็นทหารในกองทัพบกอังกฤษ จนกระทั่งสงครามเสร็จสิ้นจึงปลดประจำการขณะมียศร้อยเอก.
ดู คณะองคมนตรีไทยและหม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์
หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล
หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล (17 กันยายน พ.ศ. 2447 - 3 เมษายน พ.ศ. 2534) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ราชเลขาธิการ และองคมนตรีไทย หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ประสูติแต่หม่อมจันทน์ เมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและหม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล
อภิรัฐมนตรีสภา
อภิรัฐมนตรีสภา (Supreme Council of State of Siam) เป็นสภาที่ปรึกษาและนิติบัญญัติที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้งขึ้น พระองค์มีพระราชประสงค์ที่จะตั้งสภาคล้ายกับคณะรัฐมนตรี ที่ซึ่งเจ้าหน้าที่ที่สำคัญที่สุดของรัฐจะประชุมเพื่อตัดสินใจในการงานของรัฐ สภาได้รับการก่อตั้งเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน..
ดู คณะองคมนตรีไทยและอภิรัฐมนตรีสภา
อภิรดี ยิ่งเจริญ
ลเอกหญิง ท่านผู้หญิงอภิรดี ยิ่งเจริญ (18 กรกฎาคม พ.ศ. 2469 -) คุณข้าหลวงใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และพระบรมวงศานุวงศ์ ท่านผู้หญิงอภิรดีเคยเป็นพระพี่เลี้ยงในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เคยเป็นคุณข้าหลวงผู้ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และนายทหารราชองครักษ์พิเศษ มียศเป็นพลเอกหญิง ในประเทศไทยมีสามัญชนเพียงสองคนที่ดำรงตำแหน่ง "พลเอกหญิง" คือ พลเอกหญิง ท่านผู้หญิงอภิรดี ยิ่งเจริญ และ พลเอกหญิง ท่านผู้หญิงสุทิดา วชิราลงกรณ์ ณ อ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและอภิรดี ยิ่งเจริญ
อรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร
ลตำรวจตรีอรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร พลตำรวจตรี นายกองใหญ่ อรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร (หลวงอรรถสิทธิ์สิทธิสุนทร) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และองคมนตรีไทย พลตำรวจตรี อรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร (11 ธันวาคม พ.ศ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและอรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร
อรรถนิติ ดิษฐอำนาจ
ตราจารย์พิเศษ อรรถนิติ ดิษฐอำนาจ (24 สิงหาคม พ.ศ. 2487 -) องคมนตรี อดีตประธานศาลฎีกา (1 ต.ค. 2545 - 30 ก.ย. 2547) ประธานสมาคมกฎหมายอาเซียน.
ดู คณะองคมนตรีไทยและอรรถนิติ ดิษฐอำนาจ
อำพล เสนาณรงค์
อำพล เสนาณรงค์ อดีตองคมนตรี, นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน.
ดู คณะองคมนตรีไทยและอำพล เสนาณรงค์
อดุล อดุลเดชจรัส
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก อดุล อดุลเดชจรัส หรือ หลวงอดุลเดชจรัส (28 มิถุนายน พ.ศ. 2437 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2512) นามเดิม บัตร พึ่งพระคุณ อดีตองคมนตรี รองนายกรัฐมนตรี อธิบดีกรมตำรวจ ผู้บัญชาการทหารบก มีสมญานามว่า "นายพลตาดุ" เป็นหนึ่งในคณะราษฎร ผู้มีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและอดุล อดุลเดชจรัส
จรัลธาดา กรรณสูต
รัลธาดา กรรณสูต(22 สิงหาคม พ.ศ. 2492-) องคมนตรี ประธานคณะกรรมการมูลนิธิโครงการหลวงประธานกรรมการบริหารในคณะกรรมการบริหารกองทุนพระราชทานสำหรับศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อดีตที่ปรึกษาสำนักราชเลขาธิการ, อดีตปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตอธิบดีกรมประมง.
ดู คณะองคมนตรีไทยและจรัลธาดา กรรณสูต
จำรัส เขมะจารุ
ตราจารย์พิเศษ จำรัส เขมะจารุ (11 สิงหาคม พ.ศ. 2472 - 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) อดีตองคมนตรี และอดีตประธานศาลฎีก.
ดู คณะองคมนตรีไทยและจำรัส เขมะจารุ
จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา
รองศาสตราจารย์ จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา องคมนตรี และประธานกรรมการมูลนิธิสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อดีตเลขาธิการพระราชวัง อดีตผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์อดีตเลขาธิการและกรรมการมูลนิธิโครงการหลวง นายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี.
ดู คณะองคมนตรีไทยและจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา
จิตติ ติงศภัทิย์
ตราจารย์พิเศษ จิตติ ติงศภัทิย์ (16 มีนาคม พ.ศ. 2451 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2538) เป็นนักกฎหมายชาวไทย รับตำแหน่งองคมนตรีตั้งแต่ปี 2527 ถึง 2538 และถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง จิตติประสิทธิ์ประสาทวิชากฎหมายมาเป็นเวลานานจนได้รับยกย่องเป็นปรมาจารย์แห่งวงการกฎหมายไทย และได้รับการกล่าวขานว่า ตั้งมั่นอยู่ในความบริสุทธิ์ยุติธรรม.
ดู คณะองคมนตรีไทยและจิตติ ติงศภัทิย์
จินดา บุญยอาคม
นตา บุณอาคม นายจินตา บุณยอาคม (พ.ศ. 2457 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2530) เป็นอดีตประธานศาลฎีกา และองคมนตรีไท.
ดู คณะองคมนตรีไทยและจินดา บุญยอาคม
จุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
นายจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (15 ตุลาคม พ.ศ. 2472 — 29 กันยายน พ.ศ. 2549) เป็นอดีตองคมนตรี.
ดู คณะองคมนตรีไทยและจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ธานินทร์ กรัยวิเชียร
ตราจารย์ (พิเศษ) ธานินทร์ กรัยวิเชียร (5 เมษายน พ.ศ. 2470 —) อดีตองคมนตรี อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่ประธานองคมนตรี และอดีตนายกรัฐมนตรี คนที่ 14 ของไท.
ดู คณะองคมนตรีไทยและธานินทร์ กรัยวิเชียร
ธีรชัย นาควานิช
ลเอก ธีรชัย นาควานิช (ชื่อเล่น: หมู, เกิด 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498) อดีตองคมนตรี ราชองครักษ์พิเศษตุลาการศาลทหารสูงสุด ประธานกรรมการ การประปาส่วนภูมิภาค กรรมการการไฟฟ้านครหลวง และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตเลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ,นายทหารพิเศษประจำ หน่วยทหารรักษาพระองค์ กรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์ ประธานสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด กรรมการ ธนาคารทหารไท.
ดู คณะองคมนตรีไทยและธีรชัย นาควานิช
ทรงกิตติ จักกาบาตร์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ทรงกิตติ จักกาบาตร์ (22 ธันวาคม พ.ศ. 2493 —) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด เคยดำรงตำแหน่งเป็นเสนาธิการทหารบกและแม่ทัพภาคที่ 4.
ดู คณะองคมนตรีไทยและทรงกิตติ จักกาบาตร์
ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ
ลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ (เกิด 8 กันยายน พ.ศ. 2496) เป็นองคมนตรีประธานกรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม กรรมการสภาราชวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ และ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตประธานกรรมการคุรุสภา อดีตรองประธานกรรมการในคณะกรรมการกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ กรรมการในคณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อดีตที่ปรึกษาและอดีตเลขานุการคณะที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตรองผู้บัญชาการทหารบกอดีตประธานคณะกรรมการส่งเสริมกิจการฮัจย์แห่งประเทศไทย อดีตเลขาธิการสมาคมว่ายน้ำแห่งประเทศไทย และอดีตเสนาธิการทหารบก เป็นหนึ่งในนายทหารที่ ควบคุมการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ
ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย
วามผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยอยู่ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 บัญญัติไว้ว่า "ผู้ใดหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3 ปีถึง 15 ปี" ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยเป็นความผิดต่อความมั่นคงของรัฐ คนไทยหรือคนต่างด้าวไม่ว่ากระทำในหรือนอกราชอาณาจักรก็ต้องรับโทษ ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับเรื่อยมามีข้อที่กล่าวว่า "องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้" ในประมวลกฎหมายไม่มีนิยามว่าพฤติการณ์แบบใดเข้าข่าย "หมิ่นประมาท" หรือ "ดูหมิ่น" ลักษณะการกระทำความผิดมีหลากหลาย แล้วแต่ศาลจะพิเคราะห์เจตนา เช่น ปราศรัยในที่สาธารณะ ส่งสารสั้น โพสต์รูปภาพ เผยแพร่เอกสารหรือวีดิทัศน์ ละเมิดพระบรมฉายาลักษณ์ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีข้อโต้แย้งว่า ความผิดต่อองคมนตรีเข้าข่ายความผิดนี้หรือไม่ อนึ่ง ในปี 2556 ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า คำว่า "พระมหากษัตริย์" ยังหมายความรวมถึง พระมหากษัตริย์ในอดีตด้วย ธานินทร์ กรัยวิเชียร อดีตนายกรัฐมนตรี ยังตีความว่า กฎหมายห้ามครอบคลุมถึงการวิจารณ์โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สถาบันพระมหากษัตริย์ ราชวงศ์จักรีและพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ไม่เคยฟ้องร้องเป็นการส่วนพระองค์ ผู้ถูกตั้งข้อหามักไม่ได้รับอนุญาตให้ประกันตัว และถูกคุมขังในเรือนจำหลายเดือนก่อนมีการไต่สวนในชั้นศาล องค์การนิรโทษกรรมสากลถือว่านักโทษตามความผิดนี้เป็นนักโทษการเมือง มีบุคคลส่วนหนึ่งเลือกเดินทางออกนอกประเทศเพื่อมิให้ถูกดำเนินคดี และยังมีผู้ต้องหาและผู้ต้องขังตามความผิดดังกล่าวฆ่าตัวตายหรือเสียชีวิตระหว่างถูกคุมขัง สิทธิศักดิ์ วนะชกิจ โฆษกศาลยุติธรรม มีความเห็นเกี่ยวกับผู้ต้องขังในคดีทำนองนี้ว่า "...บุคคลที่เจนโลกโชกโชน สันดานเป็นโจรผู้ร้าย มีเจตนาทำร้ายสังคม สถาบันหลักของประเทศชาติ และองค์พระประมุขอันเป็นที่เคารพสักการ...ไม่มีใครอยากให้คนเช่นนี้ลอยนวลอยู่ในสังคมเพื่อสร้างความเสียหายต่อเนื่องหรือแก่ผู้อื่นอีก..." และแสดงความเห็นว่า "…ถ้าคดีใดอัยการโจทก์สามารถนำสืบพิสูจน์จนให้ศาลเห็นและเชื่อได้ว่า จำเลยมีเจตนาชั่วร้...จำเลยในคดีนั้นก็สมควรที่จะได้รับโทษานุโทษตามความเหมาะสมแก่พฤติการณ์แห่งคดี..." โดยที่ศาลมิต้องยกประโยชน์แห่งความสงสัยให้จำเลย หลังรัฐประหารเมื่อปี 2549 มีการพิจารณาความผิดดังกล่าวมากขึ้นอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน ปัจจุบัน ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 เป็นกฎหมายว่าด้วยการหมิ่นประมาทราชวงศ์ซึ่งระวางโทษรุนแรงที่สุดในโลก และถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่า "โหดร้ายป่าเถื่อน" บ่อนทำลายกฎหมายไทย ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ ใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองและทำลายสถาบันพระมหากษัตริย์ บางฝ่ายออกมาเรียกร้องให้มีการแก้ไขหรือยกเลิกกฎหมายนี้ ส่วนพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดำรัสว่า สามารถวิจารณ์พระองค์ได้และไม่เคยตรัสให้เอาผู้วิจารณ์เข้าคุก.
ดู คณะองคมนตรีไทยและความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย
คณะองคมนตรี
ณะองคมนตรี (privy council) คือ กลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่ประมุขแห่งรัฐ โดยทั่วไปในประเทศที่ปกครองแบบราชาธิปไตย ในภาษาอังกฤษ คำว่า "privy" หมายถึง "ส่วนตัว" หรือ "ลับ" ดังนั้นแรกเริ่มเดิมที privy council คือคณะที่ปรึกษาที่ใกล้ชิดที่สุดของกษัตริย์ที่ให้คำปรึกษาที่รักษาเป็นความลับในเรื่องกิจการรัฐ ประเทศที่มีสภาองคมนตรีหรือองค์กรเทียบเท่าในปัจจุบัน เช่น สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ, ประเทศแคนาดา, ราชอาณาจักรเดนมาร์ก, ราชอาณาจักรตองกา และ ราชอาณาจักรไท.
ดู คณะองคมนตรีไทยและคณะองคมนตรี
คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันอุดมศึกษาด้านวิชาการประมง และทรัพยากรทางน้ำแห่งแรกของประเทศไทย เน้นการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ทั้ง วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์เป็นหลัก นอกจากนี้ยังมีการศึกษาทางเศรษฐศาสตร์ บริหารศาสตร์ พัฒนศาสตร์ นิติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอีกด้วย ปัจจุบัน เปิดสอนในสาขา การจัดการประมง ชีววิทยาประมง ผลิตภัณฑ์ประมง เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ วิทยาศาสตร์ทางทะเล และวิทยาศาสตร์การประมง ตั้งแต่ระดับปริญญาตรี ถึงระดับปริญญาเอก คณะประมงผ่านการประเมินด้วยคะแนนสูงสุด(5/5)ระดับดีมาก โดยสกว.
ดู คณะองคมนตรีไทยและคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประกอบ หุตะสิงห์
144x144px ศาสตราจารย์ ประกอบ หุตะสิงห์ (พ.ศ. 2455 - 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2537) อดีตประธานศาลฎีกา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รองนายกรัฐมนตรี นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และองคมนตรีไทย ประกอบ หุตะสิงห์ เป็นบุตรของพระยาสรรพกิจเกษตรการ กับคุณหญิง ศวง สรรพกิจ เขาเข้าศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนวัดสุทธิวราราม และ เป็นนักเรียนไทยรุ่นแรกๆ ที่ไปศึกษาด้านนิติศาสตร์ จากประเทศเยอรมัน เมื่อ..
ดู คณะองคมนตรีไทยและประกอบ หุตะสิงห์
ประเทศไทยใน ค.ศ. 2017
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2017 (พ.ศ. 2560) ในประเทศไท.
ดู คณะองคมนตรีไทยและประเทศไทยใน ค.ศ. 2017
แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์
แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ (13 สิงหาคม พ.ศ. 2494 — 16 เมษายน พ.ศ. 2552) อดีตนักมวยแชมป์โลกชาวไทย รุ่นซูเปอร์ไลท์เวท (140 ปอนด์) ของสภามวยโลก (WBC) มีชื่อจริงว่า บุญส่ง มั่นศรี เป็นชาวตำบลสะเดียง อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ แสนศักดิ์ เป็นนักมวยที่มีช่วงแขนยาวกว่าปกติ และมีหมัดซ้ายหนักโดยธรรมชาติ นับเป็นแชมป์โลกชาวไทยคนที่ 5 และเป็นนักมวยแชมป์โลกรุ่นใหญ่ที่สุดเท่าที่ประเทศไทยเคยมีมา นอกจากนี้แสนศักดิ์ยังเป็นเจ้าของสถิติโลก ที่ชกมวยสากลเพียง 3 ครั้งก็ได้ครองตำแหน่งแชมป์โลกอีกด้ว.
ดู คณะองคมนตรีไทยและแสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์
โรงเรียนวัดสุทธิวราราม
รงเรียนวัดสุทธิวราราม (Wat Suthiwararam School) (อักษรย่อ: ส.ธ., ST) เป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ราษฎรสร้างขึ้นแล้วยกให้กระทรวงธรรมการ มีพระราชหัตถเลขาชมเชยให้การสร้างโรงเรียนวัดสุทธิวรารามเป็นแบบอย่างของการบำเพ็ญกุศลที่ต้องด้วยพระราชนิยมเป็นอย่างยิ่ง โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระองค์เสด็จพระราชดำเนินมาทรงทำพิธีเปิดเป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลวรชาติ มีชูบท, พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าแผ่นดินสยาม, สำนักพิมพ์ สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2552 เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและโรงเรียนวัดสุทธิวราราม
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (อักษรย่อ: ส.ก./S.K.) เป็นโรงเรียนชายล้วนในระดับชั้น มัธยมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 88 ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 11 ไร่ 2 งาน 23 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารเรียน 7 หลัง ห้องเรียนทั้งหมด 78 ห้อง นอกจากนี้โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยยังโดดเด่นในเรื่องคุณภาพมาตรฐานของศิษย์เก่าที่จบไปโดยเฉพาะด้านวิชาการ ภาษา และความเป็นผู้นำ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็น 1 ในกลุ่มโรงเรียนจตุรมิตรสามัคคี ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย มีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมของทั้ง 4 โรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้าภาพในทุกๆ 2 ปี นอกจากการแข่งขันฟุตบอล ยังมี การแปรอักษร ของทั้ง 4 โรงเรียน ซึ่งเป็นอีกสัญลักษณ์สำคัญของงาน โดยกีฬาจตุรมิตรสามัคคีจะจัดขึ้นในทุกๆ 4 ปี ที่ สนามศุภชลาศัย นอกจากนี้ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ยังมีงานกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์ และงานชุมนุมลูกเสือสวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งจัดขึ้นร่วมกับโรงเรียนใน เครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นประจำทุกปี โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้.
ดู คณะองคมนตรีไทยและโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน มีฐานะเป็นภาควิชาโรงเรียนสาธิต มศว ปทุมวัน สังกัด คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนอังรีดูนังต์ แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 บนพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
ดู คณะองคมนตรีไทยและโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
โรงเรียนอัสสัมชัญ
รงเรียนอัสสัมชัญ (บ้างเรียก อัสสัมชัญบางรัก หรือ อัสสัมชัญกรุงเทพ, ย่อ: อสช, AC) เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเทพศิรินทร์, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โรงเรียนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ แผนกประถม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเซนต์หลุยส์ 3 ถนนสาทรใต้ และแผนกมัธยม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก โรงเรียนอัสสัมชัญ ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการขึ้นโดยบาทหลวงเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์ เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..
ดู คณะองคมนตรีไทยและโรงเรียนอัสสัมชัญ
ไพบูลย์ คุ้มฉายา
ลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา (เกิด 21 มิถุนายน พ.ศ. 2498) เป็นองคมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม,รองประธานคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตร พันธสัญญาที่เป็นธรรม, ประธานกรรมการศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติ, หัวหน้าฝ่ายกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมของ คสช.และสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตรองผู้บัญชาการทหารสูงสุด, ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก, แม่ทัพภาคที่ 1, อดีตผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์, อดีตผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ และอดีตผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 11 รักษาพระอง.
ดู คณะองคมนตรีไทยและไพบูลย์ คุ้มฉายา
เชาวน์ ณศีลวันต์
วน์ ณศีลวันต์ (7 สิงหาคม 2471 -) อดีตองคมนตรี และอดีตประธานกรรมการบริษัทเครือซีเมนต์ไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร สมรสกับคุณหญิงไขศรี ณศีลวันต์ (ถึงแก่อสัญกรรมโดยอุบัติเหตุเครื่องบินตกในปี พ.ศ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและเชาวน์ ณศีลวันต์
เกษม วัฒนชัย
ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ เกษม วัฒนชัย องคมนตรี,ประธานคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช, นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล นายกสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ในอดีตได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร สมรสกับคุณหญิง รัชนีวรรณ วัฒนชั.
ดู คณะองคมนตรีไทยและเกษม วัฒนชัย
เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)
มหาอำมาตย์นายก มหาเสวกเอก นายพลเสือป่า นายพันเอก นายนาวาอากาศเอก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2405 - 30 ธันวาคม พ.ศ.
ดู คณะองคมนตรีไทยและเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)
เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)
มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..
ดู คณะองคมนตรีไทยและเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)
เจ้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล)
้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล) อดีตรัฐมนตรีและองคมนตรี ได้รับพระราชทานนามสกุล "สุจริตกุล".
ดู คณะองคมนตรีไทยและเจ้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล)
เจ้าพระยาอภัยราชามหายุติธรรมธร (หม่อมราชวงศ์ลบ สุทัศน์)
งวางเอก มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาอภัยราชามหายุติธรรมธร นามเดิม หม่อมราชวงศ์ลบ เป็นขุนนางชาวไทย ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น องคมนตรี ปลัดทูลฉลองกระทรวงนครบาล เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม ผู้ได้รับพระราชทานนามสกุลสุทัศน.
ดู คณะองคมนตรีไทยและเจ้าพระยาอภัยราชามหายุติธรรมธร (หม่อมราชวงศ์ลบ สุทัศน์)
เปรม ติณสูลานนท์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..
ดู คณะองคมนตรีไทยและเปรม ติณสูลานนท์
เนวิน ชิดชอบ
นวิน ชิดชอบ ปัจจุบันเป็นประธานบริหารสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด อดีตเคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและรัฐมนตรีหลายสมัย และเคยเป็นหนึ่งในบุคคลใกล้ชิดคนสำคัญของอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร และเป็นบุคคลสำคัญ ที่ทำให้นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในปี..
ดู คณะองคมนตรีไทยและเนวิน ชิดชอบ
หรือที่รู้จักกันในชื่อ รายนามประธานองคมนตรีในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรรายนามประธานองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชองคมนตรีไทย