สารบัญ
81 ความสัมพันธ์: ชัยวัฒน์ สถาอานันท์บัณฑิตา ศรีนวลนัดชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ชนาธิป สรงกระสินธ์พร้อมพงษ์ กรานสำโรงกมลชนก เขมะโยธินกัญญ์กุลณัช ปัญญากิตตินันท์กิจกรรมระหว่างมหาวิทยาลัยในประเทศไทยภุชงค์ รุ่งโรจน์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มาช่า วัฒนพานิชมนตรี เจนวิทย์การยิ่งศักดิ์ โควสุรัตน์ยุรนันท์ ภมรมนตรีรัฐศาสตร์รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดรายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.ลิขิต ธีรเวคินวรรณสิงห์ ประเสริฐกุลวัชระ สัจจะสารสินวังวินด์เซอร์วันเฉลิม ยิ่งยงวิชาญ มีนชัยนันท์วิลาศ จันทร์พิทักษ์วิสาร เตชะธีราวัฒน์วิทเยนทร์ มุตตามระวิเชียร ชวลิตวีระ ธีรภัทรวีระ โรจน์พจนรัตน์ศักดิ์สยาม ชิดชอบศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทยสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดสุราษฎร์ธานีสมชัย ศรีสุทธิยากรสมบัติ จันทรวงศ์สมพัฒน์ แก้วพิจิตรสมเกียรติ อ่อนวิมลสิงโตสุรินทร์ พิศสุวรรณสุขวิช รังสิตพลสุขุม นวลสกุลสนั่น ชูสกุลอภิเชษฐ์ พุฒตาลอรชุน รินทรวิฑูรย์อลงกรณ์ พลบุตรอาษา เมฆสวรรค์อาณันย์ วัชโรทัยอำพล สิงหโกวินท์อดุล จันทรศักดิ์องอาจ คล้ามไพบูลย์อนันตพร กาญจนรัตน์... ขยายดัชนี (31 มากกว่า) »
ชัยวัฒน์ สถาอานันท์
ตราจารย์ ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ เป็นศาสตราจารย์ประจำและหัวหน้าสาขาวิชาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ในปี..
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และชัยวัฒน์ สถาอานันท์
บัณฑิตา ศรีนวลนัด
ัณฑิตา ศรีนวลนัด เกิดวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2539 เป็นชื่อดาราเด็กที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งจากสถานีโทรทัศน์ช่อง 3 ได้รับงานแสดงในเรื่อง เรือนไม้สีเบจ,, ตกกระไดหัวใจพลอยโจน, แต่ปางก่อน แฝดพี่ฝาดน้อง ต่อมาได้รับบทนำครั้งแรกในละครโทรทัศน์ ผีเสื้อและดอกไม้ ร่วมกับ จิรายุ ละอองมณี ปัจจุบันศึกษาอยู่ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยยังมีดีกรีเป็นนักกีฬาฟันดาบทีมชาติไทยจากการเปิดเผยของเจ้าตัวในรายการ สาบานว่าพูดจริง ทางช่องวัน เมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และบัณฑิตา ศรีนวลนัด
ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์
ูวิทย์ กมลวิศิษฏ์ หรือนามแฝงว่า Davis Kamol (เกิด 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504 เยาวราช) เป็นอดีตนักการเมืองชาวไทย อดีตหัวหน้าพรรค และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อพรรครักประเทศไทย อดีตสมาชิกพรรคสู้เพื่อไทย และอดีตรองหัวหน้าพรรคชาติไท.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์
ชนาธิป สรงกระสินธ์
ตำรวจตรี ชนาธิป สรงกระสินธ์ หรือเป็นที่รู้จักในฉายา เมสซี่เจ เกิดวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2536 เป็นนักฟุตบอลทีมชาติไทย ปัจจุบันเล่นให้กับสโมสรฟุตบอล คอนซาโดเล่ ซัปโปโร สโมสรในลีกญี่ปุ่นหรือเจลีก ยืมตัวใช้งานด้วยสัญญา 1 ปี 6 เดือน ชนาธิปเริ่มมีชื่อเสียงจากการเป็นนักเตะที่อายุน้อยที่สุดที่วินเฟรด เชเฟอร์ เรียกตัวเข้าไปร่วมการแข่งขัน เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2012 ในฐานะตัวแทนทีมชาติไทยชุดใหญ่ ได้ตำแหน่งรองแชมป์ ก่อนที่สองปีต่อมา จะพาทีมคว้าแชมป์ได้สำเร็จในรายการเอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2014 และคว้าแชมป์อีกครั้งเอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2016 โดยได้รับรางวัลผู้เล่นยอดเยี่ยมจากสองครั้งหลังสุด ทั้งนี้ ชนาธิปยังเป็นกำลังสำคัญของผู้เล่นทีมชาติไทยรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี คว้าเหรียญทองในการแข่งขัน ซีเกมส์ 2013 ที่พม่า และซีเกมส์ 2015 ที่สิงคโปร์ รวมถึงคว้าอันดับ 4 ในการแข่งขันเอเชียนเกมส์ 2014 ที่เกาหลีใต้ ด้วยการมีรูปร่างที่เล็ก แต่มีทักษะฟุตบอลที่ดี มีความคล่องแคล่ว ปราดเปรียว มีความเข้าใจเกมสูง ชนาธิปจึงได้รับฉายาว่า เมสซี.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และชนาธิป สรงกระสินธ์
พร้อมพงษ์ กรานสำโรง
thumbnail ชนาธิป สรงกระสินธ์ หรือเป็นที่รู้จักกันในฉายา เมสซีเจ เกิดวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2536 เป็นนักฟุตบอลชาวไทย ปัจจุบันเล่นให้กับ บีอีซี เทโรศาสน ใน ไทยพรีเมียร์ลีก ชนาธิปเป็นนักเตะที่อายุน้อยที่สุดของทีมชาติไทย ที่ วินเฟรด เชเฟอร์ เรียกตัวเข้าไปในการแข่งขัน เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2012 โดยได้ตำแหน่งรองแชมป์ และเป็นหนึ่งในผู้เล่นทีมชาติไทย ชุดอายุไม่เกิน 23 ปี ที่ได้เหรียญทองในซีเกมส์ 2013 ที่ประเทศพม่า รวมถึงได้อันดับ 4 การแข่งขันเอเชียนเกมส์ 2014 ที่ประเทศเกาหลีใต้ และเป็นนักฟุตบอลทีมชาติไทยชุดคว้าแชมป์เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2014.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และพร้อมพงษ์ กรานสำโรง
กมลชนก เขมะโยธิน
กมลชนก โกมลฐิติ เกิดเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2510 เป็นนักแสดง พิธีกร นางแบบและนักร้องชาวไทย มีผลงานสร้างชื่อจากบทบาทอังศุมาลิน ในละครเรื่อง คู่กรรม ที่แสดงนำร่วมกับ ธงไชย แมคอินไต.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกมลชนก เขมะโยธิน
กัญญ์กุลณัช ปัญญากิตตินันท์
กัญญ์กุลณัช ปัญญากิตตินันท์ (ชื่อเล่น น้ำ; เกิด 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537) เป็นนักร้องและนักแสดงหญิงชาวไทย ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 3 จากรายการ ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 11 รหัสประจำตัวในรายการ คือ V11 .
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกัญญ์กุลณัช ปัญญากิตตินันท์
กิจกรรมระหว่างมหาวิทยาลัยในประเทศไทย
กิจกรรมระหว่างมหาวิทยาลัย เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยต่าง ๆ อาทิ การจัดการแข่งขันกีฬา งานด้านวิชาการ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการจัดงานระหว่างคณะเดียวกัน ในแต่ละมหาวิทยาลัยอีกด้ว.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และกิจกรรมระหว่างมหาวิทยาลัยในประเทศไทย
ภุชงค์ รุ่งโรจน์
งค์ รุ่งโรจน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดชลบุรี และอดีตนายกเทศมนตรีเมืองชะอำ.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และภุชงค์ รุ่งโรจน์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มาช่า วัฒนพานิช
มาช่า วัฒนพานิช (24 สิงหาคม พ.ศ. 2513) มีชื่อจริงแต่เดิมว่า มาร์ชา วัฒนพานิช Marion Ursula Marsha Vadhanapanich; ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น สยมพร, ธนัฏฐาไทยรั.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมาช่า วัฒนพานิช
มนตรี เจนวิทย์การ
รองศาสตราจารย์ มนตรี เจนวิทย์การ เป็นอดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน และอดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในรัฐบาลนายชวน หลีกภั.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมนตรี เจนวิทย์การ
ยิ่งศักดิ์ โควสุรัตน์
งศักดิ์ โควสุรัตน์ คือนักเขียนเจ้าของนามปากกา "อีแร้ง" นักวิจารณ์ภาพยนตร์เจ้าของนามปากกา "น้ำผึ้ง" อดีตพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินของการบินไทย และอาจารย์สอนงานบริการ เจ้าของผลงานชุดบินแหลก และคำสารภาพของนักเขียน ปัจจุบันยังคงเขียนคอลัมน์ บินแหลก ลงในนิตยสารดิฉัน เป็นชาวจังหวัดอุบลราชธานี จบการศึกษาระดับมัธยมปลายจากโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และยิ่งศักดิ์ โควสุรัตน์
ยุรนันท์ ภมรมนตรี
รนันท์ ภมรมนตรี หรือ แซม เป็นอดีตนักแสดง พิธีกรรายการโทรทัศน์ นักร้อง และอดีตผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และยุรนันท์ ภมรมนตรี
รัฐศาสตร์
รัฐศาสตร์ (political science) เป็นสาขาวิชาที่เกิดขึ้นในราวศตวรรษที่ 19 ซึ่งนักรัฐศาสตร์ยุคแรกนั้นพัฒนากระบวนวิชาขึ้นมาให้สอดคล้องกับแนวนิยมทางวิทยาศาสตร์ สารานุกรมบริทานิกา คอนไซส์ (Britanica Concise Encyclopedia) อธิบายรัฐศาสตร์ว่า เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการปกครองและการเมืองด้วยแนวทางประจักษ์นิยม (empiricism) นักรัฐศาสตร์คือนักวิทยาศาสตร์ที่พยายามแสวงหา และทำความเข้าใจธรรมชาติของการเมือง ส่วนพจนานุกรมการเมืองของออกซ์ฟอร์ด (Oxford Dictionary of Politics) นิยามว่า รัฐศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องรัฐ รัฐบาล/การปกครอง (government) หรือการเมือง กล่าวอย่างรวบรัดรัฐศาสตร์เป็นวิชาในสายสังคมศาสตร์ สาขาหนึ่งซึ่งแบ่งการศึกษาออกเป็นสาขาต่างๆ อาทิ ปรัชญาการเมือง ประวัติศาสตร์การเมือง ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง ทฤษฎีการเมือง อุดมการณ์ทางการเมือง การบริหารรัฐกิจ หรือการบริหารจัดการสาธารณะ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์ การเมืองเปรียบเทียบ (comparative politics), การพัฒนาการเมือง, สถาบันทางการเมือง, การเมืองระหว่างประเทศ การปกครองและการบริหารรัฐ (national politics), การเมืองการปกครองท้องถิ่น (local politics) เป็นต้น ซึ่งสาขาต่างๆเหล่านี้อาจแปรเปลี่ยนไปตามแต่ละสถาบันว่าจะจัดการเรียนการสอนอย่างไร อย่างไรก็ตามหากจะเรียกว่าการจัดกระบวนวิชาใดนั้นเป็นรัฐศาสตร์หรือไม่ ก็ขึ้นกับว่าการจัดการเรียนการสอนดังกล่าวใช้มโนทัศน์ "การเมือง" เป็นมโนทัศน์หลัก (crucial concept/key concept) หรือไม่ แต่โดยจารีตของกระบวนวิชา(scholar) นั้นรัฐศาสตร์ จะมีสาขาย่อยที่เป็นหลักอย่างน้อย 3 สาขาคือ สาขาการปกครอง (government), สาขาการบริหารกิจการสาธารณะ (public administration) และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ(international relation).
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และรัฐศาสตร์
รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด
รายชื่อบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด
รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.
รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และรายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.
ลิขิต ธีรเวคิน
ตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559) ราชบัณฑิตสาขาวิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสภา นักรัฐศาสตร์และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน เป็นนักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ (ระดับ 11) อดีตอาจารย์ประจำและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ และรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นอกจากนี้ ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน ยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ (พ.ศ.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และลิขิต ธีรเวคิน
วรรณสิงห์ ประเสริฐกุล
วรรณสิงห์ ประเสริฐกุล เกิดวันที่ 9 สิงหาคม..
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวรรณสิงห์ ประเสริฐกุล
วัชระ สัจจะสารสิน
วัชระ สัจจะสารสิน เป็นนามปากกาของ "วัชระ เพชรพรหมศร" เกิดเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 ที่อำเภอควนเนียง จ.สงขลา รับราชการสังกัดสำนักงานศาลปกครอง และเขียนเรื่องสั้นเป็นงานอดิเรก ได้รับรางวัลซีไรต์ ประจำปี..
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวัชระ สัจจะสารสิน
วังวินด์เซอร์
วังวินด์เซอร์ หรือที่รู้จักในชื่อ วังประทุมวัน, วังกลางทุ่ง หรือ วังใหม่ เป็นวังที่สร้างขึ้นโดยพระประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่พระราชทานเป็นสถานที่ประทับของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามบรมราชกุมารองค์แรกแห่งสยามประเทศ ตั้งอยู่บริเวณทุ่งประทุมวัน กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการขยายขอบเขตวังออกนอกเขตพระนคร จึงเป็นเหตุให้เรียกชื่อ วังกลางทุ่ง และสืบเนื่องจากตัววังที่เหมือนกับพระราชวังวินด์เซอร์ ที่ประเทศอังกฤษ จึงเป็นเหตุให้เรียกว่า วังวินด์เซอร์ วัง ถูกสร้างขึ้นในปี..
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวังวินด์เซอร์
วันเฉลิม ยิ่งยง
วันเฉลิม ยิ่งยง (Wanchalerm Yingyong) เป็นนักฟุตบอลชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม ปัจจุบันเล่นให้กับประจวบคีรีขันธ์ในตำแหน่งกองกลาง.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวันเฉลิม ยิ่งยง
วิชาญ มีนชัยนันท์
นายวิชาญ มีนชัยนาน.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวิชาญ มีนชัยนันท์
วิลาศ จันทร์พิทักษ์
ัชกร วิลาศ จันทร์พิทักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัต.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวิลาศ จันทร์พิทักษ์
วิสาร เตชะธีราวัฒน์
นายกองเอก วิสาร เตชะธีราวัฒน์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย 8 สมั.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวิสาร เตชะธีราวัฒน์
วิทเยนทร์ มุตตามระ
วิทเยนทร์ มุตตามระ กรรมการผู้จัดการสถานีโทรทัศน์บลูสกายแชนแนล และอดีตผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ เกิดเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม..
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวิทเยนทร์ มุตตามระ
วิเชียร ชวลิต
นายกองเอก วิเชียร ชวลิต เป็น ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสังคม ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ สมาชิก สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ กรรมการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เลขาธิการคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืน อดีตประธานกรรมการการไฟฟ้าส่วนภูม.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวิเชียร ชวลิต
วีระ ธีรภัทร
วีระ ธีรภัทร (ใส่แว่น) วีระ ธีรภัทร นักจัดรายการวิทยุ นักเขียน คอลัมนิสต์ และพิธีกรชาวไทย ผู้มีลีลาและเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวีระ ธีรภัทร
วีระ โรจน์พจนรัตน์
นายวีระ โรจน์พจนรัตน์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมและ ประธานกรรมการส่งเสริมกิจการฮัจย์แห่งประเทศไทย ในรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และเป็นอดีตปลัดกระทรวงวัฒนธรรม กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลั.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และวีระ โรจน์พจนรัตน์
ศักดิ์สยาม ชิดชอบ
นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ เลขาธิการพรรคภูมิใจไทย และเป็นอดีตประธานคณะทำงานรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (ชวรัตน์ ชาญวีรกูล) ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และศักดิ์สยาม ชิดชอบ
ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย
ูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (ย่อ: ศนท.) เป็นขบวนการทางการเมืองในประเทศไทยในอดีต.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย
สภาเด็กและเยาวชนจังหวัดสุราษฎร์ธานี
็กและเยาวชนจังหวัดสุราษฎร์ธานี (Suratthani Children and Youth Council) เป็นองค์กรเด็กและเยาวชนในจังหวัดสุราษฎร์ธานีที่มีการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ เข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบ เพื่อแสวงหาแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนภายในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ภายใต้หลักการ “เด็กนำผู้ใหญ่หนุน” ซึ่งในปัจจุบันนี้สภาเด็กและเยาวชนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้รับการสันบสนุนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี และสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี ภายใต้พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พุทธศักราช 2550 โดยมีสำนักงานตั้งอยู่ที่สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี ซอยพิเศษ ตำบลขุนทะเล อำเภอเมืองฯ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ศิริพงศ์ อริยสุนทร ประธานสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดสุราษฎร์ธานี คนแรก.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดสุราษฎร์ธานี
สมชัย ศรีสุทธิยากร
รองศาสตราจารย์สมชัย ศรีสุทธิยากร (เกิด 23 ตุลาคม พ.ศ. 2501) เป็นอดีตข้าราชการบำนาญมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) และอดีตกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ด้านกิจการบริหารจัดการเลือกตั้ง สมชัยถูกถอดจากตำแหน่ง กกต.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมชัย ศรีสุทธิยากร
สมบัติ จันทรวงศ์
ตราจารย์ สมบัติ จันทรวงศ์ เป็น นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติประจำปี 2538 อดีตศาสตราจารย์ประจำสาขาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ สำนักงานคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญด้านปรัชญาการเมืองคนสำคัญของประเทศและเป็นผู้บุกเบิกการสอนวิชาปรัชญาการเมืองและความคิดทางการเมืองในประเทศไทย จนได้รับการกล่าวขานว่า "เปลโตเมืองไทย".
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมบัติ จันทรวงศ์
สมพัฒน์ แก้วพิจิตร
นายสมพัฒน์ แก้วพิจิตร (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2504 — 19 มกราคม พ.ศ. 2556) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลสมัคร สุนทรเวช และรัฐบาลสมชาย วงศ์สวัสดิ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม สังกัดพรรคชาติไทย นายสมพัฒน์ เป็นพี่ชายของ พันโท สินธพ แก้วพิจิตร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมพัฒน์ แก้วพิจิตร
สมเกียรติ อ่อนวิมล
ผ.สมเกียรติ อ่อนวิมล เป็นประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทยวิทัศน์ จำกัด, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำวิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, ผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท แปซิฟิก อินเตอร์คอมมิวนิเคชั่น จำกัด อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมเกียรติ อ่อนวิมล
สิงโต
งโต (Lion) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อยู่ในวงศ์ Felidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมว สิงโตมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera leo มีขนาดลำตัวใหญ่ ขนาดไล่เลี่ยกับเสือโคร่งทั่วไป (P.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสิงโต
สุรินทร์ พิศสุวรรณ
รรมศาสตราภิชาน สุรินทร์ พิศสุวรรณ (Surin Abdul Halim bin Ismail Pitsuwan, สุรินทร์ อับดุล ฮาลิม บิน อิสมาอิล พิศสุวรรณ; 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 – 30 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสุรินทร์ พิศสุวรรณ
สุขวิช รังสิตพล
วิช รังสิตพล อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคความหวังใหม่ และพรรคไทยรักไท.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสุขวิช รังสิตพล
สุขุม นวลสกุล
รองศาสตราจารย์ สุขุม นวลสกุล อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง นักพูด และนักวิชาการทางรัฐศาสตร์ เกิดเมื่อวันที่ 8 เดือนมกราคม พ.ศ.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสุขุม นวลสกุล
สนั่น ชูสกุล
นั่น ชูสกุล สนั่น ชูสกุลเป็นนักเขียน และนักกิจกรรมทางสังคม ผลงานรวมเรื่องสั้นของเขา บริษัทไทยไม่จำกัด ผ่านเข้ารอบสุดท้ายรางวัลซีไรต์ ปี 2551.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสนั่น ชูสกุล
อภิเชษฐ์ พุฒตาล
อภิเชษฐ์ พุฒตาล (10 สิงหาคม 2521) นักฟุตบอลชาวไทยเล่นในตำแหน่งกองหลัง ให้กับสโมสรฟุตบอลบีอีซี เทโรศาสน ได้ร่วมเล่นในฟุตบอลทีมชาติเยาวชน 17 ปี (บอลโลกรอบสุดท้าย) และ ปรีโอลิมปิก อภิเชษฐ์จบการศึกษาระดับปริญญาโท ปัจจุบันทำงาน นบท.4 ฝ่ายสื่อสารโทรคมนาคม (ฝสค.) ส่วนกลาง.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอภิเชษฐ์ พุฒตาล
อรชุน รินทรวิฑูรย์
อรชุน รินทรวิฑูรย์ หรือ โจจิรัฏฐ์ รินทรวิฑูรย์ (ชื่อเล่น: โจ; เกิด: 5 ตุลาคม พ.ศ. 2523) ผู้ประกาศข่าวชาวไทย ปัจจุบันเป็นผู้ประกาศข่าวในช่องไทยทีวีสีช่อง 3 และสปริงนิวส์ โดยเขาเป็นผู้ประกาศข่าวที่มีความสามารถในการพูดภาษาจีนกลางได้ อรชุน เกิดที่จังหวัดนครศรีธรรมราช มีที่พักอยู่ในเขตเทศบาลตำบลจันดี ตำบลจันดี อำเภอฉวาง เข้าการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนเจริญวิทย์สหวิทยากร ในอำเภอฉวาง ก่อนย้ายเข้ามาศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย (ปีที่ 1-5) ที่โรงเรียนโยธินบูรณะ และเคยศึกษาที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาขณะอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แต่ภายหลังได้ลาออกแล้วย้ายกลับมาเรียนที่โรงเรียนโยธินบูรณะ เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ เอกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ โทภาษาจีน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอรชุน รินทรวิฑูรย์
อลงกรณ์ พลบุตร
นายอลงกรณ์ พลบุตร รองประธานสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศคนที่หนึ่ง กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองตาม คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 3/2560 อดีตสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ในเดือนกุมภาพัน..
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอลงกรณ์ พลบุตร
อาษา เมฆสวรรค์
อาษา เมฆสวรรค์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย รองปลัดกระทรวงมหาดไทย และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (จากการแต่งตั้ง).
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอาษา เมฆสวรรค์
อาณันย์ วัชโรทัย
ันตรี อาณันย์ วัชโรทัย (ชื่อเดิม วัชรทิพย์ วัชโรทัย) อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นหลานของนายแก้วขวัญ-นายขวัญแก้ว วัชโรทั.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอาณันย์ วัชโรทัย
อำพล สิงหโกวินท์
อำพล สิงหโกวินท์ (เกิด 2 เมษายน พ.ศ. 2481) ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูง.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอำพล สิงหโกวินท์
อดุล จันทรศักดิ์
นายอดุล จันทรศักดิ์ (25 ธันวาคม พ.ศ. 2489 - ปัจจุบัน) ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (กวีนิพนธ์ บทความ)..
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอดุล จันทรศักดิ์
องอาจ คล้ามไพบูลย์
องอาจ คล้ามไพบูลย์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ อดีต..กรุงเทพฯ หลายสมัย ปัจจุบันเป็นรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่กรุงเทพมหานคร.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และองอาจ คล้ามไพบูลย์
อนันตพร กาญจนรัตน์
ลเอก อนันตพร กาญจนรัตน์ ราชองครักษ์พิเศษ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอ.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และอนันตพร กาญจนรัตน์
ธนากร โปษยานนท์
นากร โปษยานนท์ (เกิด 7 มิถุนายน พ.ศ. 2515) ชื่อเล่น อู๋ เป็นนักแสดง นักพากย์หนัง ดีเจ นายแบบ พิธีกร และนักบริหารของ 2 บริษัท คือ Spy Soft by BECI บริษัทผู้ผลิตคอนเทนท์ - แอปพลิเคชันบนมือถือ และ Charm Entertainment บริษัทครีเอทีพ โปรดักชั่นเฮ้าส์ จบการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนราชินี ระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย และระดับอุดมศึกษาจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เอกบริหารรัฐก.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และธนากร โปษยานนท์
ธเนศ วงศ์ยานนาวา
นศ วงศ์ยานนาวา (เกิด 22 มิถุนายน พ.ศ. 2500) เป็นศาสตราจารย์ประจำสาขาวิชาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักวิชาการชาวไทยที่มีความถนัดและผลงานทางด้านสังคมศาสตร์โดยเฉพาะด้านปรัชญาการเมือง ทฤษฎีสังคม ประวัติศาสตร์ความคิด โดยเฉพาะในเรื่องของแนวคิดหลังยุคนวนิยมหรือ โพสต์โมเดิร์น จนได้รับฉายาว่าเป็น "'เจ้าพ่อโพสต์โมเดิร์น'" คนหนึ่งของเมืองไทย นอกจากนี้เขายังมีความสนใจในเรื่องของวัฒนธรรมทางสังคมเช่น ดนตรี ภาพยนตร์ เพศและ อาหาร อีกด้วย ธเนศยังเป็นบรรณาธิการรัฐศาสตร์สารของคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเขียนคอลัมน์เกี่ยวกับดนตรีและภาพยนตร์ในสยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์โดยใช้นามปากกา "ธนา วงศ์ญาณณาเวช" ซึ่งเป็นคำผวนของชื่อจริงและนามสกุลของธเนศเอง นอกจากนี้ธเนศยังมีรายการ ทางช่องใน Youtube ทำร่วมกับแขกผู้ดำเนินรายการอื่นๆ และยังมีกลุ่ม ใน Facebook ที่ซึ่งสมาชิกจะสามารถถามคำถามต่างๆได้ตั้งแต่ก้อนขี้หมายันก้อนอุกาบาต โดยอาจารย์จะเข้ามาตอบคำถามเพื่อคลายข้อสงสัยนั้น.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และธเนศ วงศ์ยานนาวา
ทวี แรงขำ
ตราจารย์ ทวี แรงขำ เป็นอดีตรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (ครม.27, 28, 30, 31) อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหลายจังหวัด และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และทวี แรงขำ
ดิเรก ชัยนาม
นายดิเรก ชัยนาม ศาสตราจารย์ ดิเรก ชัยนาม (18 มกราคม พ.ศ. 2447 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2510) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงโตเกียว กรุงลอนดอน และกรุงบอนน์ รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เคยได้รับการเสนอชื่อจากนายปรีดี พนมยงค์ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ได้ปฏิเสธที่จะรับตำแหน่ง และเคยได้รับการเสนอชื่อจากรัฐบาลไทย ต่อองค์การยูเนสโกให้ประกาศเกียรติคุณเป็นบุคคลสำคัญแห่งโลก แต่ไม่ได้รับพิจารณาเนื่องจากข้อเสนอของรัฐบาลไทยไม่เข้าข่ายที่จะได้รับการพิจารณ.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และดิเรก ชัยนาม
คู่กรรม 2
ู่กรรม 2 (Sunset at Chaophraya 2) นวนิยายของ ทมยันตี ภาคต่อของคู่กรรม เคยถูกสร้างเป็นภาพยนตร์ในปี พ.ศ. 2539 และละครโทรทัศน์ทางช่อง 3 เมื่อต้นปี พ.ศ.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคู่กรรม 2
คณะรัฐศาสตร์ในประเทศไทย
ณะรัฐศาสตร์ เปิดสอนศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการบริการรัฐ การเมืองการปกครอง รวมไปถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งการศึกษาวิชารัฐศาสตร์นั้น เป็นการศึกษาในลักษณะของสหวิทยาการ กล่าวคือ ต้องอาศัยศาสตร์หลาย ๆ ศาสตร์เข้ามาประกอบการศึกษา อธิบายภาวะต่าง ๆ ทางสังคม ที่เกิดขึ้นได้.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะรัฐศาสตร์ในประเทศไทย
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะนิติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นหนึ่งในสี่ของมหาวิทยาลัยภายหลังที่ได้ยกเลิกระบบการสอนแบบธรรมศาสตร์บัณฑิต และนับเป็นคณะเศรษฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไท.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คนเดือนตุลา
นเดือนตุลา เป็นชื่อเรียกกลุ่มบุคคลที่เข้าร่วมชุมนุม ในเหตุการณ์ 14 ตุลา และ 6 ตุลา ซึ่งส่วนมากขณะนั้นเป็นนักศึกษา โดยในปัจจุบัน กลุ่มคนเดือนตุลาบางส่วน ก็เข้าสู่แวดวงการเมืองและสังคม.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคนเดือนตุลา
งานฟุตบอลประเพณี
งานฟุตบอลประเพณี สามารถหมายถึง; ประเทศไท.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และงานฟุตบอลประเพณี
ประมวล รุจนเสรี
นายประมวล รุจนเสรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และอดีตหัวหน้าพรรคประชามติ เจ้าของผลงานหนังสือ พระราชอำน.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประมวล รุจนเสรี
ประสาท พงษ์ศิวาภัย
ประสาท พงษ์ศิวาภัย (เกิด 18 กันยายน พ.ศ. 2489) กรรมการ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) คู่สมรส นางวารุณี พงษ์ศิวาภัย นายประสาท จบการศึกษาจาก คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อ..
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประสาท พงษ์ศิวาภัย
ประจวบ ไชยสาส์น
นายประจวบ ไชยสาส์น นายกสภามหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตหัวหน้าพรรคเสรีธรรม อดีตเลขาธิการพรรคชาติพัฒนา อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอื่นๆ อีกหลายกระทรวง และเป็นบิดาของนายต่อพงษ์ ไชยสาส์น และนายจักรพรรดิ ไชยสาส์น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอุดรธานี พรรคเพื่อไทย นายประจวบ ไชยสาส์น เป็นที่รู้จักกันในฉายา "อีดี้อีสาน".
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประจวบ ไชยสาส์น
ประทิน สันติประภพ
ณะที่ พล.ต.อ.ประทิน ชกเข้าที่ใบหน้า นายอดุลย์ วันไชยธนวงศ์ พลตำรวจเอกประทิน สันติประภพ (19 มิถุนายน พ.ศ. 2477 ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นามสกุลเดิม "ก้อนแก้ว") อดีตสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร อดีตอธิบดีกรมตำรวจและเป็นบิดาของ วิรไท สันติประภพ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยคนที่ 20.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และประทิน สันติประภพ
ปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล
นางปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล หรือชื่อเล่นว่า แมว (25 กรกฎาคม 2496 —) ประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม คนที่ 5 มีความสนใจในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการปฏิบัติงาน จนเคยได้รับการตั้งฉายาจากสื่อมวลชนว่า "อธิบดีออนไลน์" โดยนางปริศนาค่อนข้างโดดเด่น จากบทบาทสำคัญในการอนุรักษ์ สร้างสรรค์ และการรักษาศิลปวัฒนธรรมไทย โดยเฉพาะมรดกภูมิปัญญาที่จับต้องไม่ได้ (ICH) ซึ่งต้องอาศัยเม็ดเงินเข้ามาผลักดันสนับสนุนจึงจะประสบความสำเร็จไทยรั.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล
ปัณฑพล ประสารราชกิจ
ปัณฑพล ประสารราชกิจ (ชื่อเล่น; โอม) เป็นนักร้องนำของวงค็อกเทล โดยได้ลงนามสัญญากับทางค่ายจีนี่เรคอร์ดส เมื่อปี พ.ศ.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และปัณฑพล ประสารราชกิจ
นรนิติ เศรษฐบุตร
ตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร (อ่านว่า นอ-ระ-นิด) นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ตั้งแต่ พ.ศ. 2553 จนถึงปัจจุบัน) และศาสตราจารย์พิเศษ สาขาวิชารัฐศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตเลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า กรรมการกฤษฎีกา อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และนรนิติ เศรษฐบุตร
นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ
นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ หมายถึง นักวิจัยที่ได้รับเชิดชูเกียรติจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ มีการมอบรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ
นิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ
นิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคใต้ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุงพรรคประชาธิปัตย์หลายสมัย เกิดวันที่ 30 เมษายน..
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ
โชคทวี พรหมรัตน์
ทวี พรหมรัตน์ (ชื่อเล่น: โชค; เกิดเมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2518) อดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทย ในตำแหน่งกองหลัง มีฉายาในวงการฟุตบอลว่า "นกกระยางดำ" ปัจจุบันทำหน้าที่ผู้ช่วยผู้ฝึกสอนให้กับทีมชาติไทยชุดใหญ่ และเป็นหัวหน้าผู้ฝึกสอนให้กับทีมชาติไทยชุด U-23 ที่แข่งขันในฟุตบอลซีเกมส์ 2015 โชคทวี เคยเล่นฟุตบอลให้กับสโมสรธนาคารกสิกรไทย, กรุงเทพคริสเตียน และได้ไปเล่นในต่างประเทศกับสโมสรทัมปิเนสโรเวอร์ของสิงคโปร์, ฮหว่างอัญซาลายของ เวียดนาม และ ยะโฮร์บาห์รูของ มาเลเซีย อีกทั้งยังเป็นหนึ่งในนักเตะของสโมสรฟุตบอลการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ชุดที่ได้แชมป์ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของสโมสร เมื่อฤดูกาล 2551 ก่อนจะแขวนสตั๊ดในระดับลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2 กับนนทบุรี เอฟซี ในปี 2553 โดยโชคทวีลงเล่นให้ทีมชาติไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และโชคทวี พรหมรัตน์
โอฬาร กิจเลิศไพโรจน์
นายโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ อดีตเลขาธิการพรรคเพื่อไทยคนแรก ดำรงตำแหน่งในระหว่างปี พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2551.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร
ตราจารย์ ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร เป็นศาสตราจารย์ประจำสาขาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตผู้อำนวยการโครงการปริญญาเอก คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และนักเขียนประจำนิตยสารวิภาษาเป็นนักวิชาการด้านการเมืองภาคประชาชนและเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกและผู้เชี่ยวชาญด้านทฤษฎีหลังสมัยใหม่ สัญวิทยา และหลังโครงสร้างนิยม ในวงวิชาการของประเทศไทย ที่ควบคู่ไปกับ นพพร ประชากุล และธเนศ วงศ์ยานนาวา เป็นต้น งานเขียนของไชยรัตน์ในเรื่องดังกล่าวจัดเป็นงานเขียนภาษาไทยที่บุกเบิกและสำคัญต่อทฤษฎีหลังสมัยใหม่ โดยเฉพาะหนังสือชื่อ "วาทกรรมการพัฒนา" ที่เป็นงานเขียนชิ้นสำคัญที่นำทฤษฎีกลุ่มหลังสมัยใหม่ของนักคิดสกุลฝรั่งเศสอย่าง มิเชล ฟูโกต์ มาใช้อธิบายการพัฒนาในกลุ่มประเทศโลกที่สาม เป็นต้น จัดเป็นงานเขียนยุคแรก ๆ ของการศึกษาแนวคิดหลังสมัยใหม่ในประเทศไทย หนังสือดังกล่าวได้ถูกนำไปใช้เป็นตำราในการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษาหลาย ๆ สาขาในประเทศไทยและถูกนำไปใช้อ้างอิงในวงวิชาการของไทยอยู่มาก ซึ่งมีอิทธิพลต่อการศึกษาทางด้านรัฐศาสตร์ ปรัชญา วรรณกรรม สังคมวิทยา มานุษยวิทยา ประวัติศาสตร์ สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ฯลฯ และมีอิทธิพลต่อความคิดนักวิชาการหัวก้าวหน้าหลายท่าน เช่น ยุกติ มุกดาวิจิตร, บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ, จันทนี เจริญศรี เป็นต้น.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร
ไพบูลย์ นิติตะวัน
ูลย์ นิติตะวัน เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภา และเป็นอดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ, อดีตกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และไพบูลย์ นิติตะวัน
เชาวน์วัศ สุดลาภา
นายเชาวน์วัศ สุดลาภา อดีตเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (จอมพลประภาส จารุเสถียร) ในรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมัย ในรัฐบาลของพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์เป็นนายกรัฐมนตรี และในสมัยนายชวน หลีกภัย 1 เป็นนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่7 ที่มาจากการแต่งตั้ง สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประธานคณะกรรมการที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายการต่างประเทศ (ฯพณฯ ท่าน พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณเป็นนายกรัฐมนตรี ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีด้านการบริหาร พณฯ ท่าน บรรหาร ศิลปอาชานายกรัฐมนตรีเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รองปลัดกระทรวงมหาดไทย ประธานคณะกรรมการการศึกษาสภาผู้แทนราษฎร เลขาธิการสันนิบาตเสรีชนแห่งประเทศไทย เป็นเลขานุการคณะกรรมการปราบปรามอาชญากรรมแห่งชาติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย ผู้อำนวยการกองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย รองหัวหน้าพรรคกิจสังคมและผู้ว่าราชการในอีกหลายจังหวั.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเชาวน์วัศ สุดลาภา
เกษียร เตชะพีระ
ตราจารย์ เกษียร เตชะพีระ (เกิด 23 ธันวาคม 2500) เดิมชื่อ โต๊ะฮง แซ่แต้ บิดามารดา เป็นคนจีนแต้จิ๋ว เกิดและเติบโตย่านเยาวราชและเจริญกรุง เป็นอดีตผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 6 ตุล..
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเกษียร เตชะพีระ
เวคอัปนิวส์
วคอัปนิวส์ (Wake Up News) เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทวิเคราะห์กับสนทนาเชิงข่าวและเหตุการณ์ปัจจุบัน มีสถานะเทียบเท่าข่าวภาคเช้า ของสถานีโทรทัศน์วอยซ์ทีวี ลักษณะเด่นของรายการอยู่ที่ทรรศนะการนำเสนอ ซึ่งแหลมคมและแตกต่างไปจากสื่อมวลชนกระแสหลัก โดยเฉพาะแนวความคิดทางการเมืองแบบก้าวหน้า รายการนี้ออกอากาศเป็นครั้งแรก เมื่อวันจันทร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเวคอัปนิวส์
เสกสรรค์ ประเสริฐกุล
กสรรค์ ประเสริฐกุล (พ.ศ. 2492 ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา) เป็นอดีตผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ. 2516 นักเขียนรางวัลศรีบูรพา เคยเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย หลังเหตุการณ์ 14 ตุลา โดยมีชื่อจัดตั้งว่า "สหายไท" ในช่วง พ.ศ.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเสกสรรค์ ประเสริฐกุล
เสน่ห์ จามริก
ตราจารย์ เสน่ห์ จามริก เกิดเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2470 ราษฎรอาวุโส นักวิชาการด้านสิทธิมนุษยชน ประะธานสหภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน ประธานที่ปรึกษาคณะกรรมการรับข้อมูลและสืบพยานเหตุการณ์ 6 ตุลา 2519 อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และเป็นอดีตประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาต.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเสน่ห์ จามริก
เหตุการณ์ 14 ตุลา
หตุการณ์ 14 ตุลา หรือ วันมหาวิปโยค เป็นเหตุการณ์การก่อการกำเริบโดยประชาชนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นเหตุการณ์ที่มีนักศึกษาและประชาชนมากกว่า 5 แสนคนชุมนุมเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญจากรัฐบาลเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร นำไปสู่คำสั่งของรัฐบาลให้ใช้กำลังทหารเข้าปราบปราม ระหว่างวันที่ 14 ถึง 15 ตุลาคม พ.ศ.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเหตุการณ์ 14 ตุลา
เอนก เหล่าธรรมทัศน์
.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บนหน้าปกหนังสือ ''สองนครา ประชาธิปไตย'' ของตัวเอง ศาสตราจารย์พิเศษ เอนก เหล่าธรรมทัศน์ กรรมการสภาผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ปรึกษาและกรรมการคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 7/2560 ประธานคณะกรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 อธิการ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต นักวิชาการและนักการเมือง อดีตหัวหน้าพรรคมหาชน และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกิดวันที่ 20 มกราคม พ.ศ.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเอนก เหล่าธรรมทัศน์
เขมวิช ภังคานนท์
Kem Bhangananda เขมวิช ภังคานนท์ (Kemavit Bhangananda) เขมวิช ภังคานนท์ เป็น นักเขียน นักดนตรี ทนายความผู้เชี่ยวชาญด้านการธนาคาร (U.S. attorney) เกิดวันที่ 31 ธันวาคม 2513 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรชายของ ศาสตราจารย์เกียรติคุณนายแพทย์ เกษียร ภังคานนท์ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล และนางมยุรี ภังคานนท์ อดีต เจ้าหน้าที่ Medical Service ของ United Nations เขมวิช ภังคานนท์ เรียนชั้นประถมและมัธยมที่ วชิราวุธวิทยาลัย และ โรงเรียนสาธิต มศว.
ดู คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเขมวิช ภังคานนท์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ คณะรัฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์