สารบัญ
11 ความสัมพันธ์: พระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส)การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทยรายนามนายกรัฐมนตรีไทยสภาผู้แทนราษฎรไทยคณะรัฐมนตรีไทยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5
พระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส)
ลตรี พระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส) (18 ธันวาคม พ.ศ. 2425 - พ.ศ. 2494) ทหารบกชาวไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมในรัฐบาลพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน).
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และพระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส)
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไท..
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย
ัญชีดังต่อไปนี่แสดงรายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมแห่งราชอาณาจักรไท.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย
รายนามเสนาบดีว่าการกรมพระคลังมหาสมบัติ, เสนาบดีว่าการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไท.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการของ กระทรวงมหาดไทย โดยตำแหน่งนี้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย
รายพระนาม รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย
รายนามนายกรัฐมนตรีไทย
้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และรายนามนายกรัฐมนตรีไทย
สภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้แทนราษฎรไทย ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงทั้งหมด 500 คน และแบ่งการได้มาออกเป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จำนวน 350 คน และแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง โดยให้เขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง จำนวน 150 คน ซึ่งหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรูปแบบนี้ เป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ทั้งนี้อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกำหนดคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยไม่อยู่ในความผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงำใดๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม โดยปราศจากการขัดกันแห่งผลประโยชน์ สภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่โดยตรงในทางนิติบัญญัติ ซึ่งร่างพระราชบัญญัติ หรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ จะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ ก็ด้วยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา และยังมีอำนาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินด้วย เช่น การให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี การตั้งกระทู้ถาม และการเสนอญัตติขอให้เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ทั้งนี้ เป็นไปตามการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร จนถึงวันก่อนวันเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และสภาผู้แทนราษฎรไทย
คณะรัฐมนตรีไทย
ณะรัฐมนตรีไทยเป็นคณะบุคคลที่ทำหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินในราชอาณาจักรไทย คณะรัฐมนตรีเป็นกลุ่มบุคคลหลักที่ขับเคลื่อนส่วนราชการต่างๆของรัฐบาลไทย สมาชิกของคณะรัฐมนตรีนั้นจะได้รับการเสนอชื่อโดยนายกรัฐมนตรีและได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการโดยพระมหากษัตริย์ไทยซึ่งประกอบไปด้วย รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำกระทรวงต่างๆ โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ คณะรัฐมนตรีไทยนั้นมีขึ้นครั้งแรกหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิบไตยตามพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ซึ่งในขณะนั้นเรียกว่าคณะกรรมการราษฎร และหลังจากมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช พ.ศ.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และคณะรัฐมนตรีไทย
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3
ณะรัฐมนตรี คณะที่ 3 (1 เมษายน พ.ศ. 2476 - 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476) พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) เป็นนายกรัฐมนตรี ตามความในข้อ 2 แห่งพระราชกฤษฎีกาให้ปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรและตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ ๒๔๗๖ ซึ่งในประกาศนั้นบัญญัติให้รัฐมนตรีผู้ซึ่งว่าการกระทรวงต่าง ๆ อยู่ในเวลายุบสภาเป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรีใหม่โดยตำแหน่ง ส่วนรัฐมนตรีอื่น ๆ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งขึ้นโดยคำแนะนำของนายกรัฐมนตรี โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกฯ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย ในประกาศตั้งคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5
ณะรัฐมนตรีคณะที่ 5 (16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 22 กันยายน พ.ศ. 2477) นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ.
ดู คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5
หรือที่รู้จักกันในชื่อ คณะรัฐมนตรีคณะที่ 4คณะรัฐมนตรีคณะที่ 4 ของไทย