เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ

ดัชนี คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ

ณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ หรือ ร. (National Peace Keeping Council - NPKC) เป็นคณะนายทหารที่ก่อการรัฐประหาร ยึดอำนาจจากพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

สารบัญ

  1. 83 ความสัมพันธ์: ชัชชม กันหลงชาติชาย ชุณหะวัณพ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พรรคสามัคคีธรรมพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพฤษภาทมิฬพันศักดิ์ วิญญรัตน์พนักงานอัยการการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535มาลีรัตน์ แก้วก่ามาโนช เสนาชูมนตรี พงษ์พานิชรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของไทยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549รายชื่อกลุ่มแยกในกองทัพไทยรายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทยรายนามนายกรัฐมนตรีไทยรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยวัดพระธรรมกายวาสนา นาน่วมวินัย ภัททิยกุลวิโรจน์ แสงสนิทวิโรจน์ เปาอินทร์วุฒิสภาไทย ชุดที่ 5สกุล ศรีพรหมสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย)สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2534สมภพ โหตระกิตย์สมเกียรติ อ่อนวิมลสวัสดิ์ อมรวิวัฒน์สันติ ทักราลสิทธิ จิรโรจน์สุบิน ปิ่นขยันสุริยะใส กตะศิลาสุจินดา คราประยูรสุนทร คงสมพงษ์สนธิ ลิ้มทองกุลอภิรัชต์ คงสมพงษ์อมเรศ ศิลาอ่อนอากร ฮุนตระกูล... ขยายดัชนี (33 มากกว่า) »

ชัชชม กันหลง

ลเอก ชัชชม กันหลง เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลพลเอกสุจินดา คราประยูร และเป็นอดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและชัชชม กันหลง

ชาติชาย ชุณหะวัณ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (5 เมษายน พ.ศ. 2463 — 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม พลเอกชาติชาย เป็นผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง 2 พรรค และได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค คือ พรรคชาติไทย และ พรรคชาติพัฒน.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและชาติชาย ชุณหะวัณ

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและพ.ศ. 2533

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและพ.ศ. 2534

พรรคสามัคคีธรรม

รรคสามัคคีธรรม (Justice Unity Party) พรรคการเมืองไทยที่ก่อตั้งขึ้นตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 เป็นลำดับที่ 30/2535 เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและพรรคสามัคคีธรรม

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

พฤษภาทมิฬ

หตุการณ์พฤษภาทมิฬ เป็นเหตุการณ์ที่ประชาชนเคลื่อนไหวประท้วงรัฐบาลครั้งสำคัญครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์การเมืองที่มีพลเอกสุจินดา คราประยูร เป็น นายกรัฐมนตรี และต่อต้านการสืบทอดอำนาจของ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ระหว่างวันที่ 17-24 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและพฤษภาทมิฬ

พันศักดิ์ วิญญรัตน์

นายพันศักดิ์ วิญญรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ประธานที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีด้านโยบายเศรษฐกิจ ในรัฐบาล พ.ต.ท.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและพันศักดิ์ วิญญรัตน์

พนักงานอัยการ

นักงานอัยการ (อังกฤษ: prosecutor) คือผู้มีอำนาจหน้าที่ดำเนินคดีแทนรัฐบาลในศาล รวมถึงการรับว่าต่างหรือแก้ต่างแทนรั.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและพนักงานอัยการ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน..

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม..

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

มาลีรัตน์ แก้วก่า

นางมาลีรัตน์ แก้วก่า (เกิด 15 ตุลาคม พ.ศ. 2496) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร และ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสกลนคร.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและมาลีรัตน์ แก้วก่า

มาโนช เสนาชู

นายมาโนช เสนาชู อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 9 จังหวัดนครศรีธรรมราช จากพรรคคนขอปลดหนี้ เป็น..คนเดียวในสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและมาโนช เสนาชู

มนตรี พงษ์พานิช

นายมนตรี พงษ์พานิช (9 พ.ย. 2486 - 12 มิ.ย. 2543) อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการหลายกระทรวง อาทิ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงสาธารณสุข และเป็นผู้อนุมัติ "โครงการโฮปเวลล์" เมื่อปี..

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและมนตรี พงษ์พานิช

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการของ กระทรวงมหาดไทย โดยตำแหน่งนี้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย

รายพระนาม รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย

รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของไท.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 13 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2521 มีพลอากาศเอก หะริน หงสกุล ประธาน สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ รัฐธรรมนูญฉบับนี้สิ้นสุดลงเมื่อวันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 ตามประกาศของ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ รวมเวลาประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ทั้งสิ้น 12 ปี 2 เดือน 1 วัน.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534

รัฐประหาร 23 กุมภาพัน..

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

รัฐประหารในประเทศไท..

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

รายชื่อกลุ่มแยกในกองทัพไทย

ต่อไปนี้คือรายชื่อกลุ่มแยกในกองทัพไทย หมายถึง กลุ่มที่มีความมุ่งหมายทางการเมืองร่วมกัน จับมือกันเป็นวิธีบรรลุเป้าหมายและผลักดันวาระและฐานะของพวกตน.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและรายชื่อกลุ่มแยกในกองทัพไทย

รายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย

ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นชื่อตำแหน่งผู้บัญคับบัญชาระดับบนสุดของกองทัพไทยและกองบัญชาการกองทัพไทย ตั้งแต..

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและรายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและรายนามนายกรัฐมนตรีไทย

รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย

รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไท.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย

วัดพระธรรมกาย

วัดพระธรรมกาย เป็นวัดในสังกัดมหานิกาย ก่อตั้งเมื่อ 20 กุมภาพัน..

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและวัดพระธรรมกาย

วาสนา นาน่วม

วาสนา นาน่วม กำลังถือหนังสือ ''ลับ ลวง พราง''ที่เธอเขียน วาสนา นาน่วม (ชื่อเล่น: เล็ก) ผู้สื่อข่าวสายทหารหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ และ โพสต์ทูเดย์ ผู้เขียนหนังสือชุดลับ ลวง พราง และผู้ดำเนินรายการวิทยุ “ลับ ลวง พราง” ทางโมเดิร์นเรดิโอ เอฟเอ็ม 100.5 เมกะเฮิร์ตซ์ ในหมู่ของผู้ที่ศึกษาด้านการทหาร ชื่อของ วาสนา นาน่วม นั้นเป็นที่รู้จักกันดี เพราะเป็นผู้ที่มีข่าวคราวจากการสอบถามไปยังนายทหารระดับสูงหลายครั้ง.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและวาสนา นาน่วม

วินัย ภัททิยกุล

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วินัย ภัททิยกุล (5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491-) ประธานกรรมการ บริษัท สบายดี แอร์เวย์ส จากัด อดีตเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ อดีตเลขาธิการ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ และอดีตปลัดกระทรวงกลาโหมและเป็นหนึ่งในผู้ดูแลการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในภาคใต้ของประเทศไท.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและวินัย ภัททิยกุล

วิโรจน์ แสงสนิท

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วิโรจน์ แสงสนิท เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน และอดีตผู้บัญชาการทหารสูง.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและวิโรจน์ แสงสนิท

วิโรจน์ เปาอินทร์

ลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ และรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอ่างทอง พรรคชาติไทย และอดีตผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและวิโรจน์ เปาอินทร์

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 5

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 5 วุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งประกอบไปด้วยสมาชิกจำนวนทั้งสิ้น 225 คนโดยได้รับโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและวุฒิสภาไทย ชุดที่ 5

สกุล ศรีพรหม

กุล ศรีพรหม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและสกุล ศรีพรหม

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16 (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 357 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบรวมเขตและแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย)

นิติบัญญัติแห่งชาติ ในประเทศไทย หมายถึง สภาที่ทำหน้าที่ออกกฎหมายแทนสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา เกิดขึ้นหลังจากคณะรัฐประหารยึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาลพลเรือนและประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองหรือรัฐธรรมนูญชั่วคราวแทนรัฐธรรมนูญถาวร สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีลักษณะเป็นสภาเดี่ยวซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากคณะรัฐประหาร ซึ่งรัฐธรรมนูญบางฉบับอาจกำหนดให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีอำนาจหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญอีกหน้าที่หนึ่ง จนถึงปัจจุบันประเทศไทยมีสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังนี้.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย)

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2534

นิติบัญญัติแห่งชาติ ชุดปี..

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2534

สมภพ โหตระกิตย์

ตราจารย์ ดร.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและสมภพ โหตระกิตย์

สมเกียรติ อ่อนวิมล

ผ.สมเกียรติ อ่อนวิมล เป็นประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทยวิทัศน์ จำกัด, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำวิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, ผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท แปซิฟิก อินเตอร์คอมมิวนิเคชั่น จำกัด อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและสมเกียรติ อ่อนวิมล

สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์

ลตำรวจเอก สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์ (20 กันยายน พ.ศ. 2478 – 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดเชียงใหม่ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและสวัสดิ์ อมรวิวัฒน์

สันติ ทักราล

นายสันติ ทักราล (8 มีนาคม พ.ศ. 2485 - 29 เมษายน พ.ศ. 2554) อดีตองคมนตรี (ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง) และอดีตประธานศาลฎีก.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและสันติ ทักราล

สิทธิ จิรโรจน์

ลเอก สิทธิโรจน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมัย พล.อ.สิทธิ์ เกิดเมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2463 ที่ตำบลบางหว้า อำเภอภาษีเจริญ จังหวัดธนบุรี เป็นบุตรชายของนายทองดีและนางสร้อย จิรโรจน์ จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดรางบัวและโรงเรียนวัดนวลนรดิศ โรงเรียนเทคนิคทหารบก (รุ่นเดียวกับ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี 4 สมัยและประธานองคมนตรีในรัชกาลปัจจุบัน) โดยเรียนดีเคยสอบได้ที่ 1 โรงเรียนเสนาธิการทหารบกรุ่นที่ 21 และวิทยาลัยการทัพบกรุ่นที่ 5 ชีวิตราชการทหารบกเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและสิทธิ จิรโรจน์

สุบิน ปิ่นขยัน

น ปิ่นขยัน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 3 สมัย อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ และทบวงมหาวิทยาลัย เป็นผู้ก่อตั้งและเป็นประธานกรรมการบริหารของ บม.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและสุบิน ปิ่นขยัน

สุริยะใส กตะศิลา

ริยะใส กตะศิลา เป็นรองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต, และเป็นผู้อำนวยการสถาบันปฏิรูปประเทศไทย ในระหว่างปี พ.ศ.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและสุริยะใส กตะศิลา

สุจินดา คราประยูร

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุจินดา คราประยูร (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2476) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารบก และ ผู้บัญชาการทหารสูง.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและสุจินดา คราประยูร

สุนทร คงสมพงษ์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุนทร คงสมพงษ์ (1 สิงหาคม พ.ศ. 2474 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2542) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด และ ประธานคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและสุนทร คงสมพงษ์

สนธิ ลิ้มทองกุล

นธิ ลิ้มทองกุล (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 —) เป็น ประธานที่ปรึกษาสำนักพิมพ์บ้านพระอาทิตย์ นักหนังสือพิมพ์ นักเขียน ผู้ก่อตั้งและเจ้าของหนังสือพิมพ์ในเครือผู้จัดการ ผู้ดำเนินรายการกลางแจ้ง เมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร ที่ปรึกษาสำนักพิมพ์ซุปเปอร์บันเทิง อดีตผู้ดำเนินรายการเมืองไทยรายสัปดาห์ ทางช่อง 9 อสมท.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและสนธิ ลิ้มทองกุล

อภิรัชต์ คงสมพงษ์

ลเอก อภิรัชต์ คงสมพงษ์ (เกิด 23 มีนาคม พ.ศ. 2503) เป็นนายทหารชาวไทย ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก นายทหารพิเศษประจำหน่วยทหารรักษาพระองค์ สังกัด กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ฯ, นายทหารพิเศษประจำหน่วยทหารรักษาพระองค์ สังกัดกรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์ อดีตแม่ทัพภาคที่ 1, อดีตแม่ทัพน้อยที่ 1, อดีตผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์, อดีตผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 15, อดีตผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่ 11 จังหวัดฉะเชิงเทรา, อดีตผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์ (ผบ.ร.11 รอ.) ประธานกรรมการสลากกินแบ่งรัฐบาล สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล หรือประธานบอร์ดกองสลาก, กรรมการ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)กรรมาธิการในคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและอภิรัชต์ คงสมพงษ์

อมเรศ ศิลาอ่อน

นายอมเรศ ศิลาอ่อน เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ 4 สมัย ในรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ (2 สมัย) และในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน (2 สมัย).

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและอมเรศ ศิลาอ่อน

อากร ฮุนตระกูล

นายอากร ฮุนตระกูล เกิดวันที่ 22 สิงหาคม..

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและอากร ฮุนตระกูล

อาทิตย์ กำลังเอก

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก อาทิตย์ กำลังเอก (31 สิงหาคม พ.ศ. 2468 - 19 มกราคม พ.ศ. 2558) อดีตผู้บัญชาการทหารบก อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดเล.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและอาทิตย์ กำลังเอก

อาทิตย์ อุไรรัตน์

อาทิตย์ อุไรรัตน์ (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2481-) อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม อดีตเจ้าของโรงพยาบาลเอกชนในเครือพญาไท เขาได้รับฉายา "วีรบุรุษประชาธิปไตย" จากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ที่ได้เสนอชื่อ อานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรีแทน พล.อ.อ.สมบุญ ระหงษ์ ที่กล่าวกันว่าจะมารับช่วงต่อรัฐบาล รสช.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและอาทิตย์ อุไรรัตน์

อานันท์ ปันยารชุน

อานันท์ ปันยารชุน (เกิด 9 สิงหาคม พ.ศ. 2475 —) นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 18 และปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เอกอัครราชทูตไทยประจำสหประชาชาติ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา และประเทศเยอรมนี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 2 สมัย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและอานันท์ ปันยารชุน

อิสระพงศ์ หนุนภักดี

ลเอก พลตำรวจเอก อิสระพงศ์ หนุนภักดี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กตุ๋ย (20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 – 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560) อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไท.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและอิสระพงศ์ หนุนภักดี

อนันต์ กลินทะ

ลอากาศเอก อนันต์ กลินทะ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอกสุจินดา คราประยูร และเป็นอดีตรองผู้บัญชาการทหารอาก.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและอนันต์ กลินทะ

จักรพันธุ์ ยมจินดา

ักรพันธุ์ ยมจินดา ผู้ประกาศข่าวซึ่งมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก จากรายการข่าวทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ในช่วงปี พ.ศ.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและจักรพันธุ์ ยมจินดา

ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534

รรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 14 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2534 โดยมีพลเอก สุนทร คงสมพงษ์ หัวหน้า คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการซึ่งธรรมนูญฉบับนี้มีทั้งสิ้น 33 มาตรา ปัจจุบันธรรมนูญฉบับนี้ได้สิ้นสุดลงแล้วเมิ่อมีการประกาศใช้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534

ทะเลใจ

หน้าปกอัลบั้ม พฤษภา ทะเลใจ เป็นเพลงที่แต่งและร้องโดย ยืนยง โอภากุล หรือ แอ๊ด คาราบาว อยู่ในอัลบั้ม พฤษภา ซึ่งเป็นอัลบั้มพิเศษที่ออกร่วมกับ อี๊ด ยิ่งยง โอภากุล พี่ชายฝาแฝด หลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ในปี พ.ศ.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและทะเลใจ

ที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก

"ที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก" เป็นชื่อคณะที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ในสมัยของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ แต่งตั้งขึ้นตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 84/2531 และเนื่องจากได้ใช้ "บ้านพิษณุโลก" ที่ปกติเป็นบ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทย มาปรับเปลี่ยนเป็นสำนักงานของคณะที่ปรึกษา โดยคณะทำงานส่วนใหญ่ ใช้ห้องชั้นล่างด้านซ้ายเป็นห้องทำงาน และใช้พื้นที่ด้านขวาเป็นห้องรับแขก และประชุมร่วมกับ พล.อ.ชาติชาย ส่วนชั้นบนของบ้านใช้เป็นห้องทำงานของ ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย ทำให้เป็นที่มาของชื่อ "ที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก" หรือเรียกย่อๆ ว่า "ที่ปรึกษาบ้านพิษฯ".

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย

นการณ์ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย หรือ ไฟใต้ เป็นความขัดแย้งที่กำลังดำเนินอยู่ในภาคใต้ของประเทศไทย ความขัดแย้งนี้กำเนิดในปี..

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย

คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย

ณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ตัวย่อ: ครป. Campaign for Popular Democracy-CPD) เป็นองค์กรพัฒนาเอกชน (NGO) ด้านประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและคณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 48

ลเอกสุจินดา คราประยูร''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 19 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 48 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 48 ของไทย (7 เมษายน พ.ศ.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 48

คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ณะปฏิรูปการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ คป. เป็นคณะบุคคล อันประกอบด้วย กลุ่มทหาร ตำรวจ และ พลเรือน ซึ่งมีพลเอก สนธิ บุญยรัตกลินเป็นหัวหน้า ได้เข้ายึดอำนาจการปกครองราชอาณาจักรไทยไว้ได้ เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

คตส.

ำสำคัญ "คต." อาจหมายถึง.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและคตส.

ประพัฒน์ กฤษณจันทร์

ลเรือเอก ประพัฒน์ กฤษณจันทร์ (11 มกราคม พ.ศ. 2473 - 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ และอดีตรองหัวหน้าคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาต.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและประพัฒน์ กฤษณจันทร์

ประพาศ ศกุนตนาค

19 กันยายน พ.ศ. 2549 พลตรี ประพาศ ศกุนตนาค เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2478 เป็นบุตรชายของ ขุนเหมสมาหาร(ประพงศ์ ศกุนตนาค) อดีตนายอำเภอที่มีส่วนเกี่ยวข้องในกรณีกบฏบวรเดชและ นางเหมสมาหาร(พริ้ง ศรีเพ็ญ)เป็นหลานปู่ หลวงสรรพกิจโกศล(ปาน ศกุนตนาค) ในปี พ.ศ.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและประพาศ ศกุนตนาค

ประมาณ ชันซื่อ

ประมาณ ชันซื่อ อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตประธานศาลฎีก.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและประมาณ ชันซื่อ

ประวัติพรรคประชาธิปัตย์

รุปประวัติการทำงานของ พรรคประชาธิปัตย์ ตั้งแต่ก่อตั้งพรรคจนถึงปัจจุบัน.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและประวัติพรรคประชาธิปัตย์

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและประเทศไทย

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2533

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2533 ในประเทศไท.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและประเทศไทยใน พ.ศ. 2533

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2534

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2534 ในประเทศไท.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและประเทศไทยใน พ.ศ. 2534

ปิยะณัฐ วัชราภรณ์

ปิยะณัฐ วัชราภรณ์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ อดีตรัฐมนตรีหลายสมัย และอดีตรองหัวหน้าพรรคเอกภาพ เจ้าของวลีทางการเมือง "เก็บอุดมการณ์ใส่ลิ้นชัก" และเป็นนักการเมืองที่ได้รับการยอมรับในเรื่องการพูด จนได้รับฉายา "ดาวสภา" และเคยทำหน้าที่โฆษกพรรคกิจสังคม.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและปิยะณัฐ วัชราภรณ์

แคล้ว ธนิกุล

แคล้ว ธนิกุล (10 เมษายน พ.ศ. 2477 — 5 เมษายน พ.ศ. 2534) อดีตผู้กว้างขวางในพื้นที่กรุงเทพมหานครและอดีตโปรโมเตอร์และผู้จัดการในวงการมวยไทย, มวยสากลและมวยสากลสมัครเล่นในประเทศไท.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและแคล้ว ธนิกุล

ไพโรจน์ นิงสานนท์

นายแพทย์ไพโรจน์ นิงสานนท์ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน (2 สมัย) และเป็นอดีตสมาชิกว.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและไพโรจน์ นิงสานนท์

เกษตร โรจนนิล

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกษตร โรจนนิล หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กเต้ (เกิดเมื่อ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2476) อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศและอดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด จบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนนายเรืออากาศรุ่นที่ 1 โรงเรียนการบินรุ่น น.25 โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับฝูงรุ่นที่ 18 โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศรุ่นที่ 15 และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและเกษตร โรจนนิล

เสนาะ อูนากูล

นาะ อูนากูล (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2474 -) เป็นกรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย และอดีตเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและเสนาะ อูนากูล

เสนาะ เทียนทอง

นายกองใหญ่ เสนาะ เทียนทอง (1 เมษายน พ.ศ. 2477 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าพรรคประชาราช ผู้นำ..

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและเสนาะ เทียนทอง

22 มิถุนายน

วันที่ 22 มิถุนายน เป็นวันที่ 173 ของปี (วันที่ 174 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 192 วันในปีนั้น.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและ22 มิถุนายน

23 กุมภาพันธ์

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 54 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 311 วันในปีนั้น.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและ23 กุมภาพันธ์

25 กุมภาพันธ์

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 56 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 309 วันในปีนั้น.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและ25 กุมภาพันธ์

3 มกราคม

วันที่ 3 มกราคม เป็นวันที่ 3 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 362 วันในปีนั้น (363 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและ3 มกราคม

7 เมษายน

วันที่ 7 เมษายน เป็นวันที่ 97 ของปี (วันที่ 98 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 268 วันในปีนั้น.

ดู คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติและ7 เมษายน

หรือที่รู้จักกันในชื่อ รสช.คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน (พ.ศ. 2534)

อาทิตย์ กำลังเอกอาทิตย์ อุไรรัตน์อานันท์ ปันยารชุนอิสระพงศ์ หนุนภักดีอนันต์ กลินทะจักรพันธุ์ ยมจินดาธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534ทะเลใจที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลกท่าอากาศยานสุวรรณภูมิความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยคณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 48คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขคตส.ประพัฒน์ กฤษณจันทร์ประพาศ ศกุนตนาคประมาณ ชันซื่อประวัติพรรคประชาธิปัตย์ประเทศไทยประเทศไทยใน พ.ศ. 2533ประเทศไทยใน พ.ศ. 2534ปิยะณัฐ วัชราภรณ์แคล้ว ธนิกุลไพโรจน์ นิงสานนท์เกษตร โรจนนิลเสนาะ อูนากูลเสนาะ เทียนทอง22 มิถุนายน23 กุมภาพันธ์25 กุมภาพันธ์3 มกราคม7 เมษายน