โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ

ดัชนี คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ

ณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ ชื่อย่อ คม. (Council of National Security - CNS) เป็นคณะบุคคลที่แปรสภาพมาจากคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งได้กระทำการยึดอำนาจการปกครองประเทศไทยสำเร็จเมื่อวันที่ 19 กันยายน..

57 ความสัมพันธ์: ชลิต พุกผาสุขชินวัฒน์ หาบุญพาดบุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ชนาพัทธ์ ณ นครพรรคมาตุภูมิกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550การประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550ก่อแก้ว พิกุลทองรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549รากหญ้ารายชื่อสกุลนักการเมืองไทยวรัญชัย โชคชนะวันมาฆบูชาวาสนา นาน่วมวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553วิภูแถลง พัฒนภูมิไทวินัย ภัททิยกุลวีระกานต์ มุสิกพงศ์สพรั่ง กัลยาณมิตรสกลธี ภัททิยกุลสภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549สมบัติ บุญงามอนงค์สมบัติ เมทะนีสมัชชาแห่งชาติไทยสมเจตน์ บุญถนอมสรรเสริญ แก้วกำเนิดสุรชัย ด่านวัฒนานุสรณ์สนธิ บุญยรัตกลินสนธิ ลิ้มทองกุลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอิทธพร ศุภวงศ์จักรภพ เพ็ญแขจตุพร พรหมพันธุ์ทหารม้าทักษิณ ชินวัตรณัฐวุฒิ ใสยเกื้อคณะรักษาความสงบแห่งชาติคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขคตส.ประชาทรรศน์ (หนังสือพิมพ์)ประเทศไทยใน พ.ศ. 2549นัท มีเรียแผนปฐพี 149แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติโกวิท วัฒนะ...โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครโครงข่ายโทรคมนาคมแห่งชาติเพื่อนพ้องน้องพี่ (บริษัท)เหวง โตจิราการเหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549เจ้ามูลเมืองเนวิน ชิดชอบ ขยายดัชนี (7 มากกว่า) »

ชลิต พุกผาสุข

ลอากาศเอก ชลิต พุกผาสุข (5 เมษายน พ.ศ. 2491 —) องคมนตรี, เลขาธิการมูลนิธิพระดาบส, อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศของไทย และอดีตรองหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) คนที่ 1.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและชลิต พุกผาสุข · ดูเพิ่มเติม »

ชินวัฒน์ หาบุญพาด

นายชินวัฒน์ หาบุญพาด อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมในรัฐบาลของ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกสมาคมพิทักษ์ผลประโยชน์ผู้ขับรถแท็กซี่ ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ขับรถแท็กซี่ ที่ชื่นชอบ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ผู้ก่อตั้งและผู้จัดรายการของสถานีวิทยุชุมชนคนแท็กซี่ เอฟเอ็ม 92.75 เมกกะเฮิร์ทซ์ และ เอฟเอ็ม 107.5 เมกกะเฮิร์ทซ์ และแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ รุ่นที่ 2.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและชินวัฒน์ หาบุญพาด · ดูเพิ่มเติม »

บุญสร้าง เนียมประดิษฐ์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก บุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ (เกิด 15 มกราคม พ.ศ. 2491 ที่อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย และเป็นหนึ่งในสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) ประธานคณะกรรมการปฏิรูปตำรวจ กรรมการและที่ปรึกษาในคณะกรรมการเพื่อเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา พลเอก บุญสร้าง ได้รับรางวัลแห่งหอเกียรติยศ จากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (เอไอที) เมื่อปี..

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและบุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชนาพัทธ์ ณ นคร

นาพัทธ์ ณ นคร นายชนาพัทธ์ ณ นคร หรือ "เตมูจิน" อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม สมัยรัฐบาล พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ นายชนาพัทธ์ เกิดเมื่อวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2514 ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช มีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเป็นผู้ที่ตอบกระทู้ต่าง ๆ ในเว็บไซต์พันทิปดอตคอม โดยเฉพาะประเด็นที่เกี่ยวกับการเมือง โดยใช้นามแฝงว่า เตมูจิน ต่อมานายชนาพัทธ์ เป็นผู้นำของขบวนการภาคประชาชนที่ใช้ชื่อว่า กลุ่มประชาชนผู้รักประชาธิปไตย ที่มีการเคลื่อนไหวในลักษณะที่สนับสนุน.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และพรรคไทยรักไทย และต่อต้านผู้ที่ต่อต้าน.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ภายหลังการรัฐประหารในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 นายชนาพัทธ์เริ่มมีท่าทีที่เปลี่ยนไป โดยเริ่มเป็นผู้เปิดประเด็นเปิดโปงขบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของฝ่ายรัฐบาล.ต.ท.ทักษิณ ที่ต่อต้านฝ่ายที่กระทำการรัฐประหาร เช่น เป็นผู้ออกมาเปิดโปงว่า นายเนวิน ชิดชอบ เป็นผู้จ้างวานให้มีการชุมนุมเพื่อต่อต้านรัฐบาลหลังการรัฐประหารและคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) หรือกล่าวหากลุ่มเครือข่าย 19 กันยา ต้านรัฐประหาร เป็นต้น วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ศาลอาญาพิพากษาคดีที่นายชนาพัทธ์ ให้สัมภาษณ์สื่อมวลชน เมื่อวันที่ 1..

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและชนาพัทธ์ ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

พรรคมาตุภูมิ

รรคมาตุภูมิ (Matubhum Party) เป็นพรรคการเมืองในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและพรรคมาตุภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

กองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์

ตราประจำหน่วยกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ กองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ ตั้งอยู่ที่ค่ายพรหมโยธี อ. เมืองปราจีนบุรี.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550

ร้อยละของผู้เห็นชอบต่อร่างรัฐธรรมนูญ แบ่งตามจังหวัด การลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม..

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

การประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง

การประท้วงทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง เป็นเหตุการณ์ในประเทศไทยที่เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2547 ในช่วงปลายรัฐบาลทักษิณ 1 เมื่อมีการรวมตัวของกลุ่มคนในนาม กลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์ และมีการชุมนุมปราศรัยเพื่อขับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เมื่อวันที่ 25 กันยายน..

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและการประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง · ดูเพิ่มเติม »

การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญฉบับ ปี..

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 · ดูเพิ่มเติม »

ก่อแก้ว พิกุลทอง

นายก่อแก้ว พิกุลทอง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย แกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) และอดีตรักษาการผู้อำนวยการ องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและก่อแก้ว พิกุลทอง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 18 ซึ่งจัดร่างโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ในระหว่าง..

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รากหญ้า

รากหญ้า (grassroots) เป็นขบวนการอย่างหนึ่ง (มักใช้ในบริบทของขบวนการทางการเมือง) ที่ขับเคลื่อนด้วยการเมืองของชุมชนท้องถิ่น คำดังกล่าวเป็นการแสดงนัยว่าการสร้างขบวนการและกลุ่มที่สนับสนุนขบวนการดังกล่าวเป็นธรรมชาติและเกิดขึ้นเอง อันเป็นการเน้นความแตกต่างระหว่าง "รากหญ้า" กับขบวนการซึ่งจัดตั้งขึ้นตามโครงสร้างอำนาจแบบเก่า ขบวนการรากหญ้ามักเกิดในระดับท้องถิ่น โดยมีอาสาสมัครจำนวนมากในชุมชนเสียสละเวลาเพื่อสนับสนุนพรรคในท้องถิ่น ซึ่งสามารถนำไปสู่การช่วยเหลือพรรคในระดับชาติได้ ยกตัวอย่างเช่น ขบวนการรากหญ้าสามารถนำไปสู่การลงคะแนนเสียงให้แก่พรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่งอย่างสำคัญ ซึ่งจะช่วยรัฐและพรรคการเมืองระดับชาต.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและรากหญ้า · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสกุลนักการเมืองไทย

้านล่างนี้คือสกุลนักการเมืองไทย ที่บุคคลในตระกูลมีนักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หมายเหตุ: ตัวหนาหมายถึงบุคคลที่กำลังหรือเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ หรือรัฐมนตรีช่วยว่าการ หรือเทียบเท.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและรายชื่อสกุลนักการเมืองไทย · ดูเพิ่มเติม »

วรัญชัย โชคชนะ

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพ เมื่อปี พ.ศ. 2547 ซึ่งนายวรัญชัยได้เบอร์ 2 นายวรัญชัย โชคชนะ นักการเมืองไทย และนักเคลื่อนไหวทางการเมืองที่เป็นสีสัน เป็นที่รู้จักดีจากการเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหลายสมัย และลงสมัครในการเลือกตั้งทั่วไปอีกหลายครั้ง แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้งเลยสักครั้ง.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและวรัญชัย โชคชนะ · ดูเพิ่มเติม »

วันมาฆบูชา

ปุรณมี วันมาฆบูชา (มาฆปูชา; Magha Puja) เป็นวันสำคัญของชาวพุทธเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทยราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๓๐, ๓๐ มีนาคม..

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและวันมาฆบูชา · ดูเพิ่มเติม »

วาสนา นาน่วม

วาสนา นาน่วม กำลังถือหนังสือ ''ลับ ลวง พราง''ที่เธอเขียน วาสนา นาน่วม (ชื่อเล่น: เล็ก) ผู้สื่อข่าวสายทหารหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ และ โพสต์ทูเดย์ ผู้เขียนหนังสือชุดลับ ลวง พราง และผู้ดำเนินรายการวิทยุ “ลับ ลวง พราง” ทางโมเดิร์นเรดิโอ เอฟเอ็ม 100.5 เมกะเฮิร์ตซ์ ในหมู่ของผู้ที่ศึกษาด้านการทหาร ชื่อของ วาสนา นาน่วม นั้นเป็นที่รู้จักกันดี เพราะเป็นผู้ที่มีข่าวคราวจากการสอบถามไปยังนายทหารระดับสูงหลายครั้ง.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและวาสนา นาน่วม · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553

วิกฤตการณ์การเมืองไท..

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553 · ดูเพิ่มเติม »

วิภูแถลง พัฒนภูมิไท

วิภูแถลง พัฒนภูมิไท ชื่อเดิม แถลง รองขุน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย เป็นชาวพัทลุง ผู้ก่อตั้งและเป็นโฆษกกลุ่มคนวันเสาร์ไม่เอาเผด็จการ ที่ออกมาเคลื่อนไหวต่อต้าน คมช. เป็นแนวร่วมกับกลุ่มวิทยุชุมชนคนรักทักษิณของชินวัตร หาบุญผาด ต่อมาเข้าร่วมเป็น 1 ใน 8 แกนนำกลุ่ม นปก. ที่เคลื่อนไหวต่อต้าน คมช.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและวิภูแถลง พัฒนภูมิไท · ดูเพิ่มเติม »

วินัย ภัททิยกุล

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วินัย ภัททิยกุล (5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491-) ประธานกรรมการ บริษัท สบายดี แอร์เวย์ส จากัด อดีตเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ อดีตเลขาธิการ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ และอดีตปลัดกระทรวงกลาโหมและเป็นหนึ่งในผู้ดูแลการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในภาคใต้ของประเทศไท.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและวินัย ภัททิยกุล · ดูเพิ่มเติม »

วีระกานต์ มุสิกพงศ์

วีระกานต์ มุสิกพงศ์ หรือชื่อเดิม วีระ มุสิกพงศ์ อดีตประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ อดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย มีฉายาว่า ไข่มุกดำ เป็นผู้นำเคลื่อนไหวต่อต้านเผด็จการทหาร เมื่อปี พ.ศ. 2550 และอดีตผู้ดำเนินรายการ ความจริงวันนี้ ทางเอ็นบีที.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและวีระกานต์ มุสิกพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สพรั่ง กัลยาณมิตร

ลเอก สพรั่ง กัลยาณมิตร (8 กรกฎาคม พ.ศ. 2491 —) อดีตแม่ทัพภาคที่ 3 เป็น 1 ในคณะก่อการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 ภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยเลขาธิการคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ และเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก และได้รับการพิจารณาให้เป็นประธานบอร์ดการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย (ทอท.) และบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและสพรั่ง กัลยาณมิตร · ดูเพิ่มเติม »

สกลธี ภัททิยกุล

กลธี ภัททิยกุล รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 4 พรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ เป็นบุตรชายของพลเอกวินัย ภัททิยกุล อดีตเลขาธิการคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.).

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและสกลธี ภัททิยกุล · ดูเพิ่มเติม »

สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550

ร่างรัฐธรรมนูญ..

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและสภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549

นิติบัญญัติแห่งชาต..

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ บุญงามอนงค์

มบัติ บุญงามอนงค์ (ถือโทรโข่ง) ขณะร่วมประท้วงต่อต้านการเซ็นเซอร์อินเทอร์เน็ตในในประเทศไทย หน้าศูนย์การค้าพันธุ์ทิพย์พลาซ่า 9 มิถุนายน พ.ศ. 2552 สมบัติ บุญงามอนงค์ (ชื่อเล่น: หนูหริ่ง) หรือนามแฝงบนอินเทอร์เน็ตว.ก.ลายจุด เป็นแกนนำกลุ่มวันอาทิตย์สีแดง เว็บมาสเตอร์ของเว็บไซต์เพื่อสังคมหลายแห่ง และอดีตประธานกรรมการมูลนิธิกระจกเงา ที่มาของนามแฝง.ก.ลายจุดมาจากภาพยนตร์เรื่อง 101 ดัมเมเชี่ยน เมื่อวันที่ 21 มีนาคม..

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและสมบัติ บุญงามอนงค์ · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ เมทะนี

มบัติ เมทะนี (เกิด: 26 มิถุนายน พ.ศ. 2480; ชื่อเล่น แอ๊ด) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์และครโทรทัศน์) ประจำปี 2559 นักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย ผู้ชนะเลิศรางวัลตุ๊กตาทองและรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง นอกจากนี้กินเนสบุ๊คยังบันทึกไว้ว่าเป็นนักแสดงที่รับบทเป็นพระเอกมากที่สุดในโลก โดยแสดงเป็นพระเอกถึง 617 เรื่อง.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและสมบัติ เมทะนี · ดูเพิ่มเติม »

สมัชชาแห่งชาติไทย

มัชชาแห่งชาติของประเทศไทย (National People's Assembly of Thailand) เป็นองค์กรที่ประกอบด้วยบุคคลจากหลากหลายสาขาอาชีพ มาประชุมกันเพื่อคัดเลือกกันเองไปเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและสมัชชาแห่งชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมเจตน์ บุญถนอม

ลเอก สมเจตน์ บุญถนอม อดีตสมาชิกวุฒิภาแบบสรรหา กรรมการการประปานครหลวงและ กรรมการที่เป็นอิสระการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) อดีตหัวหน้าคณะสำนักงานเลขาธิการคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) และอดีตประธานคณะที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (นายสมัคร สุนทรเวช).

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและสมเจตน์ บุญถนอม · ดูเพิ่มเติม »

สรรเสริญ แก้วกำเนิด

ลโท สรรเสริญ แก้วกำเนิด ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก ราชองครักษ์เวร ในคณะรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา รักษาราชการแทนอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ กรรมการในคณะกรรมการนโยบายการจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 59/2557 รองผู้บัญชาการโรงเรียนกิจการพลเรือน กรมกิจการพลเรือนทหารบก กรรมการในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559ประธานฝ่ายประชาสัมพันธ์ และคณะกรรมการบริหาร มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ อดีตโฆษกกองทัพบก อดีตโฆษกศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย (ศอ.รส.) และอดีตโฆษกศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) พลโท สรรเสริญ แก้วกำเนิด ศึกษาที่โรงเรียนอรุณประดิษฐ จังหวัดเพชรบุรี ระดับมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนรัตนาธิเบศร์ จังหวัดนนทบุรี และเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 23 โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร.) รุ่นที่ 34 และโรงเรียนเสนาธิการทหารบก ในปี พ.ศ. 2530 เป็นผู้บังคับหมวดลาดตระเวน กองพันทหารม้าที่ 3 รักษาพระองค์ ซึ่งการที่พลโท สรรเสริญ แก้วกำเนิดเลือกอยู่เหล่าทหารม้าเนื่องจากได้รับคำแนะนำจาก พล.ต.ขัตติยะ สวัสดิผล.แดง ซึ่งในขณะนั้น.แดงเป็นอาจารย์วิชาทหารม้าและสอนพลโท สรรเสริญ แก้วกำเนิดอยู่ที่โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า พลโทสรรเสริญ แก้วกำเนิด เคยมีบทบาทในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535ขณะนั้นเป็นผู้บังคับกองร้อยนำกำลังคุมฝูงชน จากนั้นเป็นรองผู้อำนวยการกองปฏิบัติการจิตวิทยา ของกรมกิจการพลเรือนทหารบก ยังได้รับการมอบหมายจาก พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน ให้ลงไปปฏิบัติงานที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และยังช่วยงานการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารของคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (คปค.) หลังการรัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ในเวลาต่อมาได้รับตำแหน่งเป็นโฆษกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) ในปี พ.ศ. 2551 รับตำแหน่งเป็นโฆษกกองทัพบก จนเป็นโฆษกศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย (ศอ.รส.) และโฆษกศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) ในการชุมนุมของกลุ่ม นปช. พ.ศ. 2553 เนื่องจากในการออกแถลงการณ์และประกาศต่าง ๆ ของ ศอฉ.เพื่อรายงานให้แก่ประชาชนทราบเป็นระยะ ซึ่งทำให้ประชาชนคุ้นหน้าคุ้นตากันเป็นอย่างดี ด้วยมาดนุ่ม ๆ น้ำเสียงทุ้ม ๆ และมุกตลกหน้าตาย ยังได้รับการพูดถึงในเว็บไซต์พันทิป โดยเปรียบเทียบกับ เคน ธีรเดช ดารานักแสดง นอกจากมียังมีแฟนเพจบนเว็บไซต์เฟซบุ๊กของผู้พันไก่อู หรือแม้แต่ในทวิตเตอร์ของ อ.ธันยวัชร์ ไชยตระกูลชัย นักการตลาด กรรมการจากรายการ SME ตีแตก ยังพูดถึงว่า หากนำผู้พันไก่อูมาพร้อมกับ ดร.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและสรรเสริญ แก้วกำเนิด · ดูเพิ่มเติม »

สุรชัย ด่านวัฒนานุสรณ์

รชัย ด่านวัฒนานุสรณ์ มีชื่อเดิมว่า สุรชัย แซ่ด่าน เป็นนักเคลื่อนไหว และอดีตนักโทษการเมืองคดีคอมมิวนิสต์คนสุดท้ายของประเทศไทย เป็นอดีตคณะทำงานพรรคไทยรักไทย จังหวัดนครศรีธรรมราช ปัจจุบันเป็นแกนนำกลุ่มแดง.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและสุรชัย ด่านวัฒนานุสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ บุญยรัตกลิน

ลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2489) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้บัญชาการทหารบกของไทยและก็เป็น ผู้บัญชาการทหารบกของไทยคนแรกที่มาจากชาวไทยมุสลิม และอดีตหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในเหตุการณ์ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ และหัวหน้าพรรคมาตุภูมิ อดีตรองผู้อำนวยการเสริมสร้างสันติสุข จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและสนธิ บุญยรัตกลิน · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ ลิ้มทองกุล

นธิ ลิ้มทองกุล (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 —) เป็น ประธานที่ปรึกษาสำนักพิมพ์บ้านพระอาทิตย์ นักหนังสือพิมพ์ นักเขียน ผู้ก่อตั้งและเจ้าของหนังสือพิมพ์ในเครือผู้จัดการ ผู้ดำเนินรายการกลางแจ้ง เมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร ที่ปรึกษาสำนักพิมพ์ซุปเปอร์บันเทิง อดีตผู้ดำเนินรายการเมืองไทยรายสัปดาห์ ทางช่อง 9 อสมท. และอดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ เดิมเขาเคยเป็นผู้สนับสนุนอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร อย่างแข็งขัน แต่ต่อมาเป็นผู้นำขบวนการต่อต้านทักษิณ ช่วงต้น..

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและสนธิ ลิ้มทองกุล · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

อิทธพร ศุภวงศ์

ลอากาศเอก อิทธพร ศุภวงศ์ ปัจจุบันเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เขาเป็นผู้ปฏิบัติงานในกองอำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (กอฉ.)ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 98/2552 ในเหตุการณ์ ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552 และที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และอดีตผู้บัญชาการทหารอาก.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและอิทธพร ศุภวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรภพ เพ็ญแข

ักรภพ เพ็ญแข อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลสมัคร สุนทรเวช โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร อดีตผู้บริหารสถานีโทรทัศน์พีทีวี อดีตผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ อดีตนักวิเคราะห์ข่าวต่างประเทศที่มีชื่อเสียง และเป็นผู้เปลี่ยนแปลงการบริหารงานสถานีโทรทัศน์แห่งชาติของสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จากเดิมคือ Television of Thailand (Channel 11) ไปสู่ National Broadcasting Services of Thailand.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและจักรภพ เพ็ญแข · ดูเพิ่มเติม »

จตุพร พรหมพันธุ์

ตุพร พรหมพันธุ์ เป็นประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและจตุพร พรหมพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทหารม้า

ทหารม้าโปแลนด์ (Polish cavalry) ในปี 1938 ทหารม้าบนรถถัง ทหารม้า (Cavalry) หมายถึง ทหารที่จะต้องทำการรบ โดยใช้อาวุธต่างๆ เช่น ดาบ, ทวน หรือปืน บนหลังม้า แต่ในปัจจุบันได้เปลี่ยนมาเป็นใช้รถถังและพาหนะเคลื่อนที่เร็วแทน ทหารม้าเป็นทหารเหล่าหนึ่งในกองทัพบก ที่ใช้ม้าหรือสิ่งกำเนิดความเร็วอื่นๆ เป็นพาหนะ เป็นเหล่ารบที่มีความสำคัญและจำเป็นเหล่าหนึ่งสำหรับกองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเหล่าทหารราบ ทหารปืนใหญ่ ทหารช่าง ฯลฯ มีความแตกต่างกับ ทหารราบขี่ม้า (Light Horse) ทหารราบบรรทุกม้าหรือยานพาหนะใดๆ ก็ตาม จะใช้ม้าหรือยานพาหนะที่ว่าในการเดินทางเข้า-ออกสนามรบเท่านั้นในกรณีปกติ เครื่องหมายเหล่าเป็นรูปกระบี่ไขว้ประกอบกับเกือกม้าและรถถัง นอกจากนี้ เฮลิคอปเตอร์เอง ก็ถูกจัดว่าเป็นหน่วยทหารม้าเช่นกัน.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและทหารม้า · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อนกำหนดเดิม และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549 รวมทั้งระดับการฉ้อราษฎร์บังหลวงลดลง โดยดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549 ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจากผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้กล่าวหารัฐบาลทักษิณหลายประการเช่น ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นเผด็จการรัฐสภา มีผลประโยชน์ทับซ้อน และควบคุมสื่อ ส่วนข้อกล่าวหาของตัวทักษิณเอง ก็มีว่าหลีกเลี่ยงภาษี หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ตลอดจนขายทรัพย์สินของบริษัทไทยให้นักลงทุนต่างชาติThe Star,, 2 April 2006The Nation,, 23 March 2006 องค์การนิรโทษกรรมสากลวิจารณ์ทักษิณว่า มีประวัติเชิงสิทธิมนุษยชนไม่สู้ดี และเขายังถูกกล่าวหาว่าปกปิดทรัพย์สินระหว่างดำรงตำแหน่งการเมือง ฟอรีนพอลิซี ยกตัวอย่างว่า เขาเป็นอดีตผู้นำของโลกที่ประพฤติไม่ดี เกิดการประท้วงของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 และวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ ศาลที่ คม.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและทักษิณ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ

ณัฐวุฒิ (คนขวา) บนรถปราศรัยของ นปก. ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย, แกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.), อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลสมชาย วงศ์สวัสดิ์, อดีตผู้อำนวยการสถานีโทรทัศน์พีทีวี, อดีตผู้ดำเนินรายการความจริงวันนี้, อดีตรองโฆษกพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

ณะรัฐประหารในนามคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ. (National Council for Peace and Order (NCPO) เดิมใช้ชื่อ National Peace and Order Maintaining Council (NPOMC)) เป็นคณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง โดยรัฐประหารยึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56

รัฐบาลพลเรือน ที่ตั้งขึ้นภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร เมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56 · ดูเพิ่มเติม »

คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ณะปฏิรูปการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ คป. เป็นคณะบุคคล อันประกอบด้วย กลุ่มทหาร ตำรวจ และ พลเรือน ซึ่งมีพลเอก สนธิ บุญยรัตกลินเป็นหัวหน้า ได้เข้ายึดอำนาจการปกครองราชอาณาจักรไทยไว้ได้ เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 มีที่ตั้ง ณ กองบัญชาการกองทัพบก ถนนราชดำเนินนอก เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข · ดูเพิ่มเติม »

คตส.

ำสำคัญ "คต." อาจหมายถึง.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและคตส. · ดูเพิ่มเติม »

ประชาทรรศน์ (หนังสือพิมพ์)

ประชาทรรศน์ เป็นหนังสือพิมพ์รายวัน วางจำหน่ายทุกวันจันทร์-วันศุกร์ จำนวน 16 หน้า ราคาฉบับละ 7 บาท นำเสนอข่าวทั่วไป มีคำขวัญว่า “หนังสือพิมพ์รายวันทางเลือกเพื่อประชาชน” ออกฉบับปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2550 หลังจากที่พิมพ์เป็นฉบับทดลองมาแล้ว 10 ฉบับ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม มีพิธาน คลี่ขจาย น้องชายสุภาพ คลี่ขจาย เป็นบรรณาธิการบริหาร ผศ.จรัล ดิษฐาอภิชัย ประธานคณะกรรมการประชาชนเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2550 (คปพร.) อดีตกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และอดีตประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) เป็นที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ และอเนก เรืองเชื้อเหมือน เป็นบรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา หนังสือพิมพ์ประชาทรรศน์มีเนื้อหาส่วนมากเกี่ยวกับการแสดงทัศนคติทางการเมืองที่แตกต่างจากสื่อกระแสหลัก โดยมีจุดยืนในการส่งเสริมระบบรัฐสภาในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ต่อต้านการรัฐประหาร และการชุมนุมทางการเมืองที่ปฏิเสธคณะบุคคลที่เข้าดำรงตำแหน่งทางการเมืองอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ซึ่งหมายถึงคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ และพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ต่อมา การนำเสนอข่าวในระยะหลังเป็นไปในทำนองให้การสนับสนุนนายเนวิน ชิดชอบ และพรรคภูมิใจไทย เนื่องจากนายเนวินเป็นนายทุนให้กับหนังสือพิมพ์ฉบับนี้นั่นเอง และสีหัวข่าวใหญ่ปรับเปลี่ยนจากสีแดงเป็นสีน้ำเงินแทนรวมไปถึงได้โจมตีกลุ่ม แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน หนังสือพิมพ์ประชาทรรศน์ตีพิมพ์วางจำหน่าย 581 ฉบับ กระทั่งวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2553 ได้ตีพิมพ์เป็นฉบับสุดท้าย ก่อนที่บริษัท สำนักข่าวประชาทรรศน์ จำกัด ตัดสินใจหยุดผลิต หยุดจำหน่าย และให้พนักงานลาออกจำนวนมาก ปัจจุบันเหลือเพียงแค่เว็บไซต์ประชาทรรศน์ออนไลน์ที่นำเสนอข่าว ส่วนกองบรรณาธิการบางส่วนหันไปผลิตรายการวิทยุ โดยใช้ชื่อว่าสถานีวิทยุชุมชนปกป้องสถาบัน นำโดยนายอุดมศักดิ์ สาวนะ บรรณาธิการอำนวยการหนังสือพิมพ์ประชาทรรศน.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและประชาทรรศน์ (หนังสือพิมพ์) · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2549

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2549 ในประเทศไท.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและประเทศไทยใน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

นัท มีเรีย

มีเรีย อเล็กซานดรา เบนเนเดดตี้ (Myria Benedetti; เกิดเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ นัท มีเรีย เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย จบการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ สาขานิเทศศาสตร์ จาก มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและนัท มีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

แผนปฐพี 149

แผนปฐพี 149 คือชื่อเรียกแผนการรักษาความสงบเรียบร้อย ในลักษณะของแผนเผชิญเหตุ แต่เดิมทางทหารใช้สำหรับควบคุมดูแลผู้ชุมนุมกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ในเหตุการณ์ชุมนุมขับไล.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี แต่เปลี่ยนมาใช้ในการรัฐประหารในคืนวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและแผนปฐพี 149 · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ

แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (ชื่อย่อ: นปช.; United Front of Democracy Against Dictatorship; UDD) มีชื่อเดิมว่า แนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ (ชื่อย่อ: นปก.; Democratic Alliance Against Dictatorship: DAAD) เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ ดร.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

โกวิท วัฒนะ

ลตำรวจเอก โกวิท วัฒนะ (11 มีนาคม พ.ศ. 2490 —) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาต.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและโกวิท วัฒนะ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

รงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เป็นโรงเรียนสาธิตในระดับมัธยมศึกษา ในกำกับของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ณ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งเมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 โดยจอมพลแปลก พิบูลสงคราม ข้อมูลจำเพาะ: คู่มือนักเรียน ปีการศึกษา 2550 หน้า12-13 โรงเรียนก่อตั้งขึ้นตามดำริของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ภายหลังจากการสร้างวัดประชาธิปไตย (ปัจจุบันคือ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร) เพื่อให้เป็นอนุสรณ์แก่การปกครองระบอบประชาธิปไตยที่ดำเนินมาแล้วสิบสองปี ตามแนวคิดในการสร้างโรงเรียนคู่กับวัด เพื่อพัฒนาองค์กรชุมชนตามหลัก "บ-ว-ร" (บ้าน - วัด - โรงเรียน) โดยใช้ที่ดินของวัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหารส่วนหนึ่ง เป็นที่ตั้งสถานศึกษาจนถึงปัจจุบัน อยู่ในพื้นที่เดียวกันกับวิทยาลัยการฝึกหัดครู ภายในพื้นที่โรงเรียนมีอาคารเรียนหลัก 3 อาคาร โดยอาคารแรก (อาคารสาธิต 1) สร้างขึ้นพร้อมโรงเรียนในปี..

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

โครงข่ายโทรคมนาคมแห่งชาติ

รงข่ายโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ เทเลคอม พูล (Telecom Pool) เป็นโครงการเพื่อจัดการรวบโครงข่ายโทรคมนาคม ทั้งหน่วยงานของรัฐและเอกชน ให้อยู่ภายใต้หน่วยงานเดียวทำหน้าที่บริหารโครงข่ายโทรคมนาคมของชาต.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและโครงข่ายโทรคมนาคมแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

เพื่อนพ้องน้องพี่ (บริษัท)

ริษัท เพื่อนพ้องน้องพี่ จำกัด เป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจสื่อสารมวลชน ก่อตั้งโดย นายวีระ มุสิกพงศ์ และมีกลุ่มเพื่อนของนายวีระร่วมถือหุ้น เพื่อประกอบกิจการต่างๆ คือ สถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมพีทีวี (พ.ศ. 2550-2551), นิตยสารข่าว วาไรตี้นิวส์ฉบับมหาประชาชน (พ.ศ. 2550), รายการโทรทัศน์ ความจริงวันนี้-เพื่อนพ้องน้องพี่-มหาประชาชน (พ.ศ. 2551 - 2553) และหนังสือพิมพ์ มหาประชาชนฉบับความจริงวันนี้ (พ.ศ. 2552 - 2555).

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและเพื่อนพ้องน้องพี่ (บริษัท) · ดูเพิ่มเติม »

เหวง โตจิราการ

นายแพทย์ เหวง โตจิราการ (1 เมษายน พ.ศ. 2494 -) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน และแกนนำสมาพันธ์ประชาธิปไตย เป็นอดีตนายกองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและเหวง โตจิราการ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549

หตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและเหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้ามูลเมือง

้ามูลเมือง เป็นชื่อตามความเชื่อหนึ่งของกลุ่มบุคคลที่เชื่อว่าเป็นอดีตชาติของ นาย ทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและเจ้ามูลเมือง · ดูเพิ่มเติม »

เนวิน ชิดชอบ

นวิน ชิดชอบ ปัจจุบันเป็นประธานบริหารสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด อดีตเคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและรัฐมนตรีหลายสมัย และเคยเป็นหนึ่งในบุคคลใกล้ชิดคนสำคัญของอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร และเป็นบุคคลสำคัญ ที่ทำให้นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในปี..

ใหม่!!: คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติและเนวิน ชิดชอบ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Council for National Securityคมช.

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »