โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ดัชนี คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ย่อ: คณะกรรมการ ป.ป.ช.) (National Anti-Corruption Commission) เป็นคณะบุคคลซึ่งประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอื่นอีก 8 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา ผู้ได้รับการเสนอชื่อและได้รับเลือกเป็นกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติต้องเป็นผู้ซึ่งมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 256 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต..

85 ความสัมพันธ์: ชวลิต ยงใจยุทธชัยวัฒน์ พสกภักดีชาญชัย ลิขิตจิตถะชูศักดิ์ ศิรินิลพ.ศ. 2488พฤษภาคม พ.ศ. 2548พัชรวาท วงษ์สุวรรณกรณีสิ่งบันทึกวีดิทัศน์ศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2553กล้านรงค์ จันทิกการชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาไทย 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551การอภิปรายไม่ไว้วางใจการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้งการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของทักษิณ ชินวัตรการแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สินการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552กิตติ สีหนนทน์กิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐภักดี โพธิศิริรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รายนามบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้ง ถอดถอน หรือควบคุมตัวโดย คปค.รายนามผู้สมัครเป็นสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2549 กรุงเทพมหานครวัชรพล ประสารราชกิจวิชัย สังข์ประไพวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557วิเชียรโชติ สุกโชติรัตน์วุฒิสภาไทยศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองศุภรัตน์ ควัฒน์กุลสรยุทธ สุทัศนะจินดาสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติสิทธิชัย โภไคยอุดมสุชาติ เหมือนแก้วสุรพงษ์ สืบวงศ์ลีสุรยุทธ์ จุลานนท์สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์สนั่น ขจรประศาสน์หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตรหน่วยงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตอภิรักษ์ โกษะโยธินอุทยานราชภักดิ์อุดม เฟื่องฟุ้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยองค์การเพื่อการปฏิรูประบบสถาบันการเงินจักรภพ เพ็ญแขธานี สมบูรณ์ทรัพย์ทักษิณ ชินวัตร...ความจริงวันนี้คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61คณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2550คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549คดีระบายข้าวจีทูจีคดีที่ดินรัชดาฯคดีคลองด่านประชา ประสพดีประสาท พงษ์ศิวาภัยประทิน สันติประภพประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ประเสริฐ บุญสัมพันธ์ประเสริฐ นาสกุลประเทศไทยใน พ.ศ. 2543ปราโมทย์ สุขุมปรีชา จันทร์โอชาปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยาปลอดประสพ สุรัสวดีปานเทพ กล้าณรงค์ราญนรนิติ เศรษฐบุตรนาม ยิ้มแย้มแก้วสรร อติโพธิโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตรโสภณ พรโชคชัยโอภาส อรุณินท์เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรมเกษม นิมมลรัตน์เมธี ครองแก้วเสนาะ เทียนทองเหตุการณ์ทุจริตการออกรางวัลสลากกินแบ่งรัฐบาล พ.ศ. 2544เครือข่ายประชาชนต้านคอร์รัปชัน7 กันยายน ขยายดัชนี (35 มากกว่า) »

ชวลิต ยงใจยุทธ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชวลิต ยงใจยุทธ (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 —) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 22 อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีดรักษาการผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นเจ้าของสมญา "ขงเบ้งแห่งกองทัพบก" เคยได้รับการแต่งตั้งให้เป็น สมาชิกวุฒิสภา ขณะดำรงตำแหน่งทางทหาร เป็นผู้ก่อตั้ง และหัวหน้า พรรคความหวังใหม่ คนแรก และเป็นอดีต..หลายสมัย มีคะแนนเสียงหนาแน่นในจังหวัดนครพนม สื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "บิ๊กจิ๋ว" และในพื้นที่ภาคอีสาน เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "พ่อใหญ่จิ๋ว" นอกจากนี้แล้วยังมีอีกฉายาหนึ่งว่า "จิ๋วหวานเจี๊ยบ" จากการมีบุคลิกพูดจาอ่อนนิ่ม นุ่มนวล.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและชวลิต ยงใจยุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ชัยวัฒน์ พสกภักดี

ัยวัฒน์ พสกภักดี อดีตผู้อำนวยการสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล และประธานมูลนิธิสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและชัยวัฒน์ พสกภักดี · ดูเพิ่มเติม »

ชาญชัย ลิขิตจิตถะ

นายชาญชัย ลิขิตจิตถะ (25 เมษายน พ.ศ. 2489 - 18 มกราคม พ.ศ. 2560) อดีตองคมนตรี อดีตประธานศาลฎีกา และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตผู้พิพากษาอาวุโส ชาญชัย เป็นผู้มีบทบาทในการแก้ไขวิกฤตการเมือง อันเนื่องจากการเลือกตั้งวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2549 และกรณีคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดที่ 2 ที่มี พล.ต.อ.วาสนา เพิ่มลาภเป็นประธานก่อนที่จะเกิดการรัฐประหาร หลังจากที่เกษียณอายุราชแล้วได้รับแต่งตั้งเป็น ผู้พิพากษาอาวุโสศาลแพ่งธนบุรี แต่ทำงานได้เพียง 2 วันจึงได้ลาออกจากตำแหน่ง ภายหลังจากเหตุการณ์รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 เคยถูกทาบทามจากคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ในที่สุดทาง คป.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและชาญชัย ลิขิตจิตถะ · ดูเพิ่มเติม »

ชูศักดิ์ ศิรินิล

รองศาสตราจารย์ชูศักดิ์ ศิรินิล อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์) และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและชูศักดิ์ ศิรินิล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและพฤษภาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พัชรวาท วงษ์สุวรรณ

ลตำรวจเอก พัชรวาท วงษ์สุวรรณ (เกิด 22 มีนาคม พ.ศ. 2492) ประธานกรรมการกำหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ บริษัท ซีพีออลล์ จำกัด (มหาชน) และ กรรมการอิสระ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาต.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและพัชรวาท วงษ์สุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

กรณีสิ่งบันทึกวีดิทัศน์ศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2553

กรณีสิ่งบันทึกวีดิทัศน์ศาลรัฐธรรมนูญ..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและกรณีสิ่งบันทึกวีดิทัศน์ศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

กล้านรงค์ จันทิก

กล้านรงค์ จันทิก เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เกิดเมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2486 เป็นบุตรของนายยนต์ และนางศรีสว่าง จันทิก สมรสกับนางพันทิพา จันทิก มีบุตรธิดา 3 คน นายกล้านรงค์ ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการ ป.ป..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและกล้านรงค์ จันทิก · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาไทย 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551

หตุการณ์ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและการชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาไทย 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551

การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไต..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การอภิปรายไม่ไว้วางใจ

การอภิปรายไม่ไว้วางใจ คือ การอภิปรายของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (โดยมากเป็นสมาชิกฝ่ายค้าน) กระทำเมื่อเห็นว่าการทำงานของรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีไม่เป็นที่พอใจ ในกรณีนี้สมาชิกมีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติไม่ไว้วางใจ ถือเป็นวิธีการหนึ่งในการควบคุมและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล วิธีอื่นนอกจากนี้ ได้แก่ การตั้งกระทู้ถาม การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน การถอดถอนจากตำแหน่ง การอภิปรายไม่ไว้วางใจเป็นวิธีที่เห็นผลชัดเจนที่สุด มีผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐบาลมากที่สุด และยังเป็นการคานอำนาจของฝ่ายบริหาร (รัฐบาล) โดยฝ่ายนิติบัญญัติ (รัฐสภา) ที่ชัดเจนและได้ผลดีที่สุดด้วย การอภิปรายไม่ไว้วางใจเป็นไปตามหลักการที่ว่า "ฝ่ายบริหารจะอยู่ได้ก็โดยความไว้วางใจของฝ่ายนิติบัญญัติ" ดังนั้นการอภิปรายไม่ไว้วางใจจะมีขึ้นก็ต่อเมื่อรัฐสภาเห็นว่ารัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีไม่ควรแก่การไว้วางใจให้ปฏิบัติหน้าที่ต่อไป ซึ่งอาจเกิดจากการตัดสินใจผิดพลาด การใช้อำนาจหน้าที่ในทางมิชอบ เป็นต้น.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและการอภิปรายไม่ไว้วางใจ · ดูเพิ่มเติม »

การถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง

thumb การถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง (recall) คือ กระบวนการที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสามารถถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้งจากตำแหน่ง.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง · ดูเพิ่มเติม »

การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตรเป็นนายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544–2549 ระหว่างดำรงตำแหน่ง ทักษิณริเริ่มหลายนโยบายซึ่งส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สาธารณสุข การศึกษา พลังงาน ยาเสพติดและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เขาชนะการเลือกตั้งถล่มทลายถึงสองสมัยProtesters Jam Bangkok, but Rural Thais Love the Leader.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของทักษิณ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน

การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน เป็นมาตรการหนึ่งในการตรวจสอบป้องกันการฉ้อราษฎร์บังหลวง โดยกำหนดให้ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองต้องยื่นแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะต่อคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ มีขึ้นทุกครั้งที่เข้ารับตำแหน่งหรือพ้นจากตำแหน่ง โทษของการไม่ยื่นบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน มีข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อเท็จจริง คือ พ้นจากตำแหน่งหรือถูกตัดสินมิให้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี ส่วนผู้ที่มีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติจะถูกดำเนินคดีโดยให้ทรัพย์สินที่เพิ่มขึ้นนั้นตกเป็นของแผ่นดิน.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและการแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552

ปสเตอร์รณรงค์ให้ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2552 การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

กิตติ สีหนนทน์

นายกิตติ สีหนนทน์ (14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 - 24 มกราคม พ.ศ. 2527) อดีตองคมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในสมัยรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ และอดีตรองประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและกิตติ สีหนนทน์ · ดูเพิ่มเติม »

กิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐ

ลเอกกิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐ นักการเมืองชาวไทย ประธานที่ปรึกษา พรรคไทยศรีวิไลย์ อดีตผู้ช่วยหัวหน้านายทหารฝ่ายเสนาธิการ ประจำรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (นายชวน หลีกภัย) เคยเป็นอดีตเลขาธิการพรรคความหวังใหม่ และประธานที่ปรึกษาพรรคประชาสันติ และพรรคต้นตระกูลไทย รวมถึงอดีตกรรมการบริหารพรรคการเมืองใหม.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและกิตติศักดิ์ รัฐประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

ภักดี โพธิศิริ

ัชกร ศาสตราจารย์(พิเศษ) ดร.ภักดี โพธิศิริ (เกิด 18 มิถุนายน พ.ศ. 2490) เป็น กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารในคณะกรรมการบริหารศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์อดีตกรรมการ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและอดีตเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณ.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและภักดี โพธิศิริ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รายชื่อบุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับธรรมศาสตร์ในที่นี้ได้รวบรวมและแยกแยะออกมาตามคณะหรือสถาบันที่คนผู้นั้นเกี่ยวข้อง ซึ่งมีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้ง ถอดถอน หรือควบคุมตัวโดย คปค.

รายชื่อบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งถอดถอนหรือควบคุมตัวโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและรายนามบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้ง ถอดถอน หรือควบคุมตัวโดย คปค. · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้สมัครเป็นสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2549 กรุงเทพมหานคร

้านล่างนี้เป็น รายชื่อผู้สมัครเป็นสมาชิกว..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและรายนามผู้สมัครเป็นสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2549 กรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

วัชรพล ประสารราชกิจ

ลตำรวจเอก วัชรพล ประสารราชกิจ ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติกรรมการในคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 159/2557 อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง (พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และอดีตรักษาราชการแทนผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ นับเป็นผู้ใช้อำนาจผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติคนแรกที่จบการศึกษาระดับปริญญาเอก.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและวัชรพล ประสารราชกิจ · ดูเพิ่มเติม »

วิชัย สังข์ประไพ

ลตำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ พลตำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (บชน.) เป็นอดีตผู้บังคับการกองบังคับการตำรวจนครบาล 1 เจ้าของฉายา "มือปราบหูดำ" พล.ต.ต.วิชัย มีชื่อเล่นว่า "แต้ม" เกิดวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2498 ในครอบครัวชาวนาที่ค่อนข้างยากจน ที่อำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ด้วยการเป็นลูกคนที่ 4 ในบรรดาพี่น้องทั้งหมด 7 คน โดยที่พ่อแม่เมื่อเสร็จสิ้นจากการทำนาแล้วก็รับจ้างก่อสร้างเป็นกรรมกร ในวัยเด็กเคยใฝ่ฝันอยากเป็นทหาร เพราะประทับใจจากการที่เห็นทหารในเครื่องแบบนั่งเรือผ่านหน้าบ้านที่อยุธยา เข้าสู่กรุงเทพมหานครแล้ว ได้เข้าเรียนหนังสือที่โรงเรียนบางยี่ขันสงเคราะห์ ซึ่งเป็นโรงเรียนสงเคราะห์ลูกหลานของพนักงานโรงงานสุราบางยี่ขัน ซึ่ง พล.ต.ต.วิชัย เป็นลูกคนแรกด้วยของครอบครัวที่ได้เข้าเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯบ้านนี้สีฟ้า, รายการทางบลูสกายแชนแนล: จันทร์ที่ 2 กันยายน 2556 จากนั้นได้สอบเข้าโรงเรียนเตรียมทหารแล้วแต่ไม่ได้ จึงเข้าเรียนต่อที่วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือพระนครศรีอยุธยา จนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5, โรงเรียนนักเรียนพลตำรวจนครบาล รุ่นที่ 25, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม, หลักสูตรอบรมโรงเรียนนายร้อยตำรวจสามพรานรุ่นที่ 35, ปริญญาโท สาขาพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) และศึกษาเพิ่มเติมหลักสูตรนักเรียนนายร้อยอบรม รุ่นที่ 25, หลักสูตรโรงเรียนผู้กำกับการ รุ่นที่ 35 และหลักสูตรการบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน สถาบันพระปกเกล้า (ปรม. รุ่นที่ 6) ได้ติดยศ ร้อยตำรวจตรี (ร.ต.ต.) เมื่อปี..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและวิชัย สังข์ประไพ · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557

วิกฤตการณ์การเมืองไท..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

วิเชียรโชติ สุกโชติรัตน์

ลตำรวจโท ดร.วิเชียรโชติ สุกโชติรัตน์ อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตรองปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช.) และเป็นรุ่นพี่ที่ใกล้ชิด เคยเป็นพี่เลี้ยงของทักษิณ ชินวัตร ในครั้งที่ไปศึกษาต่อต่างประเท.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและวิเชียรโชติ สุกโชติรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย

วุฒิสภาไทย หรือเดิมมีชื่อว่า "พฤฒสภา" เป็นวุฒิสภาของประเทศไทย โดยเป็นสภาสูงในรัฐสภาไทยคู่กับสภาผู้แทนราษฎรไทยซึ่งเป็นสภาล่าง วุฒิสภาไทยเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2489 ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 แบ่งรูปแบบสำคัญออกเป็น 2 ยุค คือ ยุคสมาชิกวุฒิสภาจากการแต่งตั้ง และยุคสมาชิกวุฒิสภาจากการเลือกตั้งและการสรรหา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนวุฒิสภา โดยมี นายนัฑ ผาสุข เป็นเลขาธิการว.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและวุฒิสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง

แผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองในศาลฎีกา เป็นแผนกที่จัดตั้งขึ้นใหม่ในศาลฎีกา เกิดขึ้นครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ส่วนที่ 3 มาตรา 272 โดยระบุให้มีแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองขึ้นในศาลฎีกา ให้องค์คณะผู้พิพากษาประกอบด้วย ผู้พิพากษาในศาลฎีกาซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษาศาลฎีกา จำนวน 9 คน ซึ่งได้รับเลือกโดยที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาโดยวิธีลงคะแนนลับ และให้เลือกเป็นรายคดี อำนาจหน้าที่ของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง อย่างไรก็ตามในรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550) ก็ยังคงแผนกนี้ไว้เช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ศุภรัตน์ ควัฒน์กุล

รัตน์ ควัฒน์กุล อดีตปลัดกระทรวงการคลัง.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและศุภรัตน์ ควัฒน์กุล · ดูเพิ่มเติม »

สรยุทธ สุทัศนะจินดา

รยุทธ สุทัศนะจินดา (เกิด 11 พฤษภาคม 2509) เป็นพิธีกรและผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ชาวไทย มีชื่อเสียงในการสัมภาษณ์ที่เป็นเอกลักษณ์ โดยนำข่าวพาดหัวหนังสือพิมพ์มาอ่านในรายการโทรทัศน์ หรือที่เรียกว่าเล่าข่าว (News Talk) มีผลงานที่เป็นที่รู้จักหลายรายการ ได้แก่ รายการเรื่องเล่าเช้านี้ เรื่องเล่าเสาร์-อาทิตย์ คุยคุ้ยข่าว และ ถึงลูกถึงคน.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและสรยุทธ สุทัศนะจินดา · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (Office of the National Anti-Corruption Commission) เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เป็นหน่วยงานที่เป็นอิสระ มีฐานะเทียบเท่ากรมตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเป็นผู้บังคับบัญชาขึ้นตรงต่อประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาต.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิชัย โภไคยอุดม

ตราจารย์ สิทธิชัย โภไคยอุดม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ซึ่งเข้ารับตำแหน่งโดยการแต่งตั้งของคณะรัฐประหาร ตั้งแต่วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2549 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2550.ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดมก่อนหน้าที่จะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีฯ ได้รับตำแหน่งอธิการบดีของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและสิทธิชัย โภไคยอุดม · ดูเพิ่มเติม »

สุชาติ เหมือนแก้ว

ลตำรวจโท สุชาติ เหมือนแก้ว อดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 4 (ผบช.ภ.4) เกิดเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2494 จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยตำรวจรุ่นที่ 26 รุ่นเดียวกั.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี จบปริญญาโทรัฐศาสตรมหาบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี พ.ศ. 2538 และนิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปี พ.ศ. 2543 ผ่านการอบรมหลักสูตรโรงเรียนผู้บัญชาการรุ่นที่ 18 (ร.ร.ผบก) และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรรุ่นที่ 48 (วปอ 48) รับราชการครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2516 ในกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.) จากนั้นได้ผ่านตำแหน่งสำคัญในกองปราบปรามกองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง (บช.ก.) เป็นรองผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง ในปี พ.ศ. 2547 และเป็นรองผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (บช.น.) เมื่อเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2551 พล.ต.ท.สุชาติ ได้รับการคาดหมายว่าจะดำรงตำแหน่งเป็นผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลางเป็นคนต่อไป แต่เมื่อเกิดเหตุการณ์การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 ขึ้น ได้มีคำสั่งโยกย้าย พล.ต.ท.อัศวิน ขวัญเมือง ผ..น. ไปเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ผบ.ตร.) และแต่งตั้งให้ พล.ต.ท.สุชาติ ขึ้นดำรงตำแหน่งแทนในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ต่อมาในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ จึงถูกย้ายไปเป็น ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 4 (ผบช.ภ.4) จากนั้นในปลายเดือนตุลาคม พ.ศ. 2552 สำนักงานตำรวจแห่งชาติมีมติปลด พล.ต.ท.สุชาติออกมาจากราชการ เนื่องจากมีความผิดร้ายแรงจากเหตุการณ์การสลายการชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551 จากการชี้มูลของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ซึ่งในขณะนั้น พล.ต.ท.สุชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบอยู่ด้วยการเป็น ผ.ชน.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและสุชาติ เหมือนแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี

นายแพทย์สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 —) เป็นที่รู้จักในชื่อเล่นว่า "หมอเลี๊ยบ" อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เลขาธิการพรรคพลังประชาชน และหนึ่งในกลุ่มคนเดือนตุล.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและสุรพงษ์ สืบวงศ์ลี · ดูเพิ่มเติม »

สุรยุทธ์ จุลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ก่อนเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พล.อ.สุรยุทธ์เคยดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และองคมนตรี ในปลายเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 นายอารีย์ วงศ์อารยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้ลาออกจากตำแหน่ง พล.อ.สุรยุทธ์ ได้เข้าดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แทนนายอารีย์อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย 8 เมษายน พ.ศ. 2551 พล.อ.สุรยุทธ์ ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ จาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้กลับดำรงตำแหน่ง องคมนตรี เป็นครั้งที่สอง พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ มีฉายาว่า "บิ๊กแอ้ด" วันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและสุรยุทธ์ จุลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ

ริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ (10 ธันวาคม พ.ศ. 2497-) อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในสมัยรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตรและเลขาธิการพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ · ดูเพิ่มเติม »

สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์

ร.คุณหญิง สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ (1 พฤษภาคม 2504 -) เป็นนักการเมือง เคยร่วมประท้วงในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ อดีตรัฐมนตรีเคยดำรงตำแหน่งที่สำคัญในรัฐบาล พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันเป็นประธานมูลนิธิไทยพึ่งไท.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สนั่น ขจรประศาสน์

ลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ (7 กันยายน พ.ศ. 2478 — 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556) อดีตรองนายกรัฐมนตรี แกนนำพรรคชาติไทยพัฒนา และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เป็นผู้ก่อตั้ง และเคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคมหาชน เคยดำรงตำแหน่งสำคัญในรัฐบาลเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีชื่อที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า ".หนั่น".

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและสนั่น ขจรประศาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร

รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร (22 กันยายน 2495 -) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 15 อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต

หน่วยงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต เป็นองค์กรตำรวจชำนัญพิเศษในทางต่อต้านการทุจริต บางองค์กรจัดตั้งขึ้นโดยรัฐธรรมนูญ บางองค์กรโดยกฎหมายระดับรองกว่า ในการนี้ อาจหมายถึง (แบ่งตามทวีป และเรียงตามลำดับอักษรของชื่อดินแดน); แอฟริก.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและหน่วยงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต · ดูเพิ่มเติม »

อภิรักษ์ โกษะโยธิน

นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน (30 มีนาคม พ.ศ. 2504 —) เป็นรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์, อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี และอดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2 สมั.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและอภิรักษ์ โกษะโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานราชภักดิ์

อุทยานราชภักดิ์ อุทยานราชภักดิ์ เป็นอุทยานประวัติศาสตร์ ตั้งอยู่ที่ตำบลหนองแก อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ที่ตั้งพระบรมราชานุสาวรีย์ของพระมหากษัตริย์ไทยในอดีต 7 พระองค์ โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชทานชื่อว่า “อุทยานราชภักดิ์" ซึ่งเป็นอุทยานที่สร้างขึ้นด้วยความจงรักภักดีและเพื่อเป็นการเทิดทูนและประกาศเกียรติคุณพระมหากษัตริย์แห่งสยาม โดยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ขณะดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ทรงเปิดอุทยาน เมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและอุทยานราชภักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อุดม เฟื่องฟุ้ง

นายอุดม เฟื่องฟุ้ง อดีตรองประธานศาลฎีกา อดีตผู้พิพากษาอาวุโส และอดีตกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ คตส. ตามประกาศ คป.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและอุดม เฟื่องฟุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

องค์กรตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

องค์กรตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กำหนดขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไท..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและองค์กรตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย · ดูเพิ่มเติม »

องค์การเพื่อการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน

องค์กรเพื่อการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน (ย่อ: ปรส.) (Financial Sector Restructuring Authority) เป็นนิติบุคคลจัดตั้งขึ้นโดย พระราชกำหนดการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน พุทธศักราช 2540 เพื่อกำกับดูแลสถาบันการเงินที่ถูกระงับการดำเนินกิจการทั้ง 58 แห่ง เพื่อให้ความคุ้มครองแก่ผู้ฝากเงินและเจ้าหนี้สุจริตรวมทั้งการชำระบัญชีของสถาบันการเงิน.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและองค์การเพื่อการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน · ดูเพิ่มเติม »

จักรภพ เพ็ญแข

ักรภพ เพ็ญแข อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลสมัคร สุนทรเวช โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร อดีตผู้บริหารสถานีโทรทัศน์พีทีวี อดีตผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ อดีตนักวิเคราะห์ข่าวต่างประเทศที่มีชื่อเสียง และเป็นผู้เปลี่ยนแปลงการบริหารงานสถานีโทรทัศน์แห่งชาติของสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จากเดิมคือ Television of Thailand (Channel 11) ไปสู่ National Broadcasting Services of Thailand.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและจักรภพ เพ็ญแข · ดูเพิ่มเติม »

ธานี สมบูรณ์ทรัพย์

ลตำรวจเอก ธานี สมบูรณ์ทรัพย์ อดีตรักษาการผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เกิดเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2491 ที่อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี เป็นบุตรของนางทองม้วน สมบูรณ์ทรัพย์ ที่มีกิจการของครอบครัวเป็นโรงงานน้ำตาลและมันสำปะหลัง ในวัยเด็กครอบครัวถูกตำรวจที่ไม่ดีคุกคาม จึงเป็นแรงบันดาลใจให้อยากเป็นตำรวจ สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนอัสสัมชัญ ศรีราชา ปริญญาตรีจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี พ.ศ. 2511 การศึกษาเพิ่มเติมปริญญาโท สาขารัฐประศาสนศาสตร์ จากประเทศสหรัฐอเมริกา, หลักสูตรฝ่ายอำนวยการ รุ่นที่ 4 โรงเรียนเสนาธิการทหารบก, หลักสูตรการบริหารตำรวจชั้นสูง รุ่นที่ 12, สถาบันพัฒนาข้าราชการตำรวจ ชีวิตส่วนตัว พล.ต.อ.ธานี มีชื่อเล่นที่เพื่อน ๆ เรียกกันว่า "ล้าน" ทำให้มีชื่อเล่นหนึ่งจากสื่อมวลชนว่า "บิ๊กล้าน" สมรสกับนางชัชชมา สมบูรณ์ทรัพย์ (นามสกุลเดิม: ผดุงไทย) มีบุตรสาวหนึ่งคนชื่อ นางสาวสดีธรณ์ สมบูรณ์ทรัพย์ (ชื่อเล่น: นกฮูก) พล.ต.อ.ธานี รับราชการครั้งแรกในยศร้อยตำรวจตรี (ร.ต.ต.) เมื่อปี พ.ศ. 2516 ในตำแหน่งรองสารวัตร แผนก 3 กองกำกับการ 6 กองบังคับการปราบปราม (รอง สว.ผ.3กก 6 ป.) และเจริญเติบโตในหน้าที่การงานเรื่อยมาจนได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (ผู้ช่วย ผบช.น.) และเป็นรองผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (รอง ผบช.น.) ก่อนที่จะได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (ผบช.น.) เมื่อปี พ.ศ. 2546 และที่สุดได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (ผบช.น.) เมื่อปี พ.ศ. 2547 จากนั้น พล.ต.อ.ธานีได้ย้ายไปเป็นผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง (ผบช.ก.) และขึ้นเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ผู้ช่วย ผบ.ตร.) ก่อนที่จะได้เลื่อนเป็นรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (รอง ผบ.ตร.) เมื่อปี พ.ศ. 2550 พล.ต.อ.ธานี มีประวัติการทำงานที่ตรงไปตรงมา โปร่งใส จนได้รับฉายาว่า "นายพลไม้บรรทัด" โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อภายหลังการรัฐประหารเมื่อปี พ.ศ. 2549 ที่มีการเปลี่ยนแปลงขั้วการเมือง พล.ต.อ.ธานีได้พูดประโยคหนึ่งที่มีนัยว่า "บัดนี้ฟ้าเปลี่ยนสีแล้ว" เมื่อรับราชการอยู่ที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีนโยบายมิให้ลูกน้องใต้บังคับบัญชารับเงินส่วยทุกประเภท มีหลายคดีสำคัญ ๆ และอยู่ในความสนใจของสาธารณชนหลายคดีที่ดูแลรับผิดชอบ เช่น การไม่อนุญาตให้เปิดสถานบันเทิงยามราตรีเกินเวลารวมทั้งของนายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์, คดีหายตัวไปของนายสมชาย นีละไพจิตร, คดีหายตัวไปของนักธุรกิจชาวซาอุดิอาระเบีย เป็นต้น พล.ต.อ.ธานี สมบูรณ์ทรัพย์ กลายเป็นที่สนใจของสาธารณชนอีกครั้ง เมื่อได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบคดีลอบสังหารนายสนธิ ลิ้มทองกุล แกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ด้วยคำสั่งโดยตรงจากนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี โดยเปลี่ยนหน้าที่นี้จาก พล.ต.อ.จงรัก จุฑานนท์ รอง ผ.ตร.อีกคน ซึ่ง พล.ต.อ.ธานีมีความตั้งใจจะทำให้คดีนี้เป็นผลงานชิ้นสุดท้ายของตนก่อนจะเกษียณอายุราชการไปในปลายเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2552 ซึ่ง พล.ต.อ.ธานีมีความมั่นใจว่าจะสามารถสรุปคดีนี้ได้ก่อนเกษียณแม้จะมีหลายต่อหลายครั้งที่เป็นข่าวว่ามีอุปสรรคก็ตาม พล.ต.อ.ธานี ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรักษาการผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติเมื่อวันที่ 9 กันยายน..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและธานี สมบูรณ์ทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อนกำหนดเดิม และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549 รวมทั้งระดับการฉ้อราษฎร์บังหลวงลดลง โดยดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549 ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจากผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้กล่าวหารัฐบาลทักษิณหลายประการเช่น ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นเผด็จการรัฐสภา มีผลประโยชน์ทับซ้อน และควบคุมสื่อ ส่วนข้อกล่าวหาของตัวทักษิณเอง ก็มีว่าหลีกเลี่ยงภาษี หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ตลอดจนขายทรัพย์สินของบริษัทไทยให้นักลงทุนต่างชาติThe Star,, 2 April 2006The Nation,, 23 March 2006 องค์การนิรโทษกรรมสากลวิจารณ์ทักษิณว่า มีประวัติเชิงสิทธิมนุษยชนไม่สู้ดี และเขายังถูกกล่าวหาว่าปกปิดทรัพย์สินระหว่างดำรงตำแหน่งการเมือง ฟอรีนพอลิซี ยกตัวอย่างว่า เขาเป็นอดีตผู้นำของโลกที่ประพฤติไม่ดี เกิดการประท้วงของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 และวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ ศาลที่ คม.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและทักษิณ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ความจริงวันนี้

วามจริงวันนี้ (Truth Today หรือ Today Fact) เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทความเห็นทางการเมืองของประเทศไทย ที่ออกอากาศในระหว่างวันที่ 21 กรกฎาคม-10 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 22.15-23.00 น. และวันอาทิตย์ เวลา 22.00-23.00 น. ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (เอ็นบีที) ผลิตรายการโดย บริษัท เพื่อนพ้องน้องพี่ จำกัด มีนายวีระ มุสิกพงศ์ เป็นผู้ดำเนินรายการ ร่วมด้วย นายจตุพร พรหมพันธุ์ และ นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ เป็นผู้ร่วมรายการ ต่อมารายการได้กลับมาออกอากาศอีกครั้ง ทางสถานีประชาธิปไตย (ดี-สเตชัน) โดยเริ่มครั้งแรกเมื่อวันจันทร์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2552 ซึ่งในช่วงนี้ ได้มีพิธีกรเสริมทดแทน กรณีที่พิธีกรชุดเดิมคนใดคนหนึ่ง ไม่สามารถมาดำเนินรายการได้ อีก 3 คน คือ นายก่อแก้ว พิกุลทอง, นายสมหวัง อัสราษี และนางสาวนารีรัตน์ นานเนิ้น แต่เนื่องจาก ดี-สเตชัน ถูกสั่งระงับออกอากาศ รายการจึงจำเป็นต้องยุติไปอีกครั้ง แต่ในวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2552 นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ กล่าวบนเวทีปราศรัยของกลุ่มคนเสื้อแดงในงานแดงทั้งแผ่นดินสัญจรว่ารายการจะกลับมาออกอากาศอีกครั้ง ทางสถานีประชาชน (พีเพิลแชแนล) ฉายอีกครั้งวันที่ 15 กรกฎาคม..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและความจริงวันนี้ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ

ณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (ชื่อย่อ คตส.) เป็นคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ในเรื่องที่ได้กระทำการให้รัฐเสียหายเฉพาะรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรเท่านั้น ตั้งขึ้นตาม ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 30 ลงวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและคณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56

รัฐบาลพลเรือน ที่ตั้งขึ้นภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร เมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 61 (30 สิงหาคม พ.ศ. 2557 — ปัจจุบัน) คณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม พระบรมราชโองการประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2557 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/RKJ/announce/answer.jsp?id.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 · ดูเพิ่มเติม »

คณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2550

นทีรักมีนาคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะนิติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549

ียุบพรรคการเมืองเนื่องจากการเลือกตั้ง 2 เมษายน..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

คดีระบายข้าวจีทูจี

ีระหว่างอัยการสูงสุด กับภูมิ สาระผล และพวก หรือคดีระบายข้าวจีทูจี เป็นคดีแพ่งและอาญาที่อัยการสูงสุดเป็นโจทก์ฟ้องภูมิ สาระผล อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์, บุญทรง เตริยาภิรมย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ จำเลย และพวกรวม 28 คน ต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง จากการทำสัญญาขายข้าวกับบริษัทของประเทศจีนจำนวน 4 สัญญาโดยอ้างว่าเป็นการซื้อขายแบบรัฐต่อรัฐ แต่ความจริงเป็นการขายข้าวบางส่วนแก่พ่อค้าข้าวในประเทศ เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรั..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและคดีระบายข้าวจีทูจี · ดูเพิ่มเติม »

คดีที่ดินรัชดาฯ

ีระหว่างอัยการสูงสุด กับทักษิณ ชินวัตร และพจมาน ชินวัตร หรือคดีที่ดินรัชดาฯ เป็นคดีที่อัยการสูงสุดเป็นโจทก์ฟ้องพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เป็นจำเลยที่ 1 และคุณหญิงพจมาน ชินวัตร เป็นจำเลยที่ 2 ต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ในความผิดฐาน "เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐร่วมกันเป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้ส่วนเสียในสัญญาที่ทำกับหน่วยงานของรัฐ ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมีอำนาจกำกับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบหรือดำเนินคดี และเป็นเจ้าพนักงาน และสนับสนุนเจ้าพนักงาน มีหน้าที่จัดการหรือดูแลกิจการใด เข้าไปมีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อประโยชน์สำหรับตนเองหรือผู้อื่นฯ" ซึ่งเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาต..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและคดีที่ดินรัชดาฯ · ดูเพิ่มเติม »

คดีคลองด่าน

ีทุจริตจัดซื้อที่ดินและโครงการก่อสร้างบ่อบำบัดน้ำเสียคลองด่าน หรือ คดีคลองด่าน เป็นคดีการทุจริตโครงการจัดซื้อที่ดินและโครงการก่อสร้างบ่อบำบัดน้ำเสีย 2 ระบบ เริ่มแนวคิดขึ้นในสมัยรัฐบาลชวน หลีกภัย และได้อนุมัติวงเงินในสมัยรัฐบาลบรรหาร ศิลปอาชา โครงการแห่งนี้ตั้งอยู่บริเวณ ตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ถือเป็นโครงการก่อสร้างบ่อบำบัดน้ำเสียที่ใหญ่ที่สุดในเอเซียในขณะนั้น ด้วยศักยภาพในการบำบัดน้ำเสีย รวม 525,000 ลูกบาศก์เมตร (ลบ.ม.) ต่อวัน โครงการได้เริ่มขึ้นจากการผลักดันโดยสุวัจน์ ลิปตพัลลภ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ ในขณะนั้น แต่ไม่ได้พิจารณา ในปี 2538 โครงการได้ผลักดันขึ้นอีกครั้งโดย ยิ่งพันธ์ มนะสิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ จนในที่สุดมติคณะรัฐมนตรีสมัยรัฐบาลบรรหารได้อนุมัติวงเงินโครงการจำนวน 13,612 ล้านบาท ต่อมาในปี 2540 ก็ได้เพิ่มเป็น 23,000 ล้านบาท รัฐบาลได้ประกาศหาผู้รับเหมา จนได้ผู้มายื่นความจำนงจำนวน 13 ราย และได้คัดไปจนสุดท้ายเหลือเพียง 2 รายคือ กลุ่มบริษัท NVPSKG และ กลุ่มบริษัท Marubeni จนในที่สุดกลุ่มบริษัท NVPSKG ได้รับเลือกให้เป็นผู้รับเหมาแบบเหมารวม (Turnkey) โครงการได้เริ่มพบการทุจริตมากมายจนภาคประชาชนเข้าร้องเรียนถึง ป.ป..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและคดีคลองด่าน · ดูเพิ่มเติม »

ประชา ประสพดี

ประชา ประสพดี (เกิด 31 ตุลาคม พ.ศ. 2503) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ เขต 7 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและประชา ประสพดี · ดูเพิ่มเติม »

ประสาท พงษ์ศิวาภัย

ประสาท พงษ์ศิวาภัย (เกิด 18 กันยายน พ.ศ. 2489) กรรมการ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) คู่สมรส นางวารุณี พงษ์ศิวาภัย นายประสาท จบการศึกษาจาก คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อ..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและประสาท พงษ์ศิวาภัย · ดูเพิ่มเติม »

ประทิน สันติประภพ

ณะที่ พล.ต.อ.ประทิน ชกเข้าที่ใบหน้า นายอดุลย์ วันไชยธนวงศ์ พลตำรวจเอกประทิน สันติประภพ (19 มิถุนายน พ.ศ. 2477 ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นามสกุลเดิม "ก้อนแก้ว") อดีตสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร อดีตอธิบดีกรมตำรวจและเป็นบิดาของ วิรไท สันติประภพ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยคนที่ 20.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและประทิน สันติประภพ · ดูเพิ่มเติม »

ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์

นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ ประธานคณะกรรมการบริษัท ไทย แอ็กโกร เอ็กซเชนจ์ จำกัด (ตลาดไท) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อดีตเลขาธิการพรรครวมชาติพัฒนาและพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร 4 สมั.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ บุญสัมพันธ์

ประเสริฐ บุญสัมพันธ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตประธานกรรมการบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล ประธานกรรมการ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จำกัด (มหาชน) อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) หลัง รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 นาย ประเสริฐ บุญสัมพันธ์ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าทีมภาคเอกชน คณะทำงานคลัสเตอร์ ภาคอุตสาหกรรมแห่งอนาคต.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและประเสริฐ บุญสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ นาสกุล

นายประเสริฐ นาสกุล อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เกิดเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2474 ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและประเสริฐ นาสกุล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2543

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2543 ในประเทศไท.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและประเทศไทยใน พ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

ปราโมทย์ สุขุม

ปราโมทย์ สุขุม (เกิด 9 ตุลาคม พ.ศ. 2483 - 23 มีนาคม พ.ศ. 2550) อดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกผู้แทนราษฎรเขตคลองสาน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นนักการเมืองที่ได้รับฉายาว่า “สุภาพบุรุษนักการเมือง” จากสื่อมวลชน.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและปราโมทย์ สุขุม · ดูเพิ่มเติม »

ปรีชา จันทร์โอชา

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอกปรีชา จันทร์โอชา ปลัดกระทรวงกลาโหม, สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ, นายทหารพิเศษ ประจำกรมนักเรียนนายเรือรักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรือ และประจำกรมนักเรียนนายเรืออากาศรักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช,อดีตกรรมการบริษัท ขนส่ง จำกัด อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก, อดีตแม่ทัพภาคที่ 3 กรรมการคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ กรรมการคณะกรรมการที่ปรึกษาของคณะรักษาความสงบแห่งชาติด้านโครงสร้างพื้นฐานการคมนาคม รองประธานคณะกรรมการศูนย์อำนวยการเตรียมความพร้อมประเทศไทยในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน กรรมการคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ กรรมการคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ตุลาการศาลทหารสูงสุดและราชองครักษ์พิเศษ มีประวัติด่างพร้อยกรณีทุจริตหลายกรณี ทั้งเรื่องทรัพย์สินที่เพิ่มขึ้นแต่ไม่มีที่มาแน่ชัด ลูกชายได้รับเหมางานจากกองทัพและจดทะเบียนบริษัทตั้งอยู่ในค่ายทหาร ลูกชายอีกคนได้รับราชการทหารมีเงินเดือนยศร้อยตรีเป็นกรณีพิเศษ และขาดการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและปรีชา จันทร์โอชา · ดูเพิ่มเติม »

ปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา

ัชกรหญิง ท่านผู้หญิง ปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา เกิดเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 เป็นเภสัชกรชาวไทย เป็นบุตรีของพระยาวิทุรธรรมพิเนตุ (โต๊ะ อัมระนันทน์) และคุณหญิงจำรัส วิทุรธรรมพิเนตุ (จำรัส ยอดมณี) จบการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตในหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2499 เป็นผู้เชี่ยวชาญองค์การอนามัยโลกด้านเภสัชตำรับสากลและการเตรียมการทางเภสัชกรรม (WHO Expert Advisory Panel on the International Pharmacopoeia and Pharmaceutical) เคยดำรงตำแหน่งสำคัญทางการแพทย์ได้แก่ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา นอกจากนี้ ยังมีบทบาทดำรงตำแหน่งสำคัญทางการเมือง โดยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549 และคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ด้านชีวิตส่วนตัว เภสัชกรหญิง ท่านผู้หญิงปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา สมรสกับนายแพทย์ หม่อมราชวงศ์อุดมพร เกษมสันต.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ปลอดประสพ สุรัสวดี

ปลอดประสพ สุรัสวดี (เกิด: 3 มีนาคม พ.ศ. 2488) อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลของ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตอธิบดีกรมประมง อดีตอธิบดีกรมป่าไม้ อดีตอธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง อดีตปลัดกระทรวงกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อดีตผู้อำนวยการเชียงใหม่ไนท์ซาฟารี และศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาต.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและปลอดประสพ สุรัสวดี · ดูเพิ่มเติม »

ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ

ปานเทพ กล้าณรงค์ราญ (เกิด 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2488) ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา และอดีตประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาต.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและปานเทพ กล้าณรงค์ราญ · ดูเพิ่มเติม »

นรนิติ เศรษฐบุตร

ตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร (อ่านว่า นอ-ระ-นิด) นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ตั้งแต่ พ.ศ. 2553 จนถึงปัจจุบัน) และศาสตราจารย์พิเศษ สาขาวิชารัฐศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตเลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า กรรมการกฤษฎีกา อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 และ ภายหลังได้รับเลือกจากสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญให้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ และได้รับแต่งตั้งให้เป็นประธานสำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสถานอีกด้วย ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร เกิดเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2484 จบการศึกษาปริญญาตรีจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, วุฒิบัตรด้านโซเวียตศึกษา จากมหาวิทยาลัย Fribourg สวิตเซอร์แลนด์, ปริญญาโทด้านการทูต ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และรัสเซียศึกษา จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา เคยเป็นคณบดี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและนรนิติ เศรษฐบุตร · ดูเพิ่มเติม »

นาม ยิ้มแย้ม

นาม ยิ้มแย้ม นายนาม ยิ้มแย้ม เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2479 ที่อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ จบการศึกษาจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ เนติบัณฑิตไทย เป็นประธานคณะธรรมาภิบาล พรรคพลังธรรมใหม่ อดีตผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา เป็นประธาน "คณะอนุกรรมการสืบสวนสอบสวนข้อเท็จจริงเพิ่มเติมสรุปกรณี นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ กล่าวหามีกระบวนการว่าจ้างพรรคการเมืองให้ลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2549" ซึ่งคณะอนุกรรมการนี้ดำเนินการสืบสวนตามมติของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) เมื่อวันที่ 20 เมษายน..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและนาม ยิ้มแย้ม · ดูเพิ่มเติม »

แก้วสรร อติโพธิ

นายแก้วสรร อติโพธิ สมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร เกิดเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดลำพูน นายแก้วสรรเป็นพี่น้องฝาแฝดกับ นายขวัญสรวง อติโพธิ บิดาคือ นาย ศิริ อติโพธิ อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม, ประธาน ปปป.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและแก้วสรร อติโพธิ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร

ก่าอาคารพระพุทธเจ้าหลวง ปัจจุบันได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน ภาพหน้าบันอาคารพระพุทธเจ้าหลวง โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร (Mathayom Wat Benchamabophit School) ตั้งอยู่ในบริเวณวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ในเนื้อที่ประมาณ 5 ไร่ 42 ตารางวา อยู่ในเขตพระราชฐาน เป็นโรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานครที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชาย (โรงเรียนชายล้วน) ตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชกำเนิดเมื่อ ร..119 (พ.ศ. 2443) พระองค์ทรงกำหนดหลักสูตรแนวการสอนด้วยพระองค์เอง และเปิดสอนตั้งแต่วันที่ 5 พฤษภาคม 2444 มีนักเรียน 40 คน เป็นโรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์โดยตรงไม่ขึ้นตรงต่อกระทรวงธรรมการสมัยนั้น หลังจากนั้นทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้พระบรมวงศานุวงศ์ ชั้นผู้ใหญ่และเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ร่วมกันวางแผนปรับปรุงโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร ที่สำคัญยิ่งก็คือ พระองค์ได้พระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์สร้างอาคารถาวรเป็นตึกทรงยุโรปสถาปัตยกรรมแบบ Neo-Classic และทรงห่วงใยในเรื่องการก่อสร้างเป็นอย่างยิ่ง แม้ในสิ่งเล็กๆ น้อยๆ ก็ต้องได้รับพระราชทาน บรมราชานุญาตทุกอย่าง โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตรปัจจุบันเปิดสอนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร · ดูเพิ่มเติม »

โสภณ พรโชคชัย

ณ พรโชคชัย (เกิด 6 ตุลาคม พ.ศ. 2501) เป็นนักวิชาการด้านอสังหาริมทรัพย์ การประเมินค่าทรัพย์สิน การพัฒนาการเมือง ได้รับการยอมรับจากนานาชาติ เคยลงสมัครรับการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 ในหมายเลข 4.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและโสภณ พรโชคชัย · ดูเพิ่มเติม »

โอภาส อรุณินท์

อภาส อรุณินท์ (เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2477 ที่กรุงเทพมหานคร) อดีตอัยการสูงสุด อดีตประธานคณะกรรมการอัยการ อดีตประธานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) มีชื่อเสียงมากในช่วงที่พิจารณาบัญชีทรัพย์สินของนักการเมือง โดยเฉพาะกรณีที่ ป.ป..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและโอภาส อรุณินท์ · ดูเพิ่มเติม »

เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม

ตราจารย์เกียรติคุณ เกริกเกียรติ พิพัฒน์เสรีธรรม (11 กันยายน พ.ศ. 2480) ราชบัณฑิต และนายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, อดีตคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ, อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, อดีตกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ.เกริกเกียรติ ได้ชื่อว่าเป็นคนตรงไปตรงมา ไม่มีเบื้องหน้าเบื้องหลัง ทั้งยังยึดมั่นในความเป็นนักวิชาการ ไม่รับตำแหน่งทางการเมืองใดๆ เช่นเดียวกับศาสตราจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ผู้เป็นที่เคารพ ในอดีตได้เคยปฏิเสธการดำรงตำแหน่งในคณะรัฐมนตรี อาทิรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย รวมทั้งคำชักชวนร่วมงานการเมืองอื่น.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและเกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม · ดูเพิ่มเติม »

เกษม นิมมลรัตน์

นายเกษม นิมมลรัตน์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดพรรคเพื่อไทย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งซ่อมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเขต 3 เชียงใหม่ พ.ศ. 2555 แทนนางสาวชินณิชา วงศ์สวัสดิ์ และเป็นคนสนิทของตระกูลวงศ์สวั.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและเกษม นิมมลรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

เมธี ครองแก้ว

ตราจารย์ เมธี ครองแก้ว (เกิด 10 สิงหาคม พ.ศ. 2485 กรรมการ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) อดีตคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คู่สมรส นางกัลยา ครองแก้ว เมธี ครองแก้ว จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเวลลิงตัน และมหาวิทยาลัยมิชิแกน สหรัฐอเมริกา รับราชการเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย ได้รับตำแหน่งศาสตราจารย์ประจำ คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และดำรงตำแหน่งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อ พ.ศ. 2540 และยังดำรงตำแหน่ง นายกสมาคมเศรษฐศาสตร์แห่งประเทศไทย, ผู้อำนวยการสถาบันไทยคดีศึกษา และสถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศาสตราจารย์ เมธี ครองแก้ว ลงสมัครคัดเลือก เป็น ป.ป.ช. และคาดหวังว่าจะได้รับการคัดเลือกจากที่ประชุมวุฒิสภา ก่อนจะได้รับแต่งตั้งตามประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 19 ลงวันที่ 22 กันยายน 2549.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและเมธี ครองแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เสนาะ เทียนทอง

นายกองใหญ่ เสนาะ เทียนทอง (1 เมษายน พ.ศ. 2477 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าพรรคประชาราช ผู้นำ..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและเสนาะ เทียนทอง · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ทุจริตการออกรางวัลสลากกินแบ่งรัฐบาล พ.ศ. 2544

หตุการณ์ทุจริตการออกรางวัลสลากกินแบ่งรัฐบาล..

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและเหตุการณ์ทุจริตการออกรางวัลสลากกินแบ่งรัฐบาล พ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

เครือข่ายประชาชนต้านคอร์รัปชัน

รือข่ายประชาชนต้านคอร์รัปชัน (คปต.) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปลายปี พ.ศ. 2543 ตามมติของที่ประชุมข่ายประชาสังคมไทย ซึ่งมีจุดหมายร่วมกันในการผนึกกำลังของประชาชนเพื่อช่วยกันเฝ้าระวังและแก้ปัญหาการทุจริตในวงราชการ ซึ่งเป็นปัญหาวิกฤตของชาติ ต่อมาจึงมีการเปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 ณ ศูนย์ประชุมไบเทค บางนา วัตถุประสงค์หลักของ คปต.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและเครือข่ายประชาชนต้านคอร์รัปชัน · ดูเพิ่มเติม »

7 กันยายน

วันที่ 7 กันยายน เป็นวันที่ 250 ของปี (วันที่ 251 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 115 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและ7 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการคณะกรรมการป้องกันปรามปรามทุจริตแห่งชาติคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ประเทศไทย)ป.ป.ช.ปปช.เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »