เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ข้าวบาร์เลย์

ดัชนี ข้าวบาร์เลย์

้าวบาร์เลย์ เป็นธัญพืชชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในตระกูลหญ้า มีประโยชน์มากทั้งแก่มนุษย์และสัตว์ ทั้งยังสามารถแปรรูปทำเป็นแป้งและเบียร์ได้ด้วย เป็นพืชที่สามารถสะสมอะลูมิเนียมได้ 1,000 mg/kgGrauer & Horst 1990,McCutcheon & Schnoor 2003, Phytoremediation.

สารบัญ

  1. 55 ความสัมพันธ์: บัตทุสที่ 4ชานมไข่มุกชีคเยฟางพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์พฤกษศาสตร์กีวตังภูเขาไฟปินาตูโบมอลต์มักก็อลลีมิโซะยินรัฐมอนแทนารายชื่อพืชที่สะสมโลหะได้ดีรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตข้าวบาร์เลย์ลาเกอร์ล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้าวิสกี้วงธัญพืชสกอนสารก่อกลายพันธุ์สุราหญ้าหน่วยความยาวอาหารสิงคโปร์อาหารทิเบตอาหารตะวันออกกลางจังหวัดชุงช็องเหนือจังหวัดช็อลลาใต้จังหวัดคย็องซังใต้ข้าวข้าวสาลีข้าวต้มข้าวไรย์ด้วงงวงข้าวโพดความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลกต้นสมัยกลางประวัติศาสตร์ศรีลังกาประวัติศาสตร์เอเชียกลางประเทศนิวซีแลนด์ประเทศเกาหลีใต้ประเทศเนปาลปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้านมปั่นน้ำตาลน้ำเต้าหู้แคว้นกุสโกแซมปาโชจูโรคซึมเศร้า (การวินิจฉัยแยกโรค)... ขยายดัชนี (5 มากกว่า) »

บัตทุสที่ 4

ัตทุสที่ 4 แห่งซิเรเน (กรีก: ΒάττοςοΚαλός, ปกครองในช่วงคริิสตศตวรรษที่ 6 และ 5 ก่อนคริสตกาล) เป็นกษัตริย์เชื้อสายกรีกพระองค์ที่เจ็ดแห่งซิเรเนในราชวงศ์บัตเทียด พระองค์เป็นกษัตริย์ซิเรเนพระองค์แรกที่ถูกจักรวรรดิเปอร์เซียยึดอำนาจเอาไว้ แต่ยังคงให้พระองค์ทรงปกครองเมืองซิเรเน.

ดู ข้าวบาร์เลย์และบัตทุสที่ 4

ชานมไข่มุก

ับเบิลมิลก์ที หรือที่เรียกกันว่า เพิร์ลมิลก์ที (ชานมไข่มุก) หรือ ปัวป้ามิลก์ที เครื่องดื่มสัญชาติไต้หวัน พบในเมืองไถจง ไต้หวัน ในยุคปี 1980 คำว่า "บับเบิล" ผันมาจากคำภาษาจีน ปัวป้า bōbà (波霸) ที่แปลว่า "ขนาดใหญ่" เป็นคำทับศัพท์ที่มีความหมายว่า ขนาดใหญ่ เคี้ยวหนึบหนับ ลูกกลม ๆ ที่ทำมาจากแป้งมันสำปะหลังนี้เป็นที่นิยมนำมาใส่ในเครื่องดื่ม (粉圓, fěnyuán) คนส่วนใหญ่นิยมเรียกว่า "ไข่มุก" (珍珠, zhēnzhū) สูตรชานมไข่มุกส่วนมาก มักจะมีส่วนประกอบของชาผสมด้วยผลไม้ หรือนม ถ้าเป็นสูตรแบบปั่นก็มักจะใส่ผลไม้ หรือน้ำเชื่อมลงไปด้วย ทำให้น่าทานเหมือนเกล็ดหิมะ เครื่องดื่มใส่ไข่มุกมีหลายสูตรหลายตำรับ แต่ละตำรับใช้ส่วนประกอบต่างกันไปมากมาย แต่สูตรที่เป็นที่นิยมที่สุดคือ ชานมไข่มุก และชาเขียวนมไข่มุก.

ดู ข้าวบาร์เลย์และชานมไข่มุก

ชีคเย

ีคเย ชีคเย เป็นเครื่องดื่มพื้นบ้านชนิดหนึ่งของเกาหลี ได้จากการนำน้ำหมักแป้งมอลต์ข้าวบาร์ลีย์ไปอุ่นกับข้าวสุกและน้ำตาลทราย กรองเอาเมล็ดข้าวออกแล้วต้มกับน้ำตาลทรายอีกครั้ง จากนั้นนำไปแช่เย็น เมื่อจะเสิร์ฟจึงใส่เมล็ดข้าวสุกและเมล็ดสนลงไปเล็กน้อย ร้านอาหารเกาหลีมักจะเสิร์ฟชีคเยแบบทำเองเป็นของหวานหลังมื้ออาหาร แต่ก็มีการผลิตชีคเยในรูปแบบเครื่องดื่มกระป๋องและขวดพลาสติกออกวางจำหน่ายทั่วไป.

ดู ข้าวบาร์เลย์และชีคเย

ฟาง

ฟางก้อนกลมที่ไถขึ้นจากนา มัดฟางข้าว ฟาง เป็นผลผลิตพลอยได้ชนิดหนึ่งจากเกษตรกรรม คือลำต้นแห้งของธัญพืชหลังจากการเก็บเกี่ยว ฟางเกิดขึ้นจากต้นของธัญพืชอาทิ ข้าวบาร์เลย์ ข้าวโอ๊ต ข้าวเจ้า ข้าวไรย์ ข้าวสาลี เป็นต้น ประโยชน์ของฟางมีมากมายตั้งแต่ใช้เป็นอาหารสัตว์ หัตถกรรม ไปจนถึงพลังงานทดแทน.

ดู ข้าวบาร์เลย์และฟาง

พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์

แผนที่แสดงเขตพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์เป็นสีแดง เขต พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ (Fertile Crescent) ที่รู้จักกันโดยเป็นอู่อารยธรรม เป็นบริเวณรูปจันทร์เสี้ยวที่รวมแผ่นดินที่ชื้นและอุดมสมบูรณ์โดยเทียบกับบริเวณข้างเคียงในเอเชียตะวันตกที่เป็นเขตกึ่งแห้งแล้ง และรวมบริเวณรอบ ๆ ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำและลุ่มแม่น้ำไนล์ เป็นบริเวณอยู่ติดกับเขตเอเชียน้อยหรือที่เรียกว่าอานาโตเลีย คำนี้เริ่มใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์โบราณ แล้วต่อมาจึงกลายมาเป็นคำที่นิยมใช้ในโลกตะวันตกแม้ในสาขาภูมิรัฐศาสตร์ (geopolitics) และในเรื่องความสัมพันธ์ทางการทูต ความหมายทั้งหมดที่มีของคำนี้ ล้วนรวมเขตเมโสโปเตเมีย คือผืนแผ่นดินรอบ ๆ แม่น้ำไทกริสและแม่น้ำยูเฟรทีส และรวมเขตลิแวนต์ คือฝั่งทิศตะวันออกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ประเทศต่าง ๆ ปัจจุบันที่มีดินแดนร่วมอยู่ในเขตนี้รวมทั้งประเทศอิรัก คูเวต ซีเรีย เลบานอน จอร์แดน อิสราเอล และปาเลสไตน์ โดยอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศตุรกีและทางทิศตะวันตกของอิหร่าน เขตนี้บ่อยครั้งเรียกว่าอู่อารยธรรม (cradle of civilization) เพราะเป็นเขตที่เกิดพัฒนาการเป็นอารยธรรมมนุษย์แรก ๆ สุด ซึ่งเจริญรุ่งเรืองโดยอาศัยทรัพยากรน้ำและเกษตรกรรมที่มีอยู่ในเขต ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นในเขตนี้รวมทั้งการพัฒนาภาษาเขียน การทำแก้ว ล้อ และระบบชลประทาน.

ดู ข้าวบาร์เลย์และพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์

พฤกษศาสตร์

ผลจันทน์เทศ (''Myristica fragrans'') พฤกษศาสตร์ หรือ ชีววิทยาของพืช หรือ วิทยาการพืช,พืชศาสตร์ เป็นสาขาวิชาหนึ่งของชีววิทยา ที่ศึกษาเกี่ยวกับพืชและการเจริญเติบโต พฤกษศาสตร์มีขอบเขตการศึกษาที่กว้างขวางครอบคลุมตั้งแต่พืช สาหร่าย และเห็ดรา ศึกษาทั้งในด้านโครงสร้าง การเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ เมแทบอลิซึม โรค และคุณสมบัติทางเคมีและความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการระหว่างกลุ่มต่าง ๆ การศึกษาทางด้านพฤกษศาสตร์เริ่มต้นจากความรู้ที่สืบต่อกันมา จากการจำแนกพืชที่กินได้ พืชสมุนไพรและพืชมีพิษ เป็นศาสตร์ที่เก่าแก่สาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์ จากความสนใจในเรื่องพืชของบรรพบุรษทำให้ปัจจุบันจำแนกสิ่งมีชีวิตในด้านพฤกษศาสตร์มากกว่า 550,000 ชนิดหรือสปีชี.

ดู ข้าวบาร์เลย์และพฤกษศาสตร์

กีวตัง

ราอาเงะกีวตัง กีวตัง เป็นอาหารญี่ปุ่นที่ทำมาจากลิ้นวัวย่าง คำว่ากีวตังเป็นการผสมระหว่างคำว่า กีว ในภาษาญี่ปุ่นที่แปลว่าวัว กับคำว่า ทัง (tongue) ในภาษาอังกฤษที่แปลว่าลิ้น เนื่องจากคำว่ากีวตังมีความหมายทางภาษาว่า "ลิ้นวัว" ดังนั้นในญี่ปุ่นจึงใช้คำนี้เรียกลิ้นวัวด้วยเช่นกัน การปรุงกีวตังเริ่มต้นจากเมืองเซ็นไดเมื่อ พ.ศ.

ดู ข้าวบาร์เลย์และกีวตัง

ภูเขาไฟปินาตูโบ

ูเขาไฟปินาตูโบ (Mount Pinatubo; Bundok Pinatubo) เป็นภูเขาไฟประเภทกรวยสลับชั้นที่มีพลังอยู่ ตั้งอยู่บนเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ บริเวณเทือกเขาซัมบาเลซ เหนือกรุงมะนิลา ถูกค้นพบโดยทหารสเปนครั้งการล่าอาณานิคมเมื่อพ.ศ.

ดู ข้าวบาร์เลย์และภูเขาไฟปินาตูโบ

มอลต์

ร์เลย์มอลต์ โดยจะเห็นหน่อสีขาว มอลต์ (malt) ได้มาจากข้าวบาเลย์ ซึ่งเป็นธัญพืชที่นิยมปลูกในประเทศ ที่มีภูมิภาคเย็น จะมีการปลูกกันมาก ในประเทศทางทวีปยุโรป เช่น เยอรมนี ออสเตรีย อังกฤษ เดนมาร์ก และออสเตรเลีย ส่วนในประเทศไทยมีการนำ สายพันธุ์ ข้าวบาร์เลย์เข้ามาปลูกในแถบ ภาคเหนือ ซึ่งมีภูมิอากาศเย็น ข้าวมอลต์ มีรสชาติ สี และกลิ่นหอมเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นที่นิยมของผู้บริโภคและมีคุณค่าทางโภชนาการสูงซึ่งเกิดจากสารอาหารชนิดต่างๆ ที่สร้างสะสมอยู่ในเมล็ดข้าวระหว่างการงอก ข้าวมอลต์สามารถจำหน่ายในรูปข้าวกล้องมอลต์ พร้อมหุงรับประทานหรือนำไปใช้เป็นวัตถุดิบผลิตผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ อาทิ เบียร์ วิสกี้ โจ๊กข้าวมอลต์ ผงชงดื่มเพื่อสุขภาพ เครื่องดื่มมอลต์ สกัดเข้มข้น น้ำมอลต์สกัด เป็นต้น.

ดู ข้าวบาร์เลย์และมอลต์

มักก็อลลี

มักก็อลลี มักก็อลลี เป็นสาโทพื้นเมืองชนิดหนึ่งของเกาหลี ได้จากการนำเมล็ดข้าวเจ้า ข้าวเหนียว ข้าวสาลี หรือข้าวบาร์เลย์ที่หุงสุกแล้วมาหมักกับส่าเหล้าและ "นูรุก" (ลูกแป้งของเกาหลี) สาโทที่ได้จะมีสีขาวนวลคล้ายน้ำนม มีรสหวาน และมีปริมาณแอลกอฮอล์ประมาณร้อยละ 6–8 โดยปริมาตร ตามธรรมเนียมเดิมจะใช้ข้าวเจ้าในการทำมักก็อลลี แต่ก็มีหลายสูตรที่ใช้ข้าวสาลีหรือข้าวบาร์เลย์แทน และบางยี่ห้อจะแต่งกลิ่นรสข้าวโพด เกาลัด แอปเปิล และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ แต่เดิมมักก็อลลีค่อนข้างเป็นที่นิยมในหมู่ชาวไร่ชาวนา จึงมีชื่อเรียกว่า "นงจู" (농주) ซึ่งแปลว่า เหล้าของชาวนา อย่างไรก็ตาม เมื่อไม่นานมานี้มักก็อลลีได้กลายเป็นที่นิยมมากขึ้นตามเมืองใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหมู่คนรุ่นใหม่ ๆ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์อีกชนิดที่คล้ายกับมักก็อลลี (แต่ใสกว่า) คือทงดงจู (동동주) ชาวเกาหลีมักดื่มเครื่องดื่มสองชนิดนี้กับแพนเค้กเกาหลีอย่างพาจ็อนหรือพินแดต็อกเป็นต้น.

ดู ข้าวบาร์เลย์และมักก็อลลี

มิโซะ

มิโซะ มิโซะ เป็นผลิตภัณฑ์อาหารญี่ปุ่น หมักจากข้าว ข้าวบาร์เลย์ หรือถั่วเหลืองกับเกลือและราโคจิกิง (麹菌) ซึ่งมิโซะส่วนมากจะเป็นมิโซะจากถั่วเหลือง มีลักษณะนิ่ม (paste) รสเค็ม และมีกลิ่นคล้ายเนื้อ มีโปรตีนสูง มีสีเหลืองอ่อนจนถึงสีน้ำตาลเข้ม มักนำมาประกอบอาหาร ทำซุปโดยละลายมิโซะในน้ำ เติมผัก เต้าหู้ เห็ดหรือสาหร่าย หรือทำเป็นเครื่องจิ้มปรุงรส สำหรับอาหารประเภทเนื้อ ปลา หอยและผัก.

ดู ข้าวบาร์เลย์และมิโซะ

ยิน

น หรือ ยิน(gin) เป็นเหล้าที่ทำมาจากข้าวบาร์เล่ย์ผสมกับผลจูนิเปอร์และสมุนไพรต่างๆ โดยประเทศต้นตำรับที่ผลิตขึ้นมาคือประเทศเนเธอร์แลนด์ การผลิตเหล้าจิน เพิ่งจะเริ่มในปลายศตวรรษที่ 16 การทำเหล้าเจนีเวอร์ของชาวดัชในยุคแรก ใช้มอล์ทของข้าวบาร์เลย์ผสมกับวิสกี้ไรย์และหมักกลั่นก็กลั่นด้วยพอทสตีลล์ขนาดจิ๋ว ออกมาเป็นน้ำเหล้าดีกรีขนาดปานกลาง คือ 70 - 85 ดีกรีระบบยุโรปเมื่อปล่อยให้แอลกอฮอล์เย็นตัวลงประมาณ 2-3 วัน ก็จะนำสุราดังกล่าวมาหมักซ้ำกับผลจูนีเปอร์และเครื่องเทศต่าง ๆ พอส่าได้ที่แล้วก็ลำเลียง ไปกลั่นซ้ำอีกหนหนึ่งในประเทศอังกฤษได้มีการผลิตเหล้าพิสดารไปอีกชนิดหนึ่งคือการ ใช้กากน้ำตาล (Molasses) เป็นวัตถุดิบในการ หมักกลั่นเหล้ายิน เมื่อผลิตสำเร็จรูปออกมาจึงเรียกเหล้าจินชนิดนี้ว่า "ไดร์จิน" หรือเหล้าจินที่มีได้เพิ่มน้ำตาลหรือความหวาน ซึ่งได้รับความนิยมจากคอทองแดงในมหานครลอนดอนมากโข ทุกวันนี้ประเทศอังฤษเป็นชาติที่ผลิตเหล้าจินได้มากเป็นอันดับหนึ่ง และเหล้าจินของอังกฤษก็ได้รับความนิยม จากนักเลงสุราสูง.

ดู ข้าวบาร์เลย์และยิน

รัฐมอนแทนา

รัฐมอนแทนา (Montana) เป็นรัฐของสหรัฐอเมริกาตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกและ เป็นรัฐที่มีขนาดใหญ่อันดับ 4 ของประเทศ เมืองหลวงของรัฐคือ เฮเลนา พื้นที่ประมาณ 60% ของรัฐมอนแทนา มีลักษณะเป็นเทือกเขา ชื่อของรัฐมอนแทนา มาจากภาษาสเปน คำว่า montaña มีความหมายว่า ภูเขา เศรษฐกิจของรัฐมาจากทางด้านเกษตรกรรม ได้แก่ ข้าวบาร์เลย์ ข้าวสาลี ข้าวโอ๊ต และขณะเดียวกันก็มาจากการท่องเที่ยว โดยมีอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง ได้แก่ อุทยานแห่งชาติเกลเซียร์ และอุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน ในปี 2550 มอนแทนามีประชากร 957,861 คน.

ดู ข้าวบาร์เลย์และรัฐมอนแทนา

รายชื่อพืชที่สะสมโลหะได้ดี

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อพืชที่สะสมโลหะหนักบางชนิดได้ดี (hyperaccumulators) ในตารางแสดงพืชที่สามารถสะสมโลหะดังนี้ Al, Ag, As, Be, Cr, Cu, Mn, Hg, Mo, Pb, Se, Zn ได้ดี.

ดู ข้าวบาร์เลย์และรายชื่อพืชที่สะสมโลหะได้ดี

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตข้าวบาร์เลย์

รายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตข้าวบาร์เลย์ ข้อมูลจาก องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ เมื่อปี..

ดู ข้าวบาร์เลย์และรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตข้าวบาร์เลย์

ลาเกอร์

เบียร์ลาเกอร์ ลาเกอร์ (Lager) เป็นเบียร์ที่มีแหล่งกำเนิดจากประเทศเยอรมนี โดยมาจากคำเยอรมัน "lagern" หมายถึง การกักเก็บ ลาเกอร์นั้นหมักจากมอลต์ข้าวบาเลย์และฮอปส์ ด้วยยีสต์ประเภทหมักนอนก้น (bottom-fermentation yeast) ที่อุณหภูมิต่ำกว่าที่ใช้หมักเอล คือประมาณ 5 ถึง 15 องศาเซลเซียส หลังจากเสร็จกระบวนการหมักแล้ว ลาเกอร์จะถูกเก็บไว้ในห้องเย็นที่อุณหภูมิประมาณ 0 ถึง 32 องศาเซลเซียส เป็นเวลาหลายสัปดาห์ หรือ หลายเดือน ก่อนจะนำออกบริโภค ซึ่งจะทำให้เบียร์มีสีที่ใส และมีปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์สูง เบียร์ที่เป็นที่นิยมหลายตรานั้นเป็นเบียร์ประเภทลาเกอร์ ลาเกอร์นั้นจะมีทั้งรสที่หวานจนถึงขม และทั้งสีอ่อนจนถึงสีเข้ม แต่ส่วนใหญ่แล้วจะสีค่อนข้างอ่อน และมีปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์สูง และมีรสฮอปส์ที่ค่อนข้างเข้มข้น และระดับแอลกอฮอล์ประมาณ 3-5 เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร หมวดหมู่:เบียร์ หมวดหมู่:เครื่องดื่มแอลกอฮอล์เยอรมนี.

ดู ข้าวบาร์เลย์และลาเกอร์

ล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า

ล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า (보물찾기; Treasure Hunting) เป็นหนังสือการ์ตูนความรู้จากประเทศเกาหลีใต้ ที่แทรกเรื่องราวเกี่ยวกับอารยธรรมและวัฒนธรรมนานาชาติ จัดพิมพ์ฉบับลิขสิทธิ์ภาษาไทยโดย สำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ และ ล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า เป็นการ์ตูนที่สร้างแรงดลบันดาลใจให้กับหนังสือการ์ตูนความรู้ชุด ลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง.

ดู ข้าวบาร์เลย์และล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า

วิสกี้

ตัวอย่างวิสกี้สก็อต วิสกี้ (อังกฤษแบบสก๊อต: whisky/ อังกฤษแบบไอริช: whiskey) หมายถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หลายชนิด ที่กลั่นจากธัญพืชซึ่งหมักเอาไว้ แล้วเก็บรักษาไว้ในถังไม้ (ปกติจะเป็นถังไม้โอ๊ก) เป็นเวลานานหลายปี ยกเว้นวิสกี้ที่ทำจากข้าวโพดในสหรัฐอเมริกาที่ไม่จำเป็นต้องเก็บรักษาดังกล่าว ธัญพืชที่ใช้ทำวิสกี้มีทั้ง ข้าวบาร์เลย์ ข้าวมอลต์ ข้าวไรย์ ข้าวสาลี และข้าวโพด เป็นต้น ต้นกำเนิดของวิสกี้ นักปะรวัติศาสตร์ยังไม่สามารถพิสูจน์ได้เลยว่ามาจากสกอตแลนด์, ไอร์แลนด์ หรือ ตะวันออกกลาง.

ดู ข้าวบาร์เลย์และวิสกี้

วงธัญพืช

วงข้าวโพดล้ม หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า ครอปเซอร์เคิล วงธัญพืช หรือ วงข้าวโพดล้ม หรือ ครอปเซอร์เคิล (crop circle) เป็นคำที่ใช้อธิบายถึงรูปแบบพืชที่ล้มลง ซึ่งเริ่มต้นจาก ข้าวโพด โดยคำนี้รวมถึง ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ ถั่วเหลือง วงข้าวโพดล้มนี้พบได้หลายแห่งทั่วโลก.

ดู ข้าวบาร์เลย์และวงธัญพืช

สกอน

กอนกับน้ำผึ้ง สกอน (scone) เป็นขนมปังอังกฤษประเภทควิกเบรด (quick bread) มีที่มาจากประเทศสกอตแลนด์และอังกฤษภาคตะวันตกเฉียงใต้แต่โบราณ ปรกติแล้วทำจากข้าวสาลี ข้าวบาร์ลีย์ หรือข้าวโอ๊ต ประสมแป้งอบเพื่อให้ฟู และมักบริโภคกับชาครีมหรือชาเดวอนเชอร์ ชาวอังกฤษอ่านออกเสียงชื่อขนมปังชนิดนี้ต่างกัน จากการศึกษาพบว่า ประชากรอังกฤษสองในสาม ประชากรสกอตร้อยละ 99 ตลอดจนชาวออสเตรเลีย แคนาดา และนิวซีแลนด์ออกเสียงว่า "สกอน" ส่วนที่เหลือโดยเฉพาะชาวอเมริกันออกเสียงว่า "สโกน".

ดู ข้าวบาร์เลย์และสกอน

สารก่อกลายพันธุ์

ัญลักษณ์สากลสำหรับสารก่อกลายพันธุ์, สารก่อมะเร็งและสารพิษต่อระบบสืบพันธุ์ สารก่อกลายพันธุ์ (mutagen) คือสารที่สามารถเปลี่ยนสารพันธุกรรม โดยเฉพาะดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตและเพิ่มความถี่ของการกลายพันธุ์จนเกินระดับปกติ การกลายพันธุ์หลายแบบก่อให้เกิดโรคมะเร็ง สารก่อกลายพันธุ์จึงมักถูกจัดอยู่ในกลุ่มสารก่อมะเร็ง อย่างไรก็ตาม สารก่อกลายพันธุ์บางชนิด เช่น โซเดียมอะไซด์ไม่ก่อให้เกิดโรคมะเร็ง การกลายพันธุ์ที่ไม่ได้เกิดจากสารก่อกลายพันธุ์เรียกว่า "การกลายพันธุ์แบบเกิดเอง" (spontaneous mutations) ซึ่งเกิดได้จากความผิดพลาดของกระบวนการไฮโดรไลซิส การถ่ายแบบดีเอ็นเอและการรวมกลุ่มใหม่ของยีน.

ดู ข้าวบาร์เลย์และสารก่อกลายพันธุ์

สุรา

ราที่วางขายในร้าน สุรา (liquor หรือ spirit) หมายถึง น้ำเมาที่ได้จากการกลั่นสารบางประเภท อาทิ เอทิลแอลกอฮอล์ และเมรัย คือ น้ำเมาที่เกิดจากการหมักหรือแช่ให้เกิดสารบางประเภท เมื่อดื่มแล้วสารนั้นจะออกฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลาง หากดื่มไม่มากอาจรู้สึกผ่อนคลายเนื่องจากสารกดจิตใต้สำนึกที่คอยควบคุมตนเองทำให้กล้าแสดงออกมากขึ้น แต่เมื่อดื่มมากขึ้นก็จะกดสมองบริเวณอื่น ๆ ทำให้เสียการทรงตัว พูดไม่ชัด จนแม้กระทั่งหมดสติในที่สุด ทั้งสุราและเมรัยเรียกโดยภาษาปากว่า "เหล้า" ประเทศต่าง ๆ ได้วางกฎเกณฑ์สำหรับการผลิต การขาย และการบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ตัวอย่างเช่น กฎหมายที่กำหนดอายุขั้นต่ำสำหรับผู้ที่สามารถบริโภคได้อย่างถูกกฎหมาย ซึ่งแตกต่างกันในแต่ละประเทศ เช่น อายุไม่ต่ำกว่า 16 ปีสำหรับประเทศเยอรมนี ฝรั่งเศส ออสเตรียและสวิสเซอร์แลนด์, ไม่ต่ำกว่า 18 ปีในประเทศไทย หรือไม่ต่ำกว่า 21 ปีในสหรัฐอเมริกา การบริโภคทั้งสุราและเมรัยเป็นข้อห้ามในข้อสุราเมรยมัชปมาทัฏฐานหรือข้อที่ 5 แห่งเบญจศีลของพุทธศาสนา ซึ่งว่า "สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปทํสมาทิยามิ" แปลได้ว่า "เราจักถือศีลโดยเว้นจากการบริโภคสุรายาเมาอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท".

ดู ข้าวบาร์เลย์และสุรา

หญ้า

หญ้า เป็นพืชล้มลุกหลายชนิด หลายสกุล ในชั้น Liliopsida วงศ์ Poaceae หรือเป็นที่รู้จักกันดีว่าวงศ์ Gramineae เช่น หญ้าคา (Imperata cylindrica Beauv.) หญ้าตีนกา (Eleusine indica Gaertn.) หญ้าแพรก (Cynodon dactylon Pers.) หญ้าที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ชื่อว่า ธูปฤาษี มีพืชชนิดนี้ประมาณ 600 สกุล และมีประมาณ 10,000 ชนิด มีการประเมินกันว่าหญ้าเป็นพืชที่ปกคลุมผิวโลกกว่า 20% ของพืชทั้งหมดบนโลก พืชในวงศ์นี้เป็นพืชที่มีความสำคัญที่สุดต่อเศรษฐกิจมนุษย์ รวมไปถึง ใช้เป็นสนามหญ้า, อาหารหลักที่ปลูกทั่วโลก, และไม้ไผ่ซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลายในการสร้างในเอเชีย แต่บางชนิดจัดเป็นวัชพืช ปัจจุบัน หญ้าเริ่มมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในด้านการนำมาใช้ผลิตพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนอีกด้วย เช่นหญ้ามิสแคนทัส และ หญ้ามิสแคนทัสช้าง พืชในวงศ์หญ้าที่เรารู้จักดี เช่น ข้าว ข้าวโพด ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ ข้าวฟ่าง ข้าวโอ้ต ข้าวไรย์ ลูกเดือย หญ้าไรย์ อ้อย ไผ่ ตะไคร้ เป็นต้น.

ดู ข้าวบาร์เลย์และหญ้า

หน่วยความยาว

หน่วยของจีนดั้งเดิมที่เราเคยได้พบกันสำหรับผู้ที่ชอบอ่านหนังสือกำลังภายในก็เห็นจะมีอยู่ 2 คำ คือ ลี้ กับ เชียะ ลี้นั้นเป็นความยาวของระยะทางประมาณครึ่งกิโลเมตรหรือ 500 เมตร เช่น “กำแพงเมืองจีนที่สร้างขึ้นในสมัยราชวงศ์ฮั่นนั้นยาวกว่าสมัยราชวงศ์ฉินมากนัก กล่าวคือมีความยาวสองหมื่นกว่าลี้ นับเป็นราชวงศ์ที่สร้างกำแพงเมืองจีนได้ยาวที่สุดในประวัติศาสตร์” ส่วน เชียะ (บางทีก็เขียนเป็น เฉียะ หรือ เฉี้ยะ) นั้นยาวเท่ากับ 33.33 ซม.

ดู ข้าวบาร์เลย์และหน่วยความยาว

อาหารสิงคโปร์

้าวมันไก่แบบสิงคโปร์เป็นอาหารสิงคโปรที่ได้รับความนิยมมากและเป็นหนึ่งในอาหารประจำชาติของสิงคโปร์ อาหารสิงคโปร์ เป็นตัวบ่งชี้ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในสิงคโปร์ ซึ่งเดิมเป็นส่วนหนึ่งของมาเลเซีย และได้มีปฏิสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมมานานนับศตวรรษ อาหารได้รับอิทธิพลจากชาวพื้นเมืองมลายู ชาวจีน อินโดนีเซีย เปอรานากัน วัฒนธรรมตะวันตกซึ่งมาจากอังกฤษ และกลุ่มที่ได้รับอิทธิพลโปรตุเกสซึ่งเรียกชาวคริสตัง อิทธิพลจากพื้นที่อื่นๆ เช่น ศรีลังกา ไทย ฟิลิปปินส์ และตะวันออกกลาง พบในอาหารพื้นเมืองเช่นกัน ในสิงคโปร์ อาหารถือเป็นสิ่งสำคัญ ในการกำหนดเอกลักษณ์ของชาติและความเป็นหนึ่งเดียว ซึ่งในสิงคโปร์ การพบปะและรับประทานอาหารระหว่างวัฒนธรรมเป็นเรื่องปกติ อาหารสิงคโปร์ได้รับการส่งเสริมเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว รัฐบาลสิงคโปร์ได้จัดเทศกาลอาหารสิงคโปร์ในเดือนกรกฎาคมเพื่อส่งเสริมอาหารสิงคโปร์ สิงคโปร์เป็นประเทศเล็กที่มีประชากรหนาแน่นมาก ที่ดินเป็นทรัพยากรสำคัญที่จำเป็นสำหรับอุตสาหกรรมและที่อยู่อาศัย ผลิตภัณฑ์และเครื่องปรุงส่วนใหญ่นำเข้ามา แม้ว่าจะมีกลุ่มเกษตรกรขนาดเล็กที่ปลูกผัก ผลไม้ หรือสัตว์ปีกและปลา เนื่องจากสิงคโปร์ตั้งอยู่บนเส้นทางการค้าที่สำคัญ จึงสามารถพบผลิตภัณฑ์และเครื่องปรุงทั่วโลกได้ที่นี.

ดู ข้าวบาร์เลย์และอาหารสิงคโปร์

อาหารทิเบต

ทุกปา (Thukpa) ก๋วยเตี๋ยวแบบทิเบต พระสงฆ์ทิเบตกำลังผสมชาเนย อาหารทิเบตค่อนข้างมีลักษณะแตกต่างจากอาหารของเพื่อนบ้านตั้งแต่มีพืชผลไม่กี่ชนิดที่ปลูกได้ที่ระดับความสูงของทิเบต แม้ว่าบางพื้นที่ในทิเบตมีที่ราบพอที่จะปลูกพืชไร่เช่นข้าว ส้ม กล้วย และเลมอน พืชที่สำคัญที่สุดคือข้าวบาเลย์ แป้งโม่จากข้าวบาร์เลย์คั่วที่เรียก แซมปา (tsampa) เป็นอาหารหลักของทิเบต Balep เป็นขนมปังทิเบตที่รับประทานเป็นอาหารเช้าหรือมื้อกลางวัน ทุกปา (Thukpa)เป็นอาหารที่นิยมบริโภคเป็นอาหารค่ำ ประกอบด้วยก๋วยเตี๋ยวรูปทรงต่างๆ คล้ายพาสตา ผักและเนื้อสัตว์ในน้ำซุป อาหารที่เป็นเนื้อสัตว์ส่วนใหญ่เป็น จามรี แพะหรือแกะ ส่วนใหญ่เป็นอาหารแห้งหรือเป็นสตูว์เนื้อกับมันฝรั่งรสเผ็ดร้อน มัสตาร์ดเป็นพืชที่ปลูกได้ในทิเบตจึงใช้ปรุงในอาหารมากของ โยเกิร์ตจากนมจามรี เนยและเนยแข็งแบบทิเบตเป็นอาหารที่รับประทานบ่อยและโยเกิร์ตอย่างดีจะเป็นหน้าเป็นตาของรายการอาหาร นอกจากนี้อาหารแบบทิเบตยังมีการบริโภคในลาดัก สิกขิมและอรุณาจัลประเทศ ในประเทศอินเดีย ชามและช้อนแบบทิเบต อาหารทิเบตอื่น ๆ รวมถึง.

ดู ข้าวบาร์เลย์และอาหารทิเบต

อาหารตะวันออกกลาง

''Ash-e anār'' ซุปแบบอิหร่าน ''Kabsa'' ของซาอุดีอาระเบีย อาหารตะวันออกกลาง เป็นอาหารที่ได้รับอิทธิพลจากแหล่งอารยธรรมใหญ่สามแหล่งคือเปอร์เซีย, อาหรับ และออตโตมาน เมื่อศาสนาอิสลามแพร่กระจายไปทำให้วัฒนธรรมการปรุงอาหารของตะวันออกกลางแพร่กระจายไปสู่อินเดีย มลายู - ชวา รวมทั้งประเทศไทย ลักษณะเด่นของอาหารตะวันออกกลางได้แก.

ดู ข้าวบาร์เลย์และอาหารตะวันออกกลาง

จังหวัดชุงช็องเหนือ

ังหวัดชุงช็องเหนือ เป็นจังหวัดที่อยู่ทางภาคกลางของประเทศเกาหลีใต้ ได้สถานะเป็นจังหวัดเมื่อปี..

ดู ข้าวบาร์เลย์และจังหวัดชุงช็องเหนือ

จังหวัดช็อลลาใต้

ังหวัดช็อลลาใต้ เป็นจังหวัดในเกาหลีใต้ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีฐานะเป็นจังหวัดตั้งแต่ปี 2439 โดยแยกออกจากจังหวัดช็อลลาเดิมทางด้านใต้ และยังคงเป็นจังหวัดของเกาหลีจนกระทั่งมีการแบ่งเกาหลีในปี 2488 และหลังจากนั้นก็หลายเป็นส่วนหนึ่งของเกาหลีใต้ โดยมีควังจูเป็นเมืองเอกของจังหวัด จนกระทั่งมีการย้ายศาลากลางจังหวัดไปยังตอนใต้ของหมู่บ้านนามัก เมืองชนบทมูอัน ในปี 2548.

ดู ข้าวบาร์เลย์และจังหวัดช็อลลาใต้

จังหวัดคย็องซังใต้

ังหวัดคย็องซังใต้ เป็นจังหวัดที่อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศเกาหลีใต้ โดยมีเมืองเอกตั้งอยู่ที่ชังว็อน โดยประกอบด้วยมหานครหลักและท่าเรือปูซาน โดยมีวัดแฮอินซาที่เป็นมรดกโลกของยูเนสโก โดยเป็นวัดแบบพุทธ ซึ่งเป็นที่อยู่ของ พระไตรปิฎกแห่งชาติเกาหลี ทำให้ดึงดูดนักท่องเที่ยวได้เป็นจำนวนมาก มีโรงงานประกอบรถยนต์และปิโตรเคมีขนาดใหญ่ตั้งเรียงรายอยู่ทางภาคใต้ของจังหวัดขยายจากเมืองอุลซัน ไปสู่ปูซาน ชังว็อน และชินจู.

ดู ข้าวบาร์เลย์และจังหวัดคย็องซังใต้

ข้าว

้าว ข้าว เป็นเมล็ดของพืชในสกุลข้าวที่พบมากในเอเชีย ข้าวเป็นธัญพืชซึ่งประชากรโลกบริโภคเป็นอาหารสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในทวีปเอเชีย จากข้อมูลเมื่อปี 2553 ข้าวเป็นธัญพืชซึ่งมีการปลูกมากที่สุดเป็นอันดับสามทั่วโลก รองจากข้าวสาลีและข้าวโพด ข้าวเป็นธัญพืชสำคัญที่สุดในด้านโภชนาการและการได้รับแคลอรีของมนุษย์ เพราะข้าวโพดส่วนใหญ่ปลูกเพื่อจุดประสงค์อื่น มิใช่ให้มนุษย์บริโภค ทั้งนี้ ข้าวคิดเป็นพลังงานกว่าหนึ่งในห้าที่มนุษย์ทั่วโลกบริโภค หลักฐานพันธุศาสตร์แสดงว่าข้าวมาจากการนำมาปลูกเมื่อราว 8,200–13,500 ปีก่อน ในภูมิภาคหุบแม่น้ำจูเจียงของจีน ก่อนหน้านี้ หลักฐานโบราณคดีเสนอว่า ข้าวมีการนำมาปลูกในเขตหุบแม่น้ำแยงซีในจีน ข้าวแพร่กระจายจากเอเชียตะวันออกไปยังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียใต้ ข้าวถูกนำมายังทวีปยุโรปผ่านเอเชียตะวันตก และทวีปอเมริกาผ่านการยึดอาณานิคมของยุโรป ปกติการปลูกข้าวเป็นแบบปีต่อปี ทว่าในเขตร้อน ข้าวสามารถมีชีวิตอยู่ได้หลายปีและสามารถไว้ตอ (ratoon) ได้นานถึง 30 ปี ต้นข้าวสามารถโตได้ถึง 1–1.8 เมตร ขึ้นอยู่กับพันธุ์และความอุดมสมบูรณ์ของดินเป็นหลัก มีใบเรียว ยาว 50–100 เซนติเมตร และกว้าง 2–2.5 เซนติเมตร ช่อดอกห้อยยาว 30-50 เซนติเมตร เมล็ดกินได้เป็นผลธัญพืชยาว 5–12 มิลลิเมตร และหนา 2–-3 มิลลิเมตร การเตรียมดินสำหรับเพาะปลูกข้าวเหมาะกับประเทศและภูมิภาคที่ค่าแรงต่ำและฝนตกมาก เนื่องจากมันใช้แรงงานมากที่จะเตรียมดินและต้องการน้ำเพียงพอ อย่างไรก็ตาม ข้าวสามารถโตได้เกือบทุกที่ แม้บนเนินชันหรือเขตภูเขาที่ใช้ระบบควบคุมน้ำแบบขั้นบันได แม้ว่าสปีชีส์บุพการีของมันเป็นสิ่งพื้นเมืองของเอเชียและส่วนที่แน่นอนของแอฟริกา ร้อยปีของการค้าขายและการส่งออกทำให้มันสามัญในหลายวัฒนธรรมทั่วโลก วิธีแบบดั้งเดิมสำหรับเตรียมดินสำหรับข้าวคือทำให้น้ำท่วมแปลงชั่วขณะหนึ่งหรือหลังจากการตั้งของต้นกล้าอายุน้อย วิธีเรียบง่ายนี้ต้องการการวางแผนที่แข็งแรงและการให้บริการของเขื่อนและร่องน้ำ แต่ลดพัฒนาการของเมล็ดที่ไม่ค่อยแข็งแรงและวัชพืชที่ไม่มีภาวะเติบโตขณะจมน้ำ และยับยั้งศัตรูพืช ขณะที่การทำให้น้ำท่วมไม่จำเป็นสำหรับการเตรียมดินสำหรับเพาะปลูกข้าว วิธีทั้งหมดในการการชลประทานต้องการความพยายามสูงกว่าในการควบคุมวัชพืชและศัตรูพืชระหว่างช่วงเวลาการเจริญเติบโตและวิธีที่แตกต่างสำหรับใส่ปุ๋ยลงดิน.

ดู ข้าวบาร์เลย์และข้าว

ข้าวสาลี

้าวสาลี (Triticum spp.) Belderok, Bob & Hans Mesdag & Dingena A. Donner.

ดู ข้าวบาร์เลย์และข้าวสาลี

ข้าวต้ม

้าวต้มใส่ผัก ข้าวต้ม เป็นอาหารชนิดหนึ่ง ทำมาจากข้าว โดยวิธีการทำจะคล้าย ๆ กับการหุงข้าวด้วยหม้อปกติ แต่จะแตกต่างกันตรงที่ข้าวต้มจะใส่น้ำมากกว่าการหุงข้าวธรรมดา ระยะเวลาในการทำก็จะใกล้เคียงกับการหุงข้าวธรรมดาหรืออาจจะนานกว่า ข้าวต้มมีหลายประเภทมีทั้งข้าวต้มขาวและข้าวต้มหมู ในบางประเทศอาจใช้ข้าวโอ๊ต ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ หรือนำข้าวไปต้มในนม ถ้าต้มนานเกินไปจะกลายเป็นโจ๊ก ซึ่งบางประเทศก็ถือว่าข้าวต้มและโจ๊กก็คืออาหารชนิดเดียวกัน.

ดู ข้าวบาร์เลย์และข้าวต้ม

ข้าวไรย์

ข้าวไรย์ (rye) เป็นพืชชนิดหนึ่งในตระกูลข้าวสาลี ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกันกับข้าวสาลีและข้าวบาร์เลย์มาก เมล็ดของมันเป็นธัญพืชที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง อีกทั้งมีประโยชน์มากสำหรับมนุษย์และสัตว์ นอกจากนี้ยังสามารถนำไปแปรรูปทำเป็นแป้ง ขนมปัง วิสกี้และเบียร์ได้อีกด้วย หมวดหมู่:ธัญพืช หมวดหมู่:หญ้า หมวดหมู่:อาหารหลัก ar:شيلم.

ดู ข้าวบาร์เลย์และข้าวไรย์

ด้วงงวงข้าวโพด

้วงงวงข้าวโพด (Corn weevil) ชื่อวิทยาศาสตร์: Sitophilus zeamais Motshulsdy (Coleoptera: Curculionidae) ขนาดลำตัว 3.0 – 3.8 มิลลิเมตร.

ดู ข้าวบาร์เลย์และด้วงงวงข้าวโพด

ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลก

10.1126/science.1177265 ความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลก (global catastrophic risk) เป็นเหตุการณ์สมมุติในอนาคต ที่อาจทำความเสียหายต่อมนุษย์อย่างรุนแรงทั่วโลก เหตุการณ์บางอย่างอาจทำลาย หรือทำความเสียหายแก่ อารยธรรมที่มีในปัจจุบัน หรือเหตุการณ์ที่รุนแรงกว่านั้น อาจทำให้มวลมนุษย์สูญพันธุ์ ซึ่งเรียกได้ว่า เป็นความเสี่ยงต่อการอยู่รอดของมนุษย์ (existential risk) ภัยพิบัติตามธรรมชาติ เช่น การระเบิดของซูเปอร์ภูเขาไฟ และการวิ่งชนโลกของดาวเคราะห์น้อย จะเป็นความเสี่ยงในระดับนี้ถ้ารุนแรงเพียงพอ เหตุการณ์ที่มนุษย์เป็นเหตุ ก็อาจจะเป็นความเสี่ยงต่อการอยู่รอดของสัตว์ฉลาดต่าง ๆ ของโลก เช่น ปรากฏการณ์โลกร้อน สงครามนิวเคลียร์ หรือการก่อการร้ายชีวภาพ สถาบันอนาคตของมนุษยชาติ (Future of Humanity Institute) ที่เป็นส่วนของมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด เชื่อว่า การสูญพันธุ์ของมนุษย์ น่าจะมีเหตุมาจากมนุษย์เอง มากกว่าจากเหตุการณ์ทางธรรมชาติ แต่ว่า เป็นเรื่องยากลำบากที่จะศึกษาการสูญพันธุ์ของมนุษย์ เพราะไม่เคยมีเหตุการณ์นี้จริง ๆ แม้นี่จะไม่ได้หมายความว่า จะไม่เกิดขึ้นในอนาคต แต่ว่า การสร้างแบบจำลองของความเสี่ยงต่อความอยู่รอด เป็นเรื่องยาก โดยส่วนหนึ่งเพราะผู้ศึกษามีความเอนเอียงจากการอยู่รอด คือมีความคิดผิดพลาดที่พุ่งความสนใจไปในสิ่งที่อยู่รอด จนทำให้เหตุผลไม่ตรงกับความจริง.

ดู ข้าวบาร์เลย์และความเสี่ยงมหันตภัยทั่วโลก

ต้นสมัยกลาง

ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg.

ดู ข้าวบาร์เลย์และต้นสมัยกลาง

ประวัติศาสตร์ศรีลังกา

ประวัติศาสตร์ศรีลังกา เริ่มต้นเมื่อ 30,000 ปีที่แล้ว พงศาวดารกล่าวไว้ว่ากษัตริย์สิงหลนั้นมีในศตวรรษที่6 และบางคนกล่าวว่ามีเรื่องรามายนะ มหาภารตะ พระพุทธศาสนานั้นเข้ามาในศตวรรษที่3 ในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช จนศตวรรษที่16 ดินแดนชายทะเลบางส่วนตกเป็นของโปรตุเกส อังกฤษ และดัชช์ ในเวลาต่อมาจึงตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ จนกระทั่งปี..

ดู ข้าวบาร์เลย์และประวัติศาสตร์ศรีลังกา

ประวัติศาสตร์เอเชียกลาง

แผนที่เอเชียกลางแสดงเขตแดนตามคำนิยามที่ต่างกัน 3 แบบ ''Equus przewalskii'' หรือม้าป่ามองโกเลีย, หรือทาคี, อาจเป็นบรรพบุรุษของม้าบ้าน.

ดู ข้าวบาร์เลย์และประวัติศาสตร์เอเชียกลาง

ประเทศนิวซีแลนด์

นิวซีแลนด์ (New Zealand; มาวรี: Aotearoa หมายถึง "ดินแดนแห่งเมฆยาวสีขาว" หรือ Niu Tirenio ซึ่งเป็นการทับศัพท์จากภาษาอังกฤษ) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 2 เกาะ รวมถึงเกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนตะวันตกเฉียงใต้ - นิวซีแลนด์มีเมืองหลวงชื่อเวลลิงตัน นิวซีแลนด์เป็นประเทศที่ห่างไกลจากประเทศอื่น ๆ มากที่สุด ประเทศที่อยู่ใกล้ที่สุดคือประเทศออสเตรเลีย ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะใหญ่ 2,000 กิโลเมตร โดยที่มี ทะเลแทสมันกั้นกลาง ดินแดนเดียวที่อยู่ทางใต้คือทวีปแอนตาร์กติกา และทางเหนือคือนิวแคลิโดเนีย ฟิจิ และตองกา นิวซีแลนด์ได้กลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษด้วยสนธิสัญญาไวตางี (Treaty of Waitangi) เมื่อปี พ.ศ.

ดู ข้าวบาร์เลย์และประเทศนิวซีแลนด์

ประเทศเกาหลีใต้

รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.

ดู ข้าวบาร์เลย์และประเทศเกาหลีใต้

ประเทศเนปาล

ประเทศเนปาล หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล (Federal Democratic Republic of Nepal; सङ्घीय लोकतान्त्रिक गणतन्त्र नेपाल "สงฺฆีย โลกตานฺตฺริก คณตนฺตฺร เนปาล") เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียใต้ มีพื้นที่ 147,181 ตารางกิโลเมตร และประชากรประมาณ 27 ล้านคน ประเทศเนปาลเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 93 ของโลก และมีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 41 ของโลก ตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัย มีพรมแดนทิศเหนือติดสาธารณรัฐประชาชนจีน ทิศใต้ ตะวันออกและตะวันตกติดสาธารณรัฐอินเดีย ประเทศเนปาลแยกจากประเทศบังกลาเทศด้วยฉนวนศิลิกูริ (Siliguri Corridor) แคบ ๆ ในประเทศอินเดีย และแยกจากประเทศภูฏานด้วยรัฐสิกขิมของอินเดีย กรุงกาฐมาณฑุเป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดของประเทศ ภาคเหนือของประเทศเนปาลซึ่งเป็นแถบภูเขามีแปดจากสิบภูเขาสูงสุดในโลก ซึ่งรวมยอดเขาเอเวอร์เรสต์ จุดสูงสุดบนโลก ยอดเขากว่า 240 แห่งซึ่งสูงเกิน 6,096 เมตร (20,000 ฟุต) เหนือระดับน้ำทะเลอยู่ในประเทศเนปาล ส่วนภาคใต้มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์และชื้น ชาวเนปาลประมาณ 81.3% นับถือศาสนาฮินดู เป็นสัดส่วนสูงสุดในโลก ศาสนาพุทธมีความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตร์กับประเทศเนปาล และมีประชากรนับถือ 9% ตามด้วยศาสนาอิสลาม 4.4% Kiratism 3.1% ศาสนาคริสต์ 1.4% และวิญญาณนิยม 0.4% ประชากรสัดส่วนใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคภูเขา อาจระบุตัวว่าเป็นทั้งฮินดูและพุทธ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของธรรมชาติกลมเกลียวของทั้งสองความเชื่อในประเทศเนปาลก็เป็นได้ ประเทศเนปาลปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยตลอดประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ ราชวงศ์ศาหะปกครองตั้งแต่ปี 2311 เมื่อพระเจ้าปฤถวีนารายัณ ศาหะทรงรวมราชอาณาจักรเล็ก ๆ จำนวนมาก จนปี 2551 สงครามกลางเมืองนานหนึ่งทศวรรษซึ่งเกี่ยวข้องกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (ลัทธิเหมา) ตามด้วยการประท้วงใหญ่โดยพรรคการเมืองหลักทุกพรรค นำสู่ความตกลง 12 ข้อ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2548 การเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญเนปาลที่ 1 เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2551 ซึ่งตามมาสนับสนุนการเลิกราชาธิปไตยและการสถาปนาสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนหลายพรรคการเมืองอย่างท่วมท้น แม้ความท้าทายทางการเมืองยังดำเนินไป แต่กรอบนี้ยังอยู่ โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญเนปาลที่ 2 ซึ่งได้รับเลือกตั้งในปี 2556 ในความพยายามเพื่อร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ประเทศเนปาลเป็นประเทศกำลังพัฒนาโดยมีเศรษฐกิจรายได้ต่ำ อยู่ในอันดับที่ 145 จาก 187 ประเทศในดัชนีการพัฒนามนุษย์ในปี 2557 ประเทศเนปาลยังเผชิญกับความหิวและความยากจนระดับสูง แม้ความท้าทายเหล่านี้ ประเทศเนปาลยังคงมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง โดยรัฐบาลผูกมัดยกระดับประเทศจากสถานภาพประเทศด้อยพัฒนาภายในปี 2565.

ดู ข้าวบาร์เลย์และประเทศเนปาล

ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้า

ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้า - ชะตากรรมของสังคมมนุษย์ (Guns, Germs, and Steel: The Fates of Human Societies) เป็นหนังสือสารคดีหลายสาขาวิชาของ.ดร.

ดู ข้าวบาร์เลย์และปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้า

นมปั่น

นมปั่น (milkshake) จัดเป็นเครื่องดื่มที่หวาน และเย็น โดยทั่วไปทำจากนม, ไอศกรีม หรือนมเย็น และปรุงรส หรือเพิ่มความหวาน เช่น บัตเตอร์สกอตช์, ซอสคาราเมล, ซอสช็อกโกแลต หรือน้ำเชื่อมผลไม้.

ดู ข้าวบาร์เลย์และนมปั่น

น้ำตาล

องน้ำตาลดิบ (ไม่ขัดและไม่ฟอกขาว) น้ำตาล เป็นชื่อเรียกทั่วไปของคาร์โบไฮเดรตชนิดละลายน้ำ โซ่สั้น และมีรสหวาน ส่วนใหญ่ใช้ประกอบอาหาร น้ำตาลเป็นคาร์โบไฮเดรตที่ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน มีน้ำตาลหลายชนิดเกิดมาจากที่มาหลายแหล่ง น้ำตาลอย่างง่ายเรียกว่าโมโนแซ็กคาไรด์และหมายรวมถึงกลูโคส (หรือ เด็กซ์โตรส) ฟรุกโตส และกาแลกโตส น้ำตาลโต๊ะหรือน้ำตาลเม็ดที่ใช้เป็นอาหารคือซูโครส เป็นไดแซ็กคาไรด์ชนิดหนึ่ง (ในร่างกาย ซูโครสจะรวมตัวกับน้ำแล้วกลายเป็นฟรุกโตสและกลูโคส) ไดแซ็กคาไรด์ชนิดอื่นยังรวมถึงมอลโตส และแลกโตสด้วย โซ่ของน้ำตาลที่ยาวกว่าเรียกว่า โอลิโกแซ็กคาไรด์ สสารอื่น ๆ ที่แตกต่างกันเชิงเคมีอาจมีรสหวาน แต่ไม่ได้จัดว่าเป็นน้ำตาล บางชนิดถูกใช้เป็นสารทดแทนน้ำตาลที่มีแคลอรีต่ำ เรียกว่าเป็น วัตถุให้ความหวานทดแทนน้ำตาล (artificial sweeteners) น้ำตาลพบได้ทั่วไปในเนื้อเยื่อของพืช แต่มีเพียงอ้อย และชูการ์บีตเท่านั้นที่พบน้ำตาลในปริมาณความเข้มข้นเพียงพอที่จะสกัดออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ อ้อยหมายรวมถึงหญ้ายักษ์หลายสายพันธุ์ในสกุล Saccharum ที่ปลูกกันในเขตร้อนอย่างเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่สมัยโบราณ การขยายการผลิตเกิดขึ้นในคริสศตวรรษที่ 18 พร้อมกับการสร้างไร่น้ำตาลในเวสต์อินดีส และอเมริกา เป็นครั้งแรกที่คนทั่วไปได้ใช้น้ำตาลเป็นสิ่งที่ให้ความหวานแทนน้ำผึ้ง ชูการ์บีต โตเป็นพืชมีรากในที่ที่มีอากาศเย็นกว่าและเป็นแหล่งที่มาส่วนใหญ่ของน้ำตาลในศตวรรษที่ 19 หลังจากมีวิธีสกัดน้ำตาลเกิดขึ้นหลายวิธี การผลิตและการค้าน้ำตาลเปลี่ยนแปลงไปตามวิถีชีวิตของมนุษย์ มีอิทธิพลต่อการก่อตั้งอาณานิคม การมีอยู่ของทาส การเปลี่ยนผ่านไปสู่สัญญาแรงงาน การย้ายถิ่นฐาน สงครามระหว่างชาติที่ครอบครองน้ำตาลในศตวรรษที่ 19 การรวมชนชาติและโครงสร้างทางการเมืองของโลกใหม่ โลกผลิตน้ำตาลประมาณ 168 ล้านตันในปี..

ดู ข้าวบาร์เลย์และน้ำตาล

น้ำเต้าหู้

น้ำเต้าหู้ น้ำเต้าหู้ หรือ นมถั่วเหลือง เป็นเครื่องดื่มซึ่งทำจากการบดถั่วเหลืองและนำไปต้มกรองจนเจือจางลง อาจปรุงด้วยน้ำตาลและอื่น ๆ รับประทานได้ทันที นิยมรับประทานเป็นมื้อเช้าคู่กับปาท่องโก๋ หรือทำเป็นน้ำเต้าหู้ทรงเครื่องโดยใส่สาคู ลูกเดือย ข้าวบาร์เลย์ ถั่วแดง วุ้น หรือธัญพืชชนิดอื่น ๆ ตามชอ.

ดู ข้าวบาร์เลย์และน้ำเต้าหู้

แคว้นกุสโก

แคว้นกุสโก (Cusco; Qusqu suyu) เป็นแคว้นในประเทศเปรู อยู่ติดกับแคว้นอูกายาลีทางทิศเหนือ และติดกับแคว้นมาเดรเดดีโอสและแคว้นปูนาทางทิศตะวันออก ติดกับแคว้นอาเรกีปาทางทิศใต้ และติดกับแคว้นอาปูรีมักและแคว้นคูนิน ทางทิศตะวันตก มีเมืองหลวงคือเมือง กุสโก ซึ่งเป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิอิน.

ดู ข้าวบาร์เลย์และแคว้นกุสโก

แซมปา

แซมปา แซมปา (ทิเบต:རྩམ་པ་,rtsam pa) เป็นอาหารที่เป็นเอกลักษณ์ของทิเบต โดยเฉพาะในทิเบตกลาง ทำจากแป้งคั่ว โดยมากเป็นข้าวบาร์เลย์ และบางครั้งเป็นข้าวสาลี หรือข้าว มักจะผสมกับชาเนยแบบทิเบตที่มีรสเค็ม (ทิเบต:བོད་ཇ་|w.

ดู ข้าวบาร์เลย์และแซมปา

โชจู

หล้าโชจูแบบบรรจุขวดและกล่องกระดาษ โชจู (焼酎) เป็นเหล้าชนิดหนึ่งของญี่ปุ่นที่มักกลั่นจากข้าวบาร์เลย์ มันเทศ หรือข้าว ปกติมีปริมาณแอลกอฮอล์ประมาณร้อยละ 25 จึงแรงกว่าสาเก ซึ่งทำให้ได้รับการขนานนามว่า "วอดกาแห่งญี่ปุ่น" โชจูมีต้นกำเนิดมาจากเกาะคีวชู ปัจจุบันมีการผลิตโชจูทั่วประเทศญี่ปุ่น โชจูสามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ ๆ คือแบบโค และแบบอตสึ โชจูแบบโคจะถูกกลั่นหลายครั้งจนทำให้รสชาติที่เจือปนหายไป มีแอลกอฮอล์ไม่เกินร้อยละ 36 ส่วนแบบอตสึจะถูกกลั่นเพียงครั้งเดียวทำให้เหลือกลิ่นเฉพาะของวัตถุดิบที่ใช้ มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกินร้อยละ 45.

ดู ข้าวบาร์เลย์และโชจู

โรคซึมเศร้า (การวินิจฉัยแยกโรค)

url.

ดู ข้าวบาร์เลย์และโรคซึมเศร้า (การวินิจฉัยแยกโรค)

ไรซิน

มล็ดละหุ่ง ไรซิน (Ricin) เป็นสารพิษประเภทโปรตีน สกัดได้จากเมล็ดละหุ่ง ปริมาณเฉลี่ยที่เป็นอันตรายถึงตายต่อร่างกายมนุษย์อยู่ที่ 0.2 มิลลิกรัม จัดว่ามีพิษรุนแรงเป็นสองเท่าของพิษงูเห่า หนังสือ Guinness World Records ปี 2007 (พ.ศ.

ดู ข้าวบาร์เลย์และไรซิน

เบียร์

ียร์ในแก้ว เบียร์ เป็นเมรัยหลาย ๆ รูปแบบที่ผ่านกระบวนการหมัก ผลิตภัณฑ์พวกธัญพืช ประวัติศาสตร์ของเบียร์นั้นมีมายาวนาน เบียร์เป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอลชนิดแรกของโลก เริ่มผลิต 6,000 ปีก่อนคริสตกาล โดยชนชาติ บาบิโลเนียน เบียร์เป็นที่รู้จักในสมัยอียิปต์โบราณและเมโสโปเตเมีย และมีหลักฐานย้อนไปยาวนานถึง 4,000 ปีก่อนคริสตกาล โดยใช้ข้าวบาร์เลย์ เป็นวัตถุดิบ ในราว 1,000 ปีก่อนคริสตกาล ทีการผสมพืชอีกหนึ่งชนิดเข้าไปคือ ฮอปส์ ทำให้มีกลิ่นหอม, รสชาติขม และ สามารถรักษาคุณภาพของเบียร์ให้เก็บได้นานขึ้น แต่เบียร์เหล่านี้แตกต่างจากเบียร์ในปัจจุบัน และเนื่องจากเครื่องปรุงและกรรมวิธีในการผลิตเบียร์แตกต่างกันไปตามสถานที่ ลักษณะของเบียร์ (ชนิดของเบียร์, รสชาติ, และสี) จึงมีความแตกต่างกันได้มาก.

ดู ข้าวบาร์เลย์และเบียร์

เกลือแร่

กลือแร่ (Dietary mineral) มีบทบาทและหน้าที่สำคัญใน ร่างกายหลายอย่างโดยเฉพาะอย่างยิ่งทำหน้าที่เป็นโครงสร้างของร่างกาย เป็นองค์ประกอบของ เซลล์เนื้อเยื่อและเส้นประสาท เป็นองค์ประกอบของเอนไซม์ ฮอร์โมน และวิตามิน นอกจากนี้ เกลือแร่ยังทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในทุกอวัยวะ จากความสำคัญและหน้าที่ ดังกล่าวนั้น จะเห็นว่า เกลือแร่เป็นสารอาหารที่มีความสำคัญยิ่งต่อร่างกาย ซึ่งร่างกายต้องได้ รับเพียงพอ ร่างกายจึงจะเจริญเติบโตได้อย่างเต็มที่และแข็งแรง อาหารทั่วไปที่เป็นแหล่งของเกลือแร่ทั้งชนิดหลักและชนิดปริมาณน้อยแตกต่างกันออกไปแล้วแต่ชนิดของอาหาร ตัวอย่าง เกลือแร่ที่มีความสำคัญต่อร่างกายประกอบด้วย แคลเซียม ฟอสฟอรัส ไอโอดีน เหล็ก แมกนีเซียม สังกะสี ทองแดง และโพแทสเซียม ร่างกายมีเกลือแร่ 4% ของน้ำหนักร่างกายทั้งหมด เกลือแร่ที่ร่างกายต้องการมีดังต่อไปนี้.

ดู ข้าวบาร์เลย์และเกลือแร่

เกษตรกรรม

กษตรกรรม (agriculture) เป็นการเพาะปลูกพืช เห็ดรา เลี้ยงสัตว์ และรูปแบบของชีวิตแบบอื่น ๆ เพื่อเป็นอาหาร เส้นใย เชื้อเพลิงชีวภาพ ยารักษาโรคและผลิตภัณฑ์อื่นเพื่อความยั่งยืนและเพิ่มสมรรถนะชีวิตมนุษย์ เกษตรกรรมเป็นพัฒนาการที่สำคัญในความเจริญของอารยธรรมมนุษย์ที่ไม่ย้ายที่อยู่ซึ่งการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ในสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่องได้ผลิตอาหารส่วนเกิน ซึ่งช่วยหล่อเลี้ยงพัฒนาการของอารยธรรม การศึกษาด้านเกษตรกรรมถูกเรียกว่า เกษตรศาสตร์ ประวัติศาสตร์ของเกษตรกรรมย้อนกลับไปหลายพันปี และการพัฒนาของมันได้ถูกขับเคลื่อนโดยความแตกต่างอย่างมากของภูมิอากาศ วัฒนธรรมและเทคโนโลยี อย่างไรก็ตาม เกษตรกรรมทั้งหมดโดยทั่วไปพึ่งพาเทคนิคต่างๆเพื่อการขยายและบำรุงที่ดินที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่อง สำหรับพืช เทคนิคนี้มักอาศัยการชลประทานบางรูปแบบ แม้จะมีหลายวิธีการของเกษตรกรรมในพื้นที่แห้งแล้งอยู่ก็ตาม ปศุสัตว์จะถูกเลี้ยงในระบบทุ่งหญ้าผสมกับระบบที่ไม่เป็นเจ้าของที่ดิน ในอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมพื้นที่เกือบหนึ่งในสามของพื้นที่ที่ปราศจากน้ำแข็งและปราศจากน้ำของโลก ในโลกพัฒนาแล้วเกษตรอุตสาหกรรมที่ยึดการปลูกพืชเชิงเดี่ยวขนาดใหญ่ได้กลายเป็นระบบเกษตรกรรมสมัยใหม่ที่โดดเด่น แม้ว่าจะมีแรงสนับสนุนที่เพิ่มมากขึ้นสำหรับเกษตรกรรมแบบยั่งยืน รวมถึงเกษตรถาวรและเกษตรกรรมอินทรีย์ จนกระทั่งมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ของประชากรมนุษย์ทำงานในภาคการเกษตร การเกษตรแบบก่อน-อุตสาหกรรมโดยทั่วไปเป็นการเกษตรเพื่อการดำรงชีวิต/การพึ่งตัวเองในที่ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกพืชเพื่อการบริโภคของตัวเองแทน'พืชเงินสด'เพื่อการค้า การปรับเปลี่ยนที่โดดเด่นในการปฏิบัติทางการเกษตรได้เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาในการตอบสนองต่อเทคโนโลยีใหม่ๆและการพัฒนาของตลาดโลก มันยังได้นำไปสู่การปรับปรุงด้านเทคโนโลยีในเทคนิคการเกษตร เช่นวิธีของ 'ฮาเบอร์-Bosch' สำหรับการสังเคราะห์แอมโมเนียมไนเตรตซึ่งทำให้การปฏิบัติแบบดั้งเดิมของสารอาหารที่รีไซเคิลด้วยการปลูกพืชหมุนเวียนและมูลสัตว์มีความสำคัญน้อยลง เศรษฐศาสตร์การเกษตร การปรับปรุงพันธุ์พืช เกษตรเคมีเช่นยาฆ่าแมลงและปุ๋ยและการปรับปรุงเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้เพิ่มอัตราผลตอบแทนอย่างรวดเร็วจากการเพาะปลูก แต่ในเวลาเดียวกันได้ทำให้เกิดความเสียหายของระบบนิเวศอย่างกว้างขวางและผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ในเชิงลบ การคัดเลือกพันธุ์และการปฏิบัติที่ทันสมัยในการเลี้ยงสัตว์ได้เพิ่มขึ้นในทำนองเดียวกันของการส่งออกของเนื้อ แต่ได้เพิ่มความกังวลเกี่ยวกับสวัสดิภาพของสัตว์และผลกระทบต่อสุขภาพของยาปฏิชีวนะ ฮอร์โมนที่สร้างการเจริญเติบโต และสารเคมีอื่นๆที่ใช้ทั่วไปในอุตสาหกรรมการผลิตเนื้อสัตว์ สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมเป็นองค์ประกอบที่เพิ่มขึ้นของการเกษตร แม้ว่าพวกมันจะเป็นสิ่งต้องห้ามในหลายประเทศ การผลิตอาหารการเกษตรและการจัดการน้ำจะได้กลายเป็นเป็นปัญหาระดับโลกเพิ่มขึ้นที่ได้รับการสนับสนุนให้เกิดการอภิปรายเกี่ยวกับจำนวนของ fronts การเสื่อมสลายอย่างมีนัยสำคัญของทรัพยากรดินและน้ำ รวมถึงการหายไปของชั้นหินอุ้มน้ำ ได้รับการตั้งข้อสังเกตในทศวรรษที่ผ่านมา และผลกระทบของภาวะโลกร้อนกับการเกษตรและผลของการเกษตรต่อภาวะโลกร้อนยังคงไม่เป็นที่เข้าใจอย่างเต็มที่ สินค้าเกษตรที่สำคัญสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มกว้างๆได้แก่อาหาร เส้นใย เชื้อเพลิง และวัตถุดิบ อาหารที่เฉพาะได้แก่(เมล็ด)ธัญพืช ผัก ผลไม้ น้ำมันปรุงอาหาร เนื้อสัตว์และเครื่องเทศ เส้นใยรวมถึงผ้าฝ้าย ผ้าขนสัตว์ ป่าน ผ้าไหมและผ้าลินิน วัตถุดิบได้แก่ ไม้และไม้ไผ่ วัสดุที่มีประโยชน์อื่นๆมีการผลิตจากพืช เช่นเรซิน สีธรรมชาติ ยา น้ำหอม เชื้อเพลิงชีวภาพและผลิตภัณฑ์ใช้ประดับเช่นไม้ตัดดอกและพืชเรือนเพาะชำ กว่าหนึ่งในสามของคนงานในโลกมีการจ้างงานในภาคเกษตร เป็นที่สองรองจากภาคบริการเท่านั้น แม้ว่าร้อยละของแรงงานเกษตรในประเทศที่พัฒนาแล้วได้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านม.

ดู ข้าวบาร์เลย์และเกษตรกรรม

เคซีน

ซีน (Casein มาจากภาษาละตินว่า caseus ซึ่งแปลว่า ชีส) เป็นชื่อของกลุ่มฟอสโฟโปรตีน คือ αS1, αS2, β, κ โปรตีนเหล่านี้พบโดยทั่วไปในนมของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ซึ่งเป็นส่วนถึง 80% ของโปรตีนในนมวัว และประมาณ 20%-45% ของโปรตีนในนมมนุษย์ เคซีนใช้ประโยชน์ได้หลายอย่างรวมทั้งเป็นส่วนประกอบหลักของชีส สารเติมแต่งอาหาร และตัวยึดในไม้ขีดไฟ โดยเป็นอาหาร เคซีนประกอบด้วยกรดอะมิโน คาร์โบไฮเดรต และสารอนินทรีย์สองอย่างคือแคลเซียมและฟอสฟอรั.

ดู ข้าวบาร์เลย์และเคซีน

หรือที่รู้จักกันในชื่อ BarleyHordeum vulgareบาร์เล่ย์ข้าวบาเลย์

ไรซินเบียร์เกลือแร่เกษตรกรรมเคซีน