เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

กุศลและอกุศล

ดัชนี กุศลและอกุศล

กุศล หมายถึง บุญ ความดี ความฉลาด ในทสุตตรสูตร พระสารีบุตรกล่าวว่ารากเหง้าของกุศลมี 3 อย่าง คือ ความไม่โลภ ความไม่คิดประทุษร้าย และความไม่หลง อกุศล หมายถึง บาป, ความชั่วร้าย, ไม่เป็นมงคล, ไม่ฉลาด, กรรมชั่ว ตรงกันข้ามกับ กุศล ซึ่งแปลว่า ความดี ในสัมมาทิฏฐิสูตร พระสารีบุตรอธิบายว่า อกุศล คือ.

สารบัญ

  1. 17 ความสัมพันธ์: บาป (ศาสนาพุทธ)บุญพระพุทธอุทานกรรมกัลยาณจิตกุศลและอกุศลมูลนิธิไทยรัฐวันเข้าพรรษาศาสนาพุทธกับจิตวิทยาสมถะสัมมาทิฐิสัมโมทนียกถาหมู่บ้านคุ้งตะเภาจิตวิทยาเชิงบวกตบะโยนิโสมนสิการเทวโลก

บาป (ศาสนาพุทธ)

ในศาสนาพุทธ บาป หมายถึง ความชั่วร้าย ได้แก่ อกุศลกรรมทั้งหลาย ทางแห่งอกุศลกรรม เรียกว่าอกุศลกรรมบรรถ มี 10 ประการ ได้แก่ แบ่งเป็น กายกรรม 3 วจีกรรม 4 และมโนกรรม 3 ดังนี้; กายกรรม.

ดู กุศลและอกุศลและบาป (ศาสนาพุทธ)

บุญ

ในพระพุทธศาสนา บุญ (ปุญฺญ; ปุณฺย) หมายถึง คุณงามความดี ความประพฤติชอบทางกายวาจาและใจ เรียกอีกอย่างว่ากุศล ในพระไตรปิฎกมักใช้คำว่า ปุญฺญ ตรงกันข้ามกับคำว่า บาป หรือ อปุญฺญ แต่ในคัมภีร์ชั้นหลังมักใช้คำว่า บาป มากกว่ากัน ในอรรถกถากล่าวถึงเผื่อแผ่บุญไว้ว่าสามารถเผื่อแผ่เพิ่มให้แก่ผู้อื่นได้โดยไม่มีประมาณ เปรียบได้กับการจุดเทียนส่งต่อไปเรื่อย ๆ คือผู้จุดก็มีความสว่างอยู่ตามเดิม และความสว่างยังเพิ่มไปอีกกว้างขวางได้.

ดู กุศลและอกุศลและบุญ

พระพุทธอุทาน

ระพุทธอุทาน หรือ พุทธอุทาน คือคำอุทานของพระพุทธเจ้า ที่เปล่งออกจากพระโอษฐ์ด้วยความปีติโสมนัสด้วยมหากิริยาจิต (จิตที่ไม่ประกอบด้วยกิเลส ทั้งกุศลและอกุศล) พระพุทธเจ้าทรงเปล่งพระพุทธอุทานหลายครั้งตลอดพระชนมชีพของพระองค์ ซึ่งบางครั้งเป็นบทประพันธ์คาถา บางครั้งเป็นคำตรัสร้อยแก้วแบบธรรมดา ซึ่งคาถาอุทานที่พระองค์ตรัสไว้มีจำนวนมากต่างกรรมต่างวาระกัน ทำให้การปฐมสังคายนาพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้าหลังพุทธปรินิพพาน ต้องมีการแยกหมวดหมู่สำหรับรวบรวมพระพุทธพจน์ที่เป็นพระพุทธอุทานไว้โดยเฉ.

ดู กุศลและอกุศลและพระพุทธอุทาน

กรรม

ในพระพุทธศาสนา กรรม (กรฺม, กมฺม) แปลว่า "การกระทำที่ประกอบด้วยเจตนา" ได้แก่ กระทำทางกาย เรียก กายกรรม ทางวาจา เรียก วจีกรรม และทางใจ เรียก มโนกรรม.

ดู กุศลและอกุศลและกรรม

กัลยาณจิต

กัลยาณจิต (อ่านว่า กัน-ละ-ยา-นะ-จิด) แปลว่า "จิตที่ดี จิตที่งดงาม" กัลยาณจิตจึงหมายถึงจิตที่ดีงาม จิตที่ประกอบด้วยเมตตากรุณา คือความรู้สึกที่หวังดีปรารถนาดี ความรู้สึกที่มุ่งให้ประโยชน์ ต้องการจะให้พ้นจากความทุกข์ อันเป็นความรู้สึกที่สะอาดบริสุทธิ์ ไม่เคลือบแคลงแอบแฝงด้วยผลประโยชน์ กัลยาณจิต นิยมใช้ในกรณีที่ต้องการอธิษฐานหรือตั้งใจจะอำนวยพรอำนวยผลให้แก่ผู้รับ เช่นใช้ว.

ดู กุศลและอกุศลและกัลยาณจิต

กุศลและอกุศล

กุศล หมายถึง บุญ ความดี ความฉลาด ในทสุตตรสูตร พระสารีบุตรกล่าวว่ารากเหง้าของกุศลมี 3 อย่าง คือ ความไม่โลภ ความไม่คิดประทุษร้าย และความไม่หลง อกุศล หมายถึง บาป, ความชั่วร้าย, ไม่เป็นมงคล, ไม่ฉลาด, กรรมชั่ว ตรงกันข้ามกับ กุศล ซึ่งแปลว่า ความดี ในสัมมาทิฏฐิสูตร พระสารีบุตรอธิบายว่า อกุศล คือ.

ดู กุศลและอกุศลและกุศลและอกุศล

มูลนิธิไทยรัฐ

มูลนิธิไทยรัฐ มูลนิธิไทยรัฐ (Thairath Foundation) หรือ มูลนิธิหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ (Thairath Newspaper Foundation) เป็นมูลนิธิเพื่อสาธารณประโยชน์ เป็นที่รู้จักของสังคมในฐานะ หน่วยงานอุปถัมภ์โรงเรียนไทยรัฐวิทยาทั้ง 101 แห่งทั่วประเทศไทย ก่อตั้งโดยกำพล วัชรพล ผู้อำนวยการหนังสือพิมพ์ไทยรัฐคนแรก.

ดู กุศลและอกุศลและมูลนิธิไทยรัฐ

วันเข้าพรรษา

ประกอบความดีในช่วงนี้อีกด้วย วันเข้าพรรษา (บาลี: วสฺส, สันสกฤต: วรฺษ, Vassa, เขมร: វស្សា, พม่า: ဝါဆို) เป็นวันสำคัญในพุทธศาสนาวันหนึ่งที่พระสงฆ์เถรวาทจะอธิษฐานว่าจะพักประจำอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่งตลอดระยะเวลาฤดูฝนที่มีกำหนดระยะเวลา 3 เดือนตามที่พระธรรมวินัยบัญญัติไว้ โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่น หรือภาษาปากว่า จำพรรษา ("พรรษา" แปลว่า ฤดูฝน, "จำ" แปลว่า พักอยู่) การเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระสงฆ์โดยตรง พระสงฆ์จะไม่จำพรรษาไม่ได้ เนื่องจากรูปใดไม่จำพรรษาถือว่าต้องอาบัติทุกกฏตามพระวินัย การเข้าพรรษาตามปกติเริ่มนับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี (หรือเดือน 8 หลัง ถ้ามีเดือน 8 สองหน) และสิ้นสุดลงในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรือวันออกพรรษา วันเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8) หรือเทศกาลเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) ถือว่าเป็นวันและช่วงเทศกาลทางศาสนพุทธที่สำคัญเทศกาลหนึ่งในประเทศไทย โดยมีระยะเวลาประมาณ 3 เดือนในช่วงฤดูฝน โดยวันเข้าพรรษาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่ต่อเนื่องมาจากวันอาสาฬหบูชา (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8) ซึ่งพุทธศาสนิกชนชาวไทยทั้งพระมหากษัตริย์และคนทั่วไปได้สืบทอดประเพณีปฏิบัติการทำบุญในวันเข้าพรรษามาช้านานแล้วตั้งแต่สมัยสุโขทัย สาเหตุที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตการจำพรรษาอยู่ ณ สถานที่ใดสถานที่หนึ่งตลอด 3 เดือนแก่พระสงฆ์นั้น มีเหตุผลเพื่อให้พระสงฆ์ได้หยุดพักการจาริกเพื่อเผยแพร่ศาสนาไปตามสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นไปด้วยความยากลำบากในช่วงฤดูฝน เพื่อป้องกันความเสียหายจากการอาจเดินเหยียบย่ำธัญพืชของชาวบ้านที่ปลูกลงแปลงในฤดูฝน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ช่วงเวลาจำพรรษาตลอด 3 เดือนนั้น เป็นช่วงเวลาและโอกาสสำคัญในรอบปีที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่จำพรรษารวมกันภายในอาวาสหรือสถานที่ใดสถานที่หนึ่ง เพื่อศึกษาพระธรรมวินัยจากพระสงฆ์ที่ทรงความรู้ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะสงฆ์ด้วย ในวันเข้าพรรษาและช่วงฤดูพรรษากาลตลอดทั้ง 3 เดือน พุทธศาสนิกชนชาวไทยถือเป็นโอกาสอันดีที่จะบำเพ็ญกุศลด้วยการเข้าวัดทำบุญใส่บาตร ฟังพระธรรมเทศนา ซึ่งสิ่งที่พิเศษจากวันสำคัญอื่น ๆ คือ มีการถวายหลอดไฟหรือเทียนเข้าพรรษา และผ้าอาบน้ำฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) แก่พระสงฆ์ด้วย เพื่อสำหรับให้พระสงฆ์ได้ใช้สำหรับการอยู่จำพรรษา โดยในอดีต ชายไทยที่เป็นพุทธศาสนิกชนเมื่ออายุครบบวช (20 ปี) จะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพื่ออยู่จำพรรษาตลอดฤดูพรรษากาลทั้ง 3 เดือน โดยพุทธศาสนิกชนไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบทเพื่อจำพรรษาตลอดพรรษากาลว่า "บวชเอาพรรษา" นอกจากนี้ ในปี พ.ศ.

ดู กุศลและอกุศลและวันเข้าพรรษา

ศาสนาพุทธกับจิตวิทยา

นาพุทธกับจิตวิทยา (Buddhism and psychology) เหลื่อมกันทั้งในทางทฤษฎีและการปฏิบัติในศตวรรษที่ผ่านมา โดยมีความเกี่ยวข้องกันหลัก ๆ 4 อย่าง คือ.

ดู กุศลและอกุศลและศาสนาพุทธกับจิตวิทยา

สมถะ

มถะ เป็นภาษาบาลี แปลว่า สงบ ในคัมภีร์มีใช้ใน 3 แบบ ดังนี้.

ดู กุศลและอกุศลและสมถะ

สัมมาทิฐิ

ัมมาทิฐิ (สมฺมาทิฏฺฐิ) หมายถึง แนวคิดที่ถูกต้อง ความเห็นชอบตามทํานองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว ถือเป็นองค์แรกในมรรคมีองค์แปด อันเป็นแนวทางสู่การหลุดพ้นจากทุก.

ดู กุศลและอกุศลและสัมมาทิฐิ

สัมโมทนียกถา

ัมโมทนียกถา (อ่านว่า สัมโมทะนียะ-) แปลว่า ถ้อยคำอันเป็นที่บันเทิงใจ, คำพูดที่ทำให้ประทับใจ เรียกว่า อนุโมทนากถา ก็ได้ สัมโมทนียกถา ใช้เรียกการที่ภิกษุพูดแสดงความขอบคุณหรือกล่าวถึงประโยชน์และอานิสงส์ของความดีหรือบุญกุศลที่ทายกทายิกาได้ทำ เช่นถวายอาหาร สร้างกุฏิ สร้างหอระฆังไว้ในพระพุทธศาสนาว่า กล่าวสัมโมทนียกถา สัมโมทนียกถาเป็นเหตุให้ผู้ทำบุญนั้นเกิดความแช่มชื่นเบิกบาน เกิดความอิ่มใจในผลบุญที่ตนทำและปรารถนาจะทำบุญเพิ่มพูนอีก การกล่าวสัมโมทนียกถาเป็นธรรมเนียมของพระสงฆ์มาแต่โบราณ โดยกล่าวเป็นภาษาไทย ใช้เวลามากน้อยแล้วแต่ผู้กล่าว และปกติจะกล่าวก่อนที่จะอนุโมทนาเป็นภาษาบาลีหรือที่รู้จักกันว่า ยถา-สัพพี.

ดู กุศลและอกุศลและสัมโมทนียกถา

หมู่บ้านคุ้งตะเภา

หมู่บ้านคุ้งตะเภา หรือ บ้านคุ้งตะเภา เดิมชื่อว่า "ทุ่งบ้านคุ้งตะเภา" เป็นหมู่บ้านขนาดใหญ่ในตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ นับเป็นหมู่บ้านในแถบลุ่มแม่น้ำน่านฝั่งขวาตอนบนที่เคยอยู่ในการปกครองของหัวเมืองพิชัยที่เก่าแก่ที่สุดหมู่บ้านหนึ่ง รองจากเมืองฝางสว่างคบุรีที่มีที่ตั้งอยู่ในแถบลุ่มแม่น้ำน่านฝั่งขวาตอนบนเช่นเดียวกัน หมู่บ้านคุ้งตะเภาเป็นชุมชนคนไทยดั้งเดิมที่ตั้งอยู่ปลายเหนือสุดของวัฒนธรรมที่ราบลุ่มภาคกลางตอนบน ตัวหมู่บ้านอยู่ติดริมแม่น้ำน่านฝั่งตะวันออก มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบสองระดับ โดยพื้นที่ติดริมแม่น้ำน่านจะเป็นที่ระดับต่ำมีชั้นลดจากที่ราบปกติ เดิมตัวหมู่บ้านตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มชั้นลดดินตะกอนแม่น้ำพัดดังกล่าว แต่ในปัจจุบันบ้านเรือนส่วนใหญ่ได้ย้ายขึ้นมาตั้งอยู่บนที่ราบภาคกลางริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลขที่ 11 โดยพื้นที่เกษตรกรรมของหมู่บ้านส่วนใหญ่จะอยู่ในพื้นที่ทิศตะวันออกของหมู่บ้านและที่ราบลุ่มตะกอนแม่น้ำพัดริมแม่น้ำน่านด้านตะวันตกของหมู่บ้าน ชาวบ้านคุ้งตะเภาในปัจจุบันส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท มีประเพณีและวัฒนธรรมคล้ายกับหมู่บ้านชนบททั่วไปในแถบภาคกลางตอนบน โดยมีวัดประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง สถานีอนามัย 1 แห่ง และ โรงเรียนระดับพื้นฐาน 1 โรง เส้นทางคมนาคมหลักคือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ด้านเศรษฐกิจ ชาวบ้านประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ปัจจุบันมีนายสมชาย สำเภาทอง เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่บ้านคุ้งต.

ดู กุศลและอกุศลและหมู่บ้านคุ้งตะเภา

จิตวิทยาเชิงบวก

ตวิทยาเชิงบวก (Positive psychology) เป็นสาขาย่อยใหม่ของจิตวิทยาที่ใช้ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์และการแทรกแซงที่มีประสิทธิผล เพื่อช่วยให้บุคคลมีชีวิตที่น่าพอใจ โดยสร้างความเจริญก้าวหน้าสำหรับบุคคล ครอบครัว และชุมชน และค้นหาเสริมสร้างอัจฉริยภาพกับความสามารถเพื่อให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติสุขมากยิ่งขึ้น ศาสตร์นี้เพ่งความสนใจไปที่การพัฒนาตนเองแทนที่การรักษาโรค ซึ่งมักจะเป็นจุดสนใจของจิตวิทยาสาขาอื่น ๆ เป็นวิทยาการที่ค่อนข้างใหม่ งานประชุมครั้งแรกเกี่ยวกับศาสตร์นี้เกิดขึ้นเมื่อปี..

ดู กุศลและอกุศลและจิตวิทยาเชิงบวก

ตบะ

ตบะ แปลว่า ความเพียรอันเป็นเครื่องเผาผลาญกิเลส ตบะ ในที่ทั่วไปหมายถึงการบำเพ็ญเพียรเพื่อให้กิเลสเบาบางหดเหี้ยนหมดไป ด้วยการทำพิธีกรรม หรือด้วยการทรมานกายแบบต่างๆ เช่นบูชาไฟ ยืนขาเดียว ทาตัวด้วยฝุ่น เป็นต้น เรียกว่าบำเพ็ญตบะ เรียกผู้บำเพ็ญตบะว่า ดาบส ซึ่งแปลว่า ผู้บำเพ็ญตบะคือเผาผลาญกิเลส ตบะ ในพระพุทธศาสนาใช้หมายถึงธรรมต่างๆ ที่มุ่งกำจัดเผาผลาญอกุศลวิตก (ความตรึกที่เป็นบาปอกุศล)เป็นหลัก เช่น ปธาน (ความเพียร) ขันติ (ความอดทน) ศีล (การรักษากายวาจา) อุโบสถกรรม (การรักษาอุโบสถศีล) การเล่าเรียนปริยัติ การถือธุดงค์ การบำเพ็ญสมณธรรม และเรียกการประพฤติปฏิบัติธรรมเหล่านี้ว่า บำเพ็ญตบะ เช่นกัน.

ดู กุศลและอกุศลและตบะ

โยนิโสมนสิการ

นิโสมนสิการ (บาลี: yonisomanasikāra, คำอ่าน: โยนิโสมะนะสิกาน) หมายถึง การทำในใจให้ดีละเอียดถี่ถ้วน กล่าวคือ การพิจารณาอย่างรอบคอบถี่ถ้วน ทางพุทธศาสนาถือว่ามีคุณค่าเท่ากับความไม่ประมาทหรือ "อัปมาท" ซึ่งเป็นแหล่งรวมแห่งธรรมฝ่ายดีหรือ "กุศลธรรม" ทั้งปวง ดังปรากฏในพระไตรปิฎก เล่ม ๑๙ สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค ข้อ ๔๖๔ หน้า ๑๒๙ นอกจากนั้น ยังจัดเป็นธรรมะข้อหนึ่งในกลุ่มธรรมที่เป็นไปเพื่อความเจริญด้วยปัญญา และเป็นธรรมะมีอุปการะมากแก่มนุษย์ดังพรรณาในพระไตรปิฎก เล่ม ๑๒ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต ข้อ ๒๖๘-๙ หน้า ๓๓๒ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๔๘: ๕๘๗.

ดู กุศลและอกุศลและโยนิโสมนสิการ

เทวโลก

ทวโลก คือโลกของเทวดา หมายถึงสวรรค์อันเป็นที่อยู่ของเทวดา เทวโลก จัดเป็นปรโลกคือโลกหน้าแห่งหนึ่งอันเป็นที่เกิดหลังการการตายไปของคนที่ทำบุญกุศลไว้ดีแล้ว เช่นที่กล่าวว่า "เขาสั่งสมกุศลไว้ดีแล้ว ครั้นละจากอัตภาพนี้แล้วจักไปบังเกิดในเทวโลก เข้าถึงฐานะอันประเสริฐสุดที่ได้โดยยาก" เทวโลก หมายถึงสวรรค์ชั้นกามาพจร 6 ชั้น คือ.

ดู กุศลและอกุศลและเทวโลก

หรือที่รู้จักกันในชื่อ กุศลอกุศล