สารบัญ
39 ความสัมพันธ์: ชาร์ล-อ็องรี ซ็องซงชาร์ล็อต กอร์แดพ.ศ. 2335พยัคฆ์ร้ายกิโยตินพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสกรงเหล็กตะแลงแกงกามีย์ เดมูแล็งการสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์กุหลาบแวร์ซายส์มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์มารี อ็องตัวแน็ตมาดาม ดูว์ บารีลามงตาญสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัวสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1หลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์อ็องตวน ลาวัวซีเยอ็องตวน หลุยส์ฮันส์ โชลล์ฌอร์ฌ กูตงฌอร์ฌ ด็องตงฌัก ปีแยร์ บรีโซฌัก เอแบร์ฌากอแบ็งฌีรงแด็งฌ็อง ซีลแว็ง บายีธุลีปริศนาคริสต์ทศวรรษ 1790ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศสปลัสเดอลากงกอร์ดโฌแซ็ฟ-อีญัส กียอแต็งโซฟี โชลล์16 ตุลาคม17 มิถุนายน21 มกราคม24 เมษายน25 เมษายน28 กรกฎาคม
ชาร์ล-อ็องรี ซ็องซง
ร์ล-อ็องรี ซ็องซง (Charles-Henri Sanson) เป็นเจ้าพนักงานเพชฌฆาตของฝรั่งเศส เขาเกิดในตระกูลเพชฌฆาต ตัวเขาเป็นเพชฌฆาตรุ่นที่ 4 ของตระกูลซ็องซง เขาทำงานเป็นเพชฌฆาตประจำกรุงปารีสเป็นเวลากว่า 40 ปี เขาประหารชีวิตผู้คนไปกว่า 3,000 คนซึ่งรวมถึงพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 นอกจากนี้ เขายังเป็นผู้สนับสนุนให้รัฐบาลหันมาใช้การประหารชีวิตโดยกิโยตีน เขาเป็นผู้ประเดิมการประหารด้วยกิโยตีนเมื่อวันที่ 25 เมษายน..
ดู กิโยตีนและชาร์ล-อ็องรี ซ็องซง
ชาร์ล็อต กอร์แด
มารี-อาน ชาร์ล็อต เดอ กอร์แด ดาร์มง (Marie-Anne Charlotte de Corday d'Armont) หรือเรียกอย่างสั้นว่า ชาร์ล็อต กอร์แด เป็นบุคคลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส เธอถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนใน..
พ.ศ. 2335
ทธศักราช 2335 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1792 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พยัคฆ์ร้ายกิโยติน
ัคฆ์ร้ายกิโยติน (The Guillotines; จีนตัวเต็ม: 血滴子; จีนตัวย่อ: 血滴子; พินอิน: Xiě Dī Zǐ / Xuè Dī Zǐ) ภาพยนตร์กำลังภายในสัญชาติฮ่องกง ออกฉายในปี..
ดู กิโยตีนและพยัคฆ์ร้ายกิโยติน
พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVI de France, หลุยส์แซซเดอฟร็องส์; 5 กันยายน ค.ศ. 1754 – 21 มกราคม ค.ศ. 1793) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ในช่วงต้นของสมัยใหม่ พระบิดาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 คือ เจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส ผู้เป็นพระโอรสเพียงพระองค์เดียวและทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ซึ่งสิ้นพระชนม์ในปี..
ดู กิโยตีนและพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVIII de France; หลุยส์ดีซุยต์เดอฟร็องส์; หลุยส์ สตานิสลาส กซาวีเย, 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1755 - 16 กันยายน ค.ศ.
ดู กิโยตีนและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส
กรงเหล็กตะแลงแกง
ตะแลงแกงในเคมบริดจ์เชอร์ ประเทศอังกฤษ กัปตันวิลเลียม คิดถูกแขวนคอประจานในตะแลงแกง ตะแลงแกงที่มีหุ่นอยู่ภายใน กรงเหล็กตะแลงแกง (Gibbeting) เป็นการใช้รูปแบบการแขวนคอกับศพของอาชญากรที่ต้องโทษประหารชีวิต และแขวนทิ้งไว้เพื่อประจานต่อสาธารณะ และข่มขวัญอาชญากรคนอื่น ๆ ในศตวรรตที่ 17 มีการพัฒนารูปแบบการใช้ตะแลงแกงโดยให้อาชญากรที่ยังมีชีวิตอยู่เข้าไปอาศัยในกรงเหล็ก และปล่อยทิ้งให้อดอาหารไว้จนต.
กามีย์ เดมูแล็ง
ลูว์ซี แซ็งปลิส กามีย์ เบอนัว เดมูแล็ง (Lucie Simplice Camille Benoît Desmoulins) เป็นบรรณาธิการและนักการเมืองชาวฝรั่งเศส เขามีบทบาทสำคัญในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส เขาเพื่อนกับมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์มาตั้งแต่เด็ก และยังเป็นเพื่อนสนิทและพันธมิตรทางการเมืองของฌอร์ฌ ด็องตง ซึ่งเป็นผู้ทรงอิทธิพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ต่อมาในสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัวเมื่อคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมคิดถอนรากถอนโคนอำนาจของด็องตง เดมูแล็งก็ถูกจับกุมและประหารชีวิตด้วยกิโยตีนพร้อมกับด็องตง กามีย์ เดมูแล็งเกิดในปีการ์ดี เป็นบุตรของพลโท ฌ็อง เบอนัว นีกอลา เดมูแล็ง เมื่ออายุได้ 14 ปีเขาได้รับทุนการศึกษาเพื่อเข้าเรียนที่กอแลฌลูย-เลอ-กร็อง (Collège Louis-le-Grand) ในกรุงปารีส เขาได้รู้จักกับมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ และทั้งสองคนต่างได้เป็นนักเรียนดีเด่นของที่นั่น เดมูแล็งมีความเชี่ยวชาญเรื่องวรรณกรรมคลาสสิกและการเมือง เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นเลขานุการของฌอร์ฌ ด็องตง รัฐมนตรียุติธรรมในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส และต่อมาได้รับคัดเลือกให้เข้าเป็นสมาชิกสภากงว็องซียงแห่งชาติ เขาเป็นผู้ร่วมลงมติสนับสนุนการสถาปนาสาธารณรัฐและสนับสนุนการประหารพระเจ้าหลุยส์ที่ 16.
การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์
การสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์เป็นวิธีการประหารพระราชวงศ์ไทยโดยการใช้ท่อนจันทน์เป็นอุปกรณ์ วิธีการดังกล่าวไม่มีการปฏิบัติอีกต่อมาตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรเมนมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้เลิกเสียอย่างเป็นทางการตั้งแต่มีการประกาศใช้กฎหมายลักษณะอาญา ร..
ดู กิโยตีนและการสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์
กุหลาบแวร์ซายส์
กุหลาบแวร์ซายส์ หรือที่รู้จักกันในชื่อของภาษาอังกฤษคือ "เลดีออสการ์" (Lady Oscar) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น เรื่องและภาพโดยริโยโกะ อิเคดะ กุหลาบแวร์ซายส์เป็นหนึ่งในการ์ตูนญี่ปุ่นที่เป็นที่รู้จักอย่างดีทั่วโลก ถูกตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสารมาร์กาเร็ตของสำนักพิมพ์ชูเออิชา ในปี พ.ศ.
มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์
มักซีมีเลียง ฟร็องซัว มารี อีซีดอร์ เดอ รอแบ็สปีแยร์ (Maximilien François Marie Isidore de Robespierre; 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2301 - 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2337) เป็นอดีตประธานคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมที่ตั้งขึ้นเพื่อสอดส่องดูแลความมั่นคงปลอดภัยในสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 ช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ซึ่งประธานของคณะนี้มีอำนาจจับกุมและสั่งประหารชีวิตผู้คนได้ มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู กิโยตีนและมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์
มารี อ็องตัวแน็ต
มารี อ็องตัวแน็ต (Marie Antoinette) หรือนามประสูติคือ อาร์ชดัชเชสมาเรีย อันโทเนีย โยเซฟา โยอันนา (Maria Antonia Josepha Johanna) เป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์ฮับส์บูร์กของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งได้อภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์ฝรั่งเศสและขึ้นเป็นพระราชินีแห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ (แคว้นบาสก์ในปัจจุบัน) พระนางถูกประหารด้วยกิโยตีนระหว่างการปฏิวัติฝรั่ง.
มาดาม ดูว์ บารี
thumb ฌานน์ เบกู, กงแต็ส ดู บารี (Jeanne Bécu, comtesse du Barry; 19 สิงหาคม ค.ศ. 1743 – 8 ธันวาคม ค.ศ. 1793) เป็นพระสนมเอกคนสุดท้ายของพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส เป็นหนึ่งในเหยื่อผู้ถูกปราบปรามภายหลังการปฏิวัติฝรั่งเศส และถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีน ก่อนเข้าสู่ราชสำนักฝรั่งเศส มาดาม ดู บาร์รีมีชื่อเสียงโด่งดังในฐานะโสเภณีชั้นสูงผู้มีโฉมงดงาม ได้เข้าถวายตัวเป็นพระสนมในพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ในปี..
ลามงตาญ
ลามงตาญ (La Montagne) เป็นกลุ่มก้อนทางการเมืองในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส เป็นฝ่ายที่มีอิทธิพลสูงในสมัชชานิติบัญญัติฝรั่งเศส ลามงตาญถือเป็นส่วนหนึ่งของสโมสรฌากอแบ็ง (Jacobin) ลามงตาญประกอบด้วยสมาชิกหัวรุนแรงของฌากอแบ็งซึ่งสนับสนุนกระแสการปฏิวัติและสนับสนุนการถอนรากถอนโคนระบอบกษัตริย์ จึงทำให้ลามงตาญขัดแย้งกับบรรดาฌีรงแด็ง (Girondin) ที่คัดค้านกระแสการปฏิวัติและเห็นว่าควรใช้กษัตริย์เป็นหุ่นเชิดJeremy D.
สมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว
มัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว (Reign of Terror; 5 กันยายน ค.ศ. 1793 – 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1794) หรือที่เรียกว่า The Terror (la Terreur) เป็นสมัยแห่งความรุนแรงที่เกิดขึ้นหลังการปฏิวัติฝรั่งเศสเริ่มต้น โดยถูกกระตุ้นจากความขัดแย้งระหว่างกลุ่มแยกทางการเมืองที่เป็นคู่แข่งกัน คือ ฌีรงแด็ง (Girondins) และฌากอแบ็ง (Jacobins) ซึ่งมีการประหารชีวิต "ศัตรูแห่งการปฏิวัติ" จำนวนมาก ยอดผู้เสียชีวิตอยู่ในหลักหมื่น โดยมีผู้ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยติน 16,594 คน และอีก 25,000 คน ถูกประหารชีวิตอย่างรวบรัดทั่วฝรั่งเศส กิโยตินกลายมาเป็นสัญลักษณ์แห่งอุดมการณ์การปฏิวัติ ซึ่งมีการประหารชีวิตบุคคลสำคัญจำนวนมาก เช่น มารี อ็องตัวแน็ตและพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ทั้งผู้สนับสนุนการปฏิวัติ ฟิลิปป์ เอกาลีเต (หลุยส์ ฟิลิปป์ที่ 2 ดยุคแห่งออร์เลอองส์) มาดามโรลองด์และกลุ่มฌีรงแด็ง นอกจากนี้ ยังมีอีกหลายคน อาทิ อ็องตวน ลาวัวซีเย นักเคมีบุกเบิก ที่ต้องมาสังเวยชีวิตด้วยเช่นกัน ระหว่าง..
ดู กิโยตีนและสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว
สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1
ณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 (Première République) สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1792 โดยสภากงว็องซียงแห่งชาติ หลังจากการล่มสลายของราชอาณาจักรฝรั่งเศส ซึ่งในยุคนี้มีการเข่นฆ่าชีวิตผู้คนมากมายตามคำสั่งของมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ ประธานสภากงว็องซียงแห่งชาติ จึงทำให้ผู้คนเรียกยุคสมัยนั้นว่า สมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว ก่อนที่รอแบ็สปีแยร์จะถูกประหารด้วยกิโยตีน เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ.
ดู กิโยตีนและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1
หลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์
หลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์ (Louis Antoine de Saint-Just) เป็นผู้นำทางการเมืองและการทหารในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส เขาได้รับเลือกให้เข้าเป็นสมาชิกสภากงว็องซียงแห่งชาติในปี..
ดู กิโยตีนและหลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์
อ็องตวน ลาวัวซีเย
อ็องตวน-โลร็อง เดอ ลาวัวซีเย (Antoine-Laurent de Lavoisier; 26 สิงหาคม พ.ศ. 2286 - 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2337) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสผู้ซึ่งต้องจบชีวิตลงโดยกิโยติน เขามีผลงานสำคัญคือ ได้ตั้งกฎการอนุรักษ์มวล (หรือกฎทรงมวล) และการล้มล้างทฤษฎีโฟลจิสตัน ซึ่งเป็นประโยชน์มากในการศึกษาวิชาเคมี.
ดู กิโยตีนและอ็องตวน ลาวัวซีเย
อ็องตวน หลุยส์
อ็องตวน หลุยส์ (Antoine Louis; 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1723 – 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1792) เกิดที่เมืองแม็ส เป็นศัลยแพทย์และนักสรีรวิทยาชาวฝรั่งเศส หลุยส์ได้รับการอบรมด้านวิชาการแพทย์จากพ่อของเขาซึ่งเป็นศัลยแพทย์ ณ โรงพยาบาลทหารในท้องถิ่น ในขณะเป็นหนุ่มเขาได้ย้ายไปอยู่ที่กรุงปารีสโดยรับหน้าที่เป็น gagnant-maîtrise ณ โรงพยาบาลซาลแปเทรียร์ (Salpêtrière) ใน..
ฮันส์ โชลล์
ันส์ ฟรินซ์ โชลล์(22 กันยายน 1918 – 22 กุมภาพันธ์ 1943) เป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งกลุ่มกุหลาบขาวในการเคลื่อนไหวต่อต้านในนาซีเยอรมนี.พร้อมกับน้องสาวของเขา โซฟี,เขาและน้องสาวถูกจับกุมโดยเกสตาโปและถูกนำตัวไปพิจารณาคดีที่ศาลประชาชนและถูกตัดสินให้ประหารชีวิตด้วยเครื่องประหารกิโยติน หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.
ฌอร์ฌ กูตง
อร์ฌ โอกุสต์ กูตง (22 ธันวาคม ค.ศ. 1755 – 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1794) ฌอร์ฌ โอกุสต์ กูตง (Georges Auguste Couthon) เป็นนักการเมืองและนักกฎหมายชาวฝรั่งเศส เขาเป็นหนึ่งในสมาชิกสภากงว็องซียงแห่งชาติในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส นอกจากนี้เขายังได้รับเลือกเป็นหนึ่งในคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมและกลายเป็นบุคคลใกล้ชิดของมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ และหลุยส์ อ็องตวน เดอ แซ็ง-ฌุสต์ สองผู้ทรงอำนาจแห่งฝรั่งเศส กูตงเป็นผู้ผลักดันกฎหมายเดือนแพรรียาล (Loi de Prairial) ซึ่งให้อำนาจคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวมมีอำนาจเชิงตุลาการเพิ่มเข้ามา อันนำไปสู่การกวาดล้าง จับกุม และประหารชีวิตฝ่ายตรงข้ามอย่างมากมายซึ่งเรียกว่าสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว หลังรอแบ็สปีแยร์ถูกโค่นล้มโดยการลุกฮือของประชาชน เขาและบรรดาสมาชิกคณะกรรมาธิการความปลอดภัยคนอื่น ๆ ก็ต่างถูกพาตัวไปประหารชีวิตด้วยกิโยตีนในวันที่ 28 กรกฎาคม..
ฌอร์ฌ ด็องตง
อร์ฌ ฌัก ด็องตง (Georges Jacques Danton) เป็นนักกฎหมายและนักเคลื่อนไหวคนสำคัญในช่วงต้นของการปฏิวัติฝรั่งเศส นักประวัติศาสตร์ได้อธิบายว่าเขาเป็น "หัวหอกที่โค่นล้มระบอบกษัตริย์ฝรั่งเศสและสถาปนาสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1" ในช่วงสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว เขาในฐานะเลขาสภาพยายามผลักดันให้สภาฝรั่งเศสรักษาสันติภาพกับบรรดาต่างชาติไว้ แต่ท้ายที่สุด สภาก็ประกาศสงครามกับมหาอำนาจยุโรปอย่างอังกฤษ สเปน และโปรตุเกส ด็องตงหันไปร่วมมือกับนักหนังสือพิมพ์คนหนึ่ง ลงบทความหนังสือพิมพ์ชื่อ Le Vieux Cordelier ซึ่งเรียกร้องให้ยุติสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัวและการกีดกันศาสนาคริสต์ รวมถึงวิพากษ์วิจารณ์คณะกรรมาธิการความปลอดภัยฯ การกระทำนี้ทำให้เขาขัดแย้งกับคณะกรรมาธิการความปลอดภัยฯ ซึ่งมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ กุมอำนาจอยู่ ส่งผลให้เริ่มมีคนพยายามขุดคุ้ยหาความผิดของเขา ด็องตงถูกฟ้องร้องในข้อหาทุจริตรับผลประโยชน์ในช่วงที่เขาเรืองอำนาจ เขาถูกเพื่อนร่วมงานของเขาให้การถึงความอู้ฟู่ในช่วงการปฏิวัติฯ รวมไปถึงทรัพย์สินอันไม่สามารถอธิบายที่มาได้ แต่หลักฐานที่นำมาแสดงกลับค่อนข้างคลุมเครือและไม่ปะติดปะต่อ ตัวด็องตงเองแม้จะถูกฟ้องร้องแต่ก็ไม่หนีไปไหนและยังคงทำงานที่สภา ในที่สุดด็องตงก็ถูกเข้าจับกุมอย่างฉับพลันในวันที่ 30 มีนาคม..
ฌัก ปีแยร์ บรีโซ
ัก ปีแยร์ บรีโซ (Jacques Pierre Brissot) เป็นสมาชิกคนสำคัญของพรรคฌีรงแด็ง กลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศฝรั่งเศสระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสและเป็นได้รองประธานสภากงว็องซียงแห่งชาติ อย่างไรก็ตาม ฝ่ายตรงข้ามเขาได้ใช้กำลังอาวุธเข้าบีบบังคับสภาให้ปลดและจับกุมตัวเขาตลอดจนสมาชิกฌีรงแด็งคนอื่น ๆ ท้ายที่สุดเขาถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีน.
ฌัก เอแบร์
ัก-เรอเน เอแบร์ (Jacques-René Hébert) เป็นนักหนังสือพิมพ์ชาวฝรั่งเศส เป็นผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์ ลาแปร์ดูว์แชน (Le Père Duchesne) ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ลัทธิหัวรุนแรงในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส และทำให้เขาเป็นผู้นำของกลุ่มเอแบร์ (Hébertist) ในวันที่ 17 กรกฎาคม..
ฌากอแบ็ง
การประชุมใหญ่สโมสรฌากอแบ็งในปีค.ศ. 1791 สมาคมเหล่าสหายของรัฐธรรมนูญ (Société des amis de la Constitution) หรือหลังเปลี่ยนชื่อในปี..
ฌีรงแด็ง
ีรงแด็ง (Girondin) เป็นสมาชิกกลุ่มทางการเมืองแบบหลวม ๆ กลุ่มหนึ่งในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกสมัชชานิติบัญญัติและสภากงว็องซียงแห่งชาติในช่วงปี..
ฌ็อง ซีลแว็ง บายี
็อง ซีลแว็ง บายี (Jean Sylvain Bailly) เป็นนักดาราศาสตร์, นักคณิตศาสตร์, สมาชิกฟรีเมสัน และเป็นผู้นำทางการเมืองในช่วงสงครามปฏิวัติฝรั่งเศส เขาเป็นนายกเทศมนตรีกรุงปารีสระหว่าง..
ดู กิโยตีนและฌ็อง ซีลแว็ง บายี
ธุลีปริศนา
ลีปริศนา เป็นนิยายแฟนตาซีไตรภาค ประพันธ์โดย ฟิลิป พูลแมน ประกอบด้วยมหันตภัยขั้วโลกเหนือ (ค.ศ. 1995) มีดนิรมิต (ค.ศ.
คริสต์ทศวรรษ 1790
..
ดู กิโยตีนและคริสต์ทศวรรษ 1790
ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส
ฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่เคยอยู่ใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันมาก่อน โดยรู้จักกันในชื่อของชนเผ่า หรือแคว้นกอล ซึ่งเป็นกลุ่มชนเผ่าขนาดใหญ่ที่พูดภาษาเคลท์ ในช่วงท้ายก่อนที่จักรวรรดิโรมันจะล่มสลายลง ดินแดนกอลถูกรุกรานจากทั้งการโจมตีของกลุ่มอนารยชนและการอพยพของกลุ่มคนเร่ร่อน โดยเฉพาะชาวแฟรงก์เชื้อสายเจอร์มานิค พระมหากษัตริย์แฟรงก์นามว่า โคลวิสที่ 1 ได้ทรงรวบรวมดินแดนส่วนมากของกอลภายใต้การปกครองของพระองค๋ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 นับเป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลชาวแฟรงก์ในภูมิภาคนี้ที่ดำเนินต่อไปอีกหลายร้อยปี อำนาจของแฟรงก์ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดในช่วงของพระเจ้าชาร์เลอมาญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสยุคกลางก็ได้ถือกำเนิดขึ้นจากการเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งทางทิศตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงของชาร์เลอมาญ ซึ่งรู้จักกันในนาม ฟรังเกียตะวันตก และเพิ่มพูนอิทธิพลของตนขึ้นเรื่อยมาภายใต้การปกครองของตระกูลกาแปซึ่งก่อตั้งโดยอูก กาแปในปี..
ดู กิโยตีนและประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส
ปลัสเดอลากงกอร์ด
ปลัสเดอลากงกอร์ด ใจกลางกรุงปารีส ปลัสเดอลากงกอร์ด (Place de la Concorde; จัตุรัสแห่งความปรองดอง) เป็นจัตุรัสกลางกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส มีพื้นที่ทั้งหมด 86,400 ตารางเมตร พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระนางมารี อองตัวแนตถูกประหารด้วยกิโยตีน ณ จัตุรัสแห่งนี้ในสมัยการปฏิวัติฝรั่ง.
โฌแซ็ฟ-อีญัส กียอแต็ง
แซ็ฟ-อีญัส กียอแต็ง (Joseph-Ignace Guillotin) เป็นแพทย์, นักการเมือง และฟรีเมสันชาวฝรั่งเศส ในวันที่ 10 ตุลาคม..
ดู กิโยตีนและโฌแซ็ฟ-อีญัส กียอแต็ง
โซฟี โชลล์
ซฟี เม็กดาเลนา โชลล์ (Sophia Magdalena Scholl) เป็นนักศึกษาชาวเยอรมันและต่อต้านนาซีกิจกรรมทางการเมือง,ทำงานให้กับขบวนการกุหลาบสีขาวที่มีความเคลื่อนไหวต่อต้านโดยไม่ใช้ความรุนแรงในนาซีเยอรมนี เธอได้ถูกจับกุมโดยเกสตาโปด้วยข้อหากบฏหลังจากถูกพบว่าทำการแจกใบปลิวการต่อต้านสงครามที่มหาวิทยาลัยมิวนิค(LM)กับพี่ชายของเธอ ฮันส์ โชลล์ หลังจากนั้นเธอและพี่ชายก็ได้ถูกนำตัวไปพิจารณาคดีที่ศาลประชาชนและถูกตัดสินให้ประหารชีวิตด้วยเครื่องประหารกิโยติน เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 1943.นับตั้งแต่ปี 1970 โชลล์ได้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางสำหรับการทำงานของเธอในการต่อต้านนาซี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.
16 ตุลาคม
วันที่ 16 ตุลาคม เป็นวันที่ 289 ของปี (วันที่ 290 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 76 วันในปีนั้น.
17 มิถุนายน
วันที่ 17 มิถุนายน เป็นวันที่ 168 ของปี (วันที่ 169 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 197 วันในปีนั้น.
21 มกราคม
วันที่ 21 มกราคม เป็นวันที่ 21 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 344 วันในปีนั้น (345 วันในปีอธิกสุรทิน).
24 เมษายน
วันที่ 24 เมษายน เป็นวันที่ 114 ของปี (วันที่ 115 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 251 วันในปีนั้น.
25 เมษายน
วันที่ 25 เมษายน เป็นวันที่ 115 ของปี (วันที่ 116 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 250 วันในปีนั้น.
28 กรกฎาคม
วันที่ 28 กรกฎาคม เป็นวันที่ 209 ของปี (วันที่ 210 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 156 วันในปีนั้น.