โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

ดัชนี การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

301 ความสัมพันธ์: บรรหาร ศิลปอาชาชวนนท์ อินทรโกมาลย์สุตบัญญัติ บรรทัดฐานชัยวัฒน์ พสกภักดีชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ชาญชัย อิสระเสนารักษ์ชาญชัย ปทุมารักษ์ชิงชัย มงคลธรรมบุญรื่น ศรีธเรศชูศักดิ์ ศิรินิลพ.ศ. 2548พรชัย อรรถปรียางกูรพรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)พรรคชาติไทยพรรคมหาชนพรรคศิลปินพรรคความหวังใหม่พรรคคนขอปลดหนี้พรรคประชาธิปัตย์พรรคไทยรักไทยพลกฤษณ์ หงษ์ทองพายัพ ปั้นเกตุพิษณุ พลไวย์พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาคพีระเพชร ศิริกุลพงศ์ประยูร ราชอาภัยพ้อง ชีวานันท์พเยาว์ พูนธรัตน์กร ทัพพะรังสีกริช กงเพชรกฤษ ศรีฟ้ากฤษณา สีหลักษณ์กอร์ปศักดิ์ สภาวสุกันตวรรณ ตันเถียร กุลจรรยาวิวัฒน์การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2548การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน พ.ศ. 2549การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2553การเลือกตั้งในประเทศไทยกิตติ สมทรัพย์กิตติกร โล่ห์สุนทรกิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548กุสุมาลวตี ศิริโกมุทกูเฮง ยาวอหะซันก่อเกียรติ สิริยะเสถียรภัทรา วรามิตรมัลลิกา มหาสุขมานะ คงวุฒิปัญญามาโนชญ์ วิชัยกุล...มุกดา พงษ์สมบัติยศวริศ ชูกล่อมยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐยงยุทธ สุวภาพรชฏ พิสิษฐบรรณกรรังสิมา รอดรัศมีรัตนา จงสุทธานามณีรายชื่อสกุลนักการเมืองไทยรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยรายนามนายกรัฐมนตรีไทยละออง ติยะไพรัชลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจลิขิต ธีรเวคินวัชระ เพชรทองวัลลภ สุปริยศิลป์วัลลภ ไทยเหนือวารุจ ศิริวัฒน์วิชัย ราชานนท์วิชิต ปลั่งศรีสกุลวิรัตน์ กัลยาศิริวิลาศ จันทร์พิทักษ์วิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์วิจิตร เกตุแก้ววิทยา ทรงคำวิฑูรย์ กรุณาวิฑูรย์ วงษ์ไกรวิฑูรย์ นามบุตรวินัย สมพงษ์วินัย ไกรบุตรวินัย เสนเนียมวิโรจน์ เปาอินทร์วีระพล จิตสัมฤทธิ์วนัสธนา สัจจกุลศรัณย์วุฒิ ศรัณย์เกตุศักดา นพสิทธิ์ศักดิ์สยาม ชิดชอบศิริวรรณ ปราศจากศัตรูศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ศิริศักดิ์ อ่อนละมัยศุภพรพงศ์ ชวนบุญสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22สมบูรณ์ อุทัยเวียนกุลสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยนาทสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพะเยาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพังงาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมุกดาหารสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระยองสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระนองสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ดสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปางสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสงครามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระแก้วสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสิงห์บุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุโขทัยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูลสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองบัวลำภูสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคายสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอำนาจเจริญสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุทัยธานีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุตรดิตถ์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทองสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราดสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทราสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาสสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราชสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่านสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแม่ฮ่องสอนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงรายสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลยสรวงศ์ เทียนทองสฤต สันติเมทนีดลสลิลทิพย์ สุขวัฒน์สวัสดิ์ จำปาศรีสัญชัย วงษ์สุนทรสันติ ตันสุหัชสากล ม่วงศิริสาคร พรหมภักดีสำราญ ศรีแปงวงค์สิรินทร รามสูตสุชาย ศรีสุรพลสุชาติ บรรดาศักดิ์สุพัฒน์ ธรรมเพชรสุรพล เกียรติไชยากรสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุลสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์สุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์สุรันต์ จันทร์พิทักษ์สุรเชษฐ์ แวอาแซสุวัฒน์ วรรณศิริกุลสุธรรม ระหงษ์สุธรรม แสงประทุมสุธา นิติภานนท์สุขวิชชาญ มุสิกุลสุขุมพงศ์ โง่นคำสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์สุเมธ พรมพันห่าวสุเทพ เทือกสุบรรณสถาพร มณีรัตน์สงวน พงษ์มณีสงคราม กิจเลิศไพโรจน์สง่า ธนสงวนวงศ์สนั่น สบายเมืองสนั่น ขจรประศาสน์หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตรหม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุลอภิชาต ศักดิเศรษฐ์อภิชาติ ตีรสวัสดิชัยอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอรรคพล สรสุชาติอริสมันต์ พงศ์เรืองรองอสิ มะหะมัดยังกีอัศวัชร์ อภัยวงศ์อันวาร์ สาและอาภาภรณ์ พุทธปวนอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์อำนวย คลังผาอิสมาแอล เบญอิบรอฮีมอิสสระ สมชัยอิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์อิทธิเดช แก้วหลวงฮอชาลี ม่าเหร็มจักรพันธุ์ ยมจินดาจักรภพ เพ็ญแขจักริน พัฒน์ดำรงจิตรจินดา วงศ์สวัสดิ์จุลพันธ์ อมรวิวัฒน์จณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์จตุพร เจริญเชื้อธีระชัย ศิริขันธ์ถวิล ฤกษ์หร่ายถาวร เสนเนียมถนอม อ่อนเกตุพลทรงชัย วงศ์สวัสดิ์ทวี สุระบาลทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์ทศพล สังขทรัพย์ทักษิณ ชินวัตรทัศนียา รัตนเศรษฐที่สุดในประเทศไทยทนุศักดิ์ เล็กอุทัยณหทัย ทิวไผ่งามดนุพร ปุณณกันต์คริสต์ทศวรรษ 2000ครูมานิตย์ สังข์พุ่มคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55ฉลอง เรี่ยวแรงประชา ประสพดีประพร เอกอุรุประพันธ์ คูณมีประกอบ รัตนพันธ์ประมวล พงศ์ถาวราเดชประวัติพรรคประชาธิปัตย์ประศาสตร์ ทองปากน้ำประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะประทวน เขียวฤทธิ์ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ประไพพรรณ พศบูรณินทร์ประเสริฐ บุญเรืองประเทศไทยใน พ.ศ. 2548ปรีชา มุสิกุลปวีณา หงสกุลปอรรัชม์ ยอดเณรปัญญา จีนาคำปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์นพพล เหลืองทองนารานพดล ปัทมะนพคุณ รัฐผไทนันทนา ทิมสุวรรณนาราชา สุวิทย์นาถยา แดงบุหงานิพนธ์ บุญญามณีนิภา พริ้งศุลกะนิยม ช่างพินิจนิสิต สินธุไพรนิทัศน์ ศรีนนท์โมฮามัดยาสรี ยูซงโสภณ ซารัมย์โสภณ เพชรสว่างไชยวัฒน์ ติณรัตน์ไพศาล จันทรภักดีเฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวาเกรียง กัลป์ตินันท์เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์เยาวภา วงศ์สวัสดิ์เรวัต สิรินุกุลเรวดี รัศมิทัตเรืองวิทย์ ลิกค์เศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์เอกพจน์ วงศ์นาคเอกธนัช อินทร์รอดเอี่ยม ทองใจสดเอนก เหล่าธรรมทัศน์เจริญ คันธวงศ์เจิมมาศ จึงเลิศศิริเจ๊ะอิสมาแอ เจ๊ะโมงเทพไท เสนพงศ์เดือนเต็มดวง ณ เชียงใหม่เฉลิมชาติ การุญเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์เฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์เนวิน ชิดชอบ6 กุมภาพันธ์ ขยายดัชนี (251 มากกว่า) »

บรรหาร ศิลปอาชา

รรหาร ศิลปอาชา (19 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 23 เมษายน พ.ศ. 2559) เป็นนักการเมืองชาวไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 21 ประธานกรรมการมูลนิธิบรรหาร-แจ่มใส ศิลปอาชา ประธานที่ปรึกษาพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี 11 สมัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตนายกสภาสถาบันการพลศึกษา อดีตกรรมการผู้จัดการ บริษัท สหศรีชัยก่อสร้าง จำกัด และอดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย ทั้งเป็นพี่ชายของชุมพล ศิลปอาชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และบรรหาร ศิลปอาชา · ดูเพิ่มเติม »

ชวนนท์ อินทรโกมาลย์สุต

วนนท์ อินทรโกมาลย์สุต โฆษกพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (นายกษิต ภิรมย์) ผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ รายการสายล่อฟ้า หนึ่งในผู้ดำเนินรายการ 3 คน คือ นายศิริโชค โสภา, นายเทพไท เสนพงศ์ และนายชวนนท์ อินทรโกมาลย์สุต ทางสถานีโทรทัศน์บลูสกายแชนแนล อีกด้วย (ปัจจุบันได้เปลี่ยนสถานีเป็นฟ้าวันใหม่).

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และชวนนท์ อินทรโกมาลย์สุต · ดูเพิ่มเติม »

บัญญัติ บรรทัดฐาน

ัญญัติ บรรทัดฐาน กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และบัญญัติ บรรทัดฐาน · ดูเพิ่มเติม »

ชัยวัฒน์ พสกภักดี

ัยวัฒน์ พสกภักดี อดีตผู้อำนวยการสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล และประธานมูลนิธิสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และชัยวัฒน์ พสกภักดี · ดูเพิ่มเติม »

ชัยวุฒิ บรรณวัฒน์

นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์(ภาคเหนือ) และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก หลายสมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาญชัย อิสระเสนารักษ์

นายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ (เกิด 10 สิงหาคม พ.ศ. 2496) อดีตรองประธานอนุกรรมาธิการ ด้านกลไกการปราบปรามการทุจริต คณะกรรมาธิการวิสามัญป้องกันและปราบปรามการทุจริต สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก 3 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และชาญชัย อิสระเสนารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาญชัย ปทุมารักษ์

นายชาญชัย ปทุมารักษ์ (11 เมษายน พ.ศ. 2479 - 6 เมษายน พ.ศ. 2555) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม 9 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และชาญชัย ปทุมารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชิงชัย มงคลธรรม

นายชิงชัย มงคลธรรม หัวหน้าพรรคความหวังใหม่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และชิงชัย มงคลธรรม · ดูเพิ่มเติม »

บุญรื่น ศรีธเรศ

นางบุญรื่น ศรีธเรศ (สกุลเดิม มัธยมนันทน์) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกาฬสินธุ์ สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และบุญรื่น ศรีธเรศ · ดูเพิ่มเติม »

ชูศักดิ์ ศิรินิล

รองศาสตราจารย์ชูศักดิ์ ศิรินิล อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์) และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และชูศักดิ์ ศิรินิล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พรชัย อรรถปรียางกูร

นายพรชัย อรรถปรียางกูร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดพรรคไทยรักไทย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และพรชัย อรรถปรียางกูร · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)

รรคชาติพัฒนา (National Development Party) เป็นพรรคการเมืองที่จดทะเบียนเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2525 ในชื่อพรรคปวงชนชาวไทย ต่อมาในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2535 ได้เปลี่ยนชื่อเป็นพรรคชาติพัฒนา หลังการยุบสภาในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 เนื่องจากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และพรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติไทย

รรคชาติไทย (Chart Thai Party) เป็นอดีตพรรคการเมืองในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับชาติช่วงปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และพรรคชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคมหาชน

รรคมหาชน (Mahachon Party ตัวย่อ: MCP. พมช.) เป็นพรรคการเมืองไทยที่จดทะเบียนเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 โดยใช้ชื่อว่า "พรรคราษฎร" และได้เปลี่ยนมาใช้ชื่อพรรคมหาชน เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 เป็นพรรคการเมืองที่มีจำนวนสมาชิกมากเป็นลำดับที่ 2 รองจากพรรคประชาธิปัตย์ มีจำนวนสมาชิกกว่า 1.18 ล้านคน.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และพรรคมหาชน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคศิลปิน

รรคศิลปิน เป็นพรรคการเมืองของไทยที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2550 โดยนายวสันต์ สิทธิเขตต์ และกลุ่มศิลปินไทยส่วนหนึ่ง จำนวน 17 คน พรรคศิลปินมีหัวหน้าพรรคคือ นายวสันต์ สิทธิ์เขตต์ มีนายจุมพล อภิสุข จากวงคนด่านเกวียน เป็นเลขาธิการพรรค และนางนิตยา บุญประสิทธิ จากวงกรรมาชน เป็นโฆษกพรรค มีกรรมการพรรค และสมาชิกประกอบด้วยศิลปินในแขนงต่าง ๆ เช่น เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ทวี รัชนีกร ศิลปินแห่งชาติ, สุรชัย จันทิมาธร มงคล อุทก พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ นักดนตรีเพลงเพื่อชีวิต, ไชยันต์ ไชยพร กนกศักดิ์ แก้วเทพ อาจารย์มหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตาม นายวสันต์ สิทธิเขตต์ กล่าวว่าการมีโครงสร้างหัวหน้าพรรค กรรมการบริหารพรรค เพียงเพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายพรรคการเมือง พรรคศิลปิน สิ้นสุดสภาพความเป็นพรรคการเมือง ในปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และพรรคศิลปิน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคความหวังใหม่

ัญลักษณ์พรรคความหวังใหม่แบบเดิม พรรคความหวังใหม่ (New Aspiration Party; ย่อว่า ควม.) เป็นพรรคการเมืองหนึ่งในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับประเทศระหว่างปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และพรรคความหวังใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคนขอปลดหนี้

รรคคนขอปลดหนี้ (เดิมชื่อ พรรคไทยเป็นไทhttp://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2552/D/081/78.PDF) เป็นพรรคการเมือง ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และพรรคคนขอปลดหนี้ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคไทยรักไทย

รรคไทยรักไทย จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 เป็นพรรคการเมืองแรกที่ก่อตั้งขึ้นภายใต้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้ง 23 คน นำโดย ดร.ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันพรรคไทยรักไทย ถูกยุบตามคำวินิจฉัยใน คดียุบพรรค มีหัวหน้าพรรคคนสุดท้ายคือ จาตุรนต์ ฉายแสง พรรคไทยรักไทยมีสมาชิกพรรคที่แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมือง ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ถึงประมาณ 14 ล้านคน (14,394,404 คน) พรรคไทยรักไทย เป็นพรรคการเมืองแรก ที่ผู้สมัครได้รับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เกินกึ่งหนึ่งของจำนวน..ทั้งหมด ในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2548 โดยได้รับการเลือกตั้งถึง 376 ที่นั่ง จากจำนวนที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎร 500 ที่นั่ง เอาชนะพรรคคู่แข่งคือ พรรคประชาธิปัตย์ที่ได้เพียง 96 ที่นั่ง ทำให้เป็นพรรคการเมืองแรก ที่สามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้สำเร็จ การบริหารงานของ พรรคไทยรักไทย เป็นที่รับทราบโดยทั่วไป ในการเน้นนโยบายประชานิยมผ่านโครงการต่างๆ ที่เคยหาเสียงไว้ เช่น โครงการกองทุนหมู่บ้าน โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค โครงการพักชำระหนี้เกษตรกร โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ และ บ้านเอื้ออาทร แต่หลายโครงการมีปัญหาในการดำเนินการ และมีคำถามเรื่องความโปร่งใส และความพร้อมตรวจสอบ พรรคไทยรักไทย ถูกตุลาการรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยุบพรรค ด้วยมติเอกฉันท์ 9 ต่อ 0 เสียง เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 และ กรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย ถูกวินิจฉัยเพิกถอนสิทธิ์ทางการเมือง เป็นเวลา 5 ปี ด้วยมติ 6 ต่อ 3 เสียง.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และพรรคไทยรักไทย · ดูเพิ่มเติม »

พลกฤษณ์ หงษ์ทอง

นายพลกฤษณ์ หงษ์ทอง เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย (ชวน 2) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดพรรคกิจสังคม 2 สมัย และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และพลกฤษณ์ หงษ์ทอง · ดูเพิ่มเติม »

พายัพ ปั้นเกตุ

นายพายัพ ปั้นเกตุ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย และแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) และเคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสิงห์บุรี.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และพายัพ ปั้นเกตุ · ดูเพิ่มเติม »

พิษณุ พลไวย์

ษณุ พลไวย์ (17 ธันวาคม พ.ศ. 2506 - 17 มกราคม พ.ศ. 2559) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก 3 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และพิษณุ พลไวย์ · ดูเพิ่มเติม »

พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์

นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ · ดูเพิ่มเติม »

พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค

นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค · ดูเพิ่มเติม »

พีระเพชร ศิริกุล

นายพีระเพชร ศิริกุล (เกิด 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกาฬสินธุ์ เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคความหวังใหม่ ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และพีระเพชร ศิริกุล · ดูเพิ่มเติม »

พงศ์ประยูร ราชอาภัย

งศ์ประยูร ราชอาภัย ชื่อเล่น พงศ์ เป็นนักแสดงชาวไทย ที่มีผลงานแสดงละครโทรทัศน์สังกัดช่อง 7 และเป็นอดีตผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นอดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และพงศ์ประยูร ราชอาภัย · ดูเพิ่มเติม »

พ้อง ชีวานันท์

นายพ้อง ชีวานันท์ (เกิด 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 - 12 มีนาคม พ.ศ. 2559) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และอดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 4 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และพ้อง ชีวานันท์ · ดูเพิ่มเติม »

พเยาว์ พูนธรัตน์

ร้อยตำรวจเอก พเยาว์ พูลธรัตน์ อดีตฮีโร่โอลิมปิคคนแรกของไทย อดีตแชมเปี้ยนโลกชาวไทยคนที่ 7 และอดีต ส.ส. จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ของพรรคประชาธิปัตย์ พเยาว์ เกิดเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2499 ที่อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สมัยวัยรุ่นเคยชกมวยไทยมาก่อนอย่างโชกโชน ในชื่อ "เพชรพเยาว์ ศิษย์ครูทัศน์" โดยชกประจำในรายการศึกจ้าวตะวันออก ของโปรโมเตอร์ นภา นาคปฐม ที่เวทีราชดำเนิน.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และพเยาว์ พูนธรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

กร ทัพพะรังสี

นายกร ทัพพะรังสี (14 กันยายน 2488 -) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาราช อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เป็นบุตรของ นายอรุณ ทัพพะรังสี (บุตร พระยานราธรหิรัญรัฐ กับคุณหญิงหวาน) และ นางพร้อม ทัพพะรังสี (สกุลเดิม "ชุณหะวัณ" เป็นบุตรีของจอมพลผิน ชุณหะวัณ) เนื่องจากสืบเชื้อสายจากนักการเมืองซอยราชครู ทำให้ได้รับการขนานนามให้เป็น “ทายาทราชครู รุ่นที่ 3” ด้านครอบครัวสมรส กับ ระพีพรรณ ทัพพะรังสี มีบุตรชื่อ กฤตพณ ทัพพะรังสี และ กมลสุทธิ์ ทัพพะรังสี โดย กมลสุทธิ์ ทัพพะรังสี บุตรชายสมรสกับ อุษณา มหากิจศิริ บุตรสาว ประยุทธ มหากิจศิริ ในปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และกร ทัพพะรังสี · ดูเพิ่มเติม »

กริช กงเพชร

กริช กงเพชร (เกิด 30 กันยายน พ.ศ. 2486) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม 9 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และกริช กงเพชร · ดูเพิ่มเติม »

กฤษ ศรีฟ้า

กฤษ ศรีฟ้า (เกิด 23 เมษายน พ.ศ. 2504) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพังงา 1 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และกฤษ ศรีฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณา สีหลักษณ์

นางสาวกฤษณา สีหลักษณ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และกฤษณา สีหลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

กอร์ปศักดิ์ สภาวสุ

นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายเศรษฐกิจในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2492 เป็นบุตรของ นายประมวล สภาวสุ อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และคุณหญิงศรีประพาฬ สภาวสุ นายกอร์ปศักดิ์เป็นบุตรคนโต มีพี่น้องอีก 4 คนคือ นางศิริณี สภาวสุ, นายกุมพล สภาวสุ, นางจารุวรรณ กัลยางกูร และนายประโภชณ์ สภาวสุ นายกอร์ปศักดิ์ สำเร็จการศึกษาระดับมัธยม จากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล เมื่อ..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ · ดูเพิ่มเติม »

กันตวรรณ ตันเถียร กุลจรรยาวิวัฒน์

นางกันตวรรณ กุลจรรยาวิวัฒน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพังงา สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ได้รับเลือกตั้งด้วยคะแนนสูงที่สุดในประเทศไทย จากการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และกันตวรรณ ตันเถียร กุลจรรยาวิวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2548

.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ใน พ.ศ. 2548 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2548 หลังจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีในตำแหน่งที่ว่างลง หลังจากที่ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ดำรงตำแหน่งครบวาระ 4 ปี โดยนายโภคิน พลกุล ประธานสภาผู้แทนราษฎร เปิดสภาเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีคนใหม่ โดยจะเปิดโอกาสให้..เสนอชื่อบุคคลมี่เหมาะสมเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยได้กำหนดวิธีลงคะแนนเลือกนายกรัฐมนตรีแบบเปิดเผยด้วยการขานชื่อ..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน พ.ศ. 2549

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และนายบรรหาร ศิลปอาชา หัวหน้าพรรคชาติไทย แถลงข่าวในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 ถึงการคว่ำบาตรการเลือกตั้ง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2553

การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และการเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งในประเทศไทย

การเลือกตั้งของประเทศไทย เป็นกระบวนการตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เพื่อให้ได้มาซึ่งบุคคลเข้าไปทำหน้าที่ในการปกครองประเทศไทย อาทิ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย, วุฒิสภาไทย, ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร, ผู้ว่าเมืองพัทยา และผู้บริหารท้องถิ่นอื่น ๆ ด้วยการให้ประชาชนออกเสียงเลือกบุคคลที่เห็นสมควร ประเทศไทยมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปมาแล้ว 27 ครั้ง นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และการเลือกตั้งในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

กิตติ สมทรัพย์

ลเอก ธนากร สมทรัพย์ (เกิด 31 กรกฎาคม พ.ศ.) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด เขต 6 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และกิตติ สมทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

กิตติกร โล่ห์สุนทร

กิตติกร โล่ห์สุนทร เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง สังกัดพรรคไทยรักไทย สมาชิกบ้านเลขที่ 109 และเป็นบุตรชายของนายไพโรจน์ โล่ห์สุนทร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และกิตติกร โล่ห์สุนทร · ดูเพิ่มเติม »

กิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่

นางกิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่ หรือที่นิยมเรียกกันโดยทั่วไปว่า แม่แดง มีชื่อเดิมว่า กิ่งกาญจน์ โกไศยกานนท์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 2 สมัย และอดีตกรรมการบริหารพรรคความหวังใหม่ และเป็นภรรยาของนายธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และกิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กุสุมาลวตี ศิริโกมุท

นางกุสุมาลวตี ศิริโกมุท (เกิด 10 ธันวาคม พ.ศ. 2505) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมหาสารคาม เขต 5 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และกุสุมาลวตี ศิริโกมุท · ดูเพิ่มเติม »

กูเฮง ยาวอหะซัน

กูเฮง ยาวอหะซัน (เกิด 8 สิงหาคม พ.ศ. 2508) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส 2 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และกูเฮง ยาวอหะซัน · ดูเพิ่มเติม »

ก่อเกียรติ สิริยะเสถียร

นายก่อเกียรติ สิริยะเสถียร (เกิด 16 กันยายน พ.ศ. 2506) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรนครปฐม เขต 3 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2548 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และก่อเกียรติ สิริยะเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

ภัทรา วรามิตร

นางสาวภัทรา วรามิตร (เกิด 16 กันยายน พ.ศ. 2518) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ 1 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และภัทรา วรามิตร · ดูเพิ่มเติม »

มัลลิกา มหาสุข

มัลลิกา บุญมีตระกูล พระราชทานน้ำสังข์ข้างที่ มัลลิกา บุญมีตระกูล ณัฐพล มหาสุข หรือ มัลลิกา บุญมีตระกูล มหาสุข (ชื่อเล่น: ติ่ง, มอลลี่; เกิดเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2516 ที่จังหวัดพะเยา) เป็นรองโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ และในอดีตเป็นเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เป็นที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และผู้ประกาศข่าวและพิธีกรรายการร่วมมือร่วมใจ สถานีโทรทัศน์ไอทีวี นอกจากนี้ยังเป็นประธานมูลนิธิมัลลิกาเพื่อประชาชน และประธานชมรมนักรบไซเบอร์ (ขจัดเว็บหมิ่นผิดกฎหมาย).

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และมัลลิกา มหาสุข · ดูเพิ่มเติม »

มานะ คงวุฒิปัญญา

มานะ คงวุฒิปัญญา นายมานะ คงวุฒิปัญญา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และมานะ คงวุฒิปัญญา · ดูเพิ่มเติม »

มาโนชญ์ วิชัยกุล

นายมาโนชญ์ วิชัยกุล (เกิด 12 กันยายน พ.ศ. 2486) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช 9 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และมาโนชญ์ วิชัยกุล · ดูเพิ่มเติม »

มุกดา พงษ์สมบัติ

นางมุกดา พงษ์สมบัติ (เกิด 11 สิงหาคม พ.ศ. 2495) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขอนแก่น เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2539 ในสังกัดพรรคกิจสังคม ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และมุกดา พงษ์สมบัติ · ดูเพิ่มเติม »

ยศวริศ ชูกล่อม

วริศ ชูกล่อม หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ เจ๋ง ดอกจิก แนวร่วมคนสำคัญของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) และนักแสดงตลก เกิดเมื่อวันที่ 4 มีนาคม..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และยศวริศ ชูกล่อม · ดูเพิ่มเติม »

ยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ

นายยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ (26 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2553) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระยอง 5 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ · ดูเพิ่มเติม »

ยงยุทธ สุวภาพ

งยุทธ สุวภาพ (12 กันยายน พ.ศ. 2489 -) นายกเทศมนตรีตำบลเมืองงาย อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียงคนเดียวของพรรคประชาธิปัตย์ที่ชนะการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 ในจังหวัดเชียงใหม่ และเป็นอดีตกรรมการสภามหาวิทยาลัยแม่โจ้.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และยงยุทธ สุวภาพ · ดูเพิ่มเติม »

รชฏ พิสิษฐบรรณกร

ร้อยเอกรชฏ พิสิษฐบรรณกร อดีต ส.ส.พรรคไทยรักไทยและอดีตทหารบกชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2516 จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 34 ในตำแหน่งประธานรุ่น, โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 45 ในตำแหน่งหัวหน้านักเรียน, ปริญญาโทจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัย Santo Thomas, ผ่านหลักสูตรอบรมจากสถาบันพระปกเกล้า เคยรับราชการที่กองพันทหารราบที่ 1 กรมทหารราบที่ 8 จังหวัดเลย และกรมทหารพรานกองทัพภาคที่ 2 ก่อนจะย้ายมารับราชการทหารสังกัดกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ โดยทำหน้าที่ถวายอารักขาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ จากนั้นได้ลาออกจากราชการ เพื่อมาทำงานด้านการเมืองการเมือง โดยได้ลงรับสมัครเลือกตั้งในเขต 4 กรุงเทพมหานคร (เขตพญาไท, เขตราชเทวี) สังกัดพรรคไทยรักไทย ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 โดยพบกับคู่แข่งคนสำคัญ คือ นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ ของพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่ง ร.อ.รชฏ สามารถเอาชนะไปได้อย่างเฉียดฉิว (ร.อ.รชฏได้ 30,352 คะแนน, นายพุทธิพงษ์ได้ 28,423 คะแนน) และในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และรชฏ พิสิษฐบรรณกร · ดูเพิ่มเติม »

รังสิมา รอดรัศมี

นางสาวรังสิมา รอดรัศมี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสงคราม ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ปัจจุบันสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นนักการเมืองที่ได้รับฉายา "ดาวเด่น" จากสื่อมวลชนประจำรัฐสภา ในปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และรังสิมา รอดรัศมี · ดูเพิ่มเติม »

รัตนา จงสุทธานามณี

นางรัตนา จงสุทธานามณี อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และรัตนา จงสุทธานามณี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสกุลนักการเมืองไทย

้านล่างนี้คือสกุลนักการเมืองไทย ที่บุคคลในตระกูลมีนักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หมายเหตุ: ตัวหนาหมายถึงบุคคลที่กำลังหรือเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ หรือรัฐมนตรีช่วยว่าการ หรือเทียบเท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และรายชื่อสกุลนักการเมืองไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย

ทความนี้รวบรวมรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน โดยลำดับประธานสภาในบทความนี้ระบุเฉพาะประธานสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งและแต่งตั้ง ไม่นับประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ที่มาจากการแต่งตั้ง หลังการเกิดรัฐประหาร.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และรายนามนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

ละออง ติยะไพรัช

นางสาวละออง ติยะไพรัช (เกิด 11 ธันวาคม พ.ศ. 2505) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเชียงราย เขต 7 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2548 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และละออง ติยะไพรัช · ดูเพิ่มเติม »

ลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ

นายลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ (เกิด 11 มิถุนายน พ.ศ. 2484) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 6 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ · ดูเพิ่มเติม »

ลิขิต ธีรเวคิน

ตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559) ราชบัณฑิตสาขาวิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสภา นักรัฐศาสตร์และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน เป็นนักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ (ระดับ 11) อดีตอาจารย์ประจำและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ และรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นอกจากนี้ ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน ยังเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ (พ.ศ. 2540) อดีตหัวหน้าพรรคพลังแผ่นดินไท (30 มิถุนายน พ.ศ. 2549-30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) และ เคยได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พรรคไทยรักไทย อีกด้วย (พ.ศ. 2545-2548 และ พ.ศ. 2549) สำหรับในด้านภูมิปัญญาความคิด ศาสตราจารย์ ลิขิต ธีรเวคิน ถือเป็นนักวิชาการอาวุโสที่ทรงอิทธิพลในวงการสังคมศาสตร์ไทย ทั้งยังคร่ำหวอดและเชี่ยวชาญการเมืองไทยมาอย่างยาวนานหลายทศวรรษ มีข้อคิดเห็น ข้อวิจารณ์ทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองผ่านสื่อสารมวลชนแขนงต่างๆ อยู่สม่ำเสมอ เป็นเจ้าของวลีเด็ดที่เตือนสังคมไทยในวิกฤตการณ์การเมืองช่วงปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และลิขิต ธีรเวคิน · ดูเพิ่มเติม »

วัชระ เพชรทอง

นายวัชระ เพชรทอง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา และเจ้าของคอลัมน์ "วัชรทัศน์" ของ นสพ.แนวหน้า รายวัน.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และวัชระ เพชรทอง · ดูเพิ่มเติม »

วัลลภ สุปริยศิลป์

ร.วัลลภ สุปริยศิลป์ อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อธรรม และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน 8 สมัย และเป็นบิดาของนายณัฐพงษ์ สุปริยศิลป์ อดีต..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และวัลลภ สุปริยศิลป์ · ดูเพิ่มเติม »

วัลลภ ไทยเหนือ

นายแพทย์วัลลภ ไทยเหนือ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ หลังการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 และอดีตปลัดกระทรวงสาธารณ.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และวัลลภ ไทยเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

วารุจ ศิริวัฒน์

นายวารุจ ศิริวัฒน์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุตรดิตถ์ 2 สมัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และวารุจ ศิริวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

วิชัย ราชานนท์

นาวาอากาศเอก วิชัย ราชานนท์ เดิมใช้ชื่อว่า วิชัย ขัดโพธิ์ เป็นนักมวยสากลสมัครเล่นคนหนึ่งที่ได้เหรียญทองแดงจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก เคยได้เหรียญทองกีฬาซีเกมส์ด้วย ปัจจุบัน เป็นเจ้าของค่ายมวยราชานนท์ และเป็นผู้จัดการให้กับ เอฟ 16 ราชานนท์ ซึ่งเป็นนักมวยไทยที่มีชื่อเสียงเช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และวิชัย ราชานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

วิชิต ปลั่งศรีสกุล

นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คณะทำงานของพรรคไทยรักไทย และเป็นอดีตกรรมการบริหารพรรคที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง และทีมกฎหมายของพรรคไทยรักไทย และทนายความของ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันเป็นเลขาธิการมูลนิธิ 111 ไทยรักไทย และที่ปรึกษากฎหมายพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และวิชิต ปลั่งศรีสกุล · ดูเพิ่มเติม »

วิรัตน์ กัลยาศิริ

วิรัตน์ กัลยาศิริ (4 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 -) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 4 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และวิรัตน์ กัลยาศิริ · ดูเพิ่มเติม »

วิลาศ จันทร์พิทักษ์

ัชกร วิลาศ จันทร์พิทักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และวิลาศ จันทร์พิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์

นายวิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์ หรือวิวัฒนไชย ณ กาฬสินธุ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และวิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิจิตร เกตุแก้ว

ต๊ะ วิจิตร เกตุแก้ว อดีตนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (พ.ศ. 2538-พ.ศ. 2550) มีฉายาที่ได้รับจากสื่อมวลชนว่า "วีเจ" เป็นอดีตข้าราชการกรมพลศึกษ.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และวิจิตร เกตุแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

วิทยา ทรงคำ

นายวิทยา ทรงคำ (เกิด 29 ตุลาคม พ.ศ. 2498) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเชียงใหม่ เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไทย และดำรงตำแหน่งเลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และวิทยา ทรงคำ · ดูเพิ่มเติม »

วิฑูรย์ กรุณา

วิฑูรย์ กรุณา (28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 —) ชื่อเล่น แอ๊ด เป็นนักแสดงชาวไทย และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม วิฑูรย์เกิดที่ตำบลกะปาง อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีพี่น้อง 7 คน เป็นคนที่ 3 เริ่มเข้าวงการบันเทิงเมื่อศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยรามคำแหง โดยเริ่มจากแสดงละครเวทีอิงประวัติศาสตร์ เรื่อง เจ้าหญิงแสนหวี โดยแสดงร่วมกับ ศรีวิไล ประสุตานนท์ และ จตุพล ภูอภิรมย์ ต่อมาเข้าเป็นนักแสดงละครโทรทัศน์ ในสังกัดค่ายรัชฟิล์มทีวี มีผลงานการแสดงหลายเรื่อง และ เข้าสู่วงการภาพยนตร์โดยการชักชวนของ ฉลอง ภักดีวิจิตร จบการศึกษาปริญญาตรีสาขาศิลปศาสตร์จาก มหาวิทยาลัยรามคำแหง และ ปริญญาโทสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมจาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปัจจุบันสมรสกับ นาง พิมพ์ชนก กรุณ.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และวิฑูรย์ กรุณา · ดูเพิ่มเติม »

วิฑูรย์ วงษ์ไกร

นายวิฑูรย์ วงษ์ไกร (เกิด 1 ตุลาคม พ.ศ. 2494) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร 5 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และวิฑูรย์ วงษ์ไกร · ดูเพิ่มเติม »

วิฑูรย์ นามบุตร

นายวิฑูรย์ นามบุตร (23 กันยายน 2502 -) อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี 6 สมัย เกิดที่ตำบลเขื่องใน อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี เป็นบุตรของ นายลา นามบุตร และนางพิมพา นามบุตร ก่อนเข้าสู่วงการเมืองประกอบอาชีพเป็นทนายความ.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และวิฑูรย์ นามบุตร · ดูเพิ่มเติม »

วินัย สมพงษ์

ันเอกวินัย สมพงษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และเป็นนักการเมืองที่มีความซื่อสัตย์ จนได้รับฉายาจากสื่อมวลชนว่า นายไม้บรรทัด และเป็นผู้ยกเลิกโครงการโฮบเวลล์ และริเริ่มโครงการรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย เมื่อปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และวินัย สมพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

วินัย ไกรบุตร

วินัย ไกรบุตร ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น หัสนัย ไกรบุตร แต่ยังใช้ชื่อในวงการเป็น วินัย ไกรบุตร มีชื่อเล่นว่า เมฆ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2512 —) นักแสดงชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์ นางนาก เมื่อปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และวินัย ไกรบุตร · ดูเพิ่มเติม »

วินัย เสนเนียม

นายวินัย เสนเนียม (22 สิงหาคม พ.ศ. 2501 - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2552) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 6 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และวินัย เสนเนียม · ดูเพิ่มเติม »

วิโรจน์ เปาอินทร์

ลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ และรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอ่างทอง พรรคชาติไทย และอดีตผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และวิโรจน์ เปาอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

วีระพล จิตสัมฤทธิ์

นายวีระพล จิตสมฤทธิ์ (เกิด 23 กันยายน พ.ศ. 2507) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ เขต 6 สังกัดพรรคเพื่อไทย ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และวีระพล จิตสัมฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

วนัสธนา สัจจกุล

นายวนัสธนา สัจจกุล (ชื่อเดิม ธวัชชัย สัจจกุล) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กหอย หัวหน้าพรรคพลังคนกีฬา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย และอดีตผู้จัดการทีมฟุตบอลทีมชาติไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และวนัสธนา สัจจกุล · ดูเพิ่มเติม »

ศรัณย์วุฒิ ศรัณย์เกตุ

นายศรัณย์วุฒิ ศรัณย์เกตุ (ชื่อเดิม ศรัณย์ ศรัณย์เกตุ) (เกิด 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2501) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอุตรดิตถ์ เขต 2 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2548 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และศรัณย์วุฒิ ศรัณย์เกตุ · ดูเพิ่มเติม »

ศักดา นพสิทธิ์

นายศักดา นพสิทธิ์ เป็นนักโทษและประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) จังหวัดชลบุรี และเป็นอดีตโฆษกพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และศักดา นพสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิ์สยาม ชิดชอบ

นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ เลขาธิการพรรคภูมิใจไทย และเป็นอดีตประธานคณะทำงานรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (ชวรัตน์ ชาญวีรกูล) ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และศักดิ์สยาม ชิดชอบ · ดูเพิ่มเติม »

ศิริวรรณ ปราศจากศัตรู

ริวรรณ ปราศจากศัตรู (สกุลเดิม ศุภศิริ) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ และแบบบัญชีรายชื่อหลายสมัย และเป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคเหนือ.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และศิริวรรณ ปราศจากศัตรู · ดูเพิ่มเติม »

ศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์

นายศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นอดีต..พิจิตร มีชื่อเล่นว่า "ยอด" หรือ "ลูกยอด" เกิดวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2516 เป็นบุตรของ ".หนั่น" พล.ต.สนั่น ขจรประศาสน์ ประธานที่ปรึกษาพรรคชาติไทยพัฒนา กับ นางฉวีวรรณ ขจรประศาสน์ เป็นลูกคนที่ 3 ในบรรดาพี่น้อง 4 คน ด้านชีวิตครอบครัวสมรสกับ สิชา อัญชนานันท์ นายศิริวัฒน์ เป็นประธานบริหาร บริษัท วี-วัน กอล์ฟ ผู้บริหารงาน "บูรพากอล์ฟ แอนด์ รีสอร์ท" บนพื้นที่กว่า 900 ไร่ ที่ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิริศักดิ์ อ่อนละมัย

นายศิริศักดิ์ อ่อนละมัย (เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2493) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร 6 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และศิริศักดิ์ อ่อนละมัย · ดูเพิ่มเติม »

ศุภพรพงศ์ ชวนบุญ

นายศุภพรพงศ์ ชวนบุญ (เกิด 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2501) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร 2 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และศุภพรพงศ์ ชวนบุญ · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 มีสมาชิกจำนวน 500 คน แบ่งเป็นแบบเขตเลือกตั้ง 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน โดยมีพรรคการเมืองที่ได้รับการเลือกตั้งสูงสุด คือ พรรคไทยรักไทย จำนวน 377 คน.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 · ดูเพิ่มเติม »

สมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล

นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล (เกิด 24 เมษายน พ.ศ. 2502) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง 4 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร มี 33 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 33 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี มี 8 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 8 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ มี 7 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 7 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยนาท

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยนาท มี 2 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 2 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยนาท · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์ มี 9 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 9 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มี 5 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 5 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพะเยา

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพะเยา มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพังงา

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพังงา มี 1 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 1 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพังงา · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก มี 5 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 5 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี มี 5 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 5 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ มี 6 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 6 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ต

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ต มี 2 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 2 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม มี 5 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 5 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมุกดาหาร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมุกดาหาร มี 2 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 2 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมุกดาหาร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระยอง

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระยอง มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระยอง · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระนอง

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระนอง มี 1 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 1 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระนอง · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี มี 5 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 5 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด มี 8 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 8 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน มี 2 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 2 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ มี 8 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 8 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร มี 7 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 7 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสงคราม

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสงคราม มี 1 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 1 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ มี 7 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 7 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระบุรี มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระแก้ว

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระแก้ว มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสิงห์บุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสิงห์บุรี มี 1 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 1 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสิงห์บุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี มี 5 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 5 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี มี 6 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 6 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ มี 8 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 8 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา มี 8 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 8 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล มี 2 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 2 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองบัวลำภู

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองบัวลำภู มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองบัวลำภู · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอำนาจเจริญ

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอำนาจเจริญ มี 2 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอำนาจเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี มี 11 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 11 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุทัยธานี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุทัยธานี มี 2 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 2 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุทัยธานี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี มี 9 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 9 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุตรดิตถ์

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุตรดิตถ์ มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง มี 2 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 2 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น มี 10 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 10 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราด

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราดมี 1 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 1 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราด · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี มี 6 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 6 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา มี 15 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 15 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช มี 9 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 9 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ มี 6 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 6 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม มี 5 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 5 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก มี 1 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 1 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี มี 7 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2557) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 7 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแม่ฮ่องสอน

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแม่ฮ่องสอน มี 1 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 1 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแม่ฮ่องสอน · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย มี 7 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 7 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ มี 10 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 10 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ มี 6 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 6 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย มี 4 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 4 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย · ดูเพิ่มเติม »

สรวงศ์ เทียนทอง

นายสรวงศ์ เทียนทอง เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระแก้ว สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นบุตรชายของนายเสนาะ เทียนทอง.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสรวงศ์ เทียนทอง · ดูเพิ่มเติม »

สฤต สันติเมทนีดล

ร.สฤต สันติเมทนีดล เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น 1 สมัย และแบบบัญชีรายชื่อ 2 สมัย สังกัดพรรคไทยรักไทย และเป็นสมาชิกบ้านเลขที่ 111.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสฤต สันติเมทนีดล · ดูเพิ่มเติม »

สลิลทิพย์ สุขวัฒน์

นางสลิลทิพย์ สุขวัฒน์ (เกิด 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ เขต 5 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสลิลทิพย์ สุขวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ จำปาศรี

.ต.อ.สวัสดิ์ จำปาศรี พันตำรวจเอกสวัสดิ์ จำปาศรี เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2495 ที่ อ.ชุมพวง จ.นครราชสีมา โดยเป็นบุตรของพ่อซึ่งเป็นกำนัน ชื่อ นายทองคำ และแม่คือ นางกองศรี จำปาศรี.ต.อ.สวัสดิ์ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ปริญญาโท บริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ เริ่มรับราชการตำรวจ โดยเริ่มตั้งแต่เป็นลูกแถวและผู้บังคับหมู่ กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและเยาวชน และเป็นสารวัตรประจำแผนกสืบสวนสอบสวนในสถานีตำรวจแถบฝั่งธนบุรีหลายท้องที่นานถึง 25 ปี เช่น หนองค้างพลู, บางขุนเทียน เป็นต้น จนกระทั่งได้ลาออกจากราชการในปี พ.ศ. 2548 ในยศ พันตำรวจเอก (พ.ต.อ.) เพื่อออกมาเล่นการเมือง โดยในการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2548.ต.อ.สวัสดิ์ ได้ลงรับสมัคร..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสวัสดิ์ จำปาศรี · ดูเพิ่มเติม »

สัญชัย วงษ์สุนทร

นายสัญชัย วงษ์สุนทร (เกิด 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500) อดีตประธานคณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ เขต 3 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสัญชัย วงษ์สุนทร · ดูเพิ่มเติม »

สันติ ตันสุหัช

นายสันติ ตันสุหัช อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ 3 สมัย ปัจจุบันเป็นรองหัวหน้าพรรคเพื่อธรรม.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสันติ ตันสุหัช · ดูเพิ่มเติม »

สากล ม่วงศิริ

นายสากล ม่วงศิริ (เกิด 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2514) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 4 สมัย สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสากล ม่วงศิริ · ดูเพิ่มเติม »

สาคร พรหมภักดี

นายสาคร พรหมภักดี อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร และอดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสาคร พรหมภักดี · ดูเพิ่มเติม »

สำราญ ศรีแปงวงค์

นายสำราญ ศรีแปงวงค์ (เกิด 14 มิถุนายน พ.ศ. 2500) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกำแพงเพชร เขต 1 โดยได้รับการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2550 สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสำราญ ศรีแปงวงค์ · ดูเพิ่มเติม »

สิรินทร รามสูต

นางสิรินทร รามสูต (เกิด 27 เมษายน พ.ศ. 2503) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรน่าน เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2548 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสิรินทร รามสูต · ดูเพิ่มเติม »

สุชาย ศรีสุรพล

นายสุชาย ศรีสุรพล (เกิด 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2501) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขอนแก่น เขต 5 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสุชาย ศรีสุรพล · ดูเพิ่มเติม »

สุชาติ บรรดาศักดิ์

ติ บรรดาศักดิ์ (เกิด 11 สิงหาคม พ.ศ. 2498) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี (ส.ส.นนทบุรี) 3 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสุชาติ บรรดาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุพัฒน์ ธรรมเพชร

นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร (เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2497) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง 6 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสุพัฒน์ ธรรมเพชร · ดูเพิ่มเติม »

สุรพล เกียรติไชยากร

นายสุรพล เกียรติไชยากร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ พรรคเพื่อไทย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรก ในการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสุรพล เกียรติไชยากร · ดูเพิ่มเติม »

สุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล

รพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ พรรคเพื่อไทย อดีตประธานกรรมาธิการการคลัง การธนาคาร และสถาบันการเงิน สภาผู้แทนราษฎร อดีตประธานที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และอดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์

นายสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์ (เกิด 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2496) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ เขต 5 และประธานคณะกรรมาธิการพาณิชย์และทรัพย์สินทางปัญญา สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2539 ในสังกัดพรรคกิจสังคม ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์

นายสุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์ (เกิด 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2499) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเชียงราย เขต 2 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2538 ในสังกัดพรรคเอกภาพ ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรันต์ จันทร์พิทักษ์

ทันตแพทย์ สุรันต์ จันทร์พิทักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นน้องชายของเภสัชกร วิลาศ จันทร์พิทักษ..กทม.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสุรันต์ จันทร์พิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรเชษฐ์ แวอาแซ

นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ (เกิด 1 เมษายน พ.ศ. 2495) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส 5 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสุรเชษฐ์ แวอาแซ · ดูเพิ่มเติม »

สุวัฒน์ วรรณศิริกุล

นายสุวัฒน์ วรรณศิริกุล (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2555) อดีตรองหัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตประธานสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และประธานภาคกรุงเทพมหานคร พรรคพลังประชาชน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครหลายสมัย ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2529 ในสังกัดพรรคประชากรไทย และสังกัดพรรคพลังประชาชน เป็นพรรคสุดท้.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสุวัฒน์ วรรณศิริกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุธรรม ระหงษ์

นาวาตรี สุธรรม ระหงษ์ ผู้อำนวยการ พรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2505 ที่ ต.ท่าไม้ อ.กระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร เป็นบุตรของ นายอุดม ระหงษ์ และนางมาลัย ระหงษ์ รับราชการเป็นทหารเรือ ต่อมาเป็นปลัดอำเภอ ก่อนจะเข้าสู่วงการเมืองโดยลงสมัคร อ. แล..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสุธรรม ระหงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุธรรม แสงประทุม

รรม แสงประทุม อดีตประธานกรรมการบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน), อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กับอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร สมัยที่ 1, ผู้ร่วมก่อตั้งพรรคไทยรักไทย และอดีตเลขาธิการศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสุธรรม แสงประทุม · ดูเพิ่มเติม »

สุธา นิติภานนท์

นายสุธา นิติภานนท์ สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) 5 สมัยของเขตภาษีเจริญ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ นายสุธาเป็นชาวกรุงเทพมหานครโดยกำเนิด โดยเกิดที่เขตราษฎร์บูรณะ แต่มาเติบโตที่เขตภาษีเจริญซึ่งเป็นพื้นเพเดิมของมารดา เริ่มเข้าสู่แวดวงการเมืองด้วยการเป็นผู้ช่วยของนายมงคล สิมะโรจน์ อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ต่อมาได้เข้าสมัครเป็นสมาชิกพรรคกิจสังคมและเคยร่วมทีมเลือกตั้งเดียวกับ ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง ซึ่งในขณะนั้นยังเป็นผู้สมัครอิสระ โดยมิได้สังกัดพรรคการเมืองใด ๆ นายสุธามีบทบาทอย่างมากในการเป็น.ก. ของกรุงเทพมหานคร เคยเป็นประธานสภากรุงเทพมหานครและมีชื่อเข้าชิงตำแหน่งนี้หลายครั้ง จนถูกจับตามองหลายครั้งว่าจะลงเล่นการเมืองในระดับประเทศ แต่ในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2544 นายสุธาก็ส่งบุตรสาวของตนเอง คือ นางสาวหฤทัย นิติภานนท์ ลงสมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ในพื้นทื่เขต 31 กรุงเทพมหานคร ซึ่งประกอบด้วยเขตภาษีเจริญเฉพาะแขวง และเขตตลิ่งชัน แต่ก็ไม่ได้รับการเลือกตั้ง ก่อนการเลือกตั้งในต้นปี พ.ศ. 2548 นายสุธาถูกโจมตีว่าจะไปเข้าสังกัดกับพรรคไทยรักไทย อันเนื่องจากปัญหาความขัดแย้งในการเลือกประธาน.ก. ทางพรรคประชาธิปัตย์จึงส่ง ทันตแพทย์สุรันต์ จันทร์พิทักษ์ ลงสมัครแทนในพื้นที่เขต 32 กรุงเทพมหานคร ซึ่งประกอบด้วยเขตภาษีเจริญเฉพาะแขวง เขตบางกอกใหญ่ แต่ ท..สุรันต์ก็ไม่ได้รับการเลือกตั้ง โดยแพ้ให้กับนายมานะ คงวุฒิปัญญา ผู้สมัครจากพรรคไทยรักไทยไป ในวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 นายสุธา นิติภานนท์ ได้รับเลือกตั้งให้เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ของเขตภาษีเจริญเป็นสมัยที่ 4 และในวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ได้รับเลือกตั้งให้เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ของเขตภาษีเจริญเป็นสมัยที่ 5 ติดต่อกัน โดยครั้งนี้ได้คะแนนไป 18,784 คะแนน นอกจากนี้แล้ว ชีวิตส่วนตัว นายสุธายังเป็นบิดาบุญธรรมของ ชนกวนันท์ รักชีพ ดารานักแสดงที่มีชื่อเสียงอีกด้ว.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสุธา นิติภานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สุขวิชชาญ มุสิกุล

นายสุขวิชชาญ มุสิกุล (เกิด 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2509) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกำแพงเพชร เขต 1 โดยได้รับการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2550 สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสุขวิชชาญ มุสิกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุขุมพงศ์ โง่นคำ

นายสุขุมพงศ์ โง่นคำ กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย ในรัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตกรรมการปฏิรูปกฎหมาย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายสมชาย วงศ์สวั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสุขุมพงศ์ โง่นคำ · ดูเพิ่มเติม »

สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์

ร.คุณหญิง สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ (1 พฤษภาคม 2504 -) เป็นนักการเมือง เคยร่วมประท้วงในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ อดีตรัฐมนตรีเคยดำรงตำแหน่งที่สำคัญในรัฐบาล พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันเป็นประธานมูลนิธิไทยพึ่งไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุเมธ พรมพันห่าว

มธ พรมพันห่าว อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดหนองคาย อดีตเลขาธิการพรรคเสรีธรรม และเป็นผู้เสนอขอจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬต่อสภาผู้แทนราษฎร และคณะรัฐมนตรีเป็นคนแรก เมื่อปี พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสุเมธ พรมพันห่าว · ดูเพิ่มเติม »

สุเทพ เทือกสุบรรณ

ทพ เทือกสุบรรณ เป็นประธานมูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย และ ผู้ก่อตั้งวิทยาลัยอาชีวศึกษาภาวนาโพธิคุณ เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานีหลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีช่วยว่าการหลายกระทรวง จนถึงปี 2554 เป็นเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เขาลาออกจากตำแหน่งในเดือนพฤศจิกายน 2556 เป็นเลขาธิการ กปปส. ซึ่งดำเนินการประท้วงเพื่อพยายามโค่นรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในห้วงวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 เขาเรียกร้องให้ตั้ง "สภาประชาชน" ซึ่งมิได้มาจากการเลือกตั้งเพื่อปฏิรูปประเทศก่อนเลือกตั้ง เขาเคยเรียกร้องเพื่อให้เขาสวมบทบาทเป็น "องค์อธิปัตย์" เพื่อออกกฎบัตร ตั้งรัฐบาลใหม่ และตั้งสภาประชาชน และจะประท้วงต่อหากรัฐบาลใหม่ไม่สามารถนำการปฏิรูปที่ กปป.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสุเทพ เทือกสุบรรณ · ดูเพิ่มเติม »

สถาพร มณีรัตน์

นายสถาพร มณีรัตน์ (20 เมษายน พ.ศ. 2505-14 กรกฎาคม พ.ศ. 2555) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรลำพูน เขต 2 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย และสังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นพรรคสุดท้.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสถาพร มณีรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

สงวน พงษ์มณี

งวน พงษ์มณี (เกิด 2 มกราคม พ.ศ. 2487) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรลำพูน เขต 1 และประธานคณะกรรมาธิการป้องกันและบรรเทาผลกระทบจากภัยธรรมชาติและสาธารณภัย สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสงวน พงษ์มณี · ดูเพิ่มเติม »

สงคราม กิจเลิศไพโรจน์

นายสงคราม กิจเลิศไพโรจน์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสมุทรปราการ และเหรัญญิก พรรคพลังประชาชน ปัจจุบันถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี เนื่องจากเป็นกรรมการบริหารพรรคพลังประชาชนซึ่งถูกยุบพรร.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสงคราม กิจเลิศไพโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

สง่า ธนสงวนวงศ์

นายสง่า ธนสงวนวงศ์ (เกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2499) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 5 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสง่า ธนสงวนวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สนั่น สบายเมือง

นายสนั่น สบายเมือง (เกิด 17 กันยายน พ.ศ. 2478) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2535 และครั้งสุดท้ายในปี พ.ศ. 2548 ในสังกัดพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสนั่น สบายเมือง · ดูเพิ่มเติม »

สนั่น ขจรประศาสน์

ลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ (7 กันยายน พ.ศ. 2478 — 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556) อดีตรองนายกรัฐมนตรี แกนนำพรรคชาติไทยพัฒนา และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เป็นผู้ก่อตั้ง และเคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคมหาชน เคยดำรงตำแหน่งสำคัญในรัฐบาลเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีชื่อที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า ".หนั่น".

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และสนั่น ขจรประศาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร

รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร (22 กันยายน 2495 -) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 15 อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล

หม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล (30 เมษายน พ.ศ. 2521 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร รองโฆษกพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และหม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล · ดูเพิ่มเติม »

อภิชาต ศักดิเศรษฐ์

นายอภิชาต ศักดิเศรษฐ์ (เกิด 9 ตุลาคม พ.ศ. 2503) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช 3 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และอภิชาต ศักดิเศรษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

อภิชาติ ตีรสวัสดิชัย

นายอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย (เกิด 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2535 ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

อรรคพล สรสุชาติ

นายอรรคพล สรสุชาติ อดีตผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย (2 สมัย).

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และอรรคพล สรสุชาติ · ดูเพิ่มเติม »

อริสมันต์ พงศ์เรืองรอง

อริสมันต์ พงศ์เรืองรอง เป็น นักร้อง, นักการเมือง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขาเคยเข้าร่วมกับแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) และเป็นอดีตแกนนำ นป.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และอริสมันต์ พงศ์เรืองรอง · ดูเพิ่มเติม »

อสิ มะหะมัดยังกี

นายแพทย์ อสิ มะหะมัดยังกี (เกิด 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2501) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล 2 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และอสิ มะหะมัดยังกี · ดูเพิ่มเติม »

อัศวัชร์ อภัยวงศ์

นายอัศวัชร์ อภัยวงศ์ นักธุรกิจและนักการเมืองไทย อดีตเลขาธิการพรรคถิ่นไทย และอดีตกรรมการบริหารพรรครวมใจไทยชาติพัฒน.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และอัศวัชร์ อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

อันวาร์ สาและ

นายอันวาร์ สาและ (เกิด 4 ธันวาคม พ.ศ. 2513) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปัตตานี เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2548 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ปัจจุบันสังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และอันวาร์ สาและ · ดูเพิ่มเติม »

อาภาภรณ์ พุทธปวน

นางสาวอาภาภรณ์ พุทธปวน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำพูน 2 สมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 สังกัดพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และอาภาภรณ์ พุทธปวน · ดูเพิ่มเติม »

อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์

นายกองตรี อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบสัดส่วน กลุ่ม 8 สังกัดพรรคมาตุภูมิ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และอดีตรองหัวหน้าพรรคมาตุภูม.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำนวย คลังผา

อำนวย คลังผา (เกิด 16 ตุลาคม พ.ศ. 2488) อดีตประธานคณะกรรมการประสานงานสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือวิปรัฐบาล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรลพบุรี เขต 3 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2539 ในสังกัดพรรคความหวังใหม่ ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และอำนวย คลังผา · ดูเพิ่มเติม »

อิสมาแอล เบญอิบรอฮีม

นายอิสมาแอล เบญอิบรอฮีม (เกิด 4 กันยายน พ.ศ. 2500) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 3 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และอิสมาแอล เบญอิบรอฮีม · ดูเพิ่มเติม »

อิสสระ สมชัย

อิสสระ สมชัย (เกิด 16 ธันวาคม พ.ศ. 2489) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ (ดูแลพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานีและแบบบัญชีรายชื่อ หลายสมัย และมีบุตรสาวที่เป็นนักการเมืองคือ นางสาวบุญย์ธิดา สมชัย อดีต..อุบลราชธานี.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และอิสสระ สมชัย · ดูเพิ่มเติม »

อิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์

นายอิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์ (เกิด 22 มกราคม พ.ศ. 2507) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรลำปาง เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และอิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

อิทธิเดช แก้วหลวง

นายอิทธิเดช แก้วหลวง (เกิด 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเชียงราย เขต 6 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และอิทธิเดช แก้วหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ฮอชาลี ม่าเหร็ม

นายฮอชาลี ม่าเหร็ม (เกิด 3 มีนาคม พ.ศ. 2507) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล 3 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และฮอชาลี ม่าเหร็ม · ดูเพิ่มเติม »

จักรพันธุ์ ยมจินดา

ักรพันธุ์ ยมจินดา ผู้ประกาศข่าวซึ่งมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก จากรายการข่าวทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ในช่วงปี พ.ศ. 2531-2534 อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานโทรทัศน์ และอดีตรักษาการกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ เป็นรองประธานกรรมการคนที่สอง บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และจักรพันธุ์ ยมจินดา · ดูเพิ่มเติม »

จักรภพ เพ็ญแข

ักรภพ เพ็ญแข อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลสมัคร สุนทรเวช โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร อดีตผู้บริหารสถานีโทรทัศน์พีทีวี อดีตผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ อดีตนักวิเคราะห์ข่าวต่างประเทศที่มีชื่อเสียง และเป็นผู้เปลี่ยนแปลงการบริหารงานสถานีโทรทัศน์แห่งชาติของสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จากเดิมคือ Television of Thailand (Channel 11) ไปสู่ National Broadcasting Services of Thailand.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และจักรภพ เพ็ญแข · ดูเพิ่มเติม »

จักริน พัฒน์ดำรงจิตร

นายจักริน พัฒน์ดำรงจิตร (เกิด 1 ธันวาคม พ.ศ. 2507) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขอนแก่น เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และจักริน พัฒน์ดำรงจิตร · ดูเพิ่มเติม »

จินดา วงศ์สวัสดิ์

นายจินดา วงศ์สวัสดิ์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง สังกัดพรรคไทยรักไทย และเป็นน้องชายของนายทรงชัย วงศ์สวัสดิ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และจินดา วงศ์สวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จุลพันธ์ อมรวิวัฒน์

นายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ พรรคเพื่อไทย เป็นบุตรชายของนายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

จณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์

ณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ เกิดเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2515 มีชื่อเล่นว่า แบม หรือที่นิยมเรียกกันติดปากว่า น้องแบม โฆษกพรรค และรองเลขาธิการพรรคชาติไทย และ รองโฆษกรัฐบาล พิธีการรายการโทรทัศน์ที่เคยรับงานพิธีกรรายการตีสิบ โดยภายหลังจึงลาออกมาทำงานการเมือง.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และจณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

จตุพร เจริญเชื้อ

นายจตุพร เจริญเชื้อ (เกิด 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2511) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขอนแก่น เขต 3 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และจตุพร เจริญเชื้อ · ดูเพิ่มเติม »

ธีระชัย ศิริขันธ์

นายธีระชัย ศิริขันธ์ (เกิด 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอำนาจเจริญ รวม 4 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และธีระชัย ศิริขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถวิล ฤกษ์หร่าย

นายถวิล ฤกษ์หร่าย (เกิด 22 มิถุนายน พ.ศ. 2482) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกำแพงเพชร ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2529 และครั้งสุดท้ายในปี พ.ศ. 2548 ในสังกัดพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และถวิล ฤกษ์หร่าย · ดูเพิ่มเติม »

ถาวร เสนเนียม

วร เสนเนียม อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลาหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เกิดเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2490 ที่อำเภอระโนด จังหวัดสงขล.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และถาวร เสนเนียม · ดูเพิ่มเติม »

ถนอม อ่อนเกตุพล

นายถนอม อ่อนเกตุพล อดีตที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร และโฆษกกรุงเทพมหานคร อดีตที่ปรึกษาและโฆษก สมัยผู้ว่าฯ นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน อดีต ผู้อำนวยการสถานีวิทยุกรุงเทพมหานคร อดีตรองโฆษกกรุงเทพมหานคร อดีตเลขานุการรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี นายองอาจ คล้ามไพบูล.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และถนอม อ่อนเกตุพล · ดูเพิ่มเติม »

ทรงชัย วงศ์สวัสดิ์

นายทรงชัย วงศ์สวัสดิ์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภา อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน เคยได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน เพียงคนเดียวของภาคเหนือที่ไม่ได้สังกัดพรรคไทยรักไทย ในปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และทรงชัย วงศ์สวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทวี สุระบาล

นายทวี สุระบาล (เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2491) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง 6 สมัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และทวี สุระบาล · ดูเพิ่มเติม »

ทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์

นายทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ 2 สมัย ปัจจุบันเป็นเหรัญญิกพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทศพล สังขทรัพย์

นายทศพล สังขทรัพย์ (เกิด 11 มกราคม พ.ศ. 2499) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย 7 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และทศพล สังขทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อนกำหนดเดิม และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549 รวมทั้งระดับการฉ้อราษฎร์บังหลวงลดลง โดยดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549 ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจากผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้กล่าวหารัฐบาลทักษิณหลายประการเช่น ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นเผด็จการรัฐสภา มีผลประโยชน์ทับซ้อน และควบคุมสื่อ ส่วนข้อกล่าวหาของตัวทักษิณเอง ก็มีว่าหลีกเลี่ยงภาษี หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ตลอดจนขายทรัพย์สินของบริษัทไทยให้นักลงทุนต่างชาติThe Star,, 2 April 2006The Nation,, 23 March 2006 องค์การนิรโทษกรรมสากลวิจารณ์ทักษิณว่า มีประวัติเชิงสิทธิมนุษยชนไม่สู้ดี และเขายังถูกกล่าวหาว่าปกปิดทรัพย์สินระหว่างดำรงตำแหน่งการเมือง ฟอรีนพอลิซี ยกตัวอย่างว่า เขาเป็นอดีตผู้นำของโลกที่ประพฤติไม่ดี เกิดการประท้วงของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 และวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ ศาลที่ คม.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และทักษิณ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ทัศนียา รัตนเศรษฐ

นางทัศนียา รัตนเศรษฐ (เกิด 21 กันยายน พ.ศ. 2497) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรนครราชสีมา เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2548 ในสังกัดพรรคมหาชน ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และทัศนียา รัตนเศรษฐ · ดูเพิ่มเติม »

ที่สุดในประเทศไทย

ติที่สุดในประเทศไทยเรื่องต่าง.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และที่สุดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ทนุศักดิ์ เล็กอุทัย

นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย (เกิด 14 มิถุนายน พ.ศ. 2500) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอุตรดิตถ์ เขต 3 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2539 ในสังกัดพรรคประชากรไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และทนุศักดิ์ เล็กอุทัย · ดูเพิ่มเติม »

ณหทัย ทิวไผ่งาม

ร.ณหทัย ทิวไผ่งาม อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ปี 2544 และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และณหทัย ทิวไผ่งาม · ดูเพิ่มเติม »

ดนุพร ปุณณกันต์

นุพร ปุณณกันต์ (เกิด 3 กันยายน พ.ศ. 2514) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ และรองเลขาธิการพรรคเพื่อไทย กรรมการผู้จัดการบริษัททูทเวนตี้ทรี จำกัด เป็นอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีใน ครม.ทักษิณ 2 อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และเป็นอดีตนักแสดงที่มีชื่อเสียง.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และดนุพร ปุณณกันต์ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 2000

ริสต์ทศวรรษ 2000 (2000s) คือคริสต์ทศวรรษตามปฏิทินเกรโกเรียน เริ่มต้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และคริสต์ทศวรรษ 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ครูมานิตย์ สังข์พุ่ม

นายครูมานิตย์ สังข์พุ่ม (ชื่อเดิม มานิตย์ สังข์พุ่ม) รองโฆษกพรรคเพื่อไทย เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ เขตเลือกตั้งจังหวัดสุรินทร์ เขต5 สังกัดพรรคเพื่อไทย เขตเลือกตั้งที่ 5 ได้แก่พื้นที่ อำเภอจอมพระ, อำเภอศีขรภูมิ (เฉพาะ ตำบลหนองบัว ตำบลคาละแมะ ตำบลเขวาใหญ่ ตำบลตรึม ตำบลหนองขวาว ตำบลนารุ่ง ตำบลยาง และ ตำบลกุดหวาย) และ อำเภอสำโรงทาบ (ยกเว้น ตำบลกระออม).

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และครูมานิตย์ สังข์พุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 55 (11 มีนาคม พ.ศ. 2548 - 19 กันยายน พ.ศ. 2549) พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (ยศขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2548 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายโภคิน พลกุล ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 11 มีนาคม 2548 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55 · ดูเพิ่มเติม »

ฉลอง เรี่ยวแรง

นายฉลอง เรี่ยวแรง (เกิด 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี เขต 6 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2539 ในสังกัดพรรคประชากรไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และฉลอง เรี่ยวแรง · ดูเพิ่มเติม »

ประชา ประสพดี

ประชา ประสพดี (เกิด 31 ตุลาคม พ.ศ. 2503) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ เขต 7 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และประชา ประสพดี · ดูเพิ่มเติม »

ประพร เอกอุรุ

นายประพร เอกอุรุ (1 มิถุนายน พ.ศ. 2510 - 4 กันยายน พ.ศ. 2560) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 3 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และประพร เอกอุรุ · ดูเพิ่มเติม »

ประพันธ์ คูณมี

นายประพันธ์ คูณมี เกิดเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2497 ที่จังหวัดอุบลราชธานี มีชื่อเล่นที่เรียกกันในหมู่เพื่อน ๆ ว่า "ผอม" เมื่อเหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นหนึ่งในนักศึกษาที่เข้าร่วมในเหตุการณ์ โดยทำงานร่วมกับสหพันธ์นักศึกษาเสรี และหลังเหตุการณ์ 6 ตุลา ได้หลบหนีเข้าป่า ร่วมงานกับ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) มีชื่อจัดตั้งว่า "สหายสงคราม" มีเขตงานเป็นของตนเองโดยไม่เกี่ยวข้องกับพรรคคอมมิวนิสต์ฯ ในนาม "เขตงาน 196 ภูเขียว, ชัยภูมิ" เมื่อออกจากป่า นายประพันธ์ได้กลับมาเรียนต่อจนสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และระดับ ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และจบเนติบัณฑิตไทย รุ่นที่ 37 โดยเป็นลูกศิษย์ของ นายพิศิษฏ์ เทศะบำรุง อดีตผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา และได้ร่วมกันก่อตั้งสำนักทนายความขึ้นในชื่อ "สำนักงานพิศิษฏ์ ประพันธ์ และเพื่อน".

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และประพันธ์ คูณมี · ดูเพิ่มเติม »

ประกอบ รัตนพันธ์

นายประกอบ รัตนพันธ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นประธานคณะกรรมาธิการการศึกษา สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 และเป็นอดีตข้าราชการครู สังกัดกรมอาชีวศึกษ.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และประกอบ รัตนพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประมวล พงศ์ถาวราเดช

นายประมวล พงศ์ถาวราเดช (เกิด 19 มกราคม พ.ศ. 2496) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 3 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และประมวล พงศ์ถาวราเดช · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติพรรคประชาธิปัตย์

รุปประวัติการทำงานของ พรรคประชาธิปัตย์ ตั้งแต่ก่อตั้งพรรคจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และประวัติพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประศาสตร์ ทองปากน้ำ

นายประศาสตร์ ทองปากน้ำ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุโขทัย สมาชิกพรรคมัชฌิมาธิปไตย กลุ่มมัชฌิมา เป็นคนสนิทของนายสมศักดิ์ เทพสุทิน เกิดเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2499 ที่ตำบลคลองตาล อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย เป็นบุตรของนายสนิท กับนางล้วน ทองปากน้ำ.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และประศาสตร์ ทองปากน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ

นายประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ (เกิด 5 เมษายน พ.ศ. 2499) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ 6 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ · ดูเพิ่มเติม »

ประทวน เขียวฤทธิ์

นายประทวน เขียวฤทธิ์ (เกิด 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย 6 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และประทวน เขียวฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์

นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ ประธานคณะกรรมการบริษัท ไทย แอ็กโกร เอ็กซเชนจ์ จำกัด (ตลาดไท) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อดีตเลขาธิการพรรครวมชาติพัฒนาและพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร 4 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประไพพรรณ พศบูรณินทร์

ประไพพรรณ พศบูรณินทร์ (นามสกุลเดิม: เส็งประเสริฐ) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่อายุน้อยที่สุดในประเทศไทย คือ ได้รับเลือกตั้งขณะมีอายุ 25 ปี 9 วัน.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และประไพพรรณ พศบูรณินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ บุญเรือง

นายประเสริฐ บุญเรือง (เกิด 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2502) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกาฬสินธุ์ เขต 6 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคความหวังใหม่ ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และประเสริฐ บุญเรือง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2548

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2548 ในประเทศไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และประเทศไทยใน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

ปรีชา มุสิกุล

นายแพทย์ปรีชา มุสิกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และปรีชา มุสิกุล · ดูเพิ่มเติม »

ปวีณา หงสกุล

นางปวีณา หงสกุล (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นักการเมืองสตรีชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครหลายสมัย เป็นที่รู้จักในบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์และผู้ดำเนินงานในนามมูลนิธิปวีณ.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และปวีณา หงสกุล · ดูเพิ่มเติม »

ปอรรัชม์ ยอดเณร

ปอรรัชม์ (/ปะ-ออน-รัด/) ยอดเณร (ชื่อเล่น: มิงค์) เป็นอดีตพิธีกร และนักการเมืองหญิงชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2522 เป็นบุตรคนกลางในบรรดาบุตรทั้ง 3 คน ของนายแพทย์ปิยเมธิ อดีตรองปลัดกรุงเทพมหานคร กับ มาณวิกา ยอดเณร (นามสกุลเดิม: เปมะวิภาต) อดีตผู้ประกาศข่าวช่อง 3 จบการศึกษาศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต เอกนาฏศิลป์ตะวันตก (บัลเล่ต์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตจากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีผลงานเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์รายการต่าง ๆ ในสังกัดอาร์.เอส.โปรโมชั่น รวมทั้งแสดงในภาพยนตร์เรื่อง ฝันติดไฟ หัวใจติดดิน ในปี พ.ศ. 2540 และละครโทรทัศน์ชุด พ่อ ในปี พ.ศ. 2542 และเป็นครูสอนการเต้นรำ นอกจากนี้แล้วยังเป็นอาจารย์พิเศษในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จากนั้นในต้นปี พ.ศ. 2548 ได้เข้าสู่แวดวงการเมือง จากการชักชวนของจณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ สมาชิกพรรคที่เคยอยู่ในแวดวงบันเทิงด้วยกันมา ด้วยการเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งในพื้นที่เขต 5 กรุงเทพมหานคร ซึ่งประกอบด้วยเขตปทุมวันและเขตราชเทวี สังกัดพรรคชาติไทย ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 แต่ว่าไม่ได้รับการเลือกตั้ง แต่หลังจากนั้นก็ได้มีตำแหน่งเป็นรองโฆษกพรรค จนกระทั่งในปลายปี พ.ศ. 2551 ในคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551 ซึ่งทางพรรคชาติไทยถูกศาลรัฐธรรมนูญตัดสินให้ยุบพรรคและตัดสิทธิ์ทางการเมืองกรรมการบริหารทั้งหมดเป็นเวลา 5 ปี ปอรรัชม์ก็เป็นหนึ่งในกรรมการผู้บริหารพรรคจึงถูกตัดสิทธิทางการเมืองในครั้งนั้นด้ว.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และปอรรัชม์ ยอดเณร · ดูเพิ่มเติม »

ปัญญา จีนาคำ

นายปัญญา จีนาคำ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 สังกัดพรรคความหวังใหม่ ปัจจุบันสังกัดพรรคชาติพัฒน.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และปัญญา จีนาคำ · ดูเพิ่มเติม »

ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์

ตราจารย์ ร้อยตำรวจเอก ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ (เกิด 1 สิงหาคม พ.ศ. 2493) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรครักษ์สันติ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญด้านอาชญาวิทยา และเป็นประธานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ (ก.ตร.) อดีตอธิการบดี สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยชินวัตร ชีวิตส่วนตัวสมรสกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมศรี เปี่ยมสมบูรณ์ มีบุตร-ธิดารวม 3 คน.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

นพพล เหลืองทองนารา

นายนพพล เหลืองทองนารา (เกิด 11 กันยายน พ.ศ. 2515) เป็นนักการเมืองชาวจังหวัดพิษณุโลก เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก เขต 2 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และนพพล เหลืองทองนารา · ดูเพิ่มเติม »

นพดล ปัทมะ

นพดล ปัทมะ (เกิด 23 เมษายน พ.ศ. 2504 ที่อำเภอสีดา จังหวัดนครราชสีมา) ทนายความประจำตระกูลชินวัตร เป็นผู้แทนทางกฎหมายในประเทศไทยของ.ต.ท.ดร.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และนพดล ปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

นพคุณ รัฐผไท

นายนพคุณ รัฐผไท (เกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2491) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ เขต 8 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และนพคุณ รัฐผไท · ดูเพิ่มเติม »

นันทนา ทิมสุวรรณ

นางนันทนา ทิมสุวรรณ (เกิด 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเลย เขต 2 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2548 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และนันทนา ทิมสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

นาราชา สุวิทย์

นายนาราชา สุวิทย์ (7 มกราคม พ.ศ. 2512 – 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 2 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และนาราชา สุวิทย์ · ดูเพิ่มเติม »

นาถยา แดงบุหงา

นาถยา แดงบุหงา มีชื่อจริงว่า นาถยา เบ็ญจศิริวรรณ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตนักแสดงและนางแบบที่มีชื่อเสียง นอกจากจะเป็นดาราสาวที่ได้รับการยกย่องว่า ทั้งสวย ทั้งเก๋ และเก่ง แล้ว เธอคนนี้ยังได้ชื่อว่าเป็น “เจ้าแม่พรีเซ็นเตอร์” แห่งยุคอีกด้ว.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และนาถยา แดงบุหงา · ดูเพิ่มเติม »

นิพนธ์ บุญญามณี

นายนิพนธ์ บุญญามณี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา อดีตรองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์, อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 5 สมัย เกิดวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 ที่จังหวัดสงขลา ก่อนเข้าสู่วงการเมืองประกอบอาชีพเป็นทนายความ ด้านครอบครัว สมรสกับนางกัลยา บุญญามณี(ปลัดเทศบาลนครสงขลา) มีบุตรธิดา 3 คน ได้แก่ นางสาวนิธิยา บุญญามณี นายสรรเพชญ บุญญามณี และนายนิธิกร บุญญามณี.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และนิพนธ์ บุญญามณี · ดูเพิ่มเติม »

นิภา พริ้งศุลกะ

นางนิภา พริ้งศุลกะ (เกิด 4 มกราคม พ.ศ. 2479) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี 7 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และนิภา พริ้งศุลกะ · ดูเพิ่มเติม »

นิยม ช่างพินิจ

นายนิยม ช่างพินิจ (เกิด 26 สิงหาคม พ.ศ. 2508) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2548 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และนิยม ช่างพินิจ · ดูเพิ่มเติม »

นิสิต สินธุไพร

นายนิสิต สินธุไพร (เกิด 12 มีนาคม พ.ศ. 2499) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด แกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ นป.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และนิสิต สินธุไพร · ดูเพิ่มเติม »

นิทัศน์ ศรีนนท์

นายนิทัศน์ ศรีนนท์ (เกิด 1 เมษายน พ.ศ. 2500) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรนนทบุรี เขต 1 และประธานคณะกรรมาธิการแรงงาน สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และนิทัศน์ ศรีนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

โมฮามัดยาสรี ยูซง

ว่าที่ร้อยตรีโมฮามัดยาสรี ยูซง (เกิด 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2505) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 1 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และโมฮามัดยาสรี ยูซง · ดูเพิ่มเติม »

โสภณ ซารัมย์

นายโสภณ ซารัมย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์ สังกัดพรรคภูมิใจไทย เกิดเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2502 ที่ บ้านหนองเก้าข่า ตำบลเมืองแฝก อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ สมรสกับนางอารีภรณ์ ซารัมย์ มีบุตร 3 คน นายโสภณ ซารัมย์ จบการศึกษาครุศาสตรบัณฑิต สาขาการประถมศึกษา จากวิทยาลัยครูบุรีรัม.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และโสภณ ซารัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

โสภณ เพชรสว่าง

ณ เพชรสว่าง อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ 1 อดีตเลขาธิการพรรคมวลชน ปัจจุบันสังกัดพรรคพลังพลเมืองไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และโสภณ เพชรสว่าง · ดูเพิ่มเติม »

ไชยวัฒน์ ติณรัตน์

นายไชยวัฒน์ ติณรัตน์ (เกิด 21 สิงหาคม พ.ศ. 2502) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมหาสารคาม เขต 2 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 ในสังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และไชยวัฒน์ ติณรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ไพศาล จันทรภักดี

นายไพศาล จันทรภักดี (เกิด 25 มีนาคม พ.ศ. 2492) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ 7 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และไพศาล จันทรภักดี · ดูเพิ่มเติม »

เฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา

ันเอก เฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา เกิดเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 เป็นบุตรชายของ พลเอก เฟื่องเฉลย อนิรุทธเทวา และ หม่อมราชวงศ์หญิงวิมลโพยม (สวัสดิวัตน์) มีชื่อเล่นว่า "แซม" สืบตระกูลโดยเป็นหลานชายของพระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) ผู้เป็นเจ้าของบ้านพิษณุโลก น้องชายของเจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ) ผู้เป็นเจ้าของบ้านนรสิงห์ โดยที่ตระกูลอนิรุทธเทวารับราชการทหารมาตั้งแต่รัชสมัยล้นเกล้ารัชกาลที่ 6.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และเฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา · ดูเพิ่มเติม »

เกรียง กัลป์ตินันท์

นายเกรียง กัลป์ตินันท์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี อดีตสมาชิกบ้านเลขที่ 111 ปัจจุบันเป็นรองหัวหน้าพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และเกรียง กัลป์ตินันท์ · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์

Dr.Dan's 60th Birthday: 60 ปี คนดีมีพลัง ศาสตราจารย์ เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (เกิด 9 กันยายน พ.ศ. 2498, ชื่อเล่น: แดน) หรือที่รู้จักกันในนาม ดร.แดน กงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์สาธารณรัฐซิมบับเวประจำประเทศไทย และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 นักวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ อดีตอาจารย์หลายมหาวิทยาลัย เคยลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพ พ.ศ. 2551 ในหมายเลข 2 มีผลงานด้านการเขียนหนังสือมากมาย ในหลากหลายสาขา เช่น เศรษฐกิจ นโยบายการศึกษา การต่างประเทศ สังคม การเมือง การศึกษา ความสำเร็จ การดำเนินชีวิต โดยมีหนังสือมากกว่า 200 เล่ม และมีผลงานบทความตีพิมพ์ลงวารสารวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศเป็นประจำมากกว่า 500 เรื่อง และแสดงทัศนะต่างๆมากกว่า 4000 เรื่อง.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และเกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เยาวภา วงศ์สวัสดิ์

วภา วงศ์สวัสดิ์ (ชื่อเล่น: แดง) อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ พรรคเพื่อไทย ประธาน..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และเยาวภา วงศ์สวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เรวัต สิรินุกุล

นายเรวัต สิรินุกุล (เกิด 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี 9 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และเรวัต สิรินุกุล · ดูเพิ่มเติม »

เรวดี รัศมิทัต

นางสาวเรวดี รัศมิทัต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ สังกัดพรรคภูมิใจไทย ได้รับเลือกตั้งเป็น..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และเรวดี รัศมิทัต · ดูเพิ่มเติม »

เรืองวิทย์ ลิกค์

นายกองเอก เรืองวิทย์ ลิกค์ อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกำแพงเพชร 9 สมัย ชาวกำแพงเพชรรู้จักกันในนามผู้แทนฯ "ใจถึง พึ่งได้ พบง่าย ใช้คล่อง".

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และเรืองวิทย์ ลิกค์ · ดูเพิ่มเติม »

เศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์

นายเศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์ (เกิด 1 สิงหาคม พ.ศ. 2509) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด เขต 8 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2535 ในสังกัดพรรคความหวังใหม่ ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และเศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เอกพจน์ วงศ์นาค

อกพจน์ วงศ์นาค นักร้องลูกทุ่ง มีชื่อจริงว่า เอกพจน์ ปานแย้ม เกิดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2512 ที่จังหวัดปทุมธานี จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก็ออกเดินสายร้องเพลงลูกทุ่งไปตามที่ต่าง ๆ พร้อมกับเรียนการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) ไปด้วย โดยเพลงที่ได้รับความนิยมและสร้างชื่อให้แก่เอกพจน์ คือ เพลง ทหารเกณฑ์คนจน สังกัดค่ายชัวร์ออดิโอ ด้วยการชักชวนของเด๋อ ดอกสะเดา และมีชื่อเสียงเคียงคู่กับสุนารี ราชสีม.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และเอกพจน์ วงศ์นาค · ดูเพิ่มเติม »

เอกธนัช อินทร์รอด

นายเอกธนัช อินทร์รอด (ชื่อเดิม: คมสัน ชื่อเล่น: คม) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ นายทะเบียนพรรคเพื่อไทย อดีตเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และเอกธนัช อินทร์รอด · ดูเพิ่มเติม »

เอี่ยม ทองใจสด

นายเอี่ยม ทองใจสด (เกิด 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2484) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ เขต 6 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2529 ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และเอี่ยม ทองใจสด · ดูเพิ่มเติม »

เอนก เหล่าธรรมทัศน์

.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บนหน้าปกหนังสือ ''สองนครา ประชาธิปไตย'' ของตัวเอง ศาสตราจารย์พิเศษ เอนก เหล่าธรรมทัศน์ กรรมการสภาผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ปรึกษาและกรรมการคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 7/2560 ประธานคณะกรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 อธิการ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต นักวิชาการและนักการเมือง อดีตหัวหน้าพรรคมหาชน และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกิดวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2497 ที.ลำปาง เป็นเจ้าของทฤษฎี "สองนคราประชาธิปไตย" ที่สรุปว่า "คนต่างจังหวัดตั้งรัฐบาล คนกรุงเทพฯล้มรัฐบาล" เคยได้รับสมญานามจาก.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ว่า "ไอ้หนุ่มซินตึ๊ง".

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และเอนก เหล่าธรรมทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจริญ คันธวงศ์

ริญ คันธวงศ์ (ร้อยตรี เจริญ คันธวงศ์) กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตประธาน..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และเจริญ คันธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจิมมาศ จึงเลิศศิริ

นางเจิมมาศ จึงเลิศศิริ รองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตสภากรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และเจิมมาศ จึงเลิศศิริ · ดูเพิ่มเติม »

เจ๊ะอิสมาแอ เจ๊ะโมง

ันตำรวจโทเจ๊ะอิสมาแอ เจ๊ะโมง (เกิด 14 ธันวาคม พ.ศ. 2491) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 2 สมั.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และเจ๊ะอิสมาแอ เจ๊ะโมง · ดูเพิ่มเติม »

เทพไท เสนพงศ์

นายเทพไท เสนพงศ์ รองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตโฆษกประจำตัว นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ส.ส.จังหวัดนครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ รองผู้อำนวยการพรรคประชาธิปัตย์ กรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ เลขานุการคณะกรรมาธิการติดตามมติสภาผู้แทนราษฎร และ เลขานุการรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย การศึกษา ประกาศนียบัตร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(กฎหมายมหาชน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย(FUTURE OF LEADER) คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง นายเทพไท เสนพงศ์ เริ่มต้นชีวิตในวงการเมือง ตั้งแต่ยังเรียนหนังสืออยู่ด้วยการเป็นนักกิจกรรม ได้เป็นนายกองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง สายล่อฟ้า, รายการ ทางบลูสกายแชนแนล: ศุกร์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 และได้รับการมอบหมายให้เป็นเลขานุการรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในปี พ.ศ. 2535-พ.ศ. 2537 และในปี พ.ศ. 2540-พ.ศ. 2543 ได้รับเลือกให้เป็นเลขานุการรัฐมนตรีช่วยอีกครั้ง นายเทพไท เสนพงศ์ ลงสมัครเลือกตั้งครั้งแรกเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ที่จังหวัดนครศรีธรรมราชและได้รับการเลือกตั้งเป็นต้นมา และมีบทบาทเป็นโฆษกของพรรคประชาธิปัตย์ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์และนายกรัฐมนตรี นอกจากนี้ยังเป็นผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ รายการสายล่อฟ้า และ รายการวิเคราะห์คอลัมนิสต์ ทางสถานีโทรทัศน์บลูสกายแชนแนล อีกด้วย ชีวิตส่วนตัว นายเทพไทเป็นบุตรคนที่ 3 ในบรรดาพี่น้องทั้งหมด และมีเชื้อสายตูนิเซีย สมรสกับ นางสาวพอเพ็ญ เริงประเสริฐวิทย์ บุตรีของ.อ.(พิเศษ) พล เริงประเสริฐวิทย์ อดีต..จังหวัดอุทัยธานี 6 สมัย อดีตหัวหน้าพรรคสยามประชาธิปไตย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตนักการเมืองและนักธุรกิจพันล้านในสมัยนั้น.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และเทพไท เสนพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เดือนเต็มดวง ณ เชียงใหม่

ร.อ.หญิง ดร.เดือนเต็มดวง (ที่ 4 จากขวา) ในโปสเตอร์หาเสียงของพรรคประชาธิปัตย์ในการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2548 การหาเสียงเลือกตั้งนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ พ.ศ. 2550 ร้อยเอก(หญิง) เดือนเต็มดวง ณ เชียงใหม่ อดีตที่ปรึกษาผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร อดีตนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ และคณะทำงานของพรรคประชาธิปัตย์ เป็นบุตรสาวของนายธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ และเป็นหลานสาวของเจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และเดือนเต็มดวง ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิมชาติ การุญ

นายเฉลิมชาติ การุญ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร และเป็นอดีตประธานคณะกรรมาธิการกิจการองค์กรตามรัฐธรรมนูญ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และกองทุน ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และเฉลิมชาติ การุญ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์

นายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ อดีตนักการเมืองและนักธุรกิจชาวไทยที่มีชื่อเสียง เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ พรรคเอกภาพ รวมถึงเป็นรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์

นางสาวเฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์ (เกิด 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2506) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ต 2 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฏรระบบสัดส่วน.

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และเฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

เนวิน ชิดชอบ

นวิน ชิดชอบ ปัจจุบันเป็นประธานบริหารสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด อดีตเคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและรัฐมนตรีหลายสมัย และเคยเป็นหนึ่งในบุคคลใกล้ชิดคนสำคัญของอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร และเป็นบุคคลสำคัญ ที่ทำให้นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในปี..

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และเนวิน ชิดชอบ · ดูเพิ่มเติม »

6 กุมภาพันธ์

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548และ6 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2548การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในไทย พ.ศ. 2548

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »