สารบัญ
9 ความสัมพันธ์: ชาวอังกฤษพระราชบัญญัติสวามิภักดิ์ ค.ศ. 1661รอเบิร์ต เจ็นคินสัน เอิร์ลที่ 2 แห่งลิเวอร์พูลวิลเลียม เกรนวิลล์ บารอนเกรนวิลล์สเปนเซอร์ เพอร์ซิวัลทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ประวัติศาสตร์ไอร์แลนด์แดเนียล โอคอนเนลล์เอ็ดมันด์ เบิร์ก
ชาวอังกฤษ
วอังกฤษ เป็นกลุ่มของชาวยุโรปที่เคยอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของบริเตนใหญ่ เป็นชาวแองโกล-แซกซอนส์ ที่ปัจจุบันอาศัยกระจายอยู่หลายประเทศทั่วโลก ในสหราชอาณาจักร มีอยู่ 45,265,093 คน สหรัฐอเมริกา 24,515,138 คน แคนาดา 5,978,875 คน ออสเตรเลีย 6.4 ล้านคน และประเทศอื่นๆ ทั่วโลก ชาวอังกฤษส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต.
ดู การเลิกกีดกันชาวคาทอลิกและชาวอังกฤษ
พระราชบัญญัติสวามิภักดิ์ ค.ศ. 1661
ระราชบัญญัติสวามิภัก..
ดู การเลิกกีดกันชาวคาทอลิกและพระราชบัญญัติสวามิภักดิ์ ค.ศ. 1661
รอเบิร์ต เจ็นคินสัน เอิร์ลที่ 2 แห่งลิเวอร์พูล
รอเบิร์ต แบงก์ส เจ็นคินสัน เอิร์ลที่ 2 แห่งลิเวอร์พูล (Robert Banks Jenkinson, 2nd Earl of Liverpool) เป็นนักการเมืองชาวอังกฤษ เขาเป็นนายกรัฐมนตรีที่อายุน้อยที่สุดและดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดของอังกฤษ ในช่วงที่เป็นนายกรัฐมนตรี เขาใช้มาตรการอดกลั้นที่สุดในการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศในช่วงการจลาจลในปี 1819 เขาร่วมมืออย่างละมุนละม่อมกับเจ้าชายจอร์จ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแทนพระเจ้าจอร์จที่ 3 ที่ไม่สามารถออกว่าราชการ ในการประคับประคองสถานการณ์ในประเทศให้ผ่านพ้นไปได้ เหตุการณ์สำคัญในช่วงที่เขาเป็นนายกรัฐมนตรี คือการทำสงครามกับสหรัฐอเมริกา ในปี 1812, สงครามประสานมิตรครั้งที่หกและครั้งที่เจ็ดเพื่อต่อต้านการเรืองอำนาจของจักรวรรดิฝรั่งเศส การแถลงสรุปผลสงครามนโปเลียนในการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา, การออกกฎหมายข้าวโพด, การสังหารหมู่ที่ปีเตอร์ลู และเริ่มการเลิกกีดกันชาวคาทอลิก เขาเกิดในตระกูลขุนนาง เป็นบุตรของชาลล์ เจ็นคินสัน (ต่อมาได้เป็นเอิร์ลแห่งลิเวอร์พูล) ที่ปรึกษาในพระเจ้าจอร์จที่ 3 มารดาของเขาคือ อเมเลีย วัตต์ บุตรสาวของวิลเลียม วัตต์ เจ้าหน้าที่อาวุโสในบริษัทอินเดียตะวันออก มารดาของเขาตายหลังเขาเกิดได้หนึ่งเดือน.
ดู การเลิกกีดกันชาวคาทอลิกและรอเบิร์ต เจ็นคินสัน เอิร์ลที่ 2 แห่งลิเวอร์พูล
วิลเลียม เกรนวิลล์ บารอนเกรนวิลล์
วิลเลียม วิลด์แฮม เกรนวิลล์ บารอนเกรนวิลล์ (William Wyndham Grenville, Baron Grenville) เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษจากพรรควิก ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรระหว่าง..
ดู การเลิกกีดกันชาวคาทอลิกและวิลเลียม เกรนวิลล์ บารอนเกรนวิลล์
สเปนเซอร์ เพอร์ซิวัล
ปนเซอร์ เพอร์ซิวัล (Spencer Perceval) เป็นนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ 4 ตุลาคม..
ดู การเลิกกีดกันชาวคาทอลิกและสเปนเซอร์ เพอร์ซิวัล
ทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์
ร่างสตรีและเด็กที่เป็นบรรยายความยากเข็ญของบริจิต โอดอนเนล จากลอนดอนนิวส์ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1849 ทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ (An Gorta Mór, Irish Potato Famine) หรือในภาษาเกลิก “An Gorta Mór” แปลตรงตัวว่า “ความโหยหิวอันยิ่งใหญ่” หรือ “An Drochshaol” ที่แปลว่า “ชีวิตอันตกอับ” เป็นสมัยที่เกิดทุพภิกขภัย โรคระบาด และการย้ายถิ่นฐานครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ระหว่างปี..
ดู การเลิกกีดกันชาวคาทอลิกและทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์
ประวัติศาสตร์ไอร์แลนด์
อร์แลนด์ราว ค.ศ. 1014 ที่ประกอบด้วยอาณาจักรต่างๆ ที่เป็นอริต่อกัน ประวัติศาสตร์ไอร์แลนด์ (History of Ireland) การตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ครั้งแรกในไอร์แลนด์เริ่มขึ้นราว 8000 ปีก่อนคริสต์ศักราช เมื่อหมู่ชนของระบบสังคมล่าสัตว์-เก็บพืชผักเริ่มเดินทางเข้ามาจากแผ่นดินใหญ่ยุโรปอาจจะโดยทางสะพานแผ่นดินที่เคยเชื่อมระหว่างสองทวีป หลักฐานทางโบราณคดีของประชากรกลุ่มนี้แทบจะไม่มีร่องรอยให้เห็น แต่ผู้สืบเชื้อสายจากคนกลุ่มนี้และต่อมาของกลุ่มคนที่โยกย้ายเข้ามาจากคาบสมุทรไอบีเรียก็ได้ทิ้งร่องรอยของแหล่งโบราณคดีสำคัญๆ ของยุคหินใหม่เอาไว้ เช่นอนุสรณ์นิวเกรนจ์ การมาถึงของนักบุญแพทริคและผู้เผยแพร่ศาสนาในต้นจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 5 คริสต์ศาสนาก็เข้ามาแทนที่ลัทธิพหุเทวนิยมของเคลติคที่มาสิ้นสุดลงโดยสิ้นเชิงในปี ค.ศ.
ดู การเลิกกีดกันชาวคาทอลิกและประวัติศาสตร์ไอร์แลนด์
แดเนียล โอคอนเนลล์
แดนเนียล โอคอนเนลล์ (Dónal Ó Conaill, Daniel O'Connell) (6 สิงหาคม ค.ศ. 1775 - (15 พฤษภาคม ค.ศ. 1847) หรือที่รู้จักกันว่า “The Liberator” (ผู้ปลดปล่อย) หรือ “The Emancipator” (ผู้ปลดปล่อย) โอคอนเนลล์เป็นผู้นำทางการเมืองชาวไอริชของครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีบทบาทเพื่อการการปลดแอกคาทอลิก (Catholic emancipation) ซึ่งเป็นการพยายามให้ผู้นับถือโรมันคาทอลิกมีสิทธิได้รับการเลือกตั้งให้นั่งในรัฐสภาเวสต์มินสเตอร์ซึ่งโรมันคาทอลิกไม่มีสิทธิมาเป็นเวลากว่าหนึ่งร้อยปี และเป็นผู้สนับสนุนขบวนการสมาคมเพื่อการเพิกถอนการเป็นสหภาพกับอังกฤษ (Repeal Association).
ดู การเลิกกีดกันชาวคาทอลิกและแดเนียล โอคอนเนลล์
เอ็ดมันด์ เบิร์ก
อ็ดมันด์ เบิร์ก (Edmund Burke) เป็นรัฐบุรุษชาวไอร์แลนด์ และยังเป็นทั้งนักปรัชญา, นักปราศรัย, นักทฤษฏีการเมือง และเป็นนักการเมืองอังกฤษสังกัดพรรควิกโดยเป็นสมาชิกสภาสามัญชน เขาเป็นที่รู้จักจากการสนับสนุนการปฏิวัติอเมริกา, การเลิกกีดกันชาวคาทอลิก, การฟ้องร้องข้าหลวงวอร์เรน ฮาสติงส์ แห่งบริษัทอินเดียตะวันออก และภายหลังจากการไม่เห็นด้วยกับการปฏิวัติฝรั่งเศส ซึ่งทำให้เขาผันตัวไปเป็นผู้นำกลุ่มอนุรักษนิยมในพรรควิกซึ่งเป็นเสียงข้างน้อยในสภา ซึ่งตัวเขาเรียกกลุ่มนี้ว่า กลุ่ม "วิกเก่า" (Old Whigs) ซึ่งอยู่ขั้วตรงข้ามกับฝ่ายสนับสนุนการปฏิวัติฝรั่งเศสซึ่งเรียกว่ากลุ่ม "วิกใหม่" (New Whigs) ที่นำโดยชาร์ล เจมส์ ฟ็อกซ์ เบิร์กเชื่อว่าเสรีภาพและจารีตประเพณีสามารถไปด้วยกันได้ ไม่จำเป็นต้องขัดแย้งถึงขั้นนองเลือดหรือสถาปนาฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดขึ้นเป็นฝ่ายชนะอย่างขาดลอยชัดเจน การเปลี่ยนแปลงโดยฉับพลันนั้นจะนำมาซึ่งความสูญเสียไม่คุ้มกับประโยชน์ที่ได้รับ ดังนั้นเขาจึงเชื่อมั่นในวิถีแห่งการประนีประนอมมากกว่าการห้ำหั่นเอาชนะ ในขณะที่เขาต่อต้านการปฏิวัติฝรั่งเศสเขากลับสนับสนุนการปลดแอกของอเมริกาจากอังกฤษ เขาให้เหตุผลว่าเนื่องจากการปฏิวัติในฝรั่งเศสนั้นไม่ได้ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการแสวงหาเสรีภาพและความเท่าเทียมตั้งแต่ต้น แต่เกิดจากการยุยงโดยชนชั้นนำซึ่งท้ายที่สุดจะนำไปซึ่งการปกครองในระบอบเผด็จการที่เลวร้ายกว่าเดิม ในศตวรรษที่ 20 หลังจากที่เขาเสียชีวิตกว่าร้อยปีแล้ว เขากลายมาเป็นว่าได้รับการนับถืออย่างมากในฐานะนักปรัชญาผู้เป็นบิดาแห่งแนวคิดอนุรักษนิยมสมัยใหม.
ดู การเลิกกีดกันชาวคาทอลิกและเอ็ดมันด์ เบิร์ก
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Catholic EmancipationCatholic Emancipation Actการปลดแอกคาทอลิกพระราชบัญญัติเพื่อการปลดแอกคาทอลิก