โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การล้อมกรุงเวียนนา

ดัชนี การล้อมกรุงเวียนนา

การปิดล้อมกรุงเวียนนา (Siege of Vienna) (27 กันยายน-14 ตุลาคม ค.ศ. 1529) การปิดล้อมกรุงเวียนนาในปี ค.ศ. 1529 เป็นความพยายามครั้งแรกโดยจักรวรรดิออตโตมันที่นำโดยสุลต่านสุลัยมานเพื่อที่จะยึดกรุงเวียนนาในออสเตรีย การปิดล้อมเมืองครั้งนี้ถือเป็นสัญญาณบ่งบอกถึงอำนาจของจักรวรรดิออตโตมันซึ่งกำลังขยายถึงจุดสูงสุด ซึ่งมีอาณาเขตขยายมาจนถึงบริเวณยุโรปกลาง หลังจากนั้นความเป็นปฏิปักษ์ต่อกันก็ยืดเยื้อยาวนานออกไปกว่า150ปี และในที่สุดจึงกลายเป็นยุทธการเวียนนาในปีค.ศ. 1683 ซึ่งเป็นการเริ่มมหาสงครามตุรกี (Great Turkish War) โดยมหาอำนาจยุโรปในการพยายามกำจัดออตโตมันออกจากยุโรปกลาง การล้อมครั้งนี้จบลงด้วยความล้มเหลวของฝ่ายออตโตมันในการพยายามยึดที่มั่นสำคัญของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในขณะนั้น และเป็นจุดเปลี่ยนทิศทางของชัยชนะในยุโรปตะวันออกและยุโรปกลางของจักรวรรดิออตโตมันที่ได้รับชัยชนะมาตลอดก่อนหน้านั้น ซึ่งรวมถึงการได้ฮังการีตะวันออกเฉียงใต้มาเป็นอาณาจักรในบริวารในยุทธการโมเฮ็คส์ (Battle of Mohács) เหตุการณ์ครั้งนี้มักกล่าวกันว่าเป็นจุดที่เริ่มนำความตกต่ำมาสู่จักรวรรดิออตโตมันที่ครั้งหนึ่งเคยเป็นมหาอำนาจทางการทหารทั้งในยุโรปและเอเชีย และเป็นการพ่ายแพ้ทำความอัปยศให้แก่ออตโตมันในการมาพ่ายแพ้ต่อกองกำลังที่เล็กกว่าและมีประสิทธิภาพด้อยกว่า นักประวัติศาสตร์บางท่านสันนิษฐานว่าจุดประสงค์หลักของสุลต่านสุลัยมานในการล้อมกรุงเวียนนาในปี ค.ศ. 1529 เป็นการแสดงอำนาจเหนือฮังการี เพราะด้านตะวันตกของฮังการีที่เรียกว่ารอยัลฮังการีที่ยังดำรงความเป็นอิสระจากออตโตมันอยู่ นอกจากนั้นการตัดสินใจเข้าโจมตีเวียนนาหลังจากการยุติการรณรงค์ในยุโรปของออตโตมันไปเป็นเวลานานทำให้คาดกันว่าเป็นการโจมตีแบบฉวยโอกาสหลังจากที่ได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดในฮังการี ส่วนนักวิชาการผู้อื่นก็ตั้งทฤษฎีว่าการปราบปรามฮังการีเป็นเพียงบทนำของการเริ่มการเข้ามารุกรานยุโรปตามที่ได้วางแผนไว้ก่อนหน้านั้นแล้ว.

5 ความสัมพันธ์: ชเตฟันสโดมการล้อมกรุงเวียนนาสุลัยมานผู้เกรียงไกรคริสต์ศตวรรษที่ 16คริสต์ทศวรรษ 1520

ชเตฟันสโดม

การขยายอาสนวิหารนักบุญสเทเฟน: The '''หอโรมันและประตูยักษ์''' จากซากไหม้ของโบสถ์แรกใช้เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้างแบบโรมาเนสก์'''โบสถ์ที่สอง''' สร้างแทนโบสถ์เดิม สี่สิบปีต่อมา ก็เริ่มก่อสร้าง '''Albertine Choir''' แบบกอธิค; ห้าสิบห้าปีหลังจากนั้นก็สร้าง '''ส่วนต่อเติมดยุกรูดอล์ฟที่ 4''' รอบบริเวณ '''โบสถ์ที่สอง''' ที่ต่อมาถูกรื้อทิ้ง เหลือโบสถ์ที่สามให้เป็นสิ่งก่อสร้างที่เห็นกันอยู่ในปัจจุบัน อาสนวิหารนักบุญสเทเฟน หรือ ชเตฟันสโดม (Stephansdom, St.) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกในอัครมุขมณฑลเวียนนา และเป็นที่ตั้งอาสนะของอาร์ชบิชอปแห่งเวียนนา ตัวอาสนวิหารตั้งอยู่ใจกลางกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบโรมานเนสก์ และ กอทิก ริเริ่มโดยรูดอล์ฟที่ 4 ดยุกแห่งออสเตรีย โบสถ์ปัจจุบันตั้งอยู่บนซากโบสถ์เดิมที่สร้างก่อนหน้านั้นสองโบสถ์ โบสถ์แรกเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชที่ได้รับการเสกในปี ค.ศ. 1147 อาสนวิหารนักบุญสเทเฟนเป็นสิ่งก่อสร้างที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในกรุงเวียนนาที่เห็นได้อย่างเด่นชัดจากหลังคากระเบื้องหลากสี.

ใหม่!!: การล้อมกรุงเวียนนาและชเตฟันสโดม · ดูเพิ่มเติม »

การล้อมกรุงเวียนนา

การปิดล้อมกรุงเวียนนา (Siege of Vienna) (27 กันยายน-14 ตุลาคม ค.ศ. 1529) การปิดล้อมกรุงเวียนนาในปี ค.ศ. 1529 เป็นความพยายามครั้งแรกโดยจักรวรรดิออตโตมันที่นำโดยสุลต่านสุลัยมานเพื่อที่จะยึดกรุงเวียนนาในออสเตรีย การปิดล้อมเมืองครั้งนี้ถือเป็นสัญญาณบ่งบอกถึงอำนาจของจักรวรรดิออตโตมันซึ่งกำลังขยายถึงจุดสูงสุด ซึ่งมีอาณาเขตขยายมาจนถึงบริเวณยุโรปกลาง หลังจากนั้นความเป็นปฏิปักษ์ต่อกันก็ยืดเยื้อยาวนานออกไปกว่า150ปี และในที่สุดจึงกลายเป็นยุทธการเวียนนาในปีค.ศ. 1683 ซึ่งเป็นการเริ่มมหาสงครามตุรกี (Great Turkish War) โดยมหาอำนาจยุโรปในการพยายามกำจัดออตโตมันออกจากยุโรปกลาง การล้อมครั้งนี้จบลงด้วยความล้มเหลวของฝ่ายออตโตมันในการพยายามยึดที่มั่นสำคัญของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในขณะนั้น และเป็นจุดเปลี่ยนทิศทางของชัยชนะในยุโรปตะวันออกและยุโรปกลางของจักรวรรดิออตโตมันที่ได้รับชัยชนะมาตลอดก่อนหน้านั้น ซึ่งรวมถึงการได้ฮังการีตะวันออกเฉียงใต้มาเป็นอาณาจักรในบริวารในยุทธการโมเฮ็คส์ (Battle of Mohács) เหตุการณ์ครั้งนี้มักกล่าวกันว่าเป็นจุดที่เริ่มนำความตกต่ำมาสู่จักรวรรดิออตโตมันที่ครั้งหนึ่งเคยเป็นมหาอำนาจทางการทหารทั้งในยุโรปและเอเชีย และเป็นการพ่ายแพ้ทำความอัปยศให้แก่ออตโตมันในการมาพ่ายแพ้ต่อกองกำลังที่เล็กกว่าและมีประสิทธิภาพด้อยกว่า นักประวัติศาสตร์บางท่านสันนิษฐานว่าจุดประสงค์หลักของสุลต่านสุลัยมานในการล้อมกรุงเวียนนาในปี ค.ศ. 1529 เป็นการแสดงอำนาจเหนือฮังการี เพราะด้านตะวันตกของฮังการีที่เรียกว่ารอยัลฮังการีที่ยังดำรงความเป็นอิสระจากออตโตมันอยู่ นอกจากนั้นการตัดสินใจเข้าโจมตีเวียนนาหลังจากการยุติการรณรงค์ในยุโรปของออตโตมันไปเป็นเวลานานทำให้คาดกันว่าเป็นการโจมตีแบบฉวยโอกาสหลังจากที่ได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดในฮังการี ส่วนนักวิชาการผู้อื่นก็ตั้งทฤษฎีว่าการปราบปรามฮังการีเป็นเพียงบทนำของการเริ่มการเข้ามารุกรานยุโรปตามที่ได้วางแผนไว้ก่อนหน้านั้นแล้ว.

ใหม่!!: การล้อมกรุงเวียนนาและการล้อมกรุงเวียนนา · ดูเพิ่มเติม »

สุลัยมานผู้เกรียงไกร

ลต่านสุลัยมานที่ 1 (ตุรกีออตโตมัน: سلطان سليمان اول‎) พระองค์เป็นที่รู้จักในโลกตะวันตกว่า สุลัยมานผู้เกรียงไกร และเป็นที่รู้จักในโลกตะวันออกว่า สุลัยมานผู้ตรากฎหมาย ทรงเป็นประมุขของจักรวรรดิออตโตมันสมัยราชวงศ์ออสมันระหว่างปี ค.ศ. 1520 จนเสด็จสวรรคตเมื่อต้นเดือนกันยายนปี ค.ศ. 1566 เป็นสุลต่านพระองค์ที่ 10 และเป็นสุลต่านที่ทรงราชย์นานที่สุดของจักรวรรดิออตโตมัน เป็นเวลานานถึง 46 ปี สุลต่านสุลัยมานเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1494 ที่ทราบซอนในประเทศตุรกี เป็นพระราชโอรสในสุลต่านเซลิมที่ 1 และฮาฟซา ฮาทุน (Hafsa Hatun) ทรงเสกสมรสตามกฎหมายกับร็อกเซลานา หรือเฮอร์เรมสุลต่าน พระองค์เสด็จสวรรคตเมื่อราววันที่ 5/6 กันยายน ค.ศ. 1566 ที่ Szigetvár ในประเทศฮังการีปัจจุบัน หลังจากพระองค์เสด็จสวรรคต พระราชโอรสของพระองค์กับเฮอร์เรมสุลต่านก็ขึ้นครองราชย์เป็นสุลต่านเซลิมที่ 2 สุลต่านสุลัยมานเป็นพระมหากษัตริย์องค์สำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีบทบาทสำคัญไม่เพียงแต่ในจักรวรรดิออตโตมันเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงททวีปยุโรปด้วย พระองค์มีพระบรมราชานุภาพอันยิ่งใหญ่ทางการทหารและทางเศรษฐกิจ ทรงเป็นผู้นำทัพด้วยพระองค์เองในการสงครามหลายครั้งและทรงได้รับชัยชนะในสงครามหลายครั้งที่รวมทั้งต่อเบลเกรด โรดส์ และ ฮังการีเกือบทั้งหมด แต่มาทางพ่ายแพ้ในการล้อมกรุงเวียนนาในปี..

ใหม่!!: การล้อมกรุงเวียนนาและสุลัยมานผู้เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 16

ริสต์ศตวรรษที่ 16 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1501 ถึง ค.ศ. 1600 ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 นี้ สเปนและโปรตุเกสได้มีการเดินเรือเพื่อออกไปสำรวจสถานที่ต่างๆ หลังจากที่คริสโตเฟอร์ โคลัมบัสได้ค้นพบโลกใหม.

ใหม่!!: การล้อมกรุงเวียนนาและคริสต์ศตวรรษที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1520

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: การล้อมกรุงเวียนนาและคริสต์ทศวรรษ 1520 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Siege of Vienna

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »