สารบัญ
66 ความสัมพันธ์: ชีวประวัตินักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีฟรันซิสโก คาเบียร์ฟร็องซัว เดอ ซาลพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าซีกิสมุนด์แห่งเบอร์กันดีกลาราแห่งอัสซีซีกามิลโล เด เลลลิสการประกาศเป็นบุญราศีกาเตรีนาแห่งซีเอนามรณสักขีแห่งเมืองลาวมหาวิหารนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีมาร์เกอริต-มารี อาลาก็อกยอห์นแห่งไม้กางเขนรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อยลุยจี กอนซากาลุดมิลาแห่งโบฮีเมียวันสมโภชนักบุญทั้งหลายวีจีลีโอแห่งเตรนโตสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 6สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7หลุยส์ เดอ มงฟอร์ออริเจนอัลฟอนโซ มาเรีย เด ลีกูโอรีอัสซีซีอัครมุขมณฑลมิลานอัครทูตอาสนวิหารวานอีซาเบลแห่งอารากอน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกสอีซีโดโรแห่งเซบียาฌาน ดาร์กฌานแห่งฝรั่งเศส ดัชเชสแห่งแบรีผู้รับใช้พระเป็นเจ้าฌ็อง-บาติสต์ เดอ ลา ซาลจักรพรรดินีไอรีนแห่งเอเธนส์ทอมัส มอร์ทอมัส แบ็กกิตคิม แท-ก็อนคณะพระมหาไถ่คณะกลาริสปิตาจารย์แห่งคริสตจักรนักบุญอักแนสนักบุญดอมินิกนักบุญดันสตันนักบุญเจอโรมนครรัฐวาติกันแบร์นาร์แห่งแกลร์โว... ขยายดัชนี (16 มากกว่า) »
ชีวประวัตินักบุญ
นักบุญเซบาสเตียนโดยโจวันนี เบลลีนี ชีวประวัตินักบุญ (Hagiography) คือวรรณกรรมเกี่ยวกับประวัติชีวิตนักบุญหรือผู้นำคริสตจักร ส่วนคำว่า “hagiology” หมายถึง วิชาว่าด้วยชีวประวัตินักบุญ ชีวประวัตินักบุญในศาสนาคริสต์เน้นประวัติชีวิตและการอัศจรรย์ของผู้ได้รับการประกาศเป็นนักบุญในคริสตจักรโรมันคาทอลิก แองกลิคันคอมมิวเนียน อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ ในศาสนาอื่น ๆ อาจมีวรรณกรรมในลักษณะเดียวกัน โดยรวบรวมชีวประวัติของผู้ศักดิ์สิทธิ์ในศาสนานั้น ๆ เช่น คัมภีร์อปทานในสุตตันตปิฎก.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและชีวประวัตินักบุญ
ฟรังซิสแห่งอัสซีซี
นักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 148 (Saint Francis of Assisi) มีนามเดิมว่า ฟรันเชสโก ดี ปีเอโตร ดี แบร์นาร์โดเน เป็นไฟรเออร์และนักเทศน์ในนิกายโรมันคาทอลิกชาวอิตาลี ผู้ก่อตั้งคณะฟรันซิสกัน คณะกลาริส และคณะชั้นสามของนักบุญฟรังซิส แม้นักบุญฟรังซิสจะไม่ใช่บาทหลวง แต่ถือเป็นศาสนบุคคลที่ไดัรับการเคารพนับถือมากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์Brady, Ignatius Charles.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและฟรังซิสแห่งอัสซีซี
ฟรันซิสโก คาเบียร์
นักบุญฟรันซิสโก คาเบียร์ (Francis Xavier, Francisco Javier, Frantzisko XabierkoaFranciscus Xaverius) ชื่อจริง Francisco de Jaso y Azpilicueta (อ่านว่า ฟรันซิสโก เด คาโซ อี อัซปีลีกูเอตา) ในประเทศไทยรู้จักในนาม ฟรังซิสเซเวียร์ เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวแคว้นนาวาร์ ประเทศสเปน เป็นผู้นำศาสนาคริสต์มาเผยแพร่ที่ประเทศญี่ปุ่นเป็นคนแรกตลอดจนประเทศต่าง ๆ เช่น อินเดีย ศรีลังกา มาเลเซีย จีน ญี่ปุ่น เสียชีวิต ณ หมู่เกาะซ้างชวน ประเทศจีน และได้รับการประกาศเป็นนักบุญ ฟรันซิสโก คาเบียร์ เป็นสมาชิกแรกเริ่ม และหนึ่งในสมาชิกที่มีชื่อเสี่ยงมากที่สุดคนหนึ่งของคณะแห่งพระเยซูเจ้า ซึ่งเขามีความสนิทสนมกับ นักบุญอิกเนเชียสแห่งโลโยลาผู้ก่อตั้งคณ.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและฟรันซิสโก คาเบียร์
ฟร็องซัว เดอ ซาล
นักบุญฟร็องซัว เดอ ซาล (Saint François de Sales; 21 สิงหาคม ค.ศ. 1567 – 28 ธันวาคม ค.ศ. 1622) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวฝรั่งเศส ได้รับแต่งตั้งให้เป็นบิชอปแห่งเจนีวา ผลงานที่สำคัญของท่านคือการดึงชาวเมืองชาเบลส์ซึ่งไปนับถือนิกายโปรเตสแตนต์ลัทธิคาลวินให้หันกลับมานับถือนิกายโรมันคาทอลิกได้สำเร็จ นอกจากนี้ท่านยังได้สร้างสรรค์วรรณกรรมไว้มากมายซึ่งมีส่วนสำคัญในการเสริมสร้างความศรัทธาในคริสต์ศาสนานิกายคาทอลิก จนต่อมาท่านได้รับยกย่องว่าเป็นนักปราชญ์แห่งคริสตจักร และเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์นักข่าว นักหนังสือพิมพ์ และนักเขียน.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและฟร็องซัว เดอ ซาล
พระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าหลุยส์ที่ 9 (Louis IX, Louis IX) (25 เมษายน ค.ศ. 1214 - 25 สิงหาคม ค.ศ. 1270) หรือ นักบุญหลุยส์ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาแประหว่างวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าซีกิสมุนด์แห่งเบอร์กันดี
ประติมากรรมเฉพาะหัวของนักบุญซีกิสมุนด์แห่งเบอร์กันดีที่พล็อก พระเจ้าซีกิสมุนด์แห่งเบอร์กันดี (Sigismund of Burgundy) เป็นพระมหากษัตริย์เบอร์กันดีตั้งแต่ปี..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและพระเจ้าซีกิสมุนด์แห่งเบอร์กันดี
กลาราแห่งอัสซีซี
นักบุญกลาราแห่งอัสซีซี (Clara Assisiensis) เป็นนักพรตหญิงในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกชาวอิตาลี ผู้ร่วมก่อตั้งคณะกลาริส ได้รับการประกาศเป็นนักบุญในปี..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและกลาราแห่งอัสซีซี
กามิลโล เด เลลลิส
นักบุญกามิลโล เด เลลลิส (Camillo de Lellis) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวอิตาลี ผู้ก่อตั้งคณะคามิลเลียนซึ่งเป็นคณะนักบวชคาทอลิกที่เน้นทำงานด้านการพยาบาลผู้ป่วย ได้รับการประกาศเป็นนักบุญในปี ค.ศ.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและกามิลโล เด เลลลิส
การประกาศเป็นบุญราศี
็ดบุญราศีมรณสักขีแห่งสองคอน เป็นคริสต์ศาสนิกชนชาวไทยกลุ่มแรกที่ได้รับการประกาศเป็นบุญราศี การประกาศเป็นบุญราศี (Beatification) คือกระบวนการที่คริสตจักรโรมันคาทอลิกกำหนดขึ้นเพื่อรับรองว่าบุคคลหนึ่งได้เข้าสู่สวรรค์และสามารถวอนขอพรจากพระเป็นเจ้าแทนมนุษย์บนโลกได้ กระบวนการนี้ถือเป็นขั้นตอนที่สี่ของการประกาศเป็นนักบุญ.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและการประกาศเป็นบุญราศี
กาเตรีนาแห่งซีเอนา
นักบุญกาเตรีนาแห่งซีเอนา (Caterina da Siena) เป็นสมาชิกคณะชั้นสามของนักบุญดอมินิก เกิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและกาเตรีนาแห่งซีเอนา
มรณสักขีแห่งเมืองลาว
มรณสักขีแห่งเมืองลาว (ມໍຣະນະສັກຂີແຫ່ງເມືອງລາວ) เป็นคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิก 11 คน ประกอบด้วยบาทหลวง ภราดา และฆราวาส ที่ถูกเจ้าหน้าที่ปะเทดลาวสังหารในช่วง..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและมรณสักขีแห่งเมืองลาว
มหาวิหารนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซี
มหาวิหารนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซี (Basilica di San Francesco d'Assisi; Basilica of St.) ตั้งอยู่ที่เมืองอัสซีซี ประเทศอิตาลี เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกของคณะฟรันซิสกัน ซึ่งเป็นคณะนักบวชคาทอลิกที่นักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีก่อตั้งขึ้นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 13 ชั้นบนและชั้นล่างของมหาวิหารมองจากจัตุรัสเดลเลลอจเจ (Piazza delle Logge).
ดู การประกาศเป็นนักบุญและมหาวิหารนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซี
มาร์เกอริต-มารี อาลาก็อก
นักบุญมาร์เกอริต-มารี อาลาก็อก (Marguerite-Marie Alacoque) เป็นนักพรตหญิงโรมันคาทอลิกชาวฝรั่งเศส ผู้ส่งเสริมการอุทิศต่อพระหฤทัยของพระเยซู.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและมาร์เกอริต-มารี อาลาก็อก
ยอห์นแห่งไม้กางเขน
นักบุญยอห์นแห่งไม้กางเขน (San Juan de la Cruz; 24 มิถุนายน ค.ศ. 1542 – 14 ธันวาคม ค.ศ. 1591) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวสเปน ผู้ปฏิรูปคณะคาร์เมไลท์ จนก่อให้เกิดคณะคาร์เมไลท์ไม่สวมรองเท้า เป็นนักเขียนที่มีผลงานวรรณกรรมสำคัญด้านรหัสยะ ได้รับยกย่องให้เป็นนักปราชญ์แห่งคริสตจักร และเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์เทววิทยาเชิงรหัสยะ รหัสยิก และกวีชาวสเปน เป็นต้น.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและยอห์นแห่งไม้กางเขน
รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย
รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย นี้แก้ความเชื่อและความเข้าใจผิด ๆ ที่แพร่หลายในปัจจุบัน ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ได้กำหนดความเข้าใจผิดคู่กับความจริงแต่ละอย่างแล้ว ให้สังเกตว่า แต่ละรายการเขียนโดยเป็นการแก้ไข และอาจไม่ได้กล่าวถึงความเข้าใจผิดเองตรง.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย
ลุยจี กอนซากา
นักบุญลุยจี กอนซากา (Luigi Gonzaga) เป็นนักบวชชาวอิตาลีคณะเยสุอิต แม้จะเป็นบุตรคนโตในครอบครัวขุนนาง แต่ท่านก็สละสิทธิของบุตรหัวปีเพื่อปฏิญาณตนเป็นนักบวชตั้งแต่อายุยังน้อย ท่านอุทิศตนกับการพยาบาลผู้ป่วยจนติดโรคที่ระบาดอยู่ในขณะนั้น และถึงแก่มรณกรรมขณะอายุได้เพียง 23 ปี.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและลุยจี กอนซากา
ลุดมิลาแห่งโบฮีเมีย
การฆาตกรรมนักบุญลุมิลา ลุดมิลา (Ludmila) เป็นนักบุญและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ ประสูติราว..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและลุดมิลาแห่งโบฮีเมีย
วันสมโภชนักบุญทั้งหลาย
วันสมโภชนักบุญทั้งหลาย (All Saints' Day; All Hallows) เป็นวันสมโภชในศาสนาคริสต์ ที่จัดขึ้นเพื่อแสดงความเคารพและระลึกถึงนักบุญทั้งหลายที่สถิตอยู่บนสวรร.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและวันสมโภชนักบุญทั้งหลาย
วีจีลีโอแห่งเตรนโต
นักบุญวีจีลีโอแห่งเตรนโต (San Vigilio di Trento) หรือวีจีลิอุสแห่งเทรนต์ (Vigilius Tridentinum) เป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์และบิชอปองค์แรกของรัฐมุขนายกเทรนต์ และเป็นคนละคนกับสมเด็จพระสันตะปาปาวิจิเลียส ตามที่เล่าขานกันมาวิจิเลียส พลเมืองชั้นสูงของจักรวรรดิโรมันและเป็นบุตรของแม็กเซนเทีย หรือ ชายที่บางครั้งก็เรียกกันว่าธีโอโดเซียส พี่น้องชาย “คลอเดียน” และ “มาโกเรียน” ต่างก็ได้รับการประกาศเป็นนักบุญเช่นกัน วีจีลีโอได้รับการศึกษาที่เอเธนส์และดูเหมือนจะรู้จักกับจอห์น คริสซอสตอมด้วย จากนั้นวีจีลีโอก็เดินทางไปยังกรุงโรมและต่อไปยังเตรนโตในปี..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและวีจีลีโอแห่งเตรนโต
สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2
มเด็จพระสันตะปาปา นักบุญจอห์น ปอลที่ 2 มีพระนามเดิมว่า การอล ยูแซฟ วอยตือวา (ในภาษาโปแลนด์) เกิดเมื่อ 18 พฤษภาคม ค.ศ.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2
สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23
มเด็จพระสันตะปาปานักบุญจอห์นที่ 23 (John XXIII) มีพระนามเดิมว่าอันเจโล จูเซปเป รอนกัลลี (Angelo Giuseppe Roncalli) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23
สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 6
มเด็จพระสันตะปาปา บุญราศีปอลที่ 6 (Paulus PP.) ดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1963 ถึง ค.ศ. 1978 สืบต่อจากสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23 ผู้เรียกประชุมสังคายนาวาติกันครั้งที่สอง เมื่อได้รับตำแหน่งพระสันตะปาปาก็ทรงสืบสานงานการประชุมสังคายนานั้นต่อ ซึ่งมีผลให้พระศาสนจักรโรมันคาทอลิกได้ส่งเสริมและสนับสนุนงานด้านคริสตศาสนสัมพันธ์กับนิกายโปรเตสแตนต์และอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์เรื่อยมาจนปัจจุบัน ก่อนได้รับเลือกเป็นพระสันตะปาปา พระองค์เคยทำงานรับใช้ใกล้ชิดกับสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 โดยทำงานที่สำนักเลขาธิการแห่งรัฐวาติกัน และพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 นี้เองได้แต่งตั้งพระองค์เป็นอัครมุขนายกแห่งมิลาน ต่อมาได้รับแต่งตั้งเป็นเลขาธิการสภามุขนายกแห่งอิตาลีอีกด้วย ต่อมาในสมณสมัยของสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23 พระองค์ได้รับแต่งตั้งเป็นพระคาร์ดินัล และได้รับเลือกเป็นพระสันตะปาปาหลังจากสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23 ได้สิ้นพระชนม์ พระองค์เลือกใช้พระนามว่า เปาโล เพื่อสื่อถึงการเน้นพันธกิจทางด้านการประกาศข่าวดีเหมือนนักบุญเปาโลอัครทูต นอกจากนี้หลังจากการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23 พระองค์ยังคงสานงานการประชุมสังคายนาวาติกันครั้งที่สองนั้นต่อ ซึ่งมาแล้วเสร็จในสมณสมัยสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ในวันพฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและสมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 6
สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12
มเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 (Pius Papa XII) พระสันตะปาปาพระองค์ที่ 260 พระประมุขแห่งนครรัฐวาติกัน ดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 2 มีนาคม ค.ศ.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12
สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7
มเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 (Pius VII) มีพระนามเดิมว่า บาร์นาบา นิกโกเลาะ มาเรีย ลุยจี กีอารามอนตี (Barnaba Niccolò Maria Luigi Chiaramonti)ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7
หลุยส์ เดอ มงฟอร์
นักบุญหลุยส์ มารี กรีญียง เดอ มงฟอร์ (Louis-Marie Grignion de Montfort) เป็นมิชชันนารี นักเทศน์ และบาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวฝรั่งเศส ผู้ส่งเสริมการอุทิศตนต่อพระนางมารีย์พรหมจารีและสวดสายประคำ ผู้ก่อตั้งคณะนักบวชคาทอลิก ได้แก่ คณะธรรมทูตพระแม่มารีย์ คณะภราดาเซนต์คาเบรียล และคณะธิดาปรีชาญาณ.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและหลุยส์ เดอ มงฟอร์
ออริเจน
ออริเจน (Origen; Ὠριγένης, Ōrigénēs) เป็นนักพรตและนักเทววิทยาชาวอะเล็กซานเดรีย ผู้มีบทบาทสำคัญในศาสนาคริสต์ยุคแรก ผลงานของเขาแสดงถึงการวิจารณ์ตัวบท นัยวิเคราะห์คัมภีร์ไบเบิล อรรถปริวรรตศาสตร์ ปรัชญา และการใช้ชีวิตทางศาสนา และถือเป็นผู้มีอิทธิพลต่อมากที่สุดต่อวิถีพรตนิยมในศาสนาคริสต์ยุคแรก ออริเจนไม่ได้รับการประกาศเป็นนักบุญอย่างปิตาจารย์ท่านอื่น ๆ เพราะคำสอนบางอย่างของเขาขัดกับคำสอนของเปาโลอัครทูตและยอห์นอัครทูต เช่น สอนว่าวิญญาณมีอยู่ก่อนการปฏิสนธิ สิ่งสร้างทั้งหมด (อาจรวมถึงปีศาจ) จะคืนดีกับพระเป็นเจ้าในวาระสุดท้าย พระเจ้าพระบุตรมีสถานะต่ำกว่าพระเจ้าพระบิดา เป็นต้น ซึ่งคำสอนเหล่านี้ศาสนาคริสต์กระแสหลักไม่ยอมรั.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและออริเจน
อัลฟอนโซ มาเรีย เด ลีกูโอรี
นักบุญอัลฟอนโซ มาเรีย เด ลีกูโอรี (Sant'Alfonso Maria de' Liguori) เป็นมุขนายกโรมันคาทอลิกชาวอิตาลี ผู้ก่อตั้งคณะพระมหาไถ่ และมีผลงานเขียนสำคัญเกี่ยวกับเทววิทยาศีลธรรม หลังจากมรณกรรมได้รับการประกาศเป็นนักบุญและนักปราชญ์แห่งคริสตจักร.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและอัลฟอนโซ มาเรีย เด ลีกูโอรี
อัสซีซี
อัสซีซี โบสถ์น้อย Porziuncola ภายในมหาวิหารซันตามาเรียเดกลีอันเจลี อัสซีซี (Assisi) เป็นโคมูนี (เทศบาล) ที่ตั้งอยู่ในจังหวัดเปรูจา แคว้นอุมเบรีย อยู่ทางตะวันตกของภูเขาซูบาซิโอ (Mt.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและอัสซีซี
อัครมุขมณฑลมิลาน
อาสนวิหารแม่พระบังเกิด มิลาน อัครมุขมณฑลมิลาน (Arcidiocesi di Milano) เป็นอัครมุขมณฑลโรมันคาทอลิกที่มีอาณาเขตครอบคลุมเมืองมิลาน มอนซา เลกโก และวาเรเซ ในประเทศอิตาลี อัครมุขมณฑลนี้เดิมมีสถานะเป็นมุขมณฑล ก่อตั้งมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 โดยเชื่อว่านักบุญบารนาบัสเป็นมุขนายกองค์แรก ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 4 จึงถูกยกสถานขึ้นเป็นอัครมุขมณฑล มีประมุขแห่งมุขมณฑลมิลานหลายองค์ทีได้รับการประกาศเป็นนักบุญ เช่น นักบุญแอมโบรสแห่งมิลาน นักบุญการ์โล บอร์โรเมโอ และสมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 6 อัครมุขมณฑลมิลานมีพื้นที่ 4,208 ตารางกิโลเมตร แบ่งออกเป็น 1,107 เขตแพริช มีคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกอาศัยอยู่ราว 4,886,406 คน (สถิติปี ค.ศ.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและอัครมุขมณฑลมิลาน
อัครทูต
ระเยซูและอัครทูต อัครทูตราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 59 (Apostles; Ἀπόστολος, apostolos แปลว่า "ผู้ถูกส่งออกไป" เช่น ข่าวสารหรือตัวแทน) ตามพระวรสารสหทรรศน์และธรรมเนียมทางศาสนาคริสต์ใช้หมายถึงอัครสาวกสิบสองคน ที่พระเยซูทรงเลือก ตั้งชื่อ และฝึกเพื่อจะได้ส่งออกไปทำการประกาศข่าวดี หลังจากยูดาส อิสคาริโอท ทรยศต่อพระเยซู อัครสาวกที่เหลือภายใต้การนำของซีโมนเปโตรจึงจับฉลากเลือกมัทธีอัสซึ่งติดตามพระเยซูมาตั้งต้นขึ้นมาเป็นอัครทูตแทน ฉะนั้นเมื่อถึงเทศกาลเพนเทคอสต์ที่พระวิญญาณบริสุทธิ์เสด็จลงมาประทับกับสาวกของพระเยซู จำนวนอัครทูตจึงมีสิบสองคนเท่าเดิม.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและอัครทูต
อาสนวิหารวาน
อาสนวิหารวาน (Cathédrale de Vannes) หรือเรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งวาน (Cathédrale Saint-Pierre de Vannes) เป็นอาสนวิหารนิกายโรมันคาทอลิกประจำมุขมณฑลวาน และยังมีฐานะเป็นมหาวิหารด้วย ตั้งอยู่ที่เมืองวาน จังหวัดมอร์บีอ็อง แคว้นเบรอตาญ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญเปโตร อาสนวิหารวานสร้างในแบบสถาปัตยกรรมกอทิก โดยตั้งอยู่บนสถานที่ของอาสนวิหารเดิมซึ่งเป็นแบบโรมาเนสก์ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 การก่อสร้างกินเวลายาวนานถึง 500 ปี ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และถ้ายังนับรวมกับอายุของหอระฆังเก่าแบบโรมาเนสก์แล้วจะรวมเป็นระยะเวลาทั้งสิ้นถึงกว่า 700 ปีด้วยกัน อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและอาสนวิหารวาน
อีซาเบลแห่งอารากอน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส
ระนางอีซาเบลแห่งอารากอน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส (Isabel de Aragão, Rainha de Portugal; Isabel de Aragón, Reina de Portugal) ชาวโรมันคาทอลิกเรียกว่านักบุญเอลิซาเบธแห่งโปรตุเกส (St.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและอีซาเบลแห่งอารากอน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส
อีซีโดโรแห่งเซบียา
นักบุญอีซีโดโรแห่งเซบียา (San Isidoro de Sevilla; ค.ศ. 560 – 4 เมษายน ค.ศ. 636) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวสเปน ได้รับแต่งตั้งเป็นอาร์ชบิชอปแห่งเซบียา ได้ผลิตตำราวิชาการทางศาสนาไว้มากมายจนต่อมาได้รับยกย่องว่าเป็นนักปราชญ์แห่งคริสตจักร และเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์นักเรียนนักศึกษ.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและอีซีโดโรแห่งเซบียา
ฌาน ดาร์ก
น ดาร์ก (IPA) หรือโจนออฟอาร์ก (ราว 6 มกราคม ค.ศ. 1412 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1431) ชาวคาทอลิกเรียกว่านักบุญโยนออฟอาร์ค เป็นวีรสตรีของฝรั่งเศสและเป็นนักบุญในนิกายโรมันคาทอลิก โจนมาจากครอบครัวชาวนาที่เกิดทางตะวันออกของฝรั่งเศสและเป็นผู้นำกองทัพฝรั่งเศสในสงครามร้อยปีหลายครั้งที่ได้รับชัยชนะต่อฝ่ายอังกฤษโดยอ้างว่ามีพระเจ้าเป็นผู้ชี้ทาง และเป็นผู้มีส่วนทางอ้อมในการขึ้นครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 7 โจนถูกจับโดยฝ่ายเบอร์กันดีและถูกขายให้แก่ฝ่ายอังกฤษ ถูกพิจารณาคดี และถูกเผาทั้งเป็นในข้อหาว่าเป็นพวกนอกรีตเมื่ออายุ 19 ปี ยี่สิบสี่ปีต่อมาพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 7 ไม่ทรงสามารถที่จะแสดงพระองค์ว่าทรงได้รับอำนาจมาจากผู้ที่ถูกประณามว่าเป็นผู้นอกรีต สมเด็จพระสันตะปาปาคาลิกซ์ตุสที่ 3 จึงทรงมีคำสั่งให้มีตั้งศาลใหม่ในการพิจารณาการดำเนินการการพิจารณาคดีและการตัดสินของศาลแรก ศาลสรุปว่าฌานเป็นผู้บริสุทธิ์ และทางวาติกันประกาศให้ฌานเป็น “มรณสักขี”w:fr:Jeanne d'ArcAndrew Ward (2005) ในปี..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและฌาน ดาร์ก
ฌานแห่งฝรั่งเศส ดัชเชสแห่งแบรี
นน์แห่งฝรั่งเศส ดัชเชสแห่งเบอร์รี (Jeanne de France, Duchesse de Berry) หรืออดีตสมเด็จพระราชินีฌานแห่งฝรั่งเศส (Jeanne de France; Joan of France) หรือนักบุญฌานแห่งวาลัว (Sainte Jeanne de Valois) (23 เมษายน ค.ศ.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและฌานแห่งฝรั่งเศส ดัชเชสแห่งแบรี
ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า
ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า หรือ ผู้รับใช้ของพระเจ้า เป็นสมัญญานามที่ใช้กับศาสนิกชนบางคนในศาสนาเทวนิยม ใช้เพื่อแสดงว่าบุคคลนั้นศรัทธาอย่างแรงกล้า ในคริสตจักรโรมันคาทอลิกใช้คำนี้ในความหมายเฉพาะลงไปอีก คือหมายถึงบุคคลที่อยู่ในกระบวนการชั้นแรกก่อนการประกาศเป็นนักบุญ ส่วนนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ใช้คำนี้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ในนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ คำว่า "ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า" ใกล้เคียงกับคำว่า อับดุลลอฮ์ (عبد الله บ่าวของอัลลอฮ์) ในภาษาอาหรับ และ โอบาดีห์ ในภาษาฮีบรู.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและผู้รับใช้พระเป็นเจ้า
ฌ็อง-บาติสต์ เดอ ลา ซาล
นักบุญฌ็อง-บาติสต์ เดอ ลา ซาล (Jean-Baptiste de La Salle; 30 เมษายน ค.ศ. 1651 – 7 เมษายน ค.ศ. 1719) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวฝรั่งเศส ผู้ก่อตั้งคณะภราดาลาซาล ซึ่งเป็นคณะนักบวชคาทอลิกที่มีบทบาทสำคัญในด้านการจัดการศึกษาแก่เยาวชน ท่านได้รับการประกาศเป็นนักบุญเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและฌ็อง-บาติสต์ เดอ ลา ซาล
จักรพรรดินีไอรีนแห่งเอเธนส์
อรีนแห่งเอเธนส์ จักรพรรดินีแห่งไบแซนไทน์ หรือ ไอรีน เดอะเอเธนส์เนียน (กรีก:Εἰρήνη ἡ Ἀθηναία; ราวค.ศ. 712 - 9 สิงหาคม ค.ศ.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและจักรพรรดินีไอรีนแห่งเอเธนส์
ทอมัส มอร์
ทอมัส มอร์ (Thomas More) คริสตจักรโรมันคาทอลิกเรียกว่านักบุญทอมัส มอร์ เป็นนักกฎหมาย นักปรัชญาสังคม นักเขียน รัฐบุรุษ และนักมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ดำรงตำแหน่งองคมนตรีในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ และประธานฝ่ายตุลาการอังกฤษตั้งแต่เดือนตุลาคม..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและทอมัส มอร์
ทอมัส แบ็กกิต
นักบุญทอมัส แบ็กกิต (Thomas Becket) ต่อมารู้จักกันในชื่อ Thomas à Becket เป็นนักบุญและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ เกิดใน..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและทอมัส แบ็กกิต
คิม แท-ก็อน
นักบุญอันดรูว์ คิม แท-ก็อน (김대건 안드레아 Gim Dae-geon Andeurea) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวเกาหลีองค์แรก ได้พลีชีพเป็นมรณสักขี และได้รับการประกาศเป็นนักบุญในปี..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและคิม แท-ก็อน
คณะพระมหาไถ่
ณะพระมหาไถ่ (Congregation of the Most Holy Redeemer; Redemtorists) เป็นคณะนักบวชธรรมทูตโรมันคาทอลิกที่นักบุญอัลฟอนโซ มาเรีย เด ลีกูโอรีได้ก่อตั้งขึ้น ณ เมืองสกาลา แคว้นกัมปาเนีย ประเทศอิตาลี ในตอนแรกมีจุดมุ่งหมายเพื่อทำงานช่วยเหลือชาวชนบทที่ถูกทอดทิ้งรอบ ๆ เมืองเนเปิลส์ นักบวช (religious) ของคณะนี้มีทั้งบาทหลวงและภราดา ปฏิบัติงานอยู่ใน 77 ประเทศทั่วโลก.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและคณะพระมหาไถ่
คณะกลาริส
ณะพัวร์แคลร์ส (Order of Poor Clares) หรือที่ชาวคาทอลิกในประเทศไทยเรียกว่า คณะกลาริส (Clarisse) เป็นคณะนักบวชคาทอลิกหญิงประเภทคณะนักบวชอารามิก ก่อตั้งโดยนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีและนักบุญกลาราแห่งอัสซีซี นักบวชในคณะนี้เน้นการดำเนินชีวิตแบบยากจน เน้นการสวดภาวน.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและคณะกลาริส
ปิตาจารย์แห่งคริสตจักร
ปิตาจารย์แห่งคริสตจักร ปิตาจารย์แห่งคริสตจักร (Church Fathers, Fathers of the Church) ปิตาจารย์แห่งคริสตจักรยุคแรก (Early Church Fathers) หรือ ปิตาจารย์ศาสนาคริสต์ (Christian Fathers) คือนักเทววิทยาที่มีบทบาทสำคัญในศาสนาคริสต์ยุคแรก ปิตาจารย์เหล่านี้มักเป็นอาจารย์หรือมุขนายกที่มีบทบาทสำคัญในยุคนั้น งานเขียนของปิตาจารย์ถือเป็นบรรทัดฐานความเชื่อของคริสต์ศาสนิกชนในศตวรรษต่อ ๆ มา ปิตาจารย์บางคนอาจไม่ใช่นักบุญ ไม่ได้รับศีลอนุกรม แต่ส่วนมากก็ได้รับความเคารพจากคริสตจักรต่าง ๆ ทั้งโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ แองกลิคันคอมมิวเนียน และลูเทอแรน ออริเจนและเทอร์ทิวเลียนเป็นสองปิตาจารย์ที่มีชื่อเสียงมาก แต่ก็ไม่ได้รับการประกาศเป็นนักบุญในคริสตจักรคาทอลิก ออริเจนแม้จะมีอิทธิพลมากในศาสนาคริสต์ตะวันออก แต่เนื่องจากเขาเชื่อเรื่องการเวียนว่ายตายเกิดจึงถูกประณามว่าเป็นพวกนอกรีต ส่วนเทอร์ทิวเลียนตอนแรกเป็นที่ยอมรับในคริสตจักรเพราะสนับสนุนแนวคิดตรีเอกภาพนิยม แต่ต่อมาได้รับแนวคิดของลัทธิมอนทานิสต์จึงถูกประณามว่าเป็นพวกนอกรีตเช่นกันTabbernee, Prophets and Gravestones, p.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและปิตาจารย์แห่งคริสตจักร
นักบุญอักแนส
นักบุญอักแนส (Sancta Agnes) หรืออักแนสแห่งโรม เป็นคริสต์ศาสนิกชนสตรีชาวโรมันและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ เกิดเมื่อราว..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและนักบุญอักแนส
นักบุญดอมินิก
นักบุญดอมินิกแห่งออสมา (Saint Dominic of Osma; ค.ศ. 1170 – 6 สิงหาคม ค.ศ. 1221) นักบุญดอมินิกแห่งออสมา หรือ นักบุญดอมินิกแห่งกุซมัน เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวสเปน ผู้ก่อตั้งคณะดอมินิกัน เชื่อว่าเป็นบุคคลแรกที่นำสายประคำมาใช้ในการสวดภาวนาของชาวคาทอลิก และเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์นักดาราศาสตร.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและนักบุญดอมินิก
นักบุญดันสตัน
นักบุญดันสตัน (Dunstan) เป็นอธิการอารามกลาสเบอรี บิชอปแห่งเวิร์สเตอร์ บิชอปแห่งลอนดอน และอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี หลังมรณกรรมให้รับการประกาศเป็นนักบุญในปี ค.ศ.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและนักบุญดันสตัน
นักบุญเจอโรม
นักบุญเจอโรม หรือ นักบุญเยโรม (Jerome; Eusebius Sophronius Hieronymus; Ευσέβιος Σωφρόνιος Ιερώνυμος) เป็นบาทหลวงชาวโรมัน เกิดเมื่อประมาณปี..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและนักบุญเจอโรม
นครรัฐวาติกัน
นครรัฐวาติกัน (State of the Vatican City; Stato della Città del Vaticano) เป็นนครรัฐที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลซึ่งน้อยที่สุดในโลกทั้งในแง่พื้นที่และประชากร ตั้งอยู่ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี เป็นที่ประทับของพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นประมุขสูงสุดแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิก ศูนย์กลางคือมหาวิหารนักบุญเปโตร ซึ่งออกแบบโดยมีเกลันเจโล การปกครองเป็นแบบอำนาจเบ็ดเสร็จ อำนาจตกอยู่ที่พระสันตะปาปาเพียงผู้เดียว จะหมดวาระก็ต่อเมื่อสิ้นพระชนม์ ปัจจุบัน สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและนครรัฐวาติกัน
แบร์นาร์แห่งแกลร์โว
นักบุญแบร์นาร์แห่งแกลร์โว (Bernard de Clairvaux; Bernard of Clairvaux) เป็นนักบุญในคริสตจักรโรมันคาทอลิกที่เกิดราว ค.ศ. 1090 ที่เมืองฟงแตน-แล-ดีฌง (Fontaine-lès-Dijon) ในประเทศฝรั่งเศส และถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและแบร์นาร์แห่งแกลร์โว
แบร์นาแด็ต ซูบีรู
นักบุญแบร์นาแด็ต ซูบีรู (Bernadette Soubirous) เป็นนักบวชคาทอลิกหญิงชาวฝรั่งเศส เป็นที่รู้จักจากการได้เห็นแม่พระประจักษ์ที่ลูร์ด หลังจากมรณกรรมท่านได้รับการประกาศเป็นนักบุญ.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและแบร์นาแด็ต ซูบีรู
แมกซิมิเลียน คอลบี
อนุสาวรีย์ของคอลบีแห่งแรก ตั้งอยู่ในโปแลนด์ นักบุญแมกซิมิเลียน มาเรีย คอลบี (Maximilian Maria Kolbe, 8 มกราคม ค.ศ. 1894 - 14 สิงหาคม ค.ศ.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและแมกซิมิเลียน คอลบี
แอนโทนีแห่งปาดัว
นักบุญแอนโทนี (หรืออันตน) แห่งปาดัว (Anthony of Padua) เป็นนักบุญในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก และเป็นไฟรอาร์สังกัดคณะฟรันซิสกัน เกิดวันที่ 15 สิงหาคม..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและแอนโทนีแห่งปาดัว
โบนาเวนตูรา
นักบุญโบนาเวนตูรา (San Bonaventura) (ค.ศ. 1221 – 15 กรกฎาคมค.ศ. 1274) เป็นไฟรอาร์ในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกชาวอิตาลี ดำรงตำแหน่งอัคราธิการคนที่ 7 ของคณะภราดาน้อย (Order of Friars Minor) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่าคณะฟรันซิสกัน ได้รับสมณศักดิ์เป็นพระคาร์ดินัลบิชอปแห่งอัลบาโน นอกจากนี้ยังเป็นนักปรัชญาและนักเทววิทยาศาสนาคริสต์ที่มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่งในสมัยกลาง จนได้รับการยกย่องให้เป็นนักปราชญ์แห่งคริสตจักร มีสมญานามว่า “นักปราชญ์ชั้นเสราฟิม”.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและโบนาเวนตูรา
โรซาแห่งลิมา
นักบุญโรซาแห่งลิมา (Santa Rosa de Lima) เป็นชาวสเปนในนิคมกรุงลิมา เขตอุปราชแห่งเปรู ในจักรวรรดิสเปน สมาชิกคณะชั้นสามของนักบุญดอมินิก มีชื่อเสียงจากการบำเพ็ญทุกรกิริยาอย่างเข้มงวด และเป็นคนแรกที่เกิดในทวีปอเมริกาที่ได้รับการประกาศเป็นนักบุญในคริสตจักรโรมันคาทอลิก.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและโรซาแห่งลิมา
โรแบร์โต เบลลาร์มีโน
นักบุญโรแบร์โต เบลลาร์มีโน (San Roberto Bellarmino; 4 ตุลาคม ค.ศ. 1542 – 17 กันยายน ค.ศ. 1621) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกคณะเยสุอิตชาวอิตาลี ได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระคาร์ดินัลและอาร์ชบิชอปแห่งกาปัว เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการปฏิรูปคาทอลิก และตอบโต้นิกายโปรเตสแตนต์ เช่น ลูเทอแรน และลัทธิคาลวิน เพื่อปกป้องนิกายคาทอลิก ได้แต่งหนังสือเกี่ยวกับคำสอนคาทอลิกซึ่งยังคงใช้มาจนทุกวันนี้ ต่อมาท่านจึงได้รับยกย่องให้เป็นนักปราชญ์แห่งคริสตจักร.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและโรแบร์โต เบลลาร์มีโน
โจวันนี บอสโก
นักบุญโจวันนี บอสโก (San Giovanni Bosco) ชาวโรมันคาทอลิกในประเทศไทยเรียกว่านักบุญยอห์น บอสโก เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวอิตาลี ผู้มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กยากไร้ให้ได้รับการศึกษาและมีทักษะในการประกอบอาชีพ ท่านได้ตั้งคณะนักบวชคาทอลิก ฝ่ายชายคือคณะนักบุญฟรังซิส เดอ ซาลส์ และฝ่ายหญิงคือคณะธิดาแม่พระองค์อุปถัมภ์ ซึ่งเป็นนักบวชที่ได้รับการฝึกเพื่อเน้นทำพันธกิจด้านสังคมสงเคราะห์กับเยาวชนโดยเฉพาะ ในปี..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและโจวันนี บอสโก
โดเมนีโก ซาวีโอ
มนีโก ซาวีโอ (Domenico Savio; 2 เมษายน..) หรือ นักบุญดอมินิก ซาวีโอ เป็นเยาวชนชาวอิตาลี ศิษย์นักบุญโจวันนี บอสโก ถึงแก่มรณกรรมตั้งแต่อายุเพียง 14 ปี ต่อมาได้รับการประกาศเป็นนักบุญโดยสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 นับเป็นนักบุญที่อายุน้อยที่สุดที่ไม่ใช่มรณสักขีในคริสตจักรโรมันคาทอลิก.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและโดเมนีโก ซาวีโอ
เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์
วสต์มินสเตอร์แอบบีย์ (Westminster Abbey) เดิมเป็นแอบบีย์ แต่ปัจจุบันเป็นโบสถ์ในนิกายแองกลิคันที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ในนครเวสต์มินสเตอร์ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบสถาปัตยกรรมกอทิกเป็นส่วนใหญ่นอกจากหอคอยที่เป็นสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก เป็นสถานที่ประกอบพิธีราชาภิเษกและที่ฝังพระบรมศพพระมหากษัตริย์อังกฤษและพระศพพระบรมวงศานุวงศ์ ระหว่างปี..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์
เอดิท ชไตน์
อดิท ชไตน์ (Edith Stein) หรือนักบุญเทเรซา เบเนดิกตา แห่งไม้กางเขน (Saint Teresa Benedicta of the Cross) เป็นนักพรตหญิงนิกายโรมันคาทอลิกชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ท่านได้ถูกขังที่ค่ายกักกันเอาชวิทซ์ และถึงแก่มรณกรรมจากการถูกรมด้วยก๊าซพิษ คริสตจักรโรมันคาทอลิกยกย่องท่านเป็นพรหมจารีและมรณสักขี และได้รับการประกาศเป็นนักบุญโดยสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ในปี..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและเอดิท ชไตน์
เขตอัครบิดรเวนิส
มหาวิหารซันมาร์โก เขตอัครบิดรเวนิส (Patriarchate of Venice) เป็นเขตอัครบิดรโรมันคาทอลิกที่ตั้งอยู่ภายในแคว้นเวเนโต ประเทศอิตาลี เขตอัครบิดรเวนิสมีต้นกำเนิดมาจากมุขมณฑลโอลีโวโลซึ่งก่อตั้งมาตั้งแต่ปี..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและเขตอัครบิดรเวนิส
เตแรซแห่งลีซีเยอ
นักบุญเตแรซแห่งลีซีเยอ (Sainte Thérèse de Lisieux) หรือนักบุญเทเรซาแห่งพระกุมารเยซูและพระพักตร์ศักดิ์สิทธิ์ (Saint Thérèse of the Child Jesus and the Holy Face) เป็นนักพรตหญิงโรมันคาทอลิกคณะคาร์เมไลท์ไม่สวมรองเท้าชาวฝรั่งเศส ได้รับการแต่งตั้งเป็นนักปราชญ์แห่งคริสตจักรในปี..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและเตแรซแห่งลีซีเยอ
เตเรซาแห่งอาบีลา
นักบุญเตเรซาแห่งอาบีลา (Santa Teresa de Ávila, นักบุญเทเรซา แห่งอาวีลา, นักบุญเทเรซา แห่งอาวีล.) หรือนักบุญเทเรซาแห่งพระเยซู (Santa Teresa de Jesús) เป็นนักพรตหญิงโรมันคาทอลิกชาวสเปน นักการปฏิรูปคาทอลิก ผู้ก่อตั้งคณะคาร์เมไลท์ไม่สวมรองเท้า ได้รับการแต่งตั้งเป็นนักปราชญ์แห่งคริสตจักรในปี..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและเตเรซาแห่งอาบีลา
เซนต์
"นักบุญทั้งหลาย" วาดโดยฟราอันเจลีโก เซนต์ (Saint) ชาวคาทอลิกและชาวออร์ทอดอกซ์ เรียกว่านักบุญ หมายถึง ผู้ศักดิ์สิทธิ์Wycliffe Bible Encyclopedia, "saint", ISBN 0-8024-9697-0, "Christians in general are 'saints' in NT usage, and the term is common in reference to the inclusive membership of a local church.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและเซนต์
เปาโล มิกิ
นักบุญเปาโล มิกิ, เว็บไซต์คณะเยสุอิตในประเทศไทย, เรียกข้อมูลวันที่ 6 กุมภาพัน..
ดู การประกาศเป็นนักบุญและเปาโล มิกิ
10 ตุลาคม
วันที่ 10 ตุลาคม เป็นวันที่ 283 ของปี (วันที่ 284 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 82 วันในปีนั้น.
ดู การประกาศเป็นนักบุญและ10 ตุลาคม