เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

การทับศัพท์

ดัชนี การทับศัพท์

ตัวอย่างหนึ่งของการเปรียบเทียบอักษรเพื่อการทับศัพท์ จากอักษรซีริลลิกไปเป็นอักษรละติน การทับศัพท์ หรือ การปริวรรต คือ การถอดอักษร หรือแปลงข้อความจากระบบการเขียนหรือภาษาหนึ่งไปสู่อีกระบบหนึ่งอย่างมีหลักการ เพื่อให้สามารถเขียนคำในภาษาต่างประเทศด้วยภาษาและอักษรในภาษานั้น ๆ ได้สะดวก เช่น การทับศัพท์ภาษาอังกฤษซึ่งเขียนด้วยอักษรโรมัน มาเป็นอักษรไทยเพื่อใช้ในภาษาไทย หรือการทับศัพท์ภาษาไทย ไปเป็นอักษรโรมันเพื่อใช้ในภาษาอังกฤษ เป็นต้น ส่วนมากใช้กับวิสามานยนาม อาทิ ชื่อบุคคล สถานที่ หรือชื่อเฉพาะที่ไม่สามารถแปลความหมายเป็นภาษาอื่นได้โดยสะดวก.

สารบัญ

  1. 47 ความสัมพันธ์: บัฟฟาโลวิงส์ชาวพม่าบาตองชีสเบอร์เกอร์ชโต? กเด? คอกดา?การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทยการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถานการถอดเสียงการถอดเป็นอักษรโรมันการทับศัพท์ภาษาพม่าการทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่นการทับศัพท์ภาษาฝรั่งเศสการทับศัพท์ภาษามลายูการทับศัพท์ภาษารัสเซียการทับศัพท์ภาษาสเปนการทับศัพท์ภาษาอังกฤษการทับศัพท์ภาษาอาหรับการทับศัพท์ภาษาอิตาลีการทับศัพท์ภาษาอินโดนีเซียการทับศัพท์ภาษาฮินดีการทับศัพท์ภาษาจีนการทับศัพท์ภาษาเกาหลีการทับศัพท์ภาษาเยอรมันการทับศัพท์ภาษาเวียดนามภาษาบัลแกเรียภาษาวิทยาศาสตร์ภาษาผสมมอนิเตอร์สกุลรัสบอร่าสระ (สัทศาสตร์)หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภาหนอนมรณะมองโกเลียอะพอสทรอฟีอักษรเขมรอัลเลลูยาธาร ยุทธชัยบดินทร์ทัณฑฆาตควยคอร์นดอกคำยืมปั๊มโทมัส ยังโดมแห่งศิลาโปรแกรมเสียงนาสิก ลิ้นไก่เซ็ตสึนะҐ

บัฟฟาโลวิงส์

ัฟฟาโลวิงส์ (buffalo wings) เป็นปีกไก่ทอดที่ไม่ชุบแป้งแล้วคลุกกับน้ำซอสที่มีรสชาติเปรี้ยวจากน้ำส้มสายชู เผ็ดจากพริกกาแยน และมีกลิ่นหอมจากเนย มักนำเสิร์ฟขณะร้อน โดยมากจะบริโภคกับก้านขึ้นฉ่ายหรือแคร์รอตหั่นเป็นแท่ง ๆ เล็ก ๆ เคียงข้างกับน้ำสลัดบลูชีสซึ่งเอาไว้จิ้ม บัฟฟาโลวิงส์เป็นหนึ่งในอาหารอเมริกันที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลก มีแหล่งกำเนิดมาจากเมืองบัฟฟาโล รัฐนิวยอร์ก.

ดู การทับศัพท์และบัฟฟาโลวิงส์

ชาวพม่า

ม่า (บะหม่า หลุ มฺโย้, คำเมือง: ม่าน) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ส่วนใหญ่ในประเทศพม่า พบมากในประเทศพม่า ชาวพม่าส่วนใหญ่อาศัยอยู่แถบแม่น้ำอิรวดี ชาวพม่าส่วนใหญ่ใช้ภาษาพม่าเป็นภาษาที่พูดกันในชีวิตประจำวัน.

ดู การทับศัพท์และชาวพม่า

บาตอง

บาตอง (Baton) เป็นคำทับศัพท์จากภาษาฝรั่งเศส แปลว่า "แท่ง" หรือ "ก้าน" หมายถึงอุปกรณ์รูปทรงกระบอก หรือแบน ทำจากวัสดุหลายรูปแบบ (เช่น ไม้หรือเหล็ก) โดยมากมักหมายถึงอุปกรณ์น้ำหนักเบาสำหรับวาทยกรในการควบคุมวงออร์เคสตร้า วงประสานเสียง หรือ การแสดงร่วม หมวดหมู่:อุปกรณ์ดนตรี.

ดู การทับศัพท์และบาตอง

ชีสเบอร์เกอร์

ีสเบอร์เกอร์ (cheeseburger) เป็นแฮมเบอร์เกอร์ซึ่งมีเนยแข็งวางอยู่บนเนื้อ ส่วนใหญ่จะนำเนยแข็งวางลงบนแผ่นเนื้อในระหว่างที่กำลังร้อนอยู่บนเตาย่าง เพื่อที่จะให้เนยแข็งละลายลงบนแผ่นเนื้อ ภายในตัวชีสเบอร์เกอร์มักมีส่วนผสมอื่น ๆ อีก เช่น ผักกาดหอม มะเขือเทศ หอมใหญ่ แตงกวาดอง มัสตาร์ด มายองเนส ซอสมะเขือเทศ และบางครั้งอาจใส่เบคอนด้วย ชีสเบอร์เกอร์เป็นอาหารอเมริกันที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลก เนื่องจากที่ว่าเป็นอาหารที่นิยมรับประทานตามร้านอาหารจานด่วนอเมริกันต่าง ๆ คำว่า "ชีสเบอร์เกอร์" เป็นคำทับศัพท์จากภาษาอังกฤษซึ่งแปลว่า "แฮมเบอร์เกอร์เนยแข็ง" โดยคำ "เบอร์เกอร์" (burger) เป็นคำที่ย่อมาจากคำว่า "แฮมเบอร์เกอร์" (hamburger) อีกที.

ดู การทับศัพท์และชีสเบอร์เกอร์

ชโต? กเด? คอกดา?

ต? กเด? คอกดา? (Что? Где? Когда?, ทับศัพท์ Chto? Gde? Kogda?) หรือชื่อในภาษาไทย "อะไร? ที่ไหน? เมื่อไร?" เป็นรายการเกมโชว์เชาว์ปัญญาที่เป็นที่รู้จักกันดีในประเทศรัสเซียและรัฐในอดีตสหภาพโซเวียต ตั้งแต่กลางปี 1970 ปัจจุบันรายการผลิดโดย TV Igra ทาง ช่องหนึ่งรัสเซี.

ดู การทับศัพท์และชโต? กเด? คอกดา?

การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย

ษาบาลี หรือภาษามคธ เป็นภาษาที่จารึกพระไตรปิฎก ด้วยเป็นภาษาที่คนชมพูทวีปในสมัยพุทธกาลนิยมใช้กันทั่วไป จึงเป็นภาษาที่พระพุทธเจ้าใช้เผยแพร่พระพุทธศาสนาในสมัยนั้น หลังจากพุทธปรินิพพานมีการทำปฐมสังคายนา พระเถระได้ตกลงกันใช้ภาษาบาลีสำหรับจดจำพระไตรปิฎก พระสงฆ์สายเถรวาทจึงต้องศึกษาภาษาบาลีให้เข้าใจลึกซึ้งและสามารถเทียบเคียงสอบทานกับพระไตรปิฎกที่เก็บไว้ในสถานที่ต่างกันได้ เพื่อรักษาการแปลความหมายจากพระพุทธพจน์ในพระไตรปิฎกให้ถูกต้องไม่บิดเบือน และหน้าที่นี้ก็เป็นหน้าที่ของพระสงฆ์ในประเทศไทยเช่นเดียวกันเทวประภาส มากคล้าย เปรียญ..

ดู การทับศัพท์และการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย

การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถาน

การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง เป็นหลักการถอดตัวอักษรไทยเป็นอักษรโรมันอย่างเป็นทางการโดยราชบัณฑิตยสถาน ใช้ในสำหรับหนังสือและสิ่งพิมพ์ของรัฐบาล และป้ายชื่อถนนต่าง ๆ ในประเทศไทย รูปแบบใหม่ประกาศใช้เมื่อ 11 มกราคม พ.ศ.

ดู การทับศัพท์และการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงของราชบัณฑิตยสถาน

การถอดเสียง

การถอดเสียง หรือ การทับศัพท์แบบถ่ายเสียง (Transcription) เป็นระบบในการเขียนเสียงพูดของมนุษย์จากภาษาหนึ่ง เป็นเป็นระบบตัวอักษรในอีกภาษาหนึ่งตามกฎที่วางไว้ เพื่อให้คงเสียงของภาษาต้นฉบับ การถอดเสียงนี้จะแตกต่างกับการทับศัพท์แบบถอดอักษร ซึ่งเปลี่ยนระบบตัวอักษรจากภาษาหนึ่งไปเป็นอีกภาษาหนึ่ง เพื่อให้คงรูปของตัวอักษรมากที่สุดที่เป็นไปได้ เช่นการถอดอักษรซีริลลิกเป็นอักษรละตินสำหรับภาษารัสเซีย (เช่นชื่อ "เลนิน" ในอักษรซีริลลิก Ленин และอักษรละติน Lenin) แม้กระนั้น การถอดเสียงและการถอดอักษรบางครั้งจะถูกใช้ผสมกันซึ่งพบได้ทั่วไปสำหรับการเขียนชื่อที่มาจากภาษาอื่น มาตรฐานที่ใช้ในการทับศัพท์ได้แก่ สัทอักษรสากล และ แซมปา ตารางด้านล่าง แสดงตัวอย่างของการทับศัพท์ โดยมี การทับศัพท์แบบถอดอักษร และสัทอักษรสากลกำกั.

ดู การทับศัพท์และการถอดเสียง

การถอดเป็นอักษรโรมัน

ษาต่าง ๆ สามารถถอดเป็นอักษรโรมันโดยวิธีการต่าง ๆ ที่ไม่เหมือนกันก็ได้ เช่นภาษาจีนกลางที่แสดงอยู่นี้ ในทางภาษาศาสตร์ การถอดเป็นอักษรโรมัน (Romanisation) คือการถอดคำพูดหรือคำเขียนที่ใช้ระบบการเขียนต่าง ๆ เป็นอักษรโรมัน (ละติน) โดยสำหรับคำเขียนใช้การทับศัพท์ สำหรับคำพูดใช้การถอดเสียง ซึ่งสามารถแบ่งเป็นสองประเภทย่อยได้อีก คือการถอดเสียงตามหน่วยเสียง (phoneme) และ การถอดเสียงให้สอดคล้องกับการออกเสียง (phonetic).

ดู การทับศัพท์และการถอดเป็นอักษรโรมัน

การทับศัพท์ภาษาพม่า

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาพม่านี้เป็นหลักการที่กำหนดตามสํานักงานราชบัณฑิต.

ดู การทับศัพท์และการทับศัพท์ภาษาพม่า

การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่นนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามสำนักงานราชบัณฑิตยสภา (ประกาศใช้เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2561).

ดู การทับศัพท์และการทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น

การทับศัพท์ภาษาฝรั่งเศส

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาฝรั่งเศสนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา).

ดู การทับศัพท์และการทับศัพท์ภาษาฝรั่งเศส

การทับศัพท์ภาษามลายู

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษามลายูที่ใช้ในประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ และบรูไนนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามสํานักงานราชบัณฑิต.

ดู การทับศัพท์และการทับศัพท์ภาษามลายู

การทับศัพท์ภาษารัสเซีย

การเขียนคำทับศัพท์ภาษารัสเซีย เป็นการเขียนคำทับศัพท์ภาษารัสเซียนี้ เป็นหลักการทั่วไปที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน สำหรับศัพท์บางคำที่มีการอ่านออกเสียงผิดไปจากปรกติ ให้ถือการทับศัพท์ตามการออกเสียงของคำนั้น.

ดู การทับศัพท์และการทับศัพท์ภาษารัสเซีย

การทับศัพท์ภาษาสเปน

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาสเปนนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามสํานักงานราชบัณฑิตยสภา สำหรับศัพท์บางคำที่มีการอ่านออกเสียงผิดไปจากปรกติ ให้ถือการทับศัพท์ตามการออกเสียงของคำนั้น.

ดู การทับศัพท์และการทับศัพท์ภาษาสเปน

การทับศัพท์ภาษาอังกฤษ

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การเขียนคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ ในภาษาไทย มีระบบอ้างอิงระบบเดียวในการเขียนคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ โดยทางราชการกำหนดไว้โดยใช้ระบบการเขียนคำทับศัพท์จาก ราชบัณฑิตยสถาน.

ดู การทับศัพท์และการทับศัพท์ภาษาอังกฤษ

การทับศัพท์ภาษาอาหรับ

การทับศัพท์ภาษาอาหรับ ที่ใช้ในปัจจุบันมีสองแบบ คือ แบบราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งมีประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีให้ใช้เป็นบรรทัดฐานเมื่อวันที่ 7 มีนาคม..

ดู การทับศัพท์และการทับศัพท์ภาษาอาหรับ

การทับศัพท์ภาษาอิตาลี

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การเขียนคำทับศัพท์ภาษาอิตาลีนี้ เป็นหลักการทั่วไปที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน สำหรับศัพท์บางคำที่มีการอ่านออกเสียงผิดไปจากปรกติ ให้ถือการทับศัพท์ตามการออกเสียงของคำนั้น.

ดู การทับศัพท์และการทับศัพท์ภาษาอิตาลี

การทับศัพท์ภาษาอินโดนีเซีย

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาอินโดนีเซียนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามสํานักงานราชบัณฑิต.

ดู การทับศัพท์และการทับศัพท์ภาษาอินโดนีเซีย

การทับศัพท์ภาษาฮินดี

การทับศัพท์ภาษาฮินดีนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา).

ดู การทับศัพท์และการทับศัพท์ภาษาฮินดี

การทับศัพท์ภาษาจีน

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาจีนกลางนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา) ซึ่งอาจแตกต่างจากที่นักวิชาการและสื่อบางส่วนใช้อยู่บ้างเล็กน้อย โปรดดูรายละเอียดท้ายบทความ.

ดู การทับศัพท์และการทับศัพท์ภาษาจีน

การทับศัพท์ภาษาเกาหลี

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาเกาหลีนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา).

ดู การทับศัพท์และการทับศัพท์ภาษาเกาหลี

การทับศัพท์ภาษาเยอรมัน

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การเขียนคำทับศัพท์ภาษาเยอรมันนี้เป็นหลักเกณฑ์ทั่วไปที่กำหนดโดยราชบัณฑิตยสถาน ในกรณีที่คำบางคำออกเสียงแตกต่างจากทั่วไปก็ให้ยึดตามการออกเสียงนั้น.

ดู การทับศัพท์และการทับศัพท์ภาษาเยอรมัน

การทับศัพท์ภาษาเวียดนาม

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาเวียดนามนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา).

ดู การทับศัพท์และการทับศัพท์ภาษาเวียดนาม

ภาษาบัลแกเรีย

ษาบัลแกเรียเป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน โดยเป็นสมาชิกของแขนงใต้ของภาษากลุ่มสลาวิก.

ดู การทับศัพท์และภาษาบัลแกเรีย

ภาษาวิทยาศาสตร์

ษาวิทยาศาสตร์ เป็นภาษาที่เกิดขึ้นใหม่อยู่เสมอ เพราะโลกมีความเคลื่อนไหว ความก้าวหน้าจากทฤษฎีใหม่ๆ จากการค้นพบใหม่ๆ ทั้งแบบค่อยเป็นค่อยไป และแบบก้าวกระโดด ส่งผลให้เกิดคำที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาวิทยาศาสตร์ หลักการและการค้นพบทางวิทยาศาสตร์เป็นไปโดยเข้าใจตรงกัน จึงต้องมีการดำเนินการเกี่ยวกับภาษาวิทยาศาสตร์นั้นๆ ไม่ว่าจะเป็นการให้ความหมาย การบัญญัติศัพท์ การทับศัพท.

ดู การทับศัพท์และภาษาวิทยาศาสตร์

ภาษาผสม

การปนของภาษา คือการที่เราใช้ภาษา 2 ภาษาหรือมากกว่านั้นปนกัน การปนของภาษาเริ่มขึ้นตั้งแต่การ เข้ามาของอาณานิคม ต่างชาติในไทย โดยเริ่มการปนของภาษาในราชสำนักไทย ที่มีการติดต่อกันของเชื้อพระวงศ์ไทย หรือแม้กระทั่งขุนนางชั้นสูงที่จบการศึกษามาจากต่างประเทศ แม้กระทั่งรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 ในการที่ทรงเขียนจดหมายถึง พระโอรส เชื้อพระวงศ์ ต่างๆ ก็ทรงมีการใช้คำไทยปนกับ การใช้คำอังกฤษมาตั้งแต่สมัยนั้น หลังจากนั้นก็มีการใช้ภาษาที่ปนกันในหมู่คนชั้นสูง ที่ได้รับการศึกษาสูง จนกลายเป็นค่านิยมว่าหากใครพูดไทยคำ อังกฤษคำ จะดูเท่ โก้หรู เป็นเครื่องบ่งว่ามีการศึกษาสูง จวบจนกระทั่งทุกวันนี้ทัศนคติของการใช้ภาษาก็ไม่ได้เปลี่ยนไปแต่อย่างใด ซ้ำร้ายกลับมากขึ้นทุกที จนทำให้เกิดการกร่อนของภาษาไทยเรา หรือมีการใช้ภาษาที่ผิดไป ที่เรียกว่าภาษาวิบัตินั่นเอง สังคมไทยนั้นเป็นสังคมที่เปิดรับสิ่งต่าง ๆ ได้ง่าย รับเอาวัฒนธรรมต่างๆ ของต่างชาติมามากเกินไป จนลืมที่จะรักษาวัฒนธรรมตน ลืมรักษาภาษาของตน จุดเริ่มต้นมาจากชนชั้นสูง จนกระทั่งการศึกษาได้กว้างขึ้นแพร่หลายขึ้น มีผลให้มีการปนภาษามากขึ้นโดยมีการทับศัพท์นั่นเอง การใช้ทับศัพท์นั้นมีข้อดีอยู่ที่ว่าศัพท์อังกฤษ บางคำมีความหมายไทย ที่ยาวยืด ไม่สะดวกต่อการพูดและเขียน ในบางกรณีจึงนิยมใช้ทับศัพท์มากกว่า หรือบางครั้งราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติศัพท์ที่ค่อนข้างแปลกหูแปลกตา หรืออาจดูเชยจนเกินไปในหมู่วัยรุ่น เราจึงนิยมใช้คำทับศัพท์มากกว่า เช่นคำว่า software ที่บัญญัติคำไทยว่า ส่วนชุดคำสั่ง, hardware บัญญัติว่า ส่วนอุปกรณ์ หรือแม้กระทั่ง joy stick ที่ใช้คำไทยว่า ก้านควบคุม นั้น คำเหล่านี้มักไม่เป็นที่นิยมใช้ และไม่เป็นที่คุ้นเคย คนไทยเราจึงใช้คำทับศัพท์เป็น ฮาร์ดแวร์, ซอฟต์แวร์, จอยสติก ซึ่งเป็นที่นิยมมากกว่า ดังนั้นการที่มีการปนของภาษาเกิดขึ้นนั้น อาจจะเกิดจากการไหลเข้ามาของวัฒนธรรมและเทคโนโลยีจากต่างชาติ ค่านิยมต่าง ๆ ของคนรุ่นใหม่ การเอาอย่างของวัยรุ่น หรือแม้กระทั่งคนที่เกี่ยวข้องกับภาษาของชาติ ทุกฝ่าย ที่เป็นผู้บัญญัติคำศัพท์และความหมายในภาษา เหล่านี้ต่างก็มีส่วนที่ทำให้เกิดการปนของภาษาในประเท.

ดู การทับศัพท์และภาษาผสม

มอนิเตอร์

มอนิเตอร์ เป็นคำทับศัพท์จากภาษาอังกฤษ "monitor" มีหลายความหมายด้วยกัน แต่ที่นิยมใช้ในภาษาไทย มีดังนี้.

ดู การทับศัพท์และมอนิเตอร์

สกุลรัสบอร่า

กุลรัสบอร่า เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ซึ่งตั้งชื่อโดย ปีเตอร์ บลีกเกอร์ ในปี ค.ศ. 1859 ใช้ชื่อสกุลว่า Rasbora (/รัส-บอ-รา/) มีลักษณะโดยรวม คือ ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว 1 ก้าน และก้านครีบแขนง 7 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบแขนง 5 ก้าน ปากแคบ มีปุ่มในปากล่าง ไม่มีหนวด และจุดเริ่มต้นของครีบหลังอยู่กึ่งกลางลำตัว มีการกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในแหล่งน้ำของทวีปแอฟริกา, ทวีปเอเชีย พบตั้งแต่เอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงเอเชียตะวันออก มีสมาชิกในสกุลนี้จำนวนมาก โดยในประเทศไทยจะเรียกปลาในสกุลนี้รวม ๆ กันว่า "ปลาซิว" มีอยู่หลายชนิด สำหรับในประเทศไทย ปลาที่ได้ชื่อว่าปลาซิว คือ ปลาที่อยู่ในสกุลนี้มากที่สุด มีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการใช้บริโภคกันในท้องถิ่นและการเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงาม โดยอาจเรียกทับศัพท์ตามชื่อวิทยาศาสตร์ไปว่า รัสบอร่า โดยรวบรวมปลาได้จากการจับทีละมาก ๆ จากธรรมชาติและเพาะขยายพันธุ์ได้เองในที่เลี้ยง อีกทั้งยังถือเป็นห่วงโซ่อาหารเบื้องต้นตามธรรมชาติอีกด้วย เนื่องจากปลาในสกุลนี้มีขนาดเล็กและกินพืชเป็นอาหาร จึงมักตกเป็นอาหารของปลาและสัตว์น้ำขนาดใหญ่กว่าเสมอ แต่ในปัจจุบัน ได้มีการแบ่งแยกเป็นสกุลใหม่ ได้แก่ Kottelatia 1 ชนิด, Boraras 5 ชนิด, Breviora 2 ชนิด, Microrasbora 7 ชนิด และ Trigonostigma 4 ชน.

ดู การทับศัพท์และสกุลรัสบอร่า

สระ (สัทศาสตร์)

ในทางสัทศาสตร์ สระ (สะ-หฺระ) หมายถึงเสียงในภาษาที่เปล่งออกมาจากช่องเสียง (vocal tract) ที่เปิดออกโดยตรงจากช่องเส้นเสียง (glottis) โดยไม่กักอากาศ ตัวอย่างเช่น "อา" หรือ "โอ" (โดยไม่กักอากาศด้วยอักษร อ) ตรงข้ามกับพยัญชนะซึ่งมีการกักอากาศอย่างน้อยหนึ่งจุดภายในช่องเสียง เสียงสระสามารถจัดได้ว่าเป็นพยางค์ ส่วนเสียงเปิดที่เทียบเท่ากันแต่ไม่สามารถเปล่งออกมาเป็นพยางค์ได้เรียกว่า กึ่งสระ (semivowel) เสียงสระเป็นแกนพยางค์ (syllable nucleus) ในทุกภาษา ซึ่งเสียงพยัญชนะจะเกิดขึ้นก่อนหรือหลังเสียงสระเสมอ อย่างไรก็ตามในบางภาษาอนุญาตให้เสียงอื่นเป็นแกนพยางค์ เช่นคำในภาษาอังกฤษ table "โต๊ะ" ใช้เสียง l เป็นแกนพยางค์ (ขีดเล็กๆ ที่อยู่ใต้ l หมายถึงสามารถออกเสียงได้เป็นพยางค์ ส่วนจุดคือตัวแบ่งพยางค์) หรือคำในภาษาเซอร์เบีย vrt "สวน" เป็นต้น แต่เสียงเหล่านี้ไม่เรียกว่าเป็นเสียงสร.

ดู การทับศัพท์และสระ (สัทศาสตร์)

หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา

หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เป็นระบบการทับศัพท์ที่นิยมใช้มากที่สุดระบบหนึ่งในประเทศไทย โดยคณะกรรมการจัดทำหลักเกณฑ์การทับศัพท์และคณะกรรมการปรับปรุงหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่าง ๆ ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา (เดิมคือราชบัณฑิตยสถาน) เป็นผู้กำหนดและเสนอหลักเกณฑ์ต่อสำนักงานราชบัณฑิตยสภาเพื่อออกประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภาให้ใช้หลักเกณฑ์ จากนั้น สำนักงานราชบัณฑิตยสภาจะเป็นผู้เสนอหลักเกณฑ์ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีให้ใช้เป็นมาตรฐานเดียวกัน แล้วลงประกาศเผยแพร่ในราชกิจจานุเบกษาต่อไป.

ดู การทับศัพท์และหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา

หนอนมรณะมองโกเลีย

วาดในจินตนาการของหนอนมรณะมองโกเลีย ของ ปีเตอร์ เดิร์ก นักเขียนชาวเบลเยี่ยม หนอนมรณะมองโกเลีย (Mongolian Death Worm) คือ สัตว์ประหลาดที่เชื่อว่ารูปร่างคล้ายหนอนหรือไส้เดือนขนาดใหญ่ อาศัยในทะเลทรายโกบี ในมองโกเลี.

ดู การทับศัพท์และหนอนมรณะมองโกเลีย

อะพอสทรอฟี

อะพอสทรอฟี (') (apostrophe; ἡ ἀπόστροφος, hē apóstrophos) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนสากลอย่างหนึ่ง มีลักษณะเป็นขีดตั้งเล็ก ๆ เขียนอยู่เหนือและถัดจากอักษร หรือปรากฏคล้ายอัญประกาศเดี่ยว (ดูภาพทางขวา) ใช้มากในภาษาที่ใช้อักษรละติน แต่ไม่มีใช้ในภาษาไทย และบางครั้งก็ใช้เป็นเครื่องหมายเสริมสัทอักษร.

ดู การทับศัพท์และอะพอสทรอฟี

อักษรเขมร

ตัวอย่างอักษรเขมรสองแบบ อักษรเขมร (អក្សរខ្មែរ)​ ​คือรูปอักษรที่ดัดแปลงมาจากอักษรหลังปัลลวะ (ราว พ.ศ. 1200-1400) ซึ่งเป็นอักษรที่พัฒนามาจากอักษรปัลลวะ (ราว พ.ศ.

ดู การทับศัพท์และอักษรเขมร

อัลเลลูยา

อัลเลลูยา (คาทอลิก) อาเลลูยา (โปรเตสแตนต์) หรือ ฮาเลลูยา (โปรเตสแตนต์) มาจาก Alleluia ในภาษากรีกและภาษาละติน ซึ่งเป็นคำทับศัพท์มาจาก הַלְּלוּיָהּ ในภาษาฮีบรู มีความหมายว่า สรรเสริญ (הַלְּלוּ) พระยาห์เวห์ (יָהּ) ตรงกับภาษาละตินว่า "Alleluia" อัลเลลูยาเป็นวลีที่ใช้สรรเสริญพระเจ้าในศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ ใกล้เคียงกับคำว่า อัลฮัมดุลิลลาฮ์ (الحمد لله) ที่ใช้ในศาสนาอิสลาม.

ดู การทับศัพท์และอัลเลลูยา

ธาร ยุทธชัยบดินทร์

ร ยุทธชัยบดินทร์ นักเขียนเชื้อสายไทย-จีน เกิดเมื่อ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 ที่ โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร มีผลงานวรรณกรรมพิมพ์เผยแพร่ในนิตยสารต่าง ๆ ทั้งบทความและเรื่องสั้น รวมถึงหนังสือเล่มซึ่งได้รับรางวัลระดับประเทศหลายครั้ง.

ดู การทับศัพท์และธาร ยุทธชัยบดินทร์

ทัณฑฆาต

ทัณฑฆาต (-์) บ้างเรียก หางกระแต หรือ วัญฌการ มีสัณฐานเหมือนหางกระรอก ใช้เติมเหนือพยัญชนะ พร้อมด้วยสระบนและสระล่าง ที่ไม่ต้องการให้ออกเสียง แต่ต้องการคงรูปแบบตัวอักษรไว้ หรือไม่สามารถออกเสียงได้ในภาษาไทย ตัวอักษรที่เติมไม้ทัณฑฆาตเรียกว่าการันต์ แปลว่า "อักษรตัวสุดท้าย" ส่วนใหญ่คำที่ปรากฏทัณฑฆาตจะเป็นคำที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศหรือคำทับศัพท์ บางคนเขียนทัณฑฆาตคล้ายเลขไทย (๙) สำหรับสะกดคำสำหรับภาษาบาลี-สันสกฤต ก็ใช้ทัณฑฆาตในการสะกดคำ เช่นคำว่า สิน์ธู (อ่านว่า สิน-ทู) เพื่อให้ทราบว่า น เป็นตัวสะกด แต่การสะกดคำบาลี-สันสกฤตส่วนใหญ่จะใช้พินทุ (-ฺ) แทน คำที่ปรากฏทัณฑฆาตแต่ยังคงออกเสียงพยัญชนะอยู่โดยมากเป็นคำเก่า เช่น สิริกิติ์ (อ่านว่า สิ-หฺริ-กิด), โลกนิติ์ (อ่านว่า โลก-กะ-นิด) และ สุรเกียรติ์ (อ่านว่า สุ-ระ-เกียด).

ดู การทับศัพท์และทัณฑฆาต

ควย

วย เป็นคำไม่สุภาพในภาษาไทย ใช้อ้างถึงอวัยวะเพศชาย คู่กับคำ "หี" ซึ่งหมายถึงอวัยวะเพศหญิงเป็นคำไม่สุภาพเช่นกัน.

ดู การทับศัพท์และควย

คอร์นดอก

อร์นดอก (corn dog) เป็นฮอตดอกที่เสียบไม้และเคลือบด้วยแป้งข้าวโพดคอร์นมีลแล้วนำไปทอด มีแหล่งกำเนิดจากสหรัฐอเมริกา โดยนิยมรับประทานเป็นอาหารจานด่วนหรืออาหารข้างถนน มักรับประทานเปล่า ๆ แต่บางครั้งอาจรับประทานกับมัสตาร์ดก็ได้.

ดู การทับศัพท์และคอร์นดอก

คำยืม

ำยืม หมายถึงคำที่ยืมมาจากภาษาของผู้ให้ และผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของภาษาของผู้รับ การยืมนี้ไม่เหมือนความหมายทั่วไปเนื่องจากไม่มีการคืนกลับสู่ภาษาของผู้ให้ แต่เปรียบได้กับ "การยืมความคิด" มาใช้ คำยืมอาจไม่ได้เป็นคำเดียวเสมอไป อาจเป็นกลุ่มคำก็ได้อย่างเช่น déjà vu ซึ่งภาษาอังกฤษยืมมาจากภาษาฝรั่งเศส จะใช้ควบคู่กันไปเสมือนคำเดียว คำยืมอาจมีการเขียน การอ่าน และความหมาย ที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมก็ได้ คำในภาษาของผู้ให้โดยทั่วไปเข้าสู่ภาษาของผู้รับในลักษณะศัพท์เฉพาะทางเนื่องจากการเปิดรับวัฒนธรรมต่างชาติ จุดอ้างอิงโดยเฉพาะอาจเป็นวัฒนธรรมต่างชาตินั้นเองหรือขอบข่ายของกิจกรรมของวัฒนธรรมต่างชาติที่ต้องการครอบงำ วัฒนธรรมต่างชาติซึมซับเข้าสู่วัฒนธรรมท้องถิ่นผ่านทางการเผยแผ่ศาสนา ปรัชญา การค้าขาย ศิลปะ วิทยาการ และการอพยพจากคนต่างถิ่น รวมไปถึงความสัมพันธ์ทางการทูต ภาษาไทยมีคำยืมภาษาต่างประเทศหลายภาษาอาทิ ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร กลุ่มภาษาจีน (ภาษาแต้จิ๋ว, ภาษาฮกเกี้ยน และ ภาษาจีนกลาง) ภาษามอญ ภาษามลายู ภาษาโปรตุเกส ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น ฯลฯ แม้แต่ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงก็ยังปรากฏคำยืมภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร เข้ามาปะปน.

ดู การทับศัพท์และคำยืม

ปั๊ม

ปั๊ม (pump) เป็นคำทับศัพท์จากภาษาอังกฤษที่ไม่ถูกต้องตามหลัก แต่นิยมใช้กันมานานแล้ว สามารถหมายถึง.

ดู การทับศัพท์และปั๊ม

โทมัส ยัง

ทมัส ยัง โทมัส ยัง (Thomas Young; 14 มิถุนายน พ.ศ. 2316 – 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2372) เป็นนักวิทยาศาสตร์และแพทย์ ชาวอังกฤษ มีความเฉลียวฉลาดถึงขนาดที่พูดได้กว่า 12 ภาษา เมื่ออายุได้ 14 ปี ผลงานที่เด่นที่สุดของเขาในด้านวัสดุศาสตร์ก็คือ มอดุลัสของยัง นอกจากนี้เขาได้ช่วยเขียนหนังสือสารานุกรม เอ็นไซโคลพีเดีย บริตเตนิกา (Encyclopedia Britannica) ในหลาย ๆ บทความ และยังศึกษาอักษรอียิปต์โบราณเช่นเดียวกับชอง-ฟรองซัว ชองโปลิยง นักภาษาศาสตร์ชาวฝรั่ง.

ดู การทับศัพท์และโทมัส ยัง

โดมแห่งศิลา

quote.

ดู การทับศัพท์และโดมแห่งศิลา

โปรแกรม

ปรแกรม เป็นคำทับศัพท์จากภาษาอังกฤษว่า "program" ทั้งในภาษาไทยและภาษาอังกฤษเองมีหลายความหมาย เช่น.

ดู การทับศัพท์และโปรแกรม

เสียงนาสิก ลิ้นไก่

ียงนาสิก ลิ้นไก่ เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่นภาษาญี่ปุ่น ภาษาสเปน ภาษาเกชัว ภาษาพม่า ฯลฯ แต่ไม่มีเสียงนี้ในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ N\ ออกเสียงคล้าย ŋ แต่ดันโคนลิ้นแตะที่ลิ้นไก่แทนเพดานอ่อน การทับศัพท์เสียงนี้มักใช้ ง.

ดู การทับศัพท์และเสียงนาสิก ลิ้นไก่

เซ็ตสึนะ

ซ็ตสึนะ หรือ เซสึนะ (หรืออาจสะกดทับศัพท์ในแบบอื่น ๆ) เป็นชื่อบุคคลญี่ปุ่น สามารถหมายความถึง "สักครู่" หรือ "หิมะสงบ" ชื่อนี้มี การ ออกเสียง ภาษา ญี่ปุ่น ระยะ เดียวกัน ของ พุทธ: せつな หมาย "แยก ที่ สอง" ซึ่ง นำ เข้า จาก ประเทศจีน (ใน รูป แบบ ตัว อักษร ตัวอักษรจีน: 刹那 chànà) แต่ มา ใน ประเทศอินเดีย (ใน ภาษาสันสกฤต: क्षण ksana).

ดู การทับศัพท์และเซ็ตสึนะ

Ґ

Ge (Ґ, ґ) บางครั้งก็เรียกว่า Ghe หรือ Ge with upturn (ในรหัสยูนิโคดใช้ชื่อว่า CYRILLIC CAPITAL/SMALL LETTER GHE WITH UPTURN) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ใช้แทนเสียง // คล้ายกับเสียง g ของคำว่า go ในภาษาอังกฤษ ในภาษาเบลารุสและภาษายูเครนสมัยโบราณ บางครั้งมีการใช้อักษรละติน g และทวิอักษร КГ (kh) แทนเสียงของ g ในคำทับศัพท์จากภาษาละติน แต่ภายหลังการทำเช่นนี้รวมทั้งการใช้ทวิอักษร ได้เลือนหายไปจากอักขรวิธีของภาษาเบลารุส จนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 19 การใช้อักษร Ґ ได้ถูกนำมาพิจารณาใหม่และเพิ่มเข้าไปในภาษายูเครนและภาษารูซิน อักษร Ґ ของภาษายูเครนได้ถูกยกเลิกในการปฏิรูปอักขรวิธีของภาษารัสเซีย โดยสหภาพโซเวียต ใน พ.ศ.

ดู การทับศัพท์และҐ

หรือที่รู้จักกันในชื่อ การถ่ายถอดอักษรการทับศัพท์แบบถอดอักษรการปริวรรตการเขียนคำทับศัพท์การเขียนคำทับศัพท์แบบถอดอักษรภาษาถอดเสียงทับศัพท์ปริวรรต