โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กะโนม

ดัชนี กะโนม

รงการ GNOME เป็นการสร้างแพลตฟอร์มทางคอมพิวเตอร์ ที่เป็นซอฟต์แวร์เสรี โดยมีเป้าหมายคือสร้างชุดเครื่องมือที่ช่วยให้นักพัฒนาสามารถสร้างโปรแกรมขึ้นมาได้ง่าย รวมไปถึงสภาวะการทำงานแบบเดสก์ท็อป (desktop environment - ซอฟต์แวร์ที่ใช้เรียกซอฟต์แวร์อื่น ทำหน้าที่จัดการกับไฟล์และระบบหน้าต่าง) มีซอฟต์แวร์จำนวนมากที่ถูกพัฒนาขึ้นใต้โครงการ GNOME ซึ่งมักจะถูกนำไปรวมเป็นส่วนหนึ่งของระบบปฏิบัติการบางชนิด เช่น ลินุกซ์ หรือ โซลาริส เป็นต้น GNOME เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ GNU และเป็นสภาวะการทำงานแบบเดสก์ท็อปหลักของ GNU ด้วย GNOME.

21 ความสัมพันธ์: ชีส (ซอฟต์แวร์)ฟีโดรากิมป์ภาษาไพทอนรายชื่อเว็บเบราว์เซอร์ลินุกซ์ทะเลส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้อูบุนตูอีพิฟานี (เว็บเบราว์เซอร์)จีทีเคพลัสไมน์สวีปเปอร์เชลล์เชลล์ยูนิกซ์เอกซ์เอฟซีอีเอวินซ์เจดิตเดเบียนBerylCommon Desktop EnvironmentGNU Privacy GuardUbuntu Software Center

ชีส (ซอฟต์แวร์)

ีส (Cheese) เป็นซอฟต์แวร์เว็บแคมสำหรับ GNOME มีรูปแบบใกล้เคียงกับ Photo Booth ของ Mac OS X เริ่มพัฒนาในปี 2007 โดย Daniel G. Siegel ภายใต้โครงการ Google Summer of Code Cheese ใช้ GStreamer ในการสร้างเอฟเฟคต์พิเศษให้กับภาพและวิดีโอ และรองรับการส่งภาพขึ้นไปเก็บบนเว็บไซต์ Flickr Cheese ถือเป็นส่วนหนึ่งของแพลตฟอร์ม GNOME อย่างเป็นทางการตั้งแต่เวอร์ชัน 2.22 เป็นต้นไป.

ใหม่!!: กะโนมและชีส (ซอฟต์แวร์) · ดูเพิ่มเติม »

ฟีโดรา

Fedora (ฟีโดรา, เฟดอรา, ฟีดอรา) เป็นอีกลินุกซ์ดิสทริบิวชันที่แตกแขนงมาจาก Red Hat Enterprise Linux ซึ่งเป็น ลินุกซ์เชิงธุรกิจ ต่างจาก ลินุกซ์ทั่วไป เกิดจากการที่ บริษัทเรดแฮต ต้องการนำเอา Red Hat กลับสู่พันธ์สัญญาซอฟต์แวร์เสรี โดยการพัฒนา Fedora นั้นอยู่ภายใต้การดูแลของทีม Fedora Project นอกจากนี้ทุกวันนี้บริษัท เรดแฮต ยังคงให้การสนับสนุน Fedora อยู่เสมอ ในบ้างครั้งหากระบบ package ใดที่ได้รับการพัฒนาและเพิ่มเติ่มใน Fedora แล้วทำงานได้ดีและมีความนิยมสูง เรดแฮต ก็จะนำ package นั้นเข้าไปใน Red Hat Enterprise Linux รุ่นถัดไปด้วย รุ่นล่าสุดคือ Fedora 25.

ใหม่!!: กะโนมและฟีโดรา · ดูเพิ่มเติม »

กิมป์

กนูอิมิจมานิพิวเลชันโปรแกรม (- โปรแกรมจัดการภาพกนู) หรือกิมป์ (GIMP) เป็นซอฟต์แวร์สำหรับตกแต่งภาพแบบแรสเตอร์ คล้ายกับซอฟต์แวร์อย่าง อะโดบี โฟโตชอป กิมป์สามารถทำงานได้บนหลายระบบปฏิบัติการ เช่น วินโดวส์ แมคโอเอสเท็น และ ลินุกซ์ กิมป์เป็นซอฟต์แวร์เสรี ที่อนุญาตให้นำไปใช้ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และยังอนุญาตให้นำไปแก้ไขและแจกจ่ายได้ด้ว.

ใหม่!!: กะโนมและกิมป์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไพทอน

ษาไพทอน (Python programming language) เป็นภาษาระดับสูง.

ใหม่!!: กะโนมและภาษาไพทอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเว็บเบราว์เซอร์

รายชื่อเว็บเบราว์เซอร์เรียงลำดับตามช่วงเวลา รายชื่อเว็บเบราว์เซอร.

ใหม่!!: กะโนมและรายชื่อเว็บเบราว์เซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลินุกซ์ทะเล

ลินุกซ์ทะเล (LinuxTLE) คือชื่อของระบบปฏิบัติการในลักษณะของลินุกซ์ที่ปัจจุบันพัฒนาต่อมาจากอูบุนตูโดยเพิ่มความสามารถภาษาไทย ปัจจุบันพัฒนาโดยเนคเทค โดยรุ่นปัจจุบันคือ ลินุกซ์ทะเล 10 รหัสว่า "อ่าวนาง" เป็นลินุกซ์ทะเลรุ่นสุดท้าย ทำมาเพื่อที่เน้นการใช้งานสำหรับผู้ใช้ทั่วไป ทั้งการใช้ที่บ้าน ที่สำนักงาน ในสถานศึกษา สำหรับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ทั้งคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะและคอมพิวเตอร์พกพา จากนั้นลินุกช์ทะเลได้ยุติบทบาทลง ด้วยการมาของ LinuxMint ที่ปัจจุบันสามารถใช้งานภาษาไทยได้อย่างเต็มรูปแบบ ชื่อ TLE ย่อมาจากคำว่า Thai Language Extension ที่หมายถึงส่วนขยายภาษาไทย เพื่อบอกให้ทราบว่าเป็นชุดเผยแพร่ลินุกซ์ที่เน้นการใช้งานภาษาไทย โดยชื่อเรียก "ทะเล" นั้นเกิดจากการลากเข้าความในภายหลัง เพื่อให้ออกเสียงได้ง่าย และมีลักษณะความเป็นไทยแฝงอยู่ ลินุกซ์ทะเลได้รับการยกย่องให้เป็นดิสโทรยอดเยี่ยมประจำสัปดาห์จากเว็บไซต์ดิสโทรวอตช์ ในเดือนธันวาคม 2547.

ใหม่!!: กะโนมและลินุกซ์ทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้

วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Graphical User Interface, GUI อ่านว่า จียูไอ หรือ กูอี้) เป็นวิธีการใช้งานคอมพิวเตอร์ผ่านทางสัญลักษณ์หรือภาพนอกเหนือจากทางตัวอักษร จียูไอมีส่วนประกอบต่างๆ เช่น ไอคอน หน้าต่างการใช้งาน เมนู ปุ่มเลือก และการใช้เมาส์ หรือแม้แต่ในระบบทัชสกรีน จียูไอพัฒนาพัฒนาขึ้นโดยนักวิจัยที่สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ดนำโดย ดัก เอนเกลบาร์ต (Doug Engelbart) โดยการใช้งานร่วมกับไฮเปอร์ลิงก์และเมาส์ ซึ่งภายหลังได้นำมาวิจัยต่อที่ศูนย์วิจัยซีร็อกซ์พาร์ค (Xerox PARC) โดยใช้งานระบบกราฟิกแทนที่ระบบตัวอักษร โดยบางคนจะเรียกระบบนี้ว่า PARC User Interface หรือ PUI ปลายคริสต์ทศวรรษที่ 1970 แอปเปิลคอมพิวเตอร์ได้นำมาใช้ครั้งกับเครื่องแมคอินทอช ซึ่งภายหลังsteve job ได้เป็นosk121ทางไมโครซอฟท์ได้เลียนแบบความคิดมาใช้กับระบบปฏิบัติการวินโดวส์ ในปัจจุบันจียูไอเป็นที่นิยมโดยสามารถเห็นได้จากระบบปฏิบัติการ แมคอินทอช และ วินโดวส์ และล่าสุดในลินุกซ.

ใหม่!!: กะโนมและส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ · ดูเพิ่มเติม »

อูบุนตู

อูบุนตู (Ubuntu) เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ที่เป็นระบบปฏิบัติการแบบเปิดซึ่งมีพื้นฐานบนลินุกซ์ดิสทริบิวชันที่พัฒนาต่อมาจากเดเบียน การพัฒนาสนับสนุนโดยบริษัท Canonical Ltd ซึ่งเป็นบริษัทของนายมาร์ก ชัทเทิลเวิร์ธ ชื่อของดิสทริบิวชันนั้นมาจากคำในภาษาซูลู และภาษาโคซา (ภาษาในแอฟริกาใต้) ว่า Ubuntu ซึ่งมีความหมายในภาษาอังกฤษคือ "humanity towards others" อูบุนตูต่างจากเดเบียนตรงที่ออกรุ่นใหม่ทุก 6 เดือน และแต่ละรุ่นจะมีระยะเวลาในการสนับสนุนเป็นเวลา 18 เดือน รุ่นปัจจุบันของ Ubuntu คือ 18.04 LTS ซอฟต์แวร์ต่างๆ ที่รวมมาใน อูบุนตูนั้นเป็นซอฟต์แวร์เสรีเกือบทั้งหมด(มีบางส่วนที่เป็นลิขสิทธิ์ เช่น ไดรเวอร์โดยจุดมุ่งหมายหลักของ อูบุนตูคือเป็นระบบปฏิบัติการสำหรับคนทั่วไป ที่มีโปรแกรมทันสมัย และมีเสถียรภาพในระดับที่ยอมรับได้.

ใหม่!!: กะโนมและอูบุนตู · ดูเพิ่มเติม »

อีพิฟานี (เว็บเบราว์เซอร์)

Epiphany เป็นเว็บเบราว์เซอร์ของระบบเดสก์ท็อป GNOME พัฒนาต่อจากเว็บเบราว์เซอร์ Galeon Epiphany เป็นหนึ่งในเบราว์เซอร์ที่ใช้ตัววาดหน้าเว็บ เว็บคิต(WebKit) ในส่วนของตัวโปรแกรมที่ติดต่อกลับผู้ใช้พัฒนาด้วย GTK+ Epiphany มีความสามารถในระดับเดียวกับเบราว์เซอร์ยุคใหม่ตัวอื่นๆ เช่น มีระบบแท็บ, คุกกี้, ระบบป้องกันป๊อบอัพ และการติดตั้งโปรแกรมเสริมที่เรียกว่า extension จุดเด่นของ Epiphany คือพัฒนาโดยอิงตาม GNOME Human Interface Guidelines ซึ่งทำให้มีส่วนติดต่อผู้ใช้เป็นมาตรฐานเดียวกับโปรแกรมอื่นๆ ของ GNOME Epiphany พัฒนาต่อจาก Galeon โดย Marco Pesenti Gritti (ซึ่งเป็นผู้เริ่มพัฒนา Galeon เช่นกัน).

ใหม่!!: กะโนมและอีพิฟานี (เว็บเบราว์เซอร์) · ดูเพิ่มเติม »

จีทีเคพลัส

ีทีเคพลัส (GTK+) เป็นวิจิททูลคิทสำหรับพัฒนาส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (GUI) โปรแกรมในแพลตฟอร์มต่าง ๆ สำหรับระบบเอกซ์วินโดว์ จีทีเคพลัส เป็นหนึ่งในวิจิททูลคิทที่เป็นที่นิยมที่สุดสองตัว วิจิททูลคิทที่เป็นที่นิยมที่สุดอีกตัวหนึ่งสำหรับระบบเอกซ์วินโดว์ คือคิวที ปัจจุบันนี้ทั้งจีทีเคพลัสและคิวทีเข้ามาแทนที่โมทีฟซึ่งเคยเป็นวิจิททูลคิทที่นิยมใช้ที่สุดสำหรับระบบเอกซ์วินโดว์ ในช่วงตั้งต้น จีทีเคพลัส สร้างขึ้นเพื่อใช้ในโปรแกรมจัดการแก้ไขรูปภาพแรสเตอร์ชื่อกนูอิมเมจแมนนิพูเลชันโปรแกรม (GNU Image Manipulation Program, GIMP) ดังนั้นจีทีเคพลัสจึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่ากิมป์ทูลคิท (GIMP Toolkit) อย่างไรก็ตามคนส่วนมากรู้จักจีทีเคพลัสเพียงชื่อเดียว จีทีเคพลัส เป็นซอฟต์แวร์เสรี ส่วนหนึ่งในโครงการกนู เผยแพร่โดยใช้สัญญาอนุญาต LGPL ปัจจุบันดูแลการพัฒนาโดย มูลนิธิกโนม (GNOME Foundation).

ใหม่!!: กะโนมและจีทีเคพลัส · ดูเพิ่มเติม »

ไมน์สวีปเปอร์

KMines ไมน์สวีปเปอร์บน KDE ไมน์สวีปเปอร์ (Minesweeper) เป็นเกมคอมพิวเตอร์แบบเล่นคนเดียว มีเป้าหมายเพื่อเปิดพื้นที่ของทุ่งกับระเบิดทั้งหมด โดยไม่ทำให้ระเบิดทำงาน ปัจจุบันมีให้เล่นบนระบบคอมพิวเตอร์เกือบทุกแพลตฟอร์ม ฉบับที่รู้จักกันดีที่สุด คือ ฉบับที่ติดตั้งมาพร้อมกับไมโครซอฟท์ วินโดวส์ ตั้งแต่เวอร์ชัน 3.1 เป็นต้นม.

ใหม่!!: กะโนมและไมน์สวีปเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เชลล์

ลล์ (shell) ในทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง โปรแกรมที่โต้ตอบผู้ใช้ และมักหมายถึงระหว่างผู้ใช้กับระบบปฏิบัติการ สามารถแบ่งได้เป็น แบบชุดคำสั่ง หรือคอมมานด์ไลน์ (command line interface, CLI) และแบบกราฟิก (graphic user interface, GUI) แบบคำสั่งและแบบกราฟิกต่างก็มีข้อดีข้อเสียแตกต่างกัน แบบกราฟิกจะใช้ง่ายและเหมาะกับงานประเภทตกแต่งภาพและวิดีโอ ส่วนแบบคำสั่งเหมาะกับงานบางอย่าง โดยสามารถระบุต้องเจาะจงโดยละเอียดเช่นย้ายไฟล์โดยใช้ไวลด์การ์ด * เป็นต้น เชลล์ที่ใช้ในไมโครซอฟท์วินโดวส์รุ่นหลัง ๆ จะเป็นวินโดวส์เอกซ์พลอเรอร์ ในขณะที่ในรุ่นเก่า ๆ จะเป็นโปรแกรมเมเนเยอร์ สำหรับยูนิกซ์ เชลล์มักหมายถึงเชลล์ยูนิกซ์ ที่ใช้สั่งทางคอมมานด์ไลน์ ตัวอย่างยูนิกซ์เชลล์ที่นิยม เช่น บอร์นเชลล์ คอร์นเชลล์ และ C เชลล.

ใหม่!!: กะโนมและเชลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เชลล์ยูนิกซ์

ลล์ยูนิกซ์ (Unix shell) เป็นโปรแกรมเชลล์สำหรับรับคำสั่งคอมมานด์ไลน์บนระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ หรือระบบปฏิบัติการอื่นที่เหมือนยูนิกซ์ เช่น ลินุกซ์ เทียบได้กับโปรแกรม command.com หรือ cmd.exe บนไมโครซอฟท์วินโดวส์ บนยูนิกซ์ ผู้ใช้แต่ละคนสามารถเลือกเชลล์ที่ต้องการใช้ได้ ซึ่งเชลล์แต่ละตัวจะมีรูปแบบคำสั่ง และ ขีดความสามารถแตกต่างกันออกไป เชลล์จะถูกเรียกใช้ได้หลายทางด้วยกันคือ.

ใหม่!!: กะโนมและเชลล์ยูนิกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เอกซ์เอฟซีอี

อกซ์เอฟซีอี (Xfce) เป็น สภาวะการทำงานแบบเดสก์ท็อป (desktop environment) สำหรับ ยูนิกซ์ หรือระบบที่คล้ายยูนิกซ์ เช่น ลินุกซ์ โซลาริส หรือ บีเอสดี ที่เหมาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพต่ำ หรือเครื่องที่ไม่เหมาะสมกับกะโนมหรือเคดีอี.

ใหม่!!: กะโนมและเอกซ์เอฟซีอี · ดูเพิ่มเติม »

เอวินซ์

อวินซ์ (Evince) เป็นโปรแกรมดูเอกสารชนิด PDF และ PostScript ของแพลตฟอร์ม GNOME เป้าหมายของ Evince คือเป็นโปรแกรมดูเอกสารแบบครบวงจรที่สามารถแทนโปรแกรมดูเอกสารอื่นๆ ในอดีตของ GNOME เพื่อลดความสับสนของผู้ใช้ เอวินซ์ถูกรวมเข้ามาใน GNOME 2.12 ซึ่งออกเมื่อ 7 กันยายน ค.ศ. 2005 โดยภาษาที่ใช้ส่วนใหญ่คือ ภาษาซี มีส่วนประกอบที่เป็น C++ เล็กน้อย เอวินซ์เป็นซอฟต์แวร์เสรี ใช้สัญญาอนุญาตแบบ GPL.

ใหม่!!: กะโนมและเอวินซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจดิต

ต หรือ เกดิต (gedit; หรือ) เป็นโปรแกรมแก้ไขข้อความอย่างเป็นทางการของแพลตฟอร์ม GNOME สนับสนุนการเข้ารหัสตัวอักษรแบบ UTF-8 และใช้สัญญาอนุญาตแบบซอฟต์แวร์เสรี เจดิตสามารถทำ syntax highlighting ด้วยสีหรือตัวหนา โดยรองรับภาษาโปรแกรมหลายชนิด นอกจากนี้ยังสนับสนุนการแก้ไขหลายไฟล์พร้อมกันด้วยแท็.

ใหม่!!: กะโนมและเจดิต · ดูเพิ่มเติม »

เดเบียน

ียน (Debian) เป็นชุดของซอฟต์แวร์เสรีที่พัฒนาโดยอาสาสมัครภายใต้โครงการเดเบียน ภายใต้โครงการนี้มีเดเบียนลินุกซ์ (Debian GNU/Linux) ที่ใช้ลินุกซ์เป็นเคอร์เนล และใช้เครื่องมือต่าง ๆ ในโครงการ GNU ประกอบกันเป็นระบบปฏิบัติการ เดเบียนมีชื่อเสียงในฐานะที่เป็นลินุกซ์ดิสทริบิวชันแรกที่ประสบความสำเร็จในการพัฒนาด้วยชุมชนล้วน ๆ โดยไม่มีเอกชนอยู่เบื้องหลัง มีการสร้างสัญญาประชาคม บทนิยามซอฟต์แวร์เสรี และแนวนโยบายที่ชัดเจนทั้งทางเทคนิคและการบริหารงาน กลายเป็นต้นแบบให้กับชุมชนอื่น ๆ ต่อมา รวมถึงปริมาณแพกเกจในโครงการมากกว่า 37,000 แพกเกจ และรองรับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์มากกว่า 11 ชนิด ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่คอมพิวเตอร์ฝังตัว ไปจนถึงเมนเฟรม มีลินุกซ์ดิสทริบิวชันจำนวนมากที่นำเดเบียนไปพัฒนาต่อ อย่างเช่น อูบุนตู หรือ Knoppix เป็นต้น.

ใหม่!!: กะโนมและเดเบียน · ดูเพิ่มเติม »

Beryl

Beryl เป็นโปรแกรมจัดการหน้าต่าง (window manager) แบบ composite ของระบบ X Window System โดยแยกตัวมาจากโครงการ Compiz ปัจจุบันกำลังอยู่ในการรวมตัวกลับไปยัง Compiz โดยใช้ชื่อโครงการว่า Compiz Fusion Beryl เป็นที่รู้จักเนื่องจากความสามารถในการใช้งานลูกเล่น 3 มิติผ่านทางปลั๊กอินต่าง.

ใหม่!!: กะโนมและBeryl · ดูเพิ่มเติม »

Common Desktop Environment

Common Desktop Environment หรือ CDE เป็น ซอฟต์แวร์กรรมสิทธิ์ desktop environment ที่ทำงานบน ยูนิกซ์, โดยใช้วิจิททูลคิทที่ชื่อ MotifMotif พัฒนาร่วมกันโดย ฮิวเลตต์-แพคการ์ด ไอบีเอ็ม โนเวลล์ และ ซัน ไมโครซิสเต็มส์ CDE ได้รับการยอมรับว่าเป็น de facto standard สำหรับ UNIX desktop มาโดยตลอด, จนกระทั่งช่วงปี 2000, desktop environment ที่เป็นซอฟต์แวร์เสรี เช่น KDE และ กโนม (GNOME) ได้รับการพัฒนาเติบโตขึ้นมากแล้ว จนแทบจะกลายเป็นมาตรฐานสำหรับระบบ กนู/ลินุกซ์ ที่มีฐานผู้ใช้เยอะกว่ามาก ปี 2001 ฮิวเลตต์-แพคการ์ด (HP-UX) และ ซัน (โซลาริส) ประกาศว่าจะเลิกใช้ CDE และหันมาสนับสนุน กโนม แทน แต่ปี 2003 ฮิวเลตต์-แพคการ์ด เปลี่ยนใจกลับมาใช้ CDE อีก โดยให้เหตุผลว่า API ของกโนม เปลี่ยนแปลงบ่อย และตัวระบบเองก็ไม่ค่อยเสถียรเท่าที่ควร.

ใหม่!!: กะโนมและCommon Desktop Environment · ดูเพิ่มเติม »

GNU Privacy Guard

GNU Privacy Guard หรือที่เรียกว่า GnuPG หรือ GPG เป็นโปรแกรมในการเข้ารหัสข้อมูล เพื่อป้องกันการบุกรุกทางข้อมูลและเพื่อทำให้ข้อมูลนั้นมีความปลอดภัยมากขึ้น GnuPG เป็นโปรแกรมที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานแทนทื่โปรแกรม PGP หรือ Pretty Good Privacy เนื่องจาก PGP นั้นมีข้อจำกัดเรื่องสัญญาอนุญาตและสิทธิบัตรซอฟต์แวร์ โดย GnuPG ใช้มาตรฐาน RFC 4880 ของ IETF ซึ่งเป็นมาตรฐานของ OpenPGP โดยรุ่นล่าสุดของ PGP นั้นสามารถทำงานร่วมกับ GnuPG และระบบอื่น ๆที่เป็น OpenPGP ได้ ซึ่งในตัวเวอร์ชันเก่าของ PGP ไม่สามารถสนับสนุนการทำงานของโปรแกรมได้ทั้งหมด GPG เป็นโปรแกรมที่พัฒนาโดย Free Software Foundation โดยได้รับเงินทุนสนับสนุนจากรัฐบาลของประเทศเยอรมัน ภายใต้เงื่อนไขของเวอร์ชันที่ 3 ของ GNU General Public License ดังนั้นจึงทำให้ GPG เป็นซอฟต์แวร์เสรีที่สามารถแจกจ่ายแก้ไขดัดแปลงได้โดยเสรี.

ใหม่!!: กะโนมและGNU Privacy Guard · ดูเพิ่มเติม »

Ubuntu Software Center

โปรแกรมศูนย์ซอฟต์แวร์ Ubuntu (Ubuntu Software Center) (ชื่อดั้งเดิม AppCenter) เป็น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สำหรับค้นหา ติดตั้ง และถอดถอนโปรแกรมบนระบบปฏิบัติการ Ubuntu พัฒนาบนพื้นฐานของ GNOME และเป็นส่วนติดต่อผู้ใช้ของ Advanced Packaging Tool เป็นส่วนหนึ่งของระบบจัดการแพคเกจ Debian Ubuntu Software Center สามารถเพิ่ม repositories โปรแกรมศูนย์ซอฟต์แวร์ Ubuntu เขียนขึ้นด้วยภาษา Python programming language หมวดหมู่:ซอฟต์แวร์.

ใหม่!!: กะโนมและUbuntu Software Center · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

GNOMEGnomeกโนมโนม (โปรแกรมคอมพิวเตอร์)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »