โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กะท้อน

ดัชนี กะท้อน

กะท้อน ชื่อวง "กะท้อน" คือชื่อเฉพาะของวงดนตรีทางพื้นเมือง ไม่ใช่วงดนตรีชั้นสูง แต่เล่นดนตรีที่สะท้อนสังคมและโลกที่สาม: เป็นนิยามจากปกเทปชุดแรก เป็นวงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียง ก่อตั้งโดย ระพินทร์ พุฒิชาติ(ซู) กับเศก ศักดิ์สิทธิ์ และอู๊ด ยานนาวา โดยมีนักร้องนำหญิงคือ วันทนีย์ เอียดเอื้อ และสมทิศ ศิลปวานนท์ ซึ่งเคยเป็นนักร้องเด็กร่วมงานกับระพินทร์ ในสองวัย เริ่มมีผลงานเพลงชุดแรกกับค่ายครีเอเทีย(ซึ่งไม่เคยรับศิลปินเพลงเพื่อชีวิตมาก่อน) เมื่อปี พ.ศ. 2529 และออกอัลบั้มตามมาอีกสองชุด ก่อนที่ระพินทร์ และศักดิ์สิทธิ์ หัวหอกสำคัญของวงจะแยกตัวแล้วก่อตั้งวง ซูซู มีผลงานโดดเด่นในปี พ.ศ. 2532 ขณะที่กะท้อนยังเก็บเกี่ยวชื่อเสียงต่อไปกับอัลบั้มอีก 4 ชุด แล้วยุบวงในที่สุด เนื่องจากไม่มี วันทนีย์ นักร้องนำฝ่ายหญิงของวงซึ่งไปออกอัลบั้มเดี่ยวแล้วจนถึงปัจจุบัน วงกะท้อน มีเพลงที่มีชื่อเสียงได้แก่เพลง "สาวรำวง", "แม่ย่านาง","บุญแข่งเรือ", "บุหงาอันดามัน" และ"บุหงายาวี".

17 ความสัมพันธ์: ชีวิตสัมพันธ์ภรภัสสรณ์ ชัยอนันต์นิธิระพินทร์ พุฒิชาติรายชื่อกลุ่มดนตรีสัญชาติไทยรายนามนักร้องเพลงเพื่อชีวิตศักดิ์สิทธิ์สองวัย (วงดนตรี)อุทยานแห่งชาติคลองพนมอู๊ด เป็นต่ออ้อย กะท้อนทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 9ครีเอเทีย อาร์ติสต์ซูซูปานามา (วงดนตรี)โทนเพลงเพื่อชีวิตเศก ศักดิ์สิทธิ์

ชีวิตสัมพันธ์

ีวิตสัมพันธ์ เป็นเพลงที่แต่งโดย ยืนยง โอภากุล (แอ๊ด คาราบาว) ร่วมกับ อัสนี โชติกุล ขับร้องบันทึกเสียงโดยเหล่าศิลปินเพลงเพื่อชีวิตชาวไทยรวม 8 คน โดยเป็นซิงเกิลการกุศลในปี พ.ศ. 2530 ซึ่งมีเนื้อหาอุทิศแก่มวลมนุษยชาติกับสิ่งแวดล้อม สอดคล้องกับโครงการอิสานเขียวของกองทัพบก อันเนื่องมาจากปัญหาความแห้งแล้งในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย เพื่อเป็นกำลังใจในการต่อสู้หรือเสนอแนวทางต่อปัญหาเหล่านั้นได้.

ใหม่!!: กะท้อนและชีวิตสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ภรภัสสรณ์ ชัยอนันต์นิธิ

รภัสสรณ์ ชัยอนันต์นิธิ (ชื่อเล่น: ไอซ์) เป็นนักร้องไทย ได้รับรางวัลชนะเลิศรายการ ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 9.

ใหม่!!: กะท้อนและภรภัสสรณ์ ชัยอนันต์นิธิ · ดูเพิ่มเติม »

ระพินทร์ พุฒิชาติ

ระพินทร์ พุฒิชาติ หรือ มีชื่อเล่นเดิมว่า ต้อย เกิดวันที่ 1 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: กะท้อนและระพินทร์ พุฒิชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อกลุ่มดนตรีสัญชาติไทย

รายชื่อกลุ่มดนตรีและวงดนตรีสัญชาติไทย ชื่อในวงเล็บสำหรับกลุ่มที่ใช้ชื่อภาษาต่างประเทศ.

ใหม่!!: กะท้อนและรายชื่อกลุ่มดนตรีสัญชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนักร้องเพลงเพื่อชีวิต

หน้านี้คือรายนามนักร้องเพลงเพื่อชีวิต.

ใหม่!!: กะท้อนและรายนามนักร้องเพลงเพื่อชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิ์สิทธิ์

ักดิ์สิทธิ์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: กะท้อนและศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สองวัย (วงดนตรี)

องวัย เป็นวงดนตรีเด็ก ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2522 อันประกอบด้วยสมาชิกสองวัย คือ เด็ก และผู้ใหญ่ มีเนื้อหาเพลงเป็น เพลงใสๆ เกี่ยวกับธรรมชาติ สมาชิกของวงสองวัย ประกอบด้วยนักดนตรีหลักสองคน คือ น้าต้อม (กิตติพงศ์ ขันธกาญจน์) และ น้าวี (วีระศักดิ์ ขุขันธิน) และสมาชิกเด็กๆจากสโมสรผึ้งน้อย 5 คน คือ อ้อย นุช โอ๋ น้อย และมุก ร่วมด้วยน้าซู (ระพินทร์ พุฒิชาติ) ซึ่งเข้ามาร่วมงานตั้งแต่อัลบั้มชุดที่สอง สองวัยออกแสดงครั้งแรกในงานวันเด็ก เมื่อ..

ใหม่!!: กะท้อนและสองวัย (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติคลองพนม

100px อุทยานแห่งชาติคลองพนม อยู่ในท้องที่ตำบลคลองสก ตำบลพนม และตำบลพลูเถื่อน อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 460 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 290,000 ไร่ ได้จัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2543.

ใหม่!!: กะท้อนและอุทยานแห่งชาติคลองพนม · ดูเพิ่มเติม »

อู๊ด เป็นต่อ

ีระชาติ ธีระวิทยากุล (เกิดเมื่อ 13 มีนาคม พ.ศ. 2519) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ อู๊ด เป็นต่อ เป็นนักแสดงตลกชาวไทย มีชื่อเสียงจากละครซิทคอมเรื่อง เป็นต่อ ในบท "อู๊ด" ธีระชาติเป็นชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ ครอบครัวมีกิจการร้านซ่อมนาฬิกา มีความใฝ่ฝันที่จะเป็นนักดนตรีเพื่อชีวิตตั้งแต่เด็ก จึงออกจากบ้านไปเป็นลูกวงดนตรีกะท้อน และซูซู และตั้งวงดนตรีกับเพื่อนๆ สำเนาจาก, 1 กรกฎาคม 2552 หน้า 24 รวมถึงเป็นนักแสดงตลกคณะเหลือเฟือ มกจ๊ก โดยเล่นเป็นนักดนตรีเพื่อชีวิต "แอ๊ด มกจ๊ก" ล้อเลียน แอ๊ด คาราบาว การแสดงตลกในคณะเหลือเฟือ มกจ๊ก ไปสะดุดตาจิรศักดิ์ โย้จิ้ว ผู้กำกับละครซิทคอม เป็นต่อ จึงได้ติดต่อให้เข้ามาร่วมแสดง.

ใหม่!!: กะท้อนและอู๊ด เป็นต่อ · ดูเพิ่มเติม »

อ้อย กะท้อน

ปรมสิณี เอียดเอื้อ หรือ อ้อย วงกะท้อน เป็นนักร้องเพลงเพื่อชีวิต.

ใหม่!!: กะท้อนและอ้อย กะท้อน · ดูเพิ่มเติม »

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 9

‎ ทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 9 เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ อันดับ 1 ของประเทศไทย ซึ่งเป็นรายการที่ค้นหานักร้องนักแสดงเพื่อประดับวงการบันเทิง ในชุดทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย โดยในซีซั่นนี้เป็นครั้งที่ 3 ที่ทรูใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (ทวิตเตอร์และเฟซบุ๊ก) ในการประชาสัมพันธ์รายการร่วมกับเว็บไซต์หลักและอายุของผู้เข้าสมัครยังคงเป็น 15-25 ปีและปีนี้ยังเป็นครั้งที่สองที่ทรูรับสมัครนักล่าฝันจากสถาบันต่าง ๆ อีกเช่นเดิม ซึ่งปีนี้มีการเข้าบ้าน True AF9 ก่อนล่วงหน้าแต่เป็นบ้านเล็กในวันที่ 2 มิถุนายน 2555 เพื่อเป็นการ Work Shop ของตัวแทนว่าที่นักล่าฝันทั้ง 24 คนและจะมีการแบ่งกลุ่มกับกรรมการเป็น 4 กลุ่มเพื่อที่จะโชว์ในวันเสาร์ของ 3 สัปดาห์ในบ้านหลังเล็ก โดยจะมีการแข่งขันของกรรมการด้วย เพื่อที่จะหา 12 นักล่าฝันตัวจริงและกรรมการจะคัดออกทีมละ 1 คนใน 3 สัปดาห์ที่อยู่ในบ้านหลังเล็กจนเหลือ 12 นักล่าฝันตัวจริง และ AF9 เป็นปีแรกที่ได้มีพิธีกร 2 คน คือ สุวิกรม อัมระนันทน์ (เปอร์) และ เศรษฐา ศิระฉายา (อาต้อย).

ใหม่!!: กะท้อนและทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

ครีเอเทีย อาร์ติสต์

"ปั่น" นักร้องเจ้าของเทปชุดแรกของครีเอเทีย ครีเอเทีย อาร์ติสต์ เป็นบริษัทค่ายเพลงในอดีตของไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อช่วงพ.ศ. 2528 โดยเกิดจากแนวความคิดของ ชนินทร์ โปสาภิวัฒน์ ออร์กาไนเซอร์ชื่อดังที่คิดว่าต้องการให้ค่ายเพลงนี้เป็นที่รวบรวมเหล่าคนเบื้องหลังและคนเบื้องหน้าที่มีความสามารถเข้ามาไว้ด้วยกัน ครีเอเทีย อาร์ติสต์ มี ปั่น หรือชื่อจริง ไพบูลย์เกียรติ เขียวแก้ว เป็นศิลปินเบอร์แรก หลังจากนั้นก็มีศิลปินตามมาอีกเช่น รวิวรรณ จินดา, เฉลียง, วงกะท้อน ซึ่งค่ายนี้ได้รวบรวม ครีเอทีฟ นักแต่งเพลง และ นักดนตรี ฝีมือดีไว้มากมาย เช่น จิระ มะลิกุล, ประภาส ชลศรานนท์, ธเนศ สุขวัฒน์, พนเทพ สุวรรณะบุณย์, อิทธิ พลางกูร เป็นต้น ครีเอเทีย อาร์ติสต์ เกิดปัญหาขึ้นเมื่อชนินทร์ เจ้าของบริษัทเกิดอาการทางประสาทขึ้นเนื่องจากใช้สมองในการคิดมากเกินไป จึงถูกส่งตัวไปรักษา ทำให้ภายในค่ายก้าวต่อไปไม่ได้ หลังจากนั้นไม่นานค่ายครีเอเทีย อาร์ติสต์ ก็ปิดตัวลง "อุ้ย" นักร้องหญิงคนแรกของค่าย วง "กะท้อน".

ใหม่!!: กะท้อนและครีเอเทีย อาร์ติสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ซูซู

ซูซู (Zu Zu) ชื่อวงมาจากชื่อเล่นของหัวหน้าวง (ซู) เอง แต่เผอิญไปตรงกับคำท้องถิ่นแถบหนึ่งของอินโดนีเซีย หรือเป็นคำในภาษายาวี แปลว่าอวัยวะส่วนหนึ่งซึ่งอยู่ระดับอกของหญิงสาว เป็นวงดนตรีเพื่อชีวิตชาวไทยที่ก่อตั้งโดย ระพินทร์ พุฒิชาติ หรือ ซู, น้าซู อดีตสมาชิกวงสองวัย และหัวหน้าวงกะท้อน ร่วมกับเพื่อนนักดนตรี เช่น เศก ศักดิ์สิทธิ์, อู๊ด ยานนาวา, สุเทพ ปานอำพัน และ พันทิวา ภูมิประเทศ หรือ ทอม ดันดี.

ใหม่!!: กะท้อนและซูซู · ดูเพิ่มเติม »

ปานามา (วงดนตรี)

ปานามา คือชื่อกลุ่มนักร้องสัญชาติไทยที่มีสมาชิกเป็นชาย 2 คน หญิง 1 คน ประกอบด้วย แหม่ม ปาริฉัตร(จรินทร์ธร ชนะธีรโรจน์), ต๊อก นารา (ประพฤติ ปูรณันท์) และ จิ้งเหลน มาธุสรวิเชียร อัศว์ศิวะกุล ประธานค่ายเพลงนิธิทัศน์ เป็นผู้ตั้งชื่อวง โดยเอามาจากพยางค์แรกของชื่อจริงของสมาชิกทั้ง 3 คน ภายใต้การสนับสนุนของ นิธิทัศน์ โปรโมชั่น โดยเริ่มปรากฏตัวบนเวทีทัวร์คอนเสิร์ตใจประสานใจ จึงมีผลงานอัลบั้มเพลงออกมา 2 ชุด ภายในปี พ.ศ. 2534-พ.ศ. 2535 มี ต๊ะ สมถะเป็นโปรดิวเซอร์ โดยสมาชิกบางส่วนจากวงกะท้อน และสมาชิกในวงเองยังได้ร่วมแต่งเพลงไว้หลายเพลงอีกด้วย ปานามา มีเพลงที่สร้างชื่อเสียงโด่งดัง คือ "โธ่เอ๊ย" และ "ไม่อยากเป็นแปรงสีฟัน" ซึ่งติดใจคนฟังทุกยุคสมัย จนมีนักร้องคนอื่นนำไปแปลงเนื้อร้อง เช่น ปฤษณา วงศ์ศิริ และ บุญโทน คนหนุ่ม นอกจากนี้ยังมีเพลง ความรัก, พูดผิดพูดใหม่, หัวใจย่ำต๊อก และ เชิญ เอ้า เชิญ ดนตรีของวงปานามาออกจังหวะสนุกสนานผสมผสานความเป็นไทยและสากล การแสดงบนเวทีของสมาชิกวงจะร้องเพลงและเต้นรำอย่างมีลีลา ปัจจุบัน สมาชิกวงปานามาแยกย้ายกันไปโดยไม่ปรากฏตัวอีกเลย เหลือเพียง แหม่ม ที่ยังคงมีผลงานเพลงของตนเองอยู่ โดยต๊อก นารา ถึงแก่กรรมไปเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: กะท้อนและปานามา (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

โทน

ทนชาตรี โทนมโหรีกับรำมะนา โทน เป็นชื่อของเครื่องหนัง ที่ขึงหนังหน้าเดียว มีสายโยงเร่งเสียงจากขอบหนังถึงคอ มีหางยื่นออกไปและบานปลาย มีชื่อเรียกคู่กันว่า โทนทับ โดยลักษณะรูปร่างนั้น โทนมีชื่อเรียกกันได้ตามรูปร่างที่ปรากฏ 2 ชนิดคือ โทนชาตรี และ โทนมโหรี โทนชาตรีนั้น ตัวโทนทำด้วยไม้ขนุน ไม้สัก หรือ ไม้กะท้อนมีขนาดปากกว้าง 17 ซม ยาวประมาณ 34 ซม มีสายโยงเร่งเสียงใช้หนังเรียด ตีด้วยมือข้างหนึ่ง ส่วนอีกมือหนึ่งคอยปิดเปิด ปลายหางที่เป็นปากลำโพง ช่วยให้เกิดเสียงต่างๆ ใช้สำหรับ บรรเลงประกอบการแสดงละครชาตรี และหนังตะลุง และตีประกอบจังหวะในวงปี่พาทย์ หรือวงเครื่องสาย หรือวงมโหรีที่เล่นเพลงภาษาเขมร หรือ ตะลุง ส่วนโทนมโหรีนั้น ตัวโทนทำด้วยดินเผา ด้านที่ขึงหนังโตกว่า โทนชาตรี ขนาดหน้ากว้างประะมาณ 22 ซม ยาวประมาณ 38 ซม สายโยงเร่งเสียงใช้หวายผ่าเหลาเป็นเส้นเล็กหรือใช้ไหมฟั่นเป็นเกลียว ขึ้นหนังด้วยหนังลูกวัว หนังแพะ หนังงูเหลือม หรือหนังงูงวงช้าง ใช้สำหรับบรรเลงคู่กับรำมะนา โดยตีขัดสอดสลับกัน ตามจังหวะหน้าทั.

ใหม่!!: กะท้อนและโทน · ดูเพิ่มเติม »

เพลงเพื่อชีวิต

การแสดงดนตรีของวงคาราวานในรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจรครั้งที่ 3 เพลงเพื่อชีวิต ถือกำเนิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่แรกเริ่มหมายถึงเพลงที่มีเนื้อหากล่าวถึงชีวิตของคน โดยเฉพาะคนชนชั้นล่าง กล่าวถึงความยากลำบากในการใช้ชีวิต การถูกเอารัดเอาเปรียบ เพลงในแนวเพื่อชีวิตในยุคนี้โดยมากจะเป็นเพลงลูกทุ่ง เช่น เพลง กลิ่นโคนสาบควาย ของคำรณ สัมบุญณานนท์, จักรยานคนจน ของยอดรัก สลักใจ, น้ำมันแพง ของสรวง สันติ, น้ำตาอีสาน แต่งโดยชลธี ธารทอง และขับร้องโดยสายัณห์ สัญญา เป็นต้น เพลงเพื่อชีวิตในประเทศไทยเริ่มเฟื่องฟูเป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางโดยแพร่หลายช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 โดยเนื้อหาของเพลงไม่จำกัดเฉพาะชีวิตของคนชั้นล่างอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงการเรียกร้องประชาธิปไตยและการเหน็บแนมการเมืองอีกด้วย และแนวดนตรีได้เปิดกว้างขึ้นเป็นแนวอคูสสติกหรือร็อก โดยได้รับอิทธิพลและแรงบันดาลใจจากศิลปินต่างประเทศ เช่น บ็อบ ดิลลัน, บ็อบ มาร์เลย์, นีล ยัง, ไซมอน แอนด์ การ์ฟังเกล เป็นต้น เทียบได้กับโปรเทสต์ซองของสหรัฐอเมริกา โดยคำว่า "เพลงเพื่อชีวิต" นั้น มาจากคำว่าศิลปะเพื่อชีวิต หรือวรรณกรรมเพื่อชีวิต ซึ่งเป็นวรรณกรรมที่ว่าถึงชีวิตและการต่อสู้ของมนุษย์ในสังคม ในยุคนี้เพลงเพื่อชีวิตเฟื่องฟูมาก จนอาจกล่าวได้ว่าเป็น "เพชรเม็ดงามของวรรณกรรมเพื่อชีวิต" เพลงเพื่อชีวิตมักจะรวมเอาองค์ประกอบของดนตรีตะวันตกเหมือนกันเช่นเพลงบัลลาด และเพิ่มเป็นจังหวะของดนตรีไทยเซ่น สามช่า หมอลำ และลูกทุ่ง และมีองค์ประกอบของดนตรีคลาสสิกไทยบ้างเช่นกัน เพลงเพื่อชีวิตในยุคแรกจะเป็นดนตรีโฟล์กตะวันตกพร้อมกับการใช้เครื่องดนตรีอคูสติก ซึ่งต่อมาได้เพิ่มดนตรีร็อกพร้อมกับกีตาร์ไฟฟ้า เบส และกลองชุด บางศิลปินยังได้รับอิทธิพลของเร้กเก้ สกา และเพลงละตินบ้างและบางศิลปินยังใช้เครื่องดนตรีไทยเซ่น พิณ ขลุ่ย และซออู้ โดยวงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียง ได้แก่ คาราวาน, แฮมเมอร์, โคมฉาย เป็นต้น ความนิยมในเพลงเพื่อชีวิตไม่ได้เป็นเพียงกระแสในห้วงเวลานั้น หากแต่ยังได้รับความนิยมเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีวงดนตรีและนักร้องเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงในปัจจุบัน เช่น คาราบาว, พงษ์สิทธิ์ คำภีร์, พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ, อินโดจีน, คนด่านเกวียน, มาลีฮวนน่า, โฮป, ซูซู, ตีฆอลาซู เป็นต้น อีกทั้งยังมีศิลปินบางคนหรือบางกลุ่มที่ไม่ได้เป็นเพื่อชีวิตอย่างเต็มตัว แต่เนื้อหาของเพลงหลายเพลงมีเนื้อหาที่คล้ายคลึงกับเพื่อชีวิตหรือจัดให้อยู่ประเภทเพื่อชีวิตได้ เช่น จรัล มโนเพ็ชร, เสกสรร ทองวัฒนา, ธนพล อินทฤทธิ์, หนู มิเตอร์, นิค นิรนาม, พลพล พลกองเส็ง, กะท้อน, ศุ บุญเลี้ยง, สิบล้อ เป็นต้น.

ใหม่!!: กะท้อนและเพลงเพื่อชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

เศก ศักดิ์สิทธิ์

ก ศักดิ์สิทธิ์ มีชื่อจริงว่า ศักดิ์สิทธิ์ เชื้อกลาง เป็นนักร้อง นักดนตรี และนักแต่งเพลง แนวเพลงเพื่อชีวิต และลูกทุ่ง เป็นชาวจังหวัดหนองคาย เริ่มเล่นดนตรีตั้งแต..

ใหม่!!: กะท้อนและเศก ศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

กระท้อน (วงดนตรี)กะท้อน (วงดนตรี)วงกระท้อนวงกะท้อน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »