โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กลุ่มภาษาสลาวิก

ดัชนี กลุ่มภาษาสลาวิก

ประเทศที่มกลุ่มภาษาสลาวิกใต้เป็นภาษาประจำชาติ กลุ่มภาษาสลาวิก เป็นสาขาหนึ่งของกลุ่มภาษาบัลโต-สลาวิก ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน กลุ่มภาษาสลาวิกเป็นภาษาแม่ของชาวสลาฟ ซึ่งส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในยุโรปตะวันออกและคาบสมุทรบอลข่าน แก้ไข กลุ่มภาษาสลาวิก.

37 ความสัมพันธ์: กลุ่มภาษาคอเคเซียนภาษาบัลแกเรียภาษามาซิโดเนียภาษายิดดิชภาษายูเครนภาษารัสเซียภาษาสลาวอนิกคริสตจักรเก่าภาษาสโลวักภาษาตาตาร์ภาษาโครเอเชียภาษาโปลาเบียนภาษาโปแลนด์ภาษาไซเทียภาษาเบลารุสภาษาเช็กภาษาเอสเปรันโตภาษาเซอร์เบียรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่วอดก้าอักษรซีริลลิกขั้นตอนวิธีเชิงสัทลักษณ์ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนตแชสวัฟ มีวอชประเทศเบลารุสแวมไพร์เบเกิลเซเบิลѲҀXh (ทวิอักษร)ЎЁТЦШЭЖ

กลุ่มภาษาคอเคเซียน

กลุ่มภาษาคอเคเซียน (Caucasian languages)เป็นกลุ่มภาษาใหญ่ที่มีผู้พูดมากกว่า 10 ล้านคนในบริเวณเทือกเขาคอเคซัสของยุโรปตะวันออกและเอเชียตะวันตกซึ่งอยู่ระหว่างทะเลดำกับทะเลสาบแคสเปียน นักภาษาศาสตร์จัดแบ่งภาษาในบริเวณนี้ออกเป็นหลายตระกูล ภาษาบางกลุ่มไม่พบผู้พูดนอกบริเวณเทือกเขาคอเคซัสจึงเรียกว่ากลุ่มภาษาคอเคซั.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและกลุ่มภาษาคอเคเซียน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบัลแกเรีย

ษาบัลแกเรียเป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน โดยเป็นสมาชิกของแขนงใต้ของภาษากลุ่มสลาวิก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและภาษาบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาซิโดเนีย

ภาษามาซิโดเนีย เป็นภาษาราชการของประเทศมาซิโดเนีย จัดอยู่ในภาษากลุ่มสลาวิก หมวดหมู่:ภาษาในประเทศมาซิโดเนีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศแอลเบเนีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศกรีซ หมวดหมู่:ภาษาในประเทศเซอร์เบีย.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและภาษามาซิโดเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายิดดิช

ษายิดดิช (ภาษายิดดิช: ייִדיש, Yiddish,.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและภาษายิดดิช · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายูเครน

ภาษายูเครน (украї́нська мо́ва, ukrayins'ka mova) เป็นภาษากลุ่มสลาวิกตะวันออก เป็นภาษาทางการของยูเครน ระบบการเขียนใช้อักษรซีริลลิก และใช้คำร่วมกับภาษาของประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะภาษาเบลารุส ภาษาโปแลนด์, ภาษารัสเซีย และภาษาสโลวัก ซึ่งมีลักษณะคล้ายๆ กัน หมวดหมู่:ภาษาในประเทศยูเครน ยูเครน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและภาษายูเครน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษารัสเซีย

ษารัสเซีย (русский язык) เป็นภาษากลุ่มสลาวิกที่ใช้เป็นภาษาพูดอย่างกว้างขวางที่สุด ภาษารัสเซียจัดอยู่ในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับภาษาสันสกฤต ภาษากรีก และภาษาละติน รวมไปถึงภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก โรมานซ์ และเคลติก (หรือเซลติก) ยุคใหม่ ตัวอย่างของภาษาทั้งสามกลุ่มนี้ได้แก่ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาไอริชตามลำดับ ส่วนภาษาเขียนนั้นมีหลักฐานยืนยันปรากฏอยู่เริ่มจากคริสต์ศตวรรษที่ 10 ในปัจจุบัน ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีการใช้นอกประเทศรัสเซียด้วย มีเอกสารทางวิทยาศาสตร์จำนวนหนึ่งตีพิมพ์เป็นภาษารัสเซีย รวมทั้งความรู้ในระดับมหาวิทยาลัยจำนวนหนึ่ง ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางการเมืองในยุคที่สหภาพโซเวียตเรืองอำนาจและยังเป็นภาษาราชการภาษาหนึ่งของสหประชาชาต.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและภาษารัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสลาวอนิกคริสตจักรเก่า

ษาสลาวอนิกคริสตจักรเก่า (Old Church Slavonic) เป็นภาษาทางศาสนา พัฒนาขึ้นจากภาษาของนักบุญซีริลและนักบุญเมโทเดียส ซึ่งเป็นมิชชันนารีจากไบแซนไทน์ เมื่อราว..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและภาษาสลาวอนิกคริสตจักรเก่า · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสโลวัก

ภาษาสโลวัก (slovenčina, slovenský jazyk) เป็นภาษากลุ่มภาษาสลาวิกตะวันตก (กลุ่มเดียวกับภาษาเช็ก ภาษาโปแลนด์ และภาษาซอร์เบีย) ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาสโลวักมีความใกล้ชิดกับภาษาเช็กเป็นพิเศษ นอกจากนี้ ภาษาสโลวักและภาษาสโลวีเนียเป็นภาษาสลาฟสมัยใหม่สองภาษาเท่านั้นที่ชื่อท้องถิ่นของตนเองมีความหมายตรงตามตัวอักษรว่า "สลาวิก (Slavic) " (ชาวสโลวาเกีย: slovenčina และชาวสโลวีเนีย: slovenščina) (ส่วน slověnskii เป็นภาษาสลาโวนิกเก่า) ภาษาสโลวักพูดในประเทศสโลวาเกีย (ประมาณ 5 ล้านคน) สหรัฐอเมริกา (500,000 คน เป็นผู้อพยพ) ประเทศเช็กเกีย (320,000 คน เนื่องมาจากอดีตเชโกสโลวาเกีย) ประเทศฮังการี (20,000 คน เป็นชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์โบราณ) ประเทศเซอร์เบีย-วอยวอดีนาภาคเหนือ (60,000 คน ผู้สืบเชื้อสายจากผู้ตั้งถิ่นฐานรุ่นแรก ๆ ในช่วงที่อยู่ภานใต้การปกครองของราชวงศ์ฮับส์บูร์ก) ประเทศโรมาเนีย (22,000 คน เป็นชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์เก่าแก่) ประเทศโปแลนด์ (20,000 คน) ประเทศแคนาดา (20,000 คน เป็นผู้อพยพ) ประเทศออสเตรเลีย (เป็นผู้อพยพ) ประเทศออสเตรีย ประเทศยูเครน ประเทศบัลแกเรีย ประเทศโครเอเชีย (5,000 คน) และประเทศอื่น ๆ บางประเทศ สโลวัก หมวดหมู่:ภาษาในประเทศสโลวาเกีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ภาษาในประเทศแคนาดา หมวดหมู่:ภาษาในสาธารณรัฐเช็ก หมวดหมู่:ภาษาในประเทศเซอร์เบีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศโรมาเนีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศฮังการี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและภาษาสโลวัก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตาตาร์

ษาตาตาร์ เป็นภาษากลุ่มเติร์ก ตระกูลยูราล-อัลไตอิก พูดโดยชาวตาตาร์ จัดเป็นภาษารูปคำติดต่อ มีผู้พูดในบางส่วนของยุโรป รัสเซีย ไซบีเรีย จีน ตุรกี โปแลนด์ ยูเครน ฟินแลนด์ และเอเชียกลาง เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐตาตาร์สถาน เขียนด้วยอักษรซีริลลิกโดยมีอักษรเฉพาะที่ไม่ได้ใช่ในภาษากลุ่มสลาวิก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและภาษาตาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโครเอเชีย

ษาโครเอเชีย เป็นภาษาในกลุ่มสลาวิก เป็นภาษาราชการของประเทศโครเอเชีย และประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา center Areas where Croatian language is spoken (as of 2006).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและภาษาโครเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโปลาเบียน

ษาโปลาเบียน เป็นกลุ่มภาษาถิ่นในภาษากลุ่มสลาวิก ซึ่งเคยพูดกันในบริเวณที่เป็นตอนเหนือของประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน: เมคเลนบูร์ก-ฟอร์พอมเมิร์น, บรานเดนบวร์ก, ซัคเซน-อันฮัลต์, ส่วนตะวันออกของนีเดอร์ซัคเซน และชเลสวิก-โฮลชไตน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและภาษาโปลาเบียน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโปแลนด์

ษาโปแลนด์ (język polski, polszczyzna) คือภาษาทางการของประเทศโปแลนด์ ภาษาโปแลนด์เป็นภาษาหลักของแขนงเลกิติกของภาษากลุ่มสลาวิกตะวันตก มีต้นกำเนิดมาจากพื้นที่ของโปแลนด์ ในปัจจุบันจากภาษาท้องถิ่นต่างๆ โดยเฉพาะที่พูดใน Greater Poland และ Lesser Poland ภาษาโปแลนด์เคยเป็นภาษากลาง (lingua franca) ในพื้นที่ต่างๆ ของยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก เนื่องจากอิทธิพลทางการเมือง วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ และการทหารของเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย ในปัจจุบันภาษาโปแลนด์ไม่ได้ใช้กันกว้างขวางเช่นนี้ เนื่องจากอิทธิพลของภาษารัสเซีย อย่างไรก็ดี ยังมีคนพูดหรือเข้าใจภาษาโปแลนด์ในพื้นที่ชายแดนทางตะวันตกของยูเครน เบลารุส และลิทัวเนีย เป็นภาษาที่สอง อักษรที่ใช้ในภาษาโปแลน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและภาษาโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไซเทีย

ษาซามาร์เทียหรือภาษาไซเทีย เป็นสำเนียงของภาษากลุ่มอิหร่านตะวันออก ใช้พูดโดยชาวไซเทียหรือซามาร์เทียในรัสเซียภาคใต้ระหว่าง 257 ปีก่อนพุทธศักราชจนถึง..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและภาษาไซเทีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเบลารุส

ภาษาเบลารุส (беларуская мова) เป็นภาษาราชการของประเทศเบลารุส และยังพูดในบางส่วนของรัสเซีย ยูเครน และโปแลนด์ จัดอยู่ในภาษากลุ่มสลาวิกซึ่งมีความคล้ายคลึงกันมาก และภาษาเบลารุสยังคงเป็นภาษาที่คล้ายกับรัสเซียมากถึงแม้ว่าจะคล้ายมาก แต่ชาวเบลารุสยังรักษาภาษาของตนให้ดำรงไว้สืบทอดต่อคนรุ่นหลาน เบลารุส หมวดหมู่:ภาษาในประเทศโปแลนด์ หมวดหมู่:ภาษาในประเทศรัสเซีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศยูเครน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและภาษาเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเช็ก

ภาษาเช็ก เป็นภาษาราชการของเช็กเกีย อยู่ในกลุ่มภาษาสลาวิกตะวันตก มีผู้พูดประมาณ 12 ล้านคน หมวดหมู่:ภาษาในสาธารณรัฐเช็ก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและภาษาเช็ก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเอสเปรันโต

ษาเอสเปรันโต (Esperanto) เป็นภาษาประดิษฐ์ในกลุ่มภาษาช่วยในการสื่อสารระดับสากลที่ใช้กันมากที่สุดในโลก คิดค้นโดย แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ (L.L. Zamenhof) จักษุแพทย์ชาวโปแลนด์ (ในช่วงที่รัสเซียปกครองโปแลนด์ โดยมีพ่อแม่เป็นชาวยิว) เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2430 โดยต้องการให้ภาษาเอสเปรันโตเป็นภาษาที่เรียนง่าย และเป็นภาษาที่สองสำหรับการสื่อสารระดับนานาประเทศ ชื่อ เอสเปรันโต มาจากนามปากกา ดร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและภาษาเอสเปรันโต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเซอร์เบีย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและภาษาเซอร์เบีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

วอดก้า

แผนที่ประเทศที่มีประวัติศาสตร์ในการดื่มวอดก้า วอดก้า (Vodka) เป็นสุรากลั่นไม่มีสี มันเป็นของเหลวใสเกือบทั้งหมดเป็นน้ำและเอทานอลซึ่งถูกกลั่นให้บริสุทธิ์ — มักจะกลั่นหลายรอบ — จากส่วนผสมหมักอย่างกากน้ำตาลของมันฝรั่ง ธัญพืช (โดยมากเป็นข้าวไรย์หรือข้าวสาลี) หรือหัวบีท และส่วนผสมจำนวนน้อยมาก ๆ จำพวกสารแต่งรสหรือสิ่งเจือปนที่หลุดรอดไป คำว่าวอดก้ามีที่มาจากคำภาษาสลาวิกว่า "voda" (woda, вода) ซึ่งหมายถึง "น้ำ" วอดก้ามีแอลกอฮอล์ในอัตราส่วน 35-70% โดยปริมาตร ซึ่งเหล้าวอดก้าของรัสเซียจะมีอยู่ 40% จากข้อมูลของพิพิธภัณฑ์วอดก้าในเมืองเซนต์ปีเตอร์เบิร์ก ประเทศรัสเซีย นักเคมี Dmitri Mendeleev พบว่า 38% เป็นอัตราส่วนที่ดีที่สุด แม้วอดก้าจะมีต้นกำเนิดมาจากยุโรป บริเวณประเทศโปแลนด์ ยูเครน และรัสเซีย มันก็เป็นที่นิยมดื่มในหลายแห่งทั่วโลก โดยใช้เป็นส่วนผสมในค็อกเทลสำหรับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ชนิดอื่น ได้แก่ บรัดดีแมรี เดอะสครูไดรเวอร์ ไวต์รัสเซียน และ วอดก้ามาร์ตินี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและวอดก้า · ดูเพิ่มเติม »

อักษรซีริลลิก

ประเทศที่ใช้อักษรซีริลลิก อักษรซีริลลิก หรือ อักษรซิริลลิก (Cyrillic script) เป็นตัวอักษรที่ใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในกลุ่มภาษาสลาวิกนอกจากนี้ยังใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในอีกหลายประเทศ แต่ไม่มีอักษรซีริลลิกทุกตัวกับภาษาใด ขึ้นอยู่กับการเขียนในภาษานั้น ในกลุ่มประเทศที่ใช้อักษรซีริลลิกด้วยกันเอง จะไม่เรียก ซีริล แต่จะออกเสียงว่า คีริล แทน เช่น ในภาษารัสเซียเรียกอักษรซีริลลิกว่า Кириллица คีริลลิซ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและอักษรซีริลลิก · ดูเพิ่มเติม »

ขั้นตอนวิธีเชิงสัทลักษณ์

ั้นตอนวิธีเชิงสัทลักษณ์ (phonetic algorithm) คือขั้นตอนวิธีสำหรับการกำหนดดัชนีของคำต่างๆ โดยใช้การออกเสียงเป็นเกณฑ์ ขั้นตอนวิธีเชิงสัทลักษณ์ส่วนใหญ่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้กับภาษาอังกฤษ ดังนั้นการใช้กฎเกณฑ์ดังกล่าวกับคำในภาษาอื่นอาจไม่ให้ผลลัพธ์ที่มีความหมาย ขั้นตอนวิธีเหล่านั้นมีความซับซ้อนด้วยกฎและข้อยกเว้นหลายประการ เนื่องจากการสะกดคำ และการออกเสียงในภาษาอังกฤษถูกทำให้ยุ่งยากด้วยการเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์และคำที่ยืมมาจากภาษาอื่นหลายภาษ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและขั้นตอนวิธีเชิงสัทลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน

ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หรือ ตระกูลภาษาอินเดีย-ยุโรป ประกอบด้วยภาษาและภาษาย่อยรวม 443 ภาษา (ตามการประมาณของ SIL) ที่พูดโดยคนประมาณ 3 พันล้านคน ซึ่งรวมถึงตระกูลภาษาหลัก ๆ ของยุโรป และเอเชียตะวันตก ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลใหญ่ ภาษาปัจจุบันที่อยู่ในตระกูลใหญ่นี้ มีเช่น ภาษาเบงกาลี ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาฮินดี ภาษาโปรตุเกส ภาษารัสเซีย และ ภาษาสเปน (แต่ละภาษามีคนพูดมากกว่า 100 ล้านคน).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน · ดูเพิ่มเติม »

ตแชสวัฟ มีวอช

ตแชสวัฟ มีวอช (Czesław Miłosz,; 30 มิถุนายน ค.ศ. 1911 – 14 สิงหาคม ค.ศ. 2004) เป็นนักเขียนและกวีชาวโปแลน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและตแชสวัฟ มีวอช · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลารุส

ลารุส (Беларусь บฺแยลารูสฺย; Беларусь, Белоруссия) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเบลารุส (Рэспубліка Беларусь; Республика Беларусь) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกัยรัสเซีย ยูเครน โปแลนด์ ลิทัวเนีย และลัตเวีย เมืองหลวงของประเทศคือกรุงมินสก์ เมืองสำคัญของประเทศนี้ ได้แก่ เบรสต์ กรอดโน กอเมล และวีเซี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและประเทศเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

แวมไพร์

Nosferutu: A Symphony of Horror'' ที่ดัดแปลงมาจากนวนิยายเรื่อง เค้าท์แดร็กคูลา ภาพยนตร์เรื่องนี้ฉายในปี ค.ศ. 1922 แวมไพร์ (Vampire) ผีชนิดหนึ่งตามความเชื่อของชาวยุโรป ในยุคกลาง เชื่อว่าเป็นผีดิบ ที่มีรูปร่างหน้าตาเหมือนมนุษย์ทั่วไป แต่มีฟันแหลมคม ดื่มเลือดของมนุษย์ด้วยกันเป็นอาหารเพื่อหล่อเลี้ยง โดยที่แวมไพร์จะมีชีวิตเป็นอมตะ ไม่มีวันตาย จะปรากฏตัวได้แต่เฉพาะเวลากลางคืน เพราะกลางวันแพ้แสงแดด แวมไพร์จะหลบซ่อนอยู่ในโลงของตนหรือในหลุมในเวลากลางวัน สามารถแปลงร่างได้หลายแบบ เช่น ค้างคาว, นกฮูก, หมาป่า, หมาจิ้งจอก, กบ, คางคก, แมลงเม่า, งูพิษ เป็นต้น สามารถกำบังกายหายตัวได้ ไม่มีเงาเมื่อกระทบกับแสงหรือสะท้อนในกระจก มีแรงมากเหมือนผู้ชาย 20 คน รวมถึงสามารถบังคับสิ่งของให้เคลื่อนที่ด้วยอำนาจของตนได้ด้วย สิ่งที่จะกำราบแวมไพร์ได้คือ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนา เช่น ไม้กางเขน, น้ำมนตร์ หรือแม้กระทั่งสมุนไพรกลิ่นแรงบางชนิด เช่น กระเทียม วิธีฆ่าแวมไพร์มีมากมาย เช่น ตอกลิ่มให้ทะลุหัวใจ เผา หรือ ตัดหัวด้วยจอบของสัปเหร่อ บุคคลที่ตกเป็นเหยื่อของมัน จะกลายเป็นแวมไพร์ไปด้วย และกลายเป็นสาวกของแวมไพร์ตนที่ดูดเลือดตัวเอง ชาวยุโรปในยุคกลางนั้น หวาดกลัวแวมไพร์มาก ผู้ที่สงสัยว่าเป็นแวมไพร์ จะตกอยู่ในสถานะเดียวกับแม่มด หรือ มนุษย์หมาป่า คือ ถูกตัดสินลงโทษด้วยการเอาถึงชีวิต มีวิธีการป้องกันการรุกรานของแวมไพร์หลายวิธี เช่น บางหมู่บ้านจะโปรยเมล็ดข้าวไว้บนหลังคาบ้าน เพราะเชื่อว่าแวมไพร์จะง่วนกับการนับเมล็ดข้าวเป็นการถ่วงเวลาจนรุ่งเช้า หรือ โรยเศษขนมปังไว้ตั้งแต่สุสานให้แวมไพร์เดินเก็บเศษขนมนั้นวนเวียนไปมา หรือแม้แต่การวางไม้กางเขนหรือดอกกุหลาบที่มีหนามแหลมเพื่อเป็นการพันธนาการไว้ในโลง เรื่องราวของแวมไพร์ มีมากมาย ที่เป็นนิทานพื้นบ้านและวรรณกรรม โดยวรรณกรรมที่ว่าถึงแวมไพร์ที่เก่าแก่ที่สุด มีมาตั้งแต่สมัยโรมัน วรรณกรรมที่มีชื่อเสียงที่สุดของแวมไพร์คือ เรื่องแดรกคูลา ของ บราม สโตกเกอร์ ที่โด่งดังจนมีการนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ ละคร ละครเวที หรือแม้แต่กระทั่งภาพยนตร์การ์ตูนมากมายตราบจนปัจจุบัน เช่น ภาพยนตร์เรื่อง Nosferatu: A Symphony of Horror ในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและแวมไพร์ · ดูเพิ่มเติม »

เบเกิล

กิลกับครีมชีส และ ปลาแซลมอนรมควัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของครัวอเมริกัน-ยิว เบเกิล (bagel, beigel) กำเนิดในประเทศโปแลนด์ มีลักษณะเป็นรูปวงแหวน ทำจากแป้งสาลี ขนาดประมาณ 1 กำมือ นำไปต้มในน้ำเดือดสักพักหนึ่ง แล้วนำไปอบต่อ จะได้เนื้อภายในที่แน่นและนิ่ม กับเนื้อภายนอกสีอมน้ำตาล มักโรยหน้าด้วยงาดำ บ้างอาจโรยเกลือบนเบเกิล ทั้งยังมีแป้งประเภทต่าง ๆ ที่ใช้เป็นวัตถุดิบ เช่น ข้าวไรย์ หรือแป้งจากธัญพืชไม่ขัดสีEncyclopædia Britannica (2009), retrieved February 24, 2009 from Encyclopædia Britannica Online เบเกิลเป็นที่นิยมในประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะในเมืองที่มีประชากรชาวยิวอาศัยจำนวนมาก วิธีการทำเบเกิลนั้นมีหลากหลาย เช่น เบเกิลที่ทำในเบเกอรี หรือเบเกิลประเภทแช่แข็งที่หาซื้อได้ตามซูเปอร์มาร์เก็ตในประเทศเหล่านั้น เบเกิลชนิดที่เป็นวงกลมและมีรูตรงกลางออกแบบมาเมื่อหลายร้อยปีก่อน ซึ่งมีข้อดีหลาย ๆ อย่าง นอกจากการอบ ยังสามารถหยิบจับง่ายและยังเป็นจุดเด่นทำให้น่าสนใจอีกด้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและเบเกิล · ดูเพิ่มเติม »

เซเบิล

ซเบิล (sable) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กินเนื้อ ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและเซเบิล · ดูเพิ่มเติม »

Ѳ

Fita (Ѳ, ѳ) เป็นอักษรซีริลลิกยุคเก่าตัวหนึ่ง มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ทีตา อักษรนี้ใช้เขียนชื่อเฉพาะที่ทับศัพท์มาจากภาษากรีกเป็นหลัก และตั้งแต่ภาษารัสเซียออกเสียงตัวอักษรนี้เป็น // แทนที่จะเป็น // เหมือนภาษากรีก เช่น คำว่า Theodore ก็อ่านเป็น Fyodor จึงมีการใช้ Ef (Ф, ф) แทนอักษร Fita ใน พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) และสำหรับกลุ่มภาษาสลาวิกอื่นๆ ซึ่งออกเสียงอักษรนี้เป็น // ก็เปลี่ยนไปใช้ Te (Т, т) ด้วยเช่นกัน ยกตัวอย่างภาษาบัลแกเรียจะอ่านคำว่า Theodore เป็น Teodor หรือ Todor เป็นต้น อักษรนี้จึงไม่มีที่ใช้ไปโดยปริยาย อักษร Fita มีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 9 และอย่าสับสนกับอักษร Oe (Ө, ө) ที่มีลักษณะคล้ายกัน (มีใช้ในภาษาคาซัค ภาษาตูวา และภาษามองโกเลีย) และบางครั้งขีดตรงกลางก็ถูกเขียนให้เป็นหยัก เป็นคลื่น หรือขีดให้เกินวงกลมออกมา ดังที่ปรากฏในฟอนต์บางตัว เพื่อให้เกิดความแตกต่างกับอักษรดังกล่าว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและѲ · ดูเพิ่มเติม »

Ҁ

Koppa (Ҁ, ҁ) เป็นอักษรซีริลลิกยุคเก่าตัวหนึ่ง มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก คอปปา (Ϙ, ϙ) อักษรตัวนี้ไม่มีใช้แล้วในกลุ่มภาษาสลาวิก และไม่ได้ใช้แทนเสียงใดๆ เพียงแต่เป็นอักษรที่ใช้แทนเลขซีริลลิกที่มีค่าเท่ากับ 90 แต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนไปใช้ Ч ซึ่งมีรูปร่างคล้ายกันและไม่มีค่าของเลขซีริลลิกตั้งแต่แรก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและҀ · ดูเพิ่มเติม »

Xh (ทวิอักษร)

ตัวอักษร Xh/xh เป็นหนึ่งทวิอักษร ที่มี อักษรละติน X และ H ที่ใช้ในภาษาแอลเบเนีย จะออกเสียงเป็น /d͡ʒ/ Xh ตัวที่ 33 ของภาษาแอลเบเนี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและXh (ทวิอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

Ў

Short U (Ў, ў) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง มีใช้เฉพาะในภาษาเบลารุส และอักษรนี้จะถูกเรียกว่า U Nieskładovaje ซึ่งหมายถึง U ที่ไม่มีเสียง เนื่องจากเสียงกึ่งสระนี้เทียบเท่ากับ У แต่ไม่ได้ใช้ออกเสียงเต็มพยางค์ อักษรนี้สามารถแปลงเป็นอักษรละตินได้เป็น Ŭ, ŭ ในคำต่างๆ ของภาษาเบลารุส อักษร Ў จะใช้คู่กับสระตัวอื่นให้เกิดเสียงสระประสมกับ // เหมือนมี ว สะกด เช่น хлеў (khleŭ เฮฺลว์) กระท่อม หรือ воўк (voŭk โวว์ก) หมาป่า บางครั้งก็ถูกใช้ทับศัพท์เสียง // ในภาษาต่างประเทศ เช่น ўіскі (ŭiski วิสกี) วิสกี้ เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตาม ชาวเบลารุสมักจะมีปัญหาเกี่ยวกับการออกเสียง // และตั้งใจจะออกเสียงเป็น // ในคำทับศัพท์ดังกล่าว ปกติแล้วอักษรนี้ไม่สามารถวางหน้าสระได้ แต่เมื่อไวยากรณ์บังคับให้เป็นเช่นนั้น จะต้องเปลี่ยน Ў ให้เป็น В เช่น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและЎ · ดูเพิ่มเติม »

Ё

Yo (Ё, ё) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก และเป็นอักษรตัวที่ 7 ของภาษารัสเซีย อักษรนี้ประดิษฐ์ขึ้นใน พ.ศ. 2340 (ค.ศ. 1797) โดยนักเขียนและนักประวัติศาสตร์ชาวรัสเซีย นิโคไล มิไฮโลวิช คารามซิน (Nikolai Mikhailovich Karamzin) เพื่อลดความสับสนระหว่างการใช้ Е กับ О สำหรับแทนเสียงสระ // ที่ตามหลังพยัญชนะซึ่งถูกอ่านโดยเลื่อนขึ้นไปทางเพดานแข็ง อักษรนี้ใช้ในภาษารัสเซียและภาษาเบลารุส และใช้น้อยครั้งในกลุ่มภาษาสลาวิกอื่นๆ โดยปกติแล้วอักษร Ё จะออกเสียงเป็น // (โย) แต่เมื่อตามหลังพยัญชนะเสียงเสียดแทรก ฐานปุ่มเหงือก ได้แก่ Ж, Ч, Ш, และ Щ จะออกเสียงเป็น // (โอ) ธรรมดา นอกจากนั้นพยางค์ที่มีอักษรนี้อยู่จะเป็นเสียงเน้นหนักเสมอ (stress) ลักษณะของ Yo นั้นสามารถระบุได้ว่าเอามาจาก Ye ซึ่งเหมือนอักษรละติน E เว้นแต่ด้านบนจะมีเครื่องหมายเสริมอักษรเป็นจุดสองจุดเรียกว่า umlaut หรือ diaeresis ซึ่งไม่มีที่ใช้ทั่วไปในอักษรอื่นของภาษารัสเซีย เครื่องหมายนี้ถูกใช้เพื่อให้เกิดความแตกต่างกับ Ye เท่านั้น อักษร Ё ได้นำไปใช้ในงานเขียนครั้งแรกเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 แต่ก็ไม่ได้ใช้ให้เป็นมาตรฐานจนถึง พ.ศ. 2483-2492 (ค.ศ. 1940-1949) และยังมีคำทับศัพท์มากมายที่ใช้ ЙО แทนอักษร Ё แม้ว่าหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง อักษร Yo ที่ใช้กันอย่างทั่วไปในงานพิมพ์ ก็ถูกเปลี่ยนไปใช้อักษร Ye เพื่อให้ตัวหนังสือกลมกลืนไปด้วยกัน และปริบทจะเป็นตัวบ่งบอกให้ผู้อ่านเองว่าควรจะออกเสียงอย่างไร แต่การใช้อักษรนี้ยังต้องจำเป็นต้องใช้ในการจัดทำพจนานุกรม หนังสือเรียน หรือตำราสำหรับชาวต่างประเทศ นักประพันธ์และนักวารสารศาสตร์บางท่าน อย่างเช่น อะเลคซันเดอร์ ซอลเจนิซืยน (Aleksandr Solzhenitsyn) หรือ ลีเตราตูร์นายากาเซตา (Literaturnaya Gazeta) ได้จัดพิมพ์หนังสือต่างๆ ด้วยอักษร Yo เสมอ และความเป็นจริงในการแทนอักษร Yo ด้วยอักษร Ye นั้น มักจะทำให้เกิดความสับสนให้กับผู้ที่ไม่ใช่ชาวรัสเซีย ซึ่งจะเกิดความยุ่งยากในการถ่ายทอดอักษรจากภาษารัสเซีย ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างหนึ่งคือนามสกุลของชาวรัสเซียที่มักจะลงท้ายด้วย -ев (-ev) และ -ёв (-ov) อย่างผู้นำสองท่านที่ชื่อว่า ฮรูชอฟ (Khrushchev) กับ กอร์บาชอฟ (Gorbachev) ซึ่งนามสกุลของท่านนั้นลงท้ายด้วย -ёв และควรจะถ่ายอักษรด้วย -ov สำหรับภาษาเบลารุส ชาวเบลารุสเห็นว่าการแทนอักษร Yo ด้วยอักษร Ye นั้นไม่เหมาะสม จึงยังคงใช้อักษรนี้เป็นปรกต.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและЁ · ดูเพิ่มเติม »

Т

Te (Т, т) คืออักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง ใช้แทนเสียง // เหมือน t ในภาษาอังกฤษ หรือ ต หรือ ท ในภาษาไทย หรือเปลี่ยนเป็น // เมื่อสะกดด้วยสระที่เลื่อนเสียงไปทางเพดานแข็ง อักษรตัวนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก เทา ชื่อเดิมของอักษรนี้คือ tvr̥do และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 300.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและТ · ดูเพิ่มเติม »

Ц

Tse (Ц, ц) คืออักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง มีลักษณะคล้ายอักษรละติน U ที่เป็นเหลี่ยมและมี "ติ่ง" ที่มุมล่างขวา ใช้แทนเสียง เหมือนในคำว่า cats ในภาษาอังกฤษ อักษร Tse เป็นอักษรตัวที่ 23 ในภาษารัสเซีย และถูกพิจารณาว่ามีพัฒนาการมาจากอักษรฮีบรู Tsadi ในลักษณะของอักษรท้ายคำ (ץ) และอักษรกลาโกลิต Tsi (รูปภาพ: 14px) อักษรนี้มีชื่อเดิมว่า ci หรือ tsi และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 900 อักษร Tse สามารถถ่ายอักษรได้เป็น ts แต่อย่างไรก็ดี ชื่อเฉพาะบางอย่างอาจถ่ายอักษรเป็น c, z, cz หรือ tz ก็มี สำหรับภาษารัสเซีย คำที่ใช้อักษรนี้ส่วนใหญ่เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอื่น โดยเฉพาะคำในภาษาละตินที่มีอักษร C เช่น цирк (circus), центр (center) และภาษาเยอรมันที่มีอักษร Z เช่น плац (Platz), цинк (Zink) เป็นต้น ส่วนคำที่เป็นภาษารัสเซียแท้ก็พบได้น้อย อย่างเช่น царь (Tsar) และแทบจะไม่ปรากฏเลยในภาษาสลาวิกยุคเริ่มแรก ตามอักขรวิธีของภาษารัสเซีย อักษร Ц แทบจะไม่ถูกต่อท้ายด้วย Ы เว้นแต่จะเป็นจำนวนพหูพจน์ หรือคำคุณศัพท์บอกจำนวน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและЦ · ดูเพิ่มเติม »

Ш

Sha (Ш, ш) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ใช้แทนเสียงพยัญชนะ // หรือ // ซึ่งออกเสียงคล้ายกับ sh ในภาษาอังกฤษ ch ในภาษาฝรั่งเศส sch ในภาษาเยอรมัน ş ในภาษาตุรกี หรือ sz ในภาษาโปแลนด์ ส่วนกลุ่มภาษาสลาวิกที่ใช้อักษรละตินจะเขียนอักษร š แทนเสียงดังกล่าว ซึ่งนักภาษาศาสตร์ก็ใช้อักษร š สำหรับถ่ายอักษร Ш ไปเป็นอักษรละตินเช่นกัน ลักษณะตัวพิมพ์ของอักษรนี้มีรูปร่างคล้ายอักษรละติน W หรือเหมือนยิ่งกว่าโดยนำอักษร E มาวางตะแคง อักษร Ш ถูกใช้ในทางที่หลากหลาย อย่างในทางคณิตศาสตร์ Tate-Shafarevich group จะใช้สัญลักษณ์เป็น Ш ซึ่งแนะนำให้ใช้เป็นครั้งแรกโดย เจ. ดับบลิว. เอส. แคสเซลส์ (ก่อนหน้านั้นใช้สัญลักษณ์ TS ซึ่งไม่ได้มีความหมายอะไรพิเศษ) และในอีกทางหนึ่ง รูปแบบของกราฟที่คล้ายอักษร Ш และได้ชื่อว่า Shah function ก็เป็นส่วนหนึ่งของฟังก์ชัน Dirac comb สัทอักษร // เป็นการอธิบายเสียงเสียดแทรกหลังปุ่มเหงือกแบบไม่ก้อง เนื่องจากเสียงประเภทนี้เป็นสาเหตุหลักที่อักษรกลาโกลิตและอักษรซีริลลิกต้องประดิษฐ์ขึ้น เพราะเสียงเหล่านี้ไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปของอักษรละตินหรืออักษรกรีก โดยที่ไม่ใช้เครื่องหมายเสริมอักษรหรือทวิอักษรได้ ภาษาในกลุ่มสลาวิกจึงมีอักษรแทนเสียงเสียดแทรกและเสียงกึ่งเสียดแทรกมากมาย และอักษร Sha เองก็เป็นหนึ่งในนั้น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและШ · ดูเพิ่มเติม »

Э

E หรือ E Oborotnoye (Э, э) เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิก มีใช้ในภาษารัสเซียและภาษาในกลุ่มสลาวิกเป็นส่วนมาก ยกเว้นภาษายูเครน อักษรนี้ใช้แทนเสียงสระ // (เอ).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและЭ · ดูเพิ่มเติม »

Ж

Zhe (Ж, ж) เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิก ที่ใช้แทนเสียง เหมือนเสียง s ในคำว่า treasure ของภาษาอังกฤษ หรือ ż ในภาษาโปแลนด์ Zhe เป็นอักษรตัวที่ 7 ของภาษาบัลแกเรีย เป็นอักษรตัวที่ 8 ของภาษาเบลารุส ภาษามาซิโดเนีย ภาษารัสเซีย และภาษาเซอร์เบีย และเป็นอักษรตัวที่ 9 ของภาษายูเครน อักษรตัวนี้ยังใช้ในกลุ่มภาษาอื่นที่ไม่ใช่สลาวิกเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งออกเสียงเป็น หรือ ในอักษรซีริลลิกโบราณ Ж เป็นอักษรตัวที่ 7 มีชื่อเดิมคือ živěte แต่ไม่มีค่าของเลขซีริลลิก กบที่มีลักษณะ คล้ายอักษร Ж ปัจจุบันยังไม่ทราบว่าอักษรนี้มีพัฒนาการมาอย่างไร เนื่องจากไม่มีอักษรกรีก หรืออักษรละติน หรืออักษรในภาษาอื่นที่คล้ายกันเลย แม้ว่าจะมีอักษรกลาโกลิต Zhivete ในสมัยก่อนที่ใช้แทนเสียง และมีรูปร่างคล้ายกันก็ตาม (รูปภาพ: 14px) อย่างไรก็ตาม จุดกำเนิดของ Zhivete นั้นยังคลุมเครือเหมือนอักษรกลาโกลิตอื่นๆ ความเป็นไปได้อย่างหนึ่งคือ อักษร Zhe อาจประกอบด้วยอักษรฮีบรู Shin (ש) สองอันต่อกันโดยที่ส่วนล่างกลับหัว ซึ่งอักษรฮีบรูตัวนี้เป็นต้นกำเนิดของ Sha (Ш, ш) อยู่แล้ว อักษร Zhe บ่อยครั้งมักจะถูกถ่ายอักษรเป็น zh หรือ zx ซึ่งพบได้ยากกว่า เว้นแต่ภาษาเซอร์เบีย ภาษามาซิโดเนีย และระบบการถ่ายทอดอักษรบางระบบของภาษาบัลแกเรีย จะใช้ ž หรือ z แทน อักษร Zhe ยังเป็นอักษรตัวแรกสำหรับเยาวชนที่ต้องการศึกษากลุ่มภาษาสลาวิก เนื่องจากอักษรตัวนี้มีลักษณะคล้ายลูกอ๊อดของกบในช่วงเปลี่ยนรูปร่าง อีกทั้งในกลุ่มภาษาเหล่านี้ คำที่มีความหมายว่า กบ หรือ ลูกอ๊อด จะเขียนเป็น жаба (zhaba จาบา) อีกด้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาสลาวิกและЖ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ภาษากลุ่มสลาวิก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »