เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

กริฟฟอน

ดัชนี กริฟฟอน

รูปวาดกริฟฟิน 200px กริฟฟอน หรือ กริฟฟิน (griffin, gryphin, griffon หรือ gryphon) คือสัตว์ในเทพนิยายร่างกายเป็นครึ่งนกอินทรี ครึ่งสิงโต โดยส่วนหัว ขาคู่หน้าและปีก เป็นนกอินทรี ส่วนลำตัวและขาคู่หลังเป็นสิงโต และมีหางเป็นงู บางจำพวกก็มี หางของสิงโต ขนบนหลังเป็นสีดำ ขนที่อยู่ข้างหน้าเป็นสีแดง ส่วนขนปีกเป็นสีขาว อาศัยอยู่ในถ้ำตามภูเขา ตามตำนานกรีก กริฟฟินเป็นสัตว์เทพผู้พิทักษ์เหมืองทองคำของดินแดนไฮเปอร์โบเรีย (ดินแดนในตำนานซึ่งอยู่ทางขั้วโลกเหนือ มีแสงอาทิตย์ และความอุดมสมบูรณ์ตลอดกาล), เป็นรูปจำแลงของเทพีเนเมซิส เทพแห่งความพยาบาท ซึ่งทำหน้าที่หมุนวงล้อแห่งโชคชะตา, นอกจากนี้ยังเป็นผู้ลากรถม้าของพระอาทิตย์ (เทพอพอลโล) อีกด้วย กริฟฟินนั้นเป็นสัญลักษณ์ของพลังอำนาจ และบางครั้งยังถือว่ากริฟฟินเป็นสัญลักษณ์ของความหยิ่งยโสอีกด้วย ในยุคแรก กริฟฟินถูกเปรียบเทียบให้เป็นเหมือนกับซาตาน ที่คอยล่อลวงวิญญานของมนุษย์ให้ติดกับ แต่ต่อมากริฟฟินก็กลายเป็นสัญลักษณ์ของทั้งทวยเทพ และมนุษย์ สำหรับพระเยซู เพราะมันเป็นเจ้าแห่งพิภพและเวหา อีกทั้งมีรังสีแห่งแสงอาทิตย์ ศัตรูของกริฟฟินคือ บาซิลิสก์ ซึ่งเปรียบได้กับรูปจำลองของซาตาน ปัจจุบันสามารถพบเห็นกริฟฟินได้ทั่วไปจากงานศิลปะในหลาย ๆ วัฒนธรรม และพบได้ในตราประจำตระกูล รูปสัตว์ต่าง ๆ, ประติมากรรมเก่าแก่, โมเสกนูนต่ำ, นิทาน และในตำนานต่าง ๆ ทั่วโลก หมวดหมู่:สัตว์ในตำนาน หมวดหมู่:สิ่งมีชีวิตในตำนานเทพปกรณัมกรีก.

สารบัญ

  1. 20 ความสัมพันธ์: บาคุกัน มอนสเตอร์บอลทะลุมิติกริฟฟิน ไมนอสมัลเมอมูรมูรรายชื่อสัตว์ในตำนานลักษณะการวางท่าสัตว์ประหลาดสามเทพสุภาสิงโตในมุทราศาสตร์สถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตกธงประจำเขตการปกครองของโปแลนด์ขบวนการหมัดสรรพสัตว์ เกคิเรนเจอร์ตระกูลพอเมอเรเนียตราแผ่นดินของไอซ์แลนด์ปุ่มหินนิยามของตราแท่นเทศน์ของโบสถ์ซันตันเดรอาไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์เก็นโซซุยโคเด็นเทวสถานแห่งอันโตนินัสและฟาอัสตินา

บาคุกัน มอนสเตอร์บอลทะลุมิติ

กัน มอนสเตอร์บอลทะลุมิติ เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ซึ่งนำตัวของเล่นบาคุกัน ที่จำหน่ายโดยเซก้า มาดัดแปลงเนื้อเรื่องและสร้างเป็นอะนิเมะ ออกอากาศเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ.

ดู กริฟฟอนและบาคุกัน มอนสเตอร์บอลทะลุมิติ

กริฟฟิน ไมนอส

กริฟฟิน ไมนอส หรือ กริฟฟอน มินอส เป็นตัวละครในการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง "เซนต์เซย่า ภาคเจ้านรกฮาเดส" เป็น 1 ใน 108 สเป็คเตอร์ เป็น 1 ใน 3 ขุนพลผู้พิพากษาแห่งยมโลก คู่กับ ไวเวิร์น ราดาแมนทีส และ การูด้า ไออาคอ.

ดู กริฟฟอนและกริฟฟิน ไมนอส

มัลเมอ

มัลเมอ (Malmö) เป็นเมืองมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศสวีเดน รองจากสตอกโฮล์มและเยอตาบอร์ ประชากรในเขตเมืองมี 280,415 คน (ธันวาคม ค.ศ.

ดู กริฟฟอนและมัลเมอ

มูรมูร

ในปิศาจวิทยา มูรมูร (Murmur) เป็นดยุกหรือเอิร์ลแห่งนรกผู้มีอสูรใต้บังคับบัญชา 30 กองและเป็นปิศาจตนที่ 54 ในบท อาร์สโกเอเทีย จากหนังสือกุญแจย่อยของโซโลมอน ชื่ออื่นๆของมูรมูรก็คือ มูรมุส (Murmus) และ มูรมุกซ์ (Murmux) มูรมูรจะสอนปรัชญาและสามารถเรียกวิญญาณของคนที่ตายไปแล้วให้ปรากฏต่อผู้อัญเชิญเพื่อถามคำถามต่างๆได้ตามต้องการ มูรมูรจะปรากฏตัวเป็นทหารผู้มีกริฟฟอนหรือแร้งเป็นพาหนะ ก่อนมูรมูรปรากฏตัวนั้นจะมีทูตเป่าแตรทรัมเป็ตนำมาด้วยสองตน ชื่อมูรมูรนั้นมาจากภาษาละติน หมายถึงเสียงกระซิบ เสียงพึมพำ หรือ เสียงแตร.

ดู กริฟฟอนและมูรมูร

รายชื่อสัตว์ในตำนาน

นี่คือรายชื่อสัตว์ในตำนาน รวบรวมจากตำนานของหลายประเทศ รายการด้านล่างนี้รวมไปถึงสปีชีส์ของสัตว์ในตำนานด้วย สิ่งมีชีวิตซึ่งค้นพบในสมัยใหม่ไม่รวมอยู่ในรายชื่อด้านล่างนี้.

ดู กริฟฟอนและรายชื่อสัตว์ในตำนาน

ลักษณะการวางท่า

ลักษณะการวางท่า (Attitude) ในมุทราศาสตร์ “ลักษณะการวางท่า” คือลักษณะท่างทางการวางร่างกายของสัตว์, สัตว์ในตำนาน, มนุษย์ หรือสิ่งที่มีลักษณะเหมือนมนุษย์ที่ปรากฏเป็นเครื่องหมาย, ประคองข้าง หรือ เครื่องยอด ลักษณะการวางท่าบางท่าก็จะใช้เฉพาะสัตว์ที่ล่าเหยื่อและเป็นสัตว์ที่จะพบบ่อยบนตราอาร์มคือสิงโต และบางท่าก็จะใช้สำหรับสัตว์ที่เชื่องเท่านั้นเช่นกวาง บางท่าก็ใช้สำหรับนกส่วนใหญ่จะเป็นท่าสำหรับสัตว์ที่พบบ่อยในการสร้างตราคือนกอินทรี คำว่า “naiant” (ว่ายน้ำ) แม้ว่าจะใช้สำหรับปลาแต่ก็ใช้กับหงส์, เป็ด หรือห่านได้ ถ้าเป็นนกก็บรรยายต่อไปถึงตำแหน่งของปีก หรือ คำว่า “segreant” ก็จะใช้เฉพาะสัตว์ในตำนาน หรือ คำว่า “rampant” (ยืนผงาด) ก็จะใช้กับสัตว์ปีกเช่นกริฟฟิน และ มังกร นอกจากนั้นแล้วก็ยังมีท่าที่บอกทิศทางที่แตกต่างไปจากทิศทางที่วางท่าตามปกติ สัตว์หรือสิ่งที่มีลักษณะเหมือนสัตว์โดยทั่วไปจะว่างท่าด้านข้างหันขวาไปทางโล่ (ซ้ายของผู้ดู) ถ้าเป็นมนุษย์และสิ่งที่มีลักษณะเหมือนมนุษย์โดยทั่วไปก็จะเป็นท่า “affronté” (มองตรงมายังผู้ดู) นอกจากจะระบุว่าเป็นท่าอื่นในนิยามของตร.

ดู กริฟฟอนและลักษณะการวางท่า

สัตว์ประหลาด

รา หนึ่งในสัตว์ประหลาดของเทพปกรณัมกรีกที่มีชื่อเสียง สัตว์ประหลาด หรือ อสูรกาย (Monster, Cryptid) หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่ผิดแปลกจากสภาพแวดล้อมโดยทั่ว ๆ ไป หรือสัตว์ที่มนุษย์ไม่เป็นที่รู้จัก สัตว์ประหลาดถูกกล่าวถึงในตำนานหรือนิทานของชนชาติต่าง ๆ มาแต่อดีตแล้ว โดยคำว่า Monster ที่หมายถึง สัตว์ประหลาด หรือ อสูรกาย ในภาษาอังกฤษนั้นมาจากภาษาละตินคำว่า Monstrum ซึ่งหมายถึง การเกิดสิ่งผิดปกติทางชีววิทยามักจะที่ถูกนำมาเป็นสัญลักษณ์ว่าสิ่งที่ถูกต้องภายในเพื่อธรรมชาติ ความหมายของคำว่า Monster ไม่เหมือนกับปีศาจ ซึ่งหมายถึง ความชั่วร้าย โดยปกติแล้ว Monster หรือ สัตว์ประหลาด จะหมายถึงสิ่งที่น่ารังเกียจหรือผิดศีลธรรม หรือความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอย่างน่าเกลียด หรือความวิปริตทางธรรมชาติ นอกจากนี้แล้วยังนำมาใช้เปรียบเปรยกับผู้ที่มีลักษณะโลภโมโทสันหรือบุคคลที่แลดูน่ากลัวด้วย นอกจากนี้แล้ว สัตว์ประหลาดยังปรากฏตัวในสื่อวัฒนธรรมร่วมสมัยทั้งการ์ตูน ภาพยนตร์ และวิดีโอเกม โดยทั่วไปแล้ว สัตว์ประหลาดมักมีลักษณะน่ากลัวและดุร้าย แต่ในสื่อสารมวลชนยุคใหม่ก็มีสัตว์ประหลาดที่มีบทบาทในลักษณะของอสูรกายที่เป็นมิตรหรือถูกเข้าใจผิด เช่น คิงคอง หรือ อสูรกายของแฟรงเกนสไตน์ เป็นต้น ในภาพยนตร์มีเนื้อหาเกี่ยวกับสัตว์ประหลาดอยู่มากมาย อาทิ Godzilla ของฮอลลีวู้ดในปี ค.ศ.

ดู กริฟฟอนและสัตว์ประหลาด

สามเทพสุภา

(จากซ้าย) ราดาแมนทีส, ไมนอส, ไออาคอส สามเทพสุภา (Three Judges of Hades World) คือ 3 ผู้พิพากษาความดีชั่วของผู้ที่เสียชีวิตลงตามเทพปกรณัมของกรีก ประกอบไปด้วย ราดาแมนทีส (Radamanthys) ไมนอส (Minos, ภาษากรีก Μίνως) และไออาคอส (Aiacos, Aeacus ภาษากรีกแปลว่า ค้ำจุนโลก) ราดาแมนทีสกับไมนอส เป็นพี่น้องกัน ทั้งคู่เป็นบุตรของซุสและยูโรปา ทั้งคู่เมื่อยังมีชีวิตอยู่เป็นกษัตริย์ เมื่อตายลงจึงได้เป็นผู้พิพากษาในยมโลก ส่วน ไออาคอส เป็นบุตรของซุสกับอีคิดน่า แต่เดิมก็เป็นกษัตริย์เช่นกัน เป็นกษัตริย์ที่ทรงความยุติธรรม เมื่อตายลงจึงได้เป็นผู้พิพากษาเช่นเดียวกับราดาแมนทีสและไมนอส โดยจะทำหน้าที่แตกต่างออกไป ราดาแมนทีส จะพิพากษาวิญญาณผู้ที่ตายจากภาคตะวันออก ไออาคอสจะพิพากษาวิญญาณชาวกรีกและเฝ้าประตูนรก ส่วนไมนอส จะเป็นผู้พิจารณาความดีชั่วเป็นเบื้องต้น.

ดู กริฟฟอนและสามเทพสุภา

สิงโตในมุทราศาสตร์

งโต (Lion) เป็นสัตว์ที่นิยมใช้เป็นเครื่องหมายกันในตราอาร์มกันมากที่สุดเครื่องหมายหนึ่ง เพราะเป็นสัตว์ที่เป็นสัญลักษณ์ของความกล้าหาญ การรักษาเกียรติยศ ความแข็งแกร่ง และ ความเป็นสัตว์ที่ถือกันว่าสูงศักดิ์ ที่เดิมถือกันว่าเป็นราชาแห่งสัตว์ทั้งปวง.

ดู กริฟฟอนและสิงโตในมุทราศาสตร์

สถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก

อาสนวิหารโคโลญ, ประเทศเยอรมนี มีหอสูงที่สุดในโลก อาสนวิหารซอลสบรี (1220-1380) จากมุมตะวันออก มีหอสูงที่สุดในอังกฤษ อาสนวิหารเบอร์มิงแฮม (Birmingham Cathedral) อังกฤษ อาสนวิหารเกิร์ค (Gurk Dom) ออสเตรีย สถาปัตยกรรมการก่อสร้างอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก เป็นบทความที่บรรยายถึงลักษณะสิ่งก่อสร้างของอาสนวิหารทางคริสต์ศาสนา ที่รวมทั้งสิ่งก่อสร้างที่มีลักษณะใกล้เคียงกับอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก อาสนวิหาร คือโบสถ์ประจำตำแหน่งของมุขนายก ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของมุขมณฑลมุขนายกตามที่กำหนดไว้ อาสนวิหารเป็นที่เป็นที่ตั้งของ “คาเทดรา” (bishop's cathedra) และเป็นสถานที่ทางคริสต์ศาสนาที่ใช้ในการนมัสการ (โดยเฉพาะสำหรับนิกายที่มีระบบฐานันดรการปกครองเช่น โรมันคาทอลิก ออร์ทอดอกซ์ หรือแองกลิคัน) ขนาดของสิ่งก่อสร้างที่เป็นอาสนวิหารไม่จำเป็นต้องเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่โตเสมอไป อาจจะมีขนาดเล็กอย่างเช่นอาสนวิหารอ๊อกซฟอร์ด หรือ อาสนวิหารเชอร์ที่ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ แต่โดยทั่วไปแล้วอาสนวิหารมักจะเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่ที่สุดและเด่นที่สุดในท้องถิ่นที่ตั้งอยู.

ดู กริฟฟอนและสถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก

ธงประจำเขตการปกครองของโปแลนด์

หน้านี้คือรายชื่อธงประจำเขตการปกครองของโปแลน.

ดู กริฟฟอนและธงประจำเขตการปกครองของโปแลนด์

ขบวนการหมัดสรรพสัตว์ เกคิเรนเจอร์

ูเคน เซนไท เกคิเรนเจอร์ เป็นภาพยนตร์แนว ขบวนการนักสู้ ลำดับที่ 31 ของประเทศญี่ปุ่น เริ่มออกอากาศที่ประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่วันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ.

ดู กริฟฟอนและขบวนการหมัดสรรพสัตว์ เกคิเรนเจอร์

ตระกูลพอเมอเรเนีย

ตราอาร์มของตระกูลพอเมอเรเนียเป็นรูปกริฟฟินที่ใช้มาตั้งแต่ ค.ศ. 1194 ตระกูลพอเมอเรเนีย หรือ ตระกูลไกรเฟิน หรือ ตระกูลกริฟฟิน (Greifen, Gryfici, House of Pomerania หรือ House of Greifen) เป็นตระกูลของดยุกผู้ครองดัชชีแห่งพอเมอเรเนียตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 12 มาจนกระทั่งถึงปี..

ดู กริฟฟอนและตระกูลพอเมอเรเนีย

ตราแผ่นดินของไอซ์แลนด์

ตราแผ่นดินของไอซ์แลนด์ (Skjaldarmerki Íslands, Coat of arms of Iceland) เป็นตราอาร์มของประเทศไอซ์แลนด์เป็นตรากางเขนเงินบนพื้นตราสีน้ำเงินโดยมีกาเขนสีแดงเพลิงกลางกางเขนเงิน (เช่นเดียวกับที่ปรากฏบนธงชาติไอซ์แลนด์) รอบโล่เป็นเครื่องหมายผู้พิทักษ์สี่อย่างประคองตรา ยืนอยู่บนแผ่นหินลาวา (Pāhoehoe) ที่รวมทั้งวัว (Griðungur) ผู้พิทักษ์ไอซ์แลนด์ตะวันตกเฉียงใต้, เหยี่ยว หรือ กริฟฟิน (Gammur) ผู้พิทักษ์ไอซ์แลนด์ตะวันตกเฉียงเหนือ, มังกร (Dreki) ผู้พิทักษ์ตะวันออกเฉียงเหนือ และ ยักษ์ (Bergrisi) ผู้พิทักษ์ตะวันออกเฉียงใต้ ในอดีตไอซ์แลนด์ให้ความสำคัญกับผู้พิทักษ์ทั้งสี่จนถึงกับออกฎหมายระหว่างสมัยไวกิงห้ามมิให้เรือยาวไวกิง (Longship) ที่มีสัญลักษณ์หน้าตาดุร้าย (ส่วนใหญ่เป็นหัวมังกรบนหัวเรือ) เข้าใกล้ท่าเรือในไอซ์แลนด์ เพราะอาจจะเป็นสิ่งที่ทำให้ไม่เป็นที่พอใจของผู้พิทักษ.

ดู กริฟฟอนและตราแผ่นดินของไอซ์แลนด์

ปุ่มหิน

ปุ่มหินที่มหาวิหารเวลส์ ปุ่มหิน หรือ ปุ่มไม้ (Boss) ทางสถาปัตยกรรมหมายถึงปุ่มที่ยื่นออกมาซึ่งอาจจะทำด้วยหินหรือไม้ก็ได้ ปุ่มหินมิใช่ หินหลัก (Keystone) เพราะปุ่มหินใช้เป็นเครื่องตกแต่งเท่านั้นแต่หินหลักเป็นหินที่ใช้ยึดโครงสร้างเข้าด้วยกัน ตัวอย่างของปุ่มหินหรือปุ่มไม้ที่พบบ่อยคือบนเพดานสิ่งก่อสร้างโดยเฉพาะตรงที่สันเพดานโค้งตัดกัน ในสถาปัตยกรรมกอธิคปุ่มหินจะแกะสลักอย่างสวยงามเป็นใบไม้ ดอกไม้ ตราประจำตระกูล, พระเยซู, พระเจ้าแผ่นดิน, นักบุญ, นางฟ้าเทวดา หรือรูปตกแต่งอื่นๆ ซึ่งบางครั้งอาจจะเป็นสัตว์ นก หรือหน้าคนบางครั้งอาจจะเป็นรูปอัปลักษณ์ที่เรียกว่า Green Man ที่จะพบเห็นบ่อยๆ ทฤษฎีหนึ่งกล่าวว่าการใช้ปุ่มหินหรือปุ่มไม้ระหว่างจุดที่สันเพดานมาตัดกันก็เพื่อซ่อนรอยตำหนิระหว่างรอยต่อ เท็จจริงเท่าใดไม่มีการยืนยัน แต่ปุ่มกลายมาเป็นสิ่งประดับตกแต่งไปโดยปริยาย ปุ่มหินเป็นสิ่งสำคัญในการก่อสร้างในสมัยสถาปัตยกรรมคลาสสิก เมื่อตัดหินเป็นก้อนหยาบๆ ที่เหมืองหินช่างหินจะทิ้งปุ่มไว้อย่างน้อยด้านหนึ่งเพื่อจะได้สะดวกต่อการขนย้ายหินไปที่ที่ต้องการ เมื่อไปถึงปุ่มนี้ก็ยังช่วยให้การยกหินให้เข้าที่เข้าทางได้ง่ายขึ้น ตัวอย่างที่เห็นชัดคือที่วัดเซเกสตาที่ซิซิลี ที่ยังสร้างไม่เสร็จ ปุ่มเหล่านี้ยังเห็นได้ชัดโดยเฉพาะที่ฐานทำให้เราได้ศึกษาวิธีก่อสร้างของกรีก.

ดู กริฟฟอนและปุ่มหิน

นิยามของตรา

นิยามของตรา (Blazon) ในด้านการศึกษาทางด้านมุทราศาสตร์ และ ธัชวิทยา “Blazon” หรือ “นิยามของตรา” คือคำบรรยายอย่างเป็นทางการของลักษณะของตรา ที่ส่วนใหญ่เป็นการบรรยายตราอาร์ม หรือ ธง ที่สามารถทำให้ผู้สร้างสามารถสร้างตรา, ธง หรือ เครื่องหมายได้ตามความต้องการอย่างถูกต้อง ฉะนั้นรูปลักษณะและองค์ประกอบของตราอาร์ม หรือ ธงตามหลักแล้วไม่ใช่เป็นการบรรยายโดยการใช้รูป แต่จะเป็นการบรรยายโดยตัวอักษร (แต่ในสมัยปัจจุบัน จะมีการให้นิยามเพิ่มเติมและบรรยายอย่างเจาะจงกว่าที่เป็นมาด้วยรายละเอียดทางเรขาคณิต) “นิยามของตรา” ใช้ภาษาเฉพาะทางในการเขียนนิยามตั้งแต่หลักการวางตำแหน่งของคำบรรยาย การใช้คำกิริยา ไปจนถึงหลัก และลำดับการเขียนคำบรรยายของแต่ละส่วนที่ย่อยออกไป เช่นคำแรกที่พบในการบรรยายตราคือชื่อผิวตรา ที่หมายถึงสีหรือผิวของพื้นตรา เช่น “Azure...” ซึ่งหมายความว่า “ (พื้นตรา) น้ำเงิน” ผู้อ่านที่เข้าใจหลักไวยากรณ์ของการเขียนคำนิยามจะทราบว่า “Azure...” เป็นสีของพื้นตราโดยไม่ต้องมีคำว่า “Field” ที่แปลว่าพื้นตรานำหน้าคำว่า “Azure...” เพราะตำแหน่งการวางคำเป็นไปตามหลักไวยากรณ์ของการเขียนคำนิยาม นอกจากโครงสร้างการวางลำดับการบรรยายและการใช้ไวยากรณ์แล้ว นิยามของตราในมุทราศาสตร์ก็ยังใช้คำศัพท์ที่เป็นศัพท์เฉพาะกิจเช่นคำว่า “Charge” ที่หมายถึง “เครื่องหมาย” บน “พื้นตรา” (Field) หรือคำว่า “Attitude” ที่หมายถึง “ลักษณะการวางท่า” ของมนุษย์หรือสัตว์ที่ปรากฏบนตรา นอกจากตราอาร์ม หรือ ธง แล้ว “นิยามของตรา” ก็อาจจะใช้ในการบรรยายลักษณะของสิ่งอื่นๆ ด้วยเช่น ตรายศ (badge), แถบคำขวัญ (banner) และ ตราประทั.

ดู กริฟฟอนและนิยามของตรา

แท่นเทศน์ของโบสถ์ซันตันเดรอา

แท่นเทศน์ของโบสถ์ซันตันเดรอา (Pulpit of St.) เป็นงานประติมากรรมแท่นเทศน์ชิ้นเอกที่สร้างโดยโจวันนี ปีซาโน ประติมากรคนสำคัญชาวอิตาลี ในปี ค.ศ.

ดู กริฟฟอนและแท่นเทศน์ของโบสถ์ซันตันเดรอา

ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์

อานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ มีพระนามเต็มว่า ไดอานา ฟรานเซส (อังกฤษ: Diana Frances) สกุลเดิม สเปนเซอร์ (อังกฤษ: Spencer) ประสูติ 1 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู กริฟฟอนและไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์

เก็นโซซุยโคเด็น

ก็นโซซุยโคเด็น (ญี่ปุ่น: 幻想水滸伝, โรมะจิ: Gensou Suikoden, อังกฤษ: Suikoden) เป็นชื่อของเกมอาร์พีจีตระกูลหนึ่ง ผลิตโดยบริษัทโคนามิ โดยได้รับแรงบัลดาลใจมาจากวรรณกรรมจีนเรื่อง 108 ผู้กล้าหาญแห่งเขาเหลียงซาน มีเนื่อเรื่องเกี่ยวกับการรวบรวมผู้กล้ามาต่อสู้กับทรราชเพื่อกอบกู้บ้านเมือง จุดเด่นของเกม ได้แก่ ในเกมมีการผสมผสานเกมวางแผนการรบ, ตัวละครที่มีบทบาทสำคัญกว่า 108 ตัว, และผู้เล่นมีปราสาทของตัวเอง ซึ่งจะมีขนาดใหญ่ขึ้นเมื่อเรื่องดำเนินไปเรื่อ.

ดู กริฟฟอนและเก็นโซซุยโคเด็น

เทวสถานแห่งอันโตนินัสและฟาอัสตินา

ทวสถานแห่งอันโตนินัสและฟาอัสตินา (Temple of Antoninus and Faustina) เป็นเทวสถาน (Roman temple) โรมันโบราณที่ตั้งอยู่ในกรุงโรมภายในบริเวณที่เรียกว่าฟอรุมโรมัน (Roman Forum) บนถนนซาครา (Via Sacra) ตรงกันข้ามกับเรเจีย (Regia) เทวสถานแห่งอันโตนินัสและฟาอัสตินาสร้างในปี..

ดู กริฟฟอนและเทวสถานแห่งอันโตนินัสและฟาอัสตินา

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Griffin