สารบัญ
15 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2535กระสวยอวกาศกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีกระสวยอวกาศแอตแลนติสกระสวยอวกาศโคลัมเบียกระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลรายการภารกิจของกระสวยอวกาศสถานีอวกาศนานาชาติดาวคาโนปัสเอสทีเอส-100เอสทีเอส-13429 เมษายน7 พฤษภาคม
พ.ศ. 2535
ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์และพ.ศ. 2535
กระสวยอวกาศ
ลัมเบีย STS-1 พ.ศ. 2524 กระสวยอวกาศ (space shuttle) คือ เครื่องบินอวกาศของสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นโดยองค์การนาซ่า (NASA) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า Space Transportation System (STS) ผลิตโดยบริษัท North American Aviation ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของบริษัท Rockwell International สเปซชัทเทิลทะยานขึ้นเหมือนจรวดและไปโคจรรอบโลก มีปีกและตอนกลับสู่โลกจะร่อนลงตามรันเวย์ กระสวยอวกาศสามารถนำมาใช้ได้หลาย ๆ ครั้ง กระสวยอวกาศถูกออกแบบมาให้ใช้งานซ้ำได้ 100 ครั้ง หรือปฏิบัติการได้ 10 ปี โครงการถูกเริ่มขึ้นในท้ายยุค 60 หลังจากนั้นก็มีบทบาทสำคัญในปฏิบัติการที่ต้องใช้คนเข้าร่วมของนาซามาโดยตลอด ส่วนสำคัญของกระสวยอวกาศ เรียกว่า ออร์บิเตอร์ (orbiter หมายถึง ยานโคจร) จะพาลูกเรือและสัมภาระไปยังอวกาศในขณะที่จะส่งกระสวยอวกาศขึ้นไป กระสวยจะอยู่ที่ฐานส่งโดยจะตั้งชี้ขึ้นไปคล้ายจรวด ข้าง ๆ ออร์บิเตอร์จะมีแทงค์น้ำมันขนาดใหญ่ ซึ่งเรียกว่า แทงค์ด้านนอก (External Tank) ซึ่งมันจะเก็บออกซิเจนและไฮโดรเจนในขณะที่มันขึ้นเชื้อเพลิงเหล่านี้จะถูกสูบเข้าไปยังเครื่องยนต์หลัก 3 เครื่อง ของออร์บิเตอร์ นอกจากนี้ยังมีแทงค์ขนาดเล็กที่อยู่ข้าง ๆ ออร์บิเตอร์บนฐานส่งเพื่อให้แรงผลักดันพิเศษในขณะส่งกระสวยขึ้น ซึ่งเรียกว่า Solid Fuel Rocket Booster หรือ SRB ทำงานคล้ายกับจรวดดอกไม้ไฟขนาดใหญ่ เมื่อกระสวยอวกาศทะยานขึ้น หลังจากนั้นประมาณ 2 นาที เชื้อเพลิงในแทงค์เชื้อเพลิง SRB จะหมดลง และตกลงในทะเลกับร่มชูชีพ อัตราความเร็วของกระสวยค่อย ๆ เพิ่มขึ้นจนถึงความเร็วประมาณ 72 ไมล์ จากนั้นเครื่องยนต์หลักจึงหยุดทำงาน และถังเชื้อเพลิงภายนอกซึ่งว่างเปล่าจะถูกปล่อยตกลงสู่ทะเล เครื่องยนต์ของจรวดสองลำจะรับภาระต่อไป ซึ่งเรียกว่า ระบบการยักย้ายการโคจร ในระหว่างการโคจร เมื่อถึงเวลากลับสู่โลก เครื่องยนต์ระบบการยักย้ายการโคจรจะถูกยิงคล้ายกับตอนล่างของจรวด และยานจะหลุดออกจากการโคจร แล้วกลับลงมาสู่บรรยากาศโลกในอัตราความเร็ว 15,900 ไมล์ต่อชั่วโมง (หรือประมาณ 25,700 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) แผ่นกำบังความร้อนข้างใต้กระสวยอวกาศจะเปล่งแสงสีแดงจัดพร้อมกับความร้อนในการกลับเข้ามาสู่โลก แผ่นกระเบื้องพิเศษบนกระสวยอวกาศจะป้องกันลูกเรือและยานอวกาศออร์บิเตอร์จะช้าลงเมื่อเข้ามาถึงบริเวณส่วนล่างของบรรยากาศ จะร่อนลงบนพื้นดินบนรันเวย์ด้วยความเร็วประมาณ 210 ไมล์แล้วภารกิจก็จะจบลง.
ดู กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์และกระสวยอวกาศ
กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์
กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ (Shuttle Orbiter Challenger) รหัสประจำยานคือ OV-099 เป็นกระสวยอวกาศลำที่สองที่ใช้ปฏิบัติภารกิจในอวกาศขององค์การนาซ่า สร้างถัดจากกระสวยอวกาศโคลัมเบีย เริ่มปล่อยสู่อวกาศครั้งแรก(ภารกิจที่ STS-6) ในวันที่ 4 เมษายน..
ดู กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์และกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์
กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี
STS-92, พ.ศ. 2543 (ภาพจากองค์การนาซา) กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี (Orbiter Vehicle Designation: OV-103) เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 3 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-103 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ แอตแลนติส และ เอนเดฟเวอร์) เริ่มบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.
ดู กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์และกระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี
กระสวยอวกาศแอตแลนติส
STS-129 กระสวยอวกาศ แอตแลนติส (Orbiter Vehicle Designation OV-104) เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 4 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-104 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ ดิสคัฟเวอรี และ เอนเดฟเวอร์) กระสวยอวกาศแอตแลนติส ถูกตั้งชื่อตามเรือสำรวจหลักของสถาบันสมุทรศาสตร์ เริ่มทำการบินครั้งแรกในเที่ยวบิน STS-51-J วันที่ 19 มกราคม..
ดู กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์และกระสวยอวกาศแอตแลนติส
กระสวยอวกาศโคลัมเบีย
กระสวยอวกาศโคลัมเบีย (Orbiter Vehicle Designation: OV-102) เป็นกระสวยอวกาศลำแรกที่ใช้งานจริงของนาซา ซึ่งภารกิจแรกในเที่ยวบิน STS-1 เมื่อวันที่ 12 เมษายน ถึง 14 เมษายน ในปี พ.ศ.
ดู กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์และกระสวยอวกาศโคลัมเบีย
กระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์
การทดสอบการบินและลงจอดครั้งแรก เมื่อ ปี พ.ศ. 2520 (1977) กระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์ ปัจจุบันนำไปแสดงที่ Udvar-Hazy Center กระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์ (Orbiter Vehicle Designation: OV-101) เป็นกระสวยอวกาศต้นแบบขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-101 เอนเทอร์ไพรซ์ สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการทดสอบการบินของกระสวยอวกาศ ในโครงการนำขึ้น-ลงจอด (Approach and Landing Test:ALT) จนบินครบห้าครั้ง แต่เดิมนั้นทางนาซาตั้งใจจะปรับปรุงยานเอ็นเทอร์ไพรซ์ไปใช้ในเที่ยวบินโคจร ซึ่งจะทำให้มันเป็นกระสวยอวกาศลำที่สองที่ขึ้นบินหลังจากกระสวยอวกาศโคลัมเบีย แต่ระหว่างการก่อสร้างยานโคลัมเบีย มีการเปลี่ยนแปลงแบบครั้งสุดท้ายไปซึ่งมีส่วนสำคัญเกี่ยวกับน้ำหนักของลำตัวยานและส่วนของปีก การปรับปรุงยานเอ็นเทอร์ไพรซ์ให้บินได้จึงหมายถึงการจะต้องรื้อชิ้นส่วนยานโคจรออกและส่งกลับไปให้ผู้รับเหมาหลายรายในส่วนต่างๆ ของประเทศ เมื่องบทำท่าจะบานปลาย จึงมีการตัดสินใจทางเลือกอื่นโดยการสร้างกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ขึ้นครอบตัวโครงยาน (STA-099) ที่แต่เดิมเป็นอุปกรณ์ทดสอบ แล้วค่อยปรับปรุงยานเอ็นเทอร์ไพรซ์เพื่อใช้งานแทนยานชาเลนเจอร์หลังจากที่มันถูกทำลายไป ทว่าได้มีการสร้างกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ขึ้นมาจากโครงสร้างสำรองแทนที่อีกครั้ง นาซ่าได้ใช้กระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์เป็นกระสวยต้นแบบในการสร้างกระสวยอวกาศลำอื่นๆ ได้แก่ กระสวยอวกาศโคลัมเบีย กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี กระสวยอวกาศแอตแลนติส และกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ ปัจจุบันกระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์ได้ถูกนำไปแสดงที่ Steven F.
ดู กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์และกระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์
กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) คือ กล้องโทรทรรศน์ในวงโคจรของโลกที่กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีนำส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อเดือนเมษายน..
ดู กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์และกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
รายการภารกิจของกระสวยอวกาศ
รายการนี้เป็นข้อมูลของภารกิจการใช้งานของกระสวยอวกาศที่ถูกสร้างขึ้นมาจนมาถึงปี 2008.
ดู กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์และรายการภารกิจของกระสวยอวกาศ
สถานีอวกาศนานาชาติ
นีอวกาศนานาชาติ (International Space Station, ISS, Междунаро́дная косми́ческая ста́нция, МКС, Station spatiale internationale, SSI) เป็นห้องทดลองและสถานอำนวยความสะดวกสำหรับงานค้นคว้าวิจัยในระดับนานาชาติซึ่งถูกประกอบขึ้นในวงโคจรต่ำของโลก การก่อสร้างเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ปี..
ดู กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์และสถานีอวกาศนานาชาติ
ดาวคาโนปัส
--> ดาวคาโนปัส (Canopus) เป็นดาวฤกษ์ในกลุ่มดาวกระดูกงูเรือ เป็นดาวที่มีความสว่างปรากฏเป็นอันดับ 2 รองจากดาวซีรีอุสหรือดาวโจร อยู่ห่างจากโลก 312.73 ปีแสง.
ดู กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์และดาวคาโนปัส
เอสทีเอส-100
STS-100 เป็นภารกิจสเปซชัทเทิลไปยังสถานีอวกาศนานาชาติด้วยกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ STS-100 ติดตั้งแขนหุ่นยนต์ Canadarm2 ใน ISS.
ดู กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์และเอสทีเอส-100
เอสทีเอส-134
STS-134 เป็นภารกิจสุดท้ายของเที่ยวบินของกระสวยอวกาศนาซา เป็นภารกิจที่ 25 และเป็นเที่ยวบินอวกาศสุดท้ายของกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ เที่ยวบินนี้ส่งมอบให้อัลฟาแมกเนติกสเปกโตรมิเตอร และการขนส่งโลจิสติกเอ๊กซ์เพสย์ ไปยังสถานีอวกาศนานาชาต.
ดู กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์และเอสทีเอส-134
29 เมษายน
วันที่ 29 เมษายน เป็นวันที่ 119 ของปี (วันที่ 120 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 246 วันในปีนั้น.
ดู กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์และ29 เมษายน
7 พฤษภาคม
วันที่ 7 พฤษภาคม เป็นวันที่ 127 ของปี (วันที่ 128 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 238 วันในปีนั้น.