เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

ดัชนี กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

สารบัญ

  1. 862 ความสัมพันธ์: บ. บุญค้ำชมรมนิเทศศิลป์บรรจบ บรรณรุจิชวน หลีกภัยชะเอม แก้วคล้ายบัวเรศ คำทองชาญชัย ลิขิตจิตถะชิงชัย มงคลธรรมบุญลือ ประเสริฐโสภาบุญสม มาร์ตินบ้านเมืองฟ. ฮีแลร์พ.ศ. 2435พ.ศ. 2484พรรณชื่น รื่นศิริพรรณสิริ กุลนาถศิริพระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ)พระพุทธชินราชพระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัยพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)พระยาภิรมย์ภักดี (บุญรอด เศรษฐบุตร)พระยาศราภัยพิพัฒ (เลื่อน ศราภัยวานิช)พระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)พระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน)พระยานิพัทธ์กุลพงศ์ (ชิน บุนนาค)พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2530พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก พ.ศ. 2531พระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร)พระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)พระสาโรชรัตนนิมมานก์ (สาโรช สุขยางค์)พระอภัยมณีพระอารามหลวงพระอาจวิทยาคม (ยอร์ช บี. แมคฟาร์แลนด์)พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน)พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)พระคันธารราษฎร์พระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาสพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิปพะเยาว์ พัฒนพงศ์พารณ อิศรเสนา ณ อยุธยาพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครพิธีสำเร็จการศึกษาพุทธมณฑล... ขยายดัชนี (812 มากกว่า) »

บ. บุญค้ำ

ญสิงห์ บุญค้ำ ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย จังหวัดลานช้างและสหรัฐไทยเดิม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และบ. บุญค้ำ

ชมรมนิเทศศิลป์

มรมนิเทศศิลป โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Communication Arts Club of Triam Udom Suksa School - CACOTUSS) ก่อตั้งเมื่อ ปีการศึกษา 2546 เป็นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่อยู่ในหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ มีวัตถุประสงค์หลักคือ เพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ที่สนใจวิชาชีพหรือสนใจศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาในคณะนิเทศศาสตร์ วารสารศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ ซึ่งมีเนื้อหาวิชา สอดคล้องกับกิจกรรมของชมรมโดยตรง หรือคณะอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกันเช่น คณะอักษรศาสตร์(ภาควิชาศิลปการละคร) และคณะศิลปศาสตร์ เป็นต้น ให้นักเรียนเหล่านั้นได้สัมผัสกับการทำงานจริงหรือใกล้เคียงมากที่สุด เพื่อให้นักเรียนมีประสบการณ์ในการทำงานในสาขาวิชาชีพนั้น ก่อนที่จะเข้าไป ศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และชมรมนิเทศศิลป์

บรรจบ บรรณรุจิ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ร้อยโท ดร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และบรรจบ บรรณรุจิ

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และชวน หลีกภัย

ชะเอม แก้วคล้าย

'''อาจารย์ชะเอม แก้วคล้าย''' ผู้เชี่ยวชาญด้านจารึกและภาษาบาลีสันสกฤต นายชะเอม แก้วคล้าย (20 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และชะเอม แก้วคล้าย

บัวเรศ คำทอง

ตราจารย์กิตติคุณ บัวเรศ คำทอง (21 สิงหาคม พ.ศ. 2453 - 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และบัวเรศ คำทอง

ชาญชัย ลิขิตจิตถะ

นายชาญชัย ลิขิตจิตถะ (25 เมษายน พ.ศ. 2489 - 18 มกราคม พ.ศ. 2560) อดีตองคมนตรี อดีตประธานศาลฎีกา และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตผู้พิพากษาอาวุโส ชาญชัย เป็นผู้มีบทบาทในการแก้ไขวิกฤตการเมือง อันเนื่องจากการเลือกตั้งวันที่ 2 เมษายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และชาญชัย ลิขิตจิตถะ

ชิงชัย มงคลธรรม

นายชิงชัย มงคลธรรม หัวหน้าพรรคความหวังใหม่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และชิงชัย มงคลธรรม

บุญลือ ประเสริฐโสภา

ญลือ ประเสริฐโสภา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี 3 สมั.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และบุญลือ ประเสริฐโสภา

บุญสม มาร์ติน

ตราจารย์ นายแพทย์ บุญสม มาร์ติน (19 กันยายน พ.ศ. 2465 - 9 มิถุนายน พ.ศ. 2551) แพทย์ชาวไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุข เป็นผู้บุกเบิกการเรียนการสอนวิชาพลศึกษา ได้รับการยกย่องเป็น “บิดาของการพลศึกษาแผนใหม่ของไทย”.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และบุญสม มาร์ติน

บ้านเมือง

้านเมือง เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย เสนอข่าวทั่วไป มีรูปนกคาบข่าวอยู่บนตัวหนังสือ บ้านเมือง สีแดงเป็นสัญลักษณ์ ปัจจุบันบ้านเมือง ได้ยุติการผลิตและจำหน่ายหนังสือพิมพ์ไปแล้ว โดยฉบับสุดท้ายคือฉบับวันที่ 31 ธันวาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และบ้านเมือง

ฟ. ฮีแลร์

ฟร็องซัว ตูเวอแน อีแลร์ (François Touvenet Hilaire) หรือที่รู้จักในนาม ฟ.ฮีแลร์ (F. Hilaire) หรือ เจษฎาจารย์ฮีแลร์ (18 มกราคม 2424 – 3 ตุลาคม 2511) เป็นนักบวชคณะภราดาเซนต์คาเบรียล เจ้าของสมญานาม "ปราชญ์แห่งอัสสัมชัญ" ได้รับการยกย่องในด้านความแตกฉานภาษาไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากท่านเป็นชาวฝรั่งเศสมาแต่กำเนิด จนเมื่อได้มาอยู่ที่ประเทศไทย ท่านก็ศึกษาภาษาไทยจนแตกฉานและสามารถแต่งหนังสือเรียนภาษาไทยให้เด็กไทยเรียนได้ นามว่า "ดรุณศึกษา" ท่าน ฟ.ฮีแลร์ เป็นหนึ่งในสองบุคคลที่สำคัญที่สุดของโรงเรียนอัสสัมชัญ ร่วมกับ คุณพ่อกอลมเบต์ ปัจจุบัน ณ โรงเรียนอัสสัมชัญ ได้มีการสร้างอนุสาวรีย์ และสร้างอาคารโดยใช้ชื่อตามภราดา ฟ.ฮีแลร์ เพื่อเป็นการรำลึกถึงคุณงามความดีของท่านทั้งต่อโรงเรียนและต่อประเทศชาติ คำว่า ฟ.ฮีแลร์ เป็นศาสนนามของภราดาฟร็องซัว ตูเวอแน โดย ฟ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และฟ. ฮีแลร์

พ.ศ. 2435

ทธศักราช 2435 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1892 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2435

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2484

พรรณชื่น รื่นศิริ

ณหญิง พรรณชื่น รื่นศิริ (7 เมษายน พ.ศ. 2472 — 4 ตุลาคม พ.ศ. 2551) อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) และประธานมูลนิธิคุณหญิงพรรณชื่น รื่นศิร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพรรณชื่น รื่นศิริ

พรรณสิริ กุลนาถศิริ

ร.พรรณสิริ กุลนาถศิริ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุโขทัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นน้องสาวของนายสมศักดิ์ เทพสุทิน แกนนำกลุ่มมัชฌิมา พรรคภูมิใจไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพรรณสิริ กุลนาถศิริ

พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ)

อำมาตย์โท ดร.พระช่วงเกษตรศิลปการ (20 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 - 1 มกราคม พ.ศ. 2531) เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการในสมัยรัฐบาลจอมพล ป.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ)

พระพุทธชินราช

ระพุทธชินราช ประดิษฐานอยู่ ณ วิหารด้านตะวันตกในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระพุทธชินราช

พระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัย

ระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัย เป็นพระพุทธรูปสำคัญของประเทศองค์หนึ่ง ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระพุทธบุษยรัตน์จักรพรรดิพิมลมณีมัย

พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร

ระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือ พระแก้วมรกต เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของประเทศไทย ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม (หรือ วัดพระแก้ว) ในพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระแก้วมรกตเป็นพระพุทธรูปที่แกะสลักจากหยกอ่อนเนไฟรต์สีเขียวดังมรกต เป็นพระพุทธรูปสกุลศิลปะก่อนเชียงแสนถึงศิลปะเชียงแสน หลักฐานที่ตรงกันระบุว่าพบครั้งแรก ประดิษฐานอยู่ในเจดีย์วัดป่าญะ ตำบลเวียง เมืองเชียงราย (ปัจจุบันคือวัดพระแก้ว เชียงราย อำเภอเมืองเชียงราย) ในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร

พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระพุทธเลิศหล้านภาลัย

ระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก และ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นพระนามของพระพุทธรูปปางห้ามสมุทรขนาดใหญ่สององค์ ในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระพุทธเลิศหล้านภาลัย

พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา) (19 ธันวาคม พ.ศ. 2429 - 28 ธันวาคม พ.ศ. 2518) ผู้บัญชาการ (อธิการบดี) คนที่ 2 แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ดูแลนักเรียนไทยในประเทศอังกฤษ ปลัดเทศบาลนครกรุงเทพคนแรก เทศมนตรีและสมาชิกว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)

พระยาภิรมย์ภักดี (บุญรอด เศรษฐบุตร)

ระยาภิรมย์ภักดี นามเดิม บุญรอด เศรษฐบุตร เป็นบุตรของพระภิรมย์ภักดี (ชม เศรษฐบุตร) กับนางมา เศรษฐบุตร เกิดเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระยาภิรมย์ภักดี (บุญรอด เศรษฐบุตร)

พระยาศราภัยพิพัฒ (เลื่อน ศราภัยวานิช)

นาวาเอก พระยาศราภัยพิพัฒ (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2432 - 21 กันยายน พ.ศ. 2511) นักหนังสือพิมพ์ อดีตปลัดทูลฉลอง กระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และวุฒิสมาชิก พระยาศราภัยพิพัฒ มีชื่อจริงว่า เลื่อน ศราภัยวานิช สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญรุ่นเดียวกับพระยาอนุมานราชธน และไปศึกษาต่อด้านสื่อสารมวลชน จาก School of Journalism เมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย สมรสกับ หม่อมหลวงฉลอง ศราภัยวานิช พระยาศราภัยพิพัฒ ได้รับราชการเป็นนายเวรวิเศษ เลขาประจำตัวของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ ตำแหน่งสุดท้ายเป็นเจ้ากรมเสมียนตรา และปลัดทูลฉลอง กระทรวงกลาโหม ถูกปลดออกจากราชการหลังการปฏิวัติ พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระยาศราภัยพิพัฒ (เลื่อน ศราภัยวานิช)

พระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (12 มีนาคม พ.ศ. 2423 – 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491) นักการศึกษา ผู้บัญชาการ (อธิการบดี) คนแรกของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (6 เมษายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

พระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน) (27 มิถุนายน พ.ศ. 2433 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2517) อดีตปลัดทูลฉลอง กระทรวงศึกษาธิการ ผู้บังคับการโรงเรียนมหาดเล็กหลวง เชียงใหม่ รักษาการณ์ผู้บังคับการโรงเรียนราชวิทยาลัย เจ้ากรมโรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์ในสมัยรัชกาลที่๖ อดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย อดีตนายกสมาคมหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เป็นบิดาของนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรีของไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน)

พระยานิพัทธ์กุลพงศ์ (ชิน บุนนาค)

ระยานิพัทธ์กุลพงศ์ (ชิน บุนนาค) อำมาตย์เอก พระยานิพัทธ์กุลพงศ์ (ชิน บุนนาค) เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2423 เป็นบุตรของพระยาประภากรวงศ์วรวุฒิภักดี (ชาย) กับ มารดาชื่อ ชื่น มีพี่น้องร่วมบิดามารดาคือ หลวงประสิทธิราชศักดิ์ (ไชย บุนนาค) นายร้อยเอก กรมจเร ทหารม้า ทางด้านชีวิตครอบครัวมีบุตรธิดา 7 คน โดยบุตรที่เกิดกับคุณหญิงเปลื้อง ได้แก่ ชับ โชน และหม่อมปริม บุนนาค หม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล และ มีบุตรธิดาที่เกิดกับคุณหญิงเทียบ (ธิดานายจ่าง บุนนาค) ได้แก่ ชินเล็ก และกุลพันธ์ ด้านการศึกษาเข้าศึกษาที่โรงเรียนวัดพิชยญาติการาม และโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบและโรงเรียนเทพศิรินทร์ เป็นนักเรียนทุนเล่าเรียนหลวงคนที่ 2 ของโรงเรียนต่อจากนายพุ่ม สาคร เมื่อปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระยานิพัทธ์กุลพงศ์ (ชิน บุนนาค)

พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)

ระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) (28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2414 — 30 เมษายน พ.ศ. 2479) เป็นอดีตข้าราชการไทยสังกัดกระทรวงมหาดไทย ผู้ดำรงตำแหน่งเป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า มีชื่อเสียงจากความรอบรู้ในประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา และการเป็นผู้บุกเบิกการค้นคว้าทางโบราณคดีที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์กรุงศรีอ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)

พระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539

ระราชพิธีกาญจนาภิเษก (Golden Jubilee) เป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองในวโรกาสที่พระมหากษัตริย์ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ตามคติสากล พระราชพิธีนี้จัดขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระราชพิธีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539

พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2530

ระวังสับสนกับ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 12 สิงหาคม 2535 พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2530 เป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้นเพื่อเป็นการแสดงออกถึงความจงรักภักดีและความปีติยินดี ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเจริญพระชนมายุครบ 5 รอบ ในวันที่ 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2530 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีหมายกำหนดการจัดงานพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ ในระหว่าง วันที่ 4-7 ธันวาคม พุทธศักราช 2530 รวมทั้งสิ้น 4 วัน รัฐบาลสมัยพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ และประชาชนชาวไทยร่วมกันจัดพระราชพิธีนี้ขึ้น ดังปรากฏเป็นเหตุการณ์ดังต่อไปนี้.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2530

พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554

ระวังสับสนกับ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม 2559 พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 (Celebration on the Auspicious Occasion of His Majesty the King's 7th Cycle Birthday Anniversary, 5th December 2011) เป็นชื่องานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชในโอกาสที่มีพระชนมายุครบ 7 รอบ แปดสิบสี่พรรษาใน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554

พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก พ.ศ. 2531

การทรงบำเพ็ญพระราชกุศลทักษิณานุประทาน ถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ในรัชกาลที่ 9 เป็นพระราชพิธีที่จัดขึ้น เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองเนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงครองสิริราชสมบัติยาวนานยิ่งกว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ไทยที่เคยทรงครองราชย์ยาวนานที่สุด นับตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก พ.ศ. 2531

พระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร)

ระราชสุทธิโสภณ พระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร) (นามเดิม:ประทวน เส็งจีน) เจ้าคณะจังหวัดชัยนาท และเจ้าอาวาสวัดปากคลองมะขามเฒ่ารูปปัจจุบัน ท่านเกิดเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระราชสุทธิโสภณ (ประทวน ปภากโร)

พระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)

ระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป พระสารประเสริฐ นามเดิม ตรี นาคะประทีป (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2432 - 4 มิถุนายน พ.ศ. 2488) ผู้เชี่ยวชาญวิชาอักษรศาสตร์ภาษาไทย ผู้ร่วมแปลและถ่ายหนังสือหิโตปเทศจากภาษาอังกฤษร่วมกับพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) และได้ร่วมงานกันต่อเนื่องมาเป็นเวลานานและใช้นามปากกาที่มีชื่อเสียงร่วมกันคือ “เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป”.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)

พระสาโรชรัตนนิมมานก์ (สาโรช สุขยางค์)

ระสาโรชรัตนนิมมานก์ (สาโรช สุขยางค์) (ถึงแก่กรรม 4 เมษายน พ.ศ. 2493) เป็นสถาปนิกชาวไทย อดีตรองอธิบดีกรมศิลปากร พระสาโรชฯ ถือเป็นหนึ่งในนักเรียนสถาปัตกรรมรุ่นแรกๆ ของไทยที่จบการศึกษาจากประเทศอังกฤษ แล้วกลับเข้ามาออกแบบงานสถาปัตยกรรมในประเทศไทยหลายแห่ง ในช่วงตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 7 ถึงหลังยุคการปฏิวัติสยาม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระสาโรชรัตนนิมมานก์ (สาโรช สุขยางค์)

พระอภัยมณี

ระอภัยมณี เป็นวรรณคดีชิ้นเยี่ยมเรื่องหนึ่งของไทย ผลงานชิ้นเอกของพระสุนทรโวหาร หรือสุนทรภู่ กวีเอกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประพันธ์ขึ้นเป็นนิทานคำกลอนที่มีความยาวมากถึง 94 เล่มสมุดไทย เมื่อพิมพ์เป็นเล่มหนังสือ จะมีความยาวกว่าหนึ่งพันสองร้อยหน้า ระยะเวลาในการประพันธ์ไม่มีการระบุไว้อย่างแน่ชัด แต่คาดว่าสุนทรภู่เริ่มประพันธ์ราวปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระอภัยมณี

พระอารามหลวง

ระอารามหลวง หรือ วัดหลวง คือ วัดที่พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ทรงสร้างหรือทรงบูรณปฏิสังขรณ์ หรือมีผู้สร้างน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นวัดหลวง และวัดที่ราษฎรสร้าง หรือบูรณปฏิสังขรณ์ แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าจำนวนในบัญชีเป็นพระอารามหลวง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระอารามหลวง

พระอาจวิทยาคม (ยอร์ช บี. แมคฟาร์แลนด์)

ระอาจวิทยาคม (ยอร์ช บี. แมคฟาร์แลนด์) แพทย์ใหญ่ศิริราชพยาบาลคนแรก เมื่อ พ.ศ. 2435 พระอาจวิทยาคม (ยอร์ช บรัดเลย แมคฟาร์แลนด์; อังกฤษ: George Bradley McFarland) 1 ธันวาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระอาจวิทยาคม (ยอร์ช บี. แมคฟาร์แลนด์)

พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน)

ระธรรมวิสุทธิมงคล นามเดิม บัว โลหิตดี ฉายา ญาณสมฺปนฺโน หรือที่นิยมเรียกกันว่า หลวงตามหาบัว หรือ หลวงตาบัว (12 สิงหาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน)

พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)

ระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปญฺโญ) หรือรู้จักในนาม พุทธทาสภิกขุ (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2536) เป็นชาวอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เกิดเมื่อปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)

พระคันธารราษฎร์

ระคันธารราษฎร์ หรือ พระขอฝน เป็นพระพุทธรูปสำคัญของประเทศองค์หนึ่ง เดิมประดิษฐาน ณ หอพระคันธารราษฎร์ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ปัจจุบันประดิษฐาน ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระคันธารราษฎร์

พระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร)

ระเจนดุริยางค์ (ปีติ วาทยะกร) (มักเขียนเป็น "ปิติ") ชื่อเดิม ปีเตอร์ ไฟท์ (Peter Feit - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2426 - 25 ธันวาคม พ.ศ. 2511) บุคคลสำคัญในวงการดนตรีของประเทศไทย ผู้ริเริ่มการบันทึกเพลงไทยเดิมด้วยโน้ตสากลโดยเทียบเสียงให้ตรงกับเครื่องดนตรีไทยทุกชิ้น เรียกว่า เพลงไทยประสานเสียง (Thai Music Harmony) ของ กรมศิลปากร เป็นอาจารย์วิชาดนตรีผู้ทุ่มเทสนับสนุนศิษย์เอก ครูเอื้อ สุนทรสนาน และ ครูชลหมู่ ชลานุเคราะห์ (นักเชลโล่,ผู้เรียบเรียงและอำนวยเพลงวงดุริยางค์สากลกรมศิลปากร) ครูประสาน สุทัศน์ ณ อยุธยา (นัก Cello, Double Bass และผู้เรียบเรียงเสียงประสานแห่งวงดุริยางค์สากลกรมศิลปากร) รวมทั้งเป็นผู้วางรากฐานวงดุริยางค์ทหารอากาศ และ วงดุริยางค์ตำรว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร)

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าวรวรรณากร เป็นพระบิดาแห่งการละครร้อง เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาเขียน ทรง เป็นกวีและนักประพันธ์ ทรงเข้ารับราชการในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงตำแหน่งรองเสนาบดี กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ทรงเป็นต้นราชสกุลวรวรรณ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส

มหาอำมาตย์ตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส พระนามเดิม พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 51 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาโหมด เมื่อวันอังคาร เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปีวอกฉศก..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป

กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป อยู่แถวหลังองค์ที่ ๗ ข้าราชการพลเรือนชั้นที่ 2 ระดับเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าไชยานุชิต พระราชโอรสพระองค์ที่ 55 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเที่ยง โดยประสูติเมื่อวันอังคาร เดือน 9 แรม 6 ค่ำ ปีระกาตรีศก..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป

พะเยาว์ พัฒนพงศ์

อาจารย์พะเยาว์ พัฒนพงศ์ (เยาว์) เป็นนักพูด วิทยากร และผู้บรรยายให้ความรู้การอบรมด้านการพูดที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย thumb.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพะเยาว์ พัฒนพงศ์

พารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา

รณ อิศรเสนา ณ อยุธยา กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ อดีตวุฒิสมาชิกและสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตประธานกรรมการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

ัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร เป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บริเวณพระราชวังบวรสถานมงคล หรือส่วนหนึ่งของที่ประทับวังหน้า ซึ่งก็คือพื้นที่พระราชวังของสมเด็จพระบวรราชเจ้าตั้งแต่รัชกาลที่ 1 เป็นต้นมา มีอาณาเขตตั้งแต่บริเวณมหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มณฑลพิธีท้องสนามหลวงตอนตะวันตก อนุสาวรีย์ทหารอาสา และโรงละครแห่งชาติในปัจจุบัน ภายในพิพิธภัณฑ์ประกอบด้วยหมู่พระที่นั่งต่าง ๆ ได้แก่ พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ พระที่นั่งอิศราวินิจฉัย หมู่พระวิมาน พระที่นั่งอิศเรศราชานุสรณ์ อาคารประพาสพิพิธภัณฑ์ และ อาคารมหาสุรสิงหนาท เดิมพิพิธภัณฑ์ตั้งอยู่ในพระบรมมหาราชวัง ที่หอคองคอเดีย (ศาลาสหทัยสมาคม ในปัจจุบัน) เรียกว่า "มิวเซียม" หรือ "พิพิธภัณฑสถานหอคองคอเดีย" โดยมีพิธีเปิดเมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

พิธีสำเร็จการศึกษา

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานปริญญาบัตร แก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีประจำปีการศึกษา 2520 ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีสำเร็จการศึกษา (graduation ceremony) เป็นพิธีการพิเศษซึ่งสถาบันอุดมศึกษาจัดขึ้นเพื่อมอบปริญญาบัตรแก่บัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษาประจำปีอย่างเป็นทางการ โดยเริ่มจัดให้มีขึ้นในต่างประเทศมาก่อน เช่นสหรัฐอเมริกาหรือหลายประเทศในทวีปยุโรป ต่อมาประเทศไทยจึงเริ่มรับเอาประเพณีดังกล่าวเข้ามา โดยกราบบังคมทูลเชิญพระมหากษัตริย์ เพื่อเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน จึงบัญญัติศัพท์ให้เรียกว่า พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ทั้งนี้ตั้งแต..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพิธีสำเร็จการศึกษา

พุทธมณฑล

ทธมณฑล (อังกฤษ: Buddha Monthon)เป็นสถานที่สำคัญทางพุทธศาสนา อยู่ใน ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม มีเนื้อที่ 2,500 ไร่ สร้างขึ้นเพื่อฉลองวาระกึ่งพุทธกาล เมื่อ พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพุทธมณฑล

พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา

ตราจารย์ ท่านผู้หญิง พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ไกรยง) (12 ตุลาคม พ.ศ. 2453 - 23 ตุลาคม พ.ศ. 2558) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เกิดในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรีของนายฮันส์ ไกรเยอร์ นักธุรกิจชาวเยอรมันและนางเจียม ไกรยง ข้าหลวงในพระราชวังสวนสุนันทา ขณะอายุ 3 ปีครึ่ง บิดามารดาได้นำไปถวายตัวกับสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง ได้รับพระราชทานชื่อ “พูนทรัพย์” แต่เนื่องจากยังเล็กมาก จึงทรงฝากให้สมเด็จเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ทรงเลี้ยงดูไปก่อน โดยโปรดให้นอนหน้าพระแท่นบรรทม จากนั้นได้เจริญวัยอยู่ในพระราชวังพญาไท เป็นเวลานานถึง 20 ปี และด้วยการอุปการะเลี้ยงดูอย่างดี ทำให้ท่านเป็นผู้ที่มีกิริยาวาจา เรียบร้อย สง่างาม ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ มีแววเฉลียวฉลาดตั้งแต่วัยเด็ก สมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร จึงทรงสนับสนุนให้ได้เรียนที่โรงเรียนราชินี เมื่อจบการศึกษาแล้ว ได้เข้าเรียนต่อในคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยสำเร็จเป็นอักษรศาสตร์บัณฑิตรุ่นแรก และได้รับราชการในสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ต่อมาได้รับทุนบาเบอร์ประเทศสหรัฐอเมริกาไปศึกษาต่อด้านจิตวิทยาการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน แล้วจึงโอนมารับราชการเป็นอาจารย์ประจำที่ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นอกจากนี้แล้วยังเป็นผู้ก่อตั้งทุนธนชาต และธนาคารนครหลวงไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน

ห้องประชุมภายในราชบัณฑิตยสถาน (ที่ทำการเดิม) หลังการประชุมชำระพจนานุกรม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เป็นพจนานุกรมอธิบายศัพท์ภาษาไทยที่ราชบัณฑิตยสภา (หรือราชบัณฑิตยสถานเดิม) จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการเขียนหนังสือไทยให้เป็นระเบียบเดียวกัน ไม่ลักลั่น โดยมีการปรับปรุงแก้ไขตามลำดับเรื่อยมา เมื่อราชบัณฑิตยสภาจัดพิมพ์พจนานุกรมรุ่นหนึ่ง ๆ แล้วเสร็จ จะเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ออก ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ระเบียบการใช้ตัวสะกด ให้หนังสือราชการและการศึกษาเล่าเรียนใช้ตัวสะกดตามพจนานุกรมรุ่นนั้น ๆ เสมอไป.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน

กบฏนายสิบ

กบฏนายสิบ เป็นแผนที่จะเกิดขึ้นในเวลา 03.00 น. วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2478 หลังการสละราชสมบัติของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7) แ้ล้ว และเสด็จไปประทับยังประเทศอังกฤษ เมื่อนายทหารชั้นประทวนในกองพันต่าง ๆ นำโดย สิบเอกสวัสดิ์ มหะมัด ได้รวมตัวกันก่อการเพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยหมายจะสังหารนายทหารและบุคคลสำคัญต่าง ๆ ในกองทัพบกและรัฐบาลหลายคน โดยเฉพาะหลวงประดิษฐมนูธรรม (นายปรีดี พนมยงค์) ให้จับตายเท่านั้น และเมื่อลงมือจริงต้องสามารถจับ พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรี และ พันโทหลวงพิบูลสงคราม (จอมพลป.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และกบฏนายสิบ

กรมพลศึกษา

กรมพลศึกษา (Department of Physical Education) เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และกรมพลศึกษา

กรมการศาสนา

กรมการศาสนา (Department of Religious Affairs) เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม มีหน้าที่การดำเนินงานของรัฐด้านศาสนา โดยการทำนุบำรุงส่งเสริมและให้ความอุปถัมภ์คุ้มครองกิจการศาสนาพุทธและศาสนาอื่นๆ ที่ทางราชการรับรอง (ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาซิกข์) ตลอดจนส่งเสริมพัฒนาความรู้คู่คุณธรรม ส่งเสริมความเข้าใจอันดี และสร้างความสมานฉันท์ระหว่างศาสนิกชนของทุกศาสนา รวมทั้งดำเนินการเพื่อให้คนไทยนำหลักธรรมของศาสนามาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้เป็นคนดีมีคุณธรรม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และกรมการศาสนา

กรมศิลปากร

กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งมีภารกิจคุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ จัดการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาต.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และกรมศิลปากร

กรมสามัญศึกษา

กรมสามัญศึกษา (อังกฤษ: Department of General Education) เป็นส่วนราชการระดับกรม ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2459 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีหน้าที่จัดการศึกษาสามัญ ปัจจุบันถูกยุบรวมเข้ากับสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (สปช.) เป็น สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และกรมสามัญศึกษา

กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงวัฒนธรรม (Ministry of Culture) เป็นกระทรวงที่มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับวัฒนธรรม ภาษา ศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณีอื่น.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และกระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)

กระทรวงสาธารณสุข (Ministry of Public Health) เป็นหน่วยงานราชการไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพอนามัย การป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคภัย การฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชน และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุขหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขปัจจุบันตั้งอยู่ที่ ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และกระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)

กระทรวงในประเทศไทย

กระทรวงในประเทศไทย เป็นหน่วยงานของรัฐบาลไทย จัดตั้งขึ้นโดยการตราพระราชบัญญัติ ปัจจุบันมีกระทรวงหรือเทียบเท่าจำนวนทั้งสิ้น 20 กระทรวง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และกระทรวงในประเทศไทย

กรณ์ จาติกวณิช

กรณ์ จาติกวณิช (เกิด: 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507) เป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เนื่องจากรูปร่างที่สูงถึง 193 เซนติเมตร ทำให้ได้สมญานามจากสื่อมวลชนว่า "หล่อโย่ง" ซึ่งตั้งให้เข้าชุดกับอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่มีสมญานาม "หล่อใหญ่" และสมาชิกพรรครุ่นใหม่คนอื่นๆ เช่น อภิรักษ์ โกษะโยธิน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่ได้รับสมญานามว่า "หล่อเล็ก" และหม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล ที่ได้รับสมญานามว่า "หล่อจิ๋ว" ต้นปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และกรณ์ จาติกวณิช

กฤษณพงศ์ กีรติกร

กฤษณพงศ์ กีรติกร (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2489-) ประธานกรรมการในคณะกรรมการนโยบายกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประธานกรรมการคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์นายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประธานกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อดีตที่ปรึกษาโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) กรรมการกฤษฎีกา กรรมการในคณะกรรมการควบคุมมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และกฤษณพงศ์ กีรติกร

กฤษณ์ สีวะรา

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก กฤษณ์ สีวะรา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ผู้บัญชาการทหารบกคนที่ 19 ของไทย อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในเหตุการณ์ 14 ตุลา ในฐานะ ผู้อำนวยการรักษาความสงบ ภายหลังการลาออกจากทุกตำแหน่งและเดินทางออกนอกประเทศ ของจอมพล ถนอม กิตติขจร จอมพลประภาส จารุเสถียร พันเอกณรงค์ กิตติขจร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และกฤษณ์ สีวะรา

กลุ่มโรงเรียนบดินทรเดชา

ระเกี้ยว เครื่องหมายโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี),โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒,โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๔, โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) นนทบุรี, โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมุทรปราการ และมงกุฎขัตติยราชนารี เครื่องหมายโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา) กลุ่มโรงเรียนบดินทรเดชา หรือ โรงเรียนในเครือบดินทรเดชา เป็นกลุ่มโรงเรียนที่ใช้นามโรงเรียนว่า "บดินทรเดชา" อันมาจากราชทินนามของเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ประกอบด้วยโรงเรียนทั้งสิ้น 6 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี), โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒, โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา, โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๔, โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) นนทบุรี และโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมุทรปราการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) เริ่มมีโครงการจัดตั้งโรงเรียนสาขาขึ้นสืบเนื่องจากความประสงค์ของนักเรียนในโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) เพิ่มขึ้น คุณหญิงลักขณา แสงสนิท ผู้อำนวยการโรงเรียนในขณะนั้น จึงดำริสถาปนาโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ ขึ้นในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และกลุ่มโรงเรียนบดินทรเดชา

กลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย

รงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เป็นกลุ่มโรงเรียนวิทยาศาสตร์ที่จัดตั้งขึ้นจากวัตถุประสงค์ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สัมพันธ์ ทองสมัคร เพื่อสนองพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ที่ทรงมุ่งมั่นจะส่งเสริมคุณภาพชีวิต ในด้านความเป็นอยู่และการศึกษาของเยาวชน ปัจจุบันเป็นโรงเรียนที่อยู่ในแผนและยุทธศาสตร์ สำหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์ โดยจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนส่งเสริมให้เด็กคิดเป็น และกล้าลงมือทำ โดยโรงเรียนจะสนับสนุนทั้งด้านอุปกรณ์การเรียนการสอน อุปกรณ์ในห้องทดลองที่มีครบถ้วนและเพียงพอต่อความต้องการของเด็ก ในการศึกษาคนคว้าส่งที่ตนเองสนใจได้เอง โดยมีอาจารย์ที่มีความรู้ความสามารถ คอยให้คำปรึกษาและสนับสนุนให้เด็กแสดงศักยภาพของตนได้อย่างเต็มที.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และกลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย

กลุ่มโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์

รงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนสถานศึกษาระดับมัธยมขนาดใหญ่ทั่วทุกภูมิภาคในประเทศไทยในปี 2538 และเพื่อเฉลิมพระเกียรติและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีเนื่องในวาระเสด็จสวรรคต ฯพณฯ สุขวิช รังสิตพล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการให้ความเห็นชอบในการจัดตั้งโรงเรียนขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ทั่วทุกภูมิภาคในประเทศไทย โดยประกาศจัดตั้งโรงเรียนเมื่อ 25 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และกลุ่มโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์

กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา

ณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา กรรมการกฤษฎีกาอดีตเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อธิบดีกรมสามัญศึกษาคนสุดท้าย เลขาธิการคณะกรรมการการประถมศึกษา (กปช.) ที่ปรึกษาโครงการตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และตำแหน่งอื่นๆ อีกหลายตำแหน่งในกระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา

กองทัพบกไทย

กองทัพบกไทย (คำย่อ: ทบ.; Royal Thai Army) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และกองทัพบกไทย

การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551

การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไต..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551

การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

ระบบการรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย (เรียกสั้น ๆ ว่า ระบบคัดเลือกเข้าอุดมศึกษา) เป็นระบบการรับสมัครบุคคลที่จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ระบบคัดเลือกเข้าอุดมศึกษามีการพัฒนามาตั้งแต่ปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และการรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

การประชุมแพทยศาสตร์ศึกษาแห่งชาติ

การประชุมแพทยศาสตรศึกษาแห่งชาติ (National Medical Education Forum) ย่อว. จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2499 วัตถุประสงค์เพื่อกำหนดทิศทางการผลิตบัณฑิตแพทย์จากสถาบันต่าง ๆ ในขณะนั้นให้ตรงตามความต้องการของประเทศ และสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ผู้เข้าประชุมประกอบด้วยตัวแทนจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข ทบวงมหาวิทยาลัย กระทรวงศึกษาธิการ (ขณะนั้นยังแยกกันอยู่) สถาบันผลิตแพทย์ และผู้มีส่วนได้เสี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และการประชุมแพทยศาสตร์ศึกษาแห่งชาติ

กิตติ กาญจนสถิตย์

กิตติ กาญจนสถิตย์ เจ้าของฉายา กิตติ กีตาร์ปืน นักกีตาร์ร็อก อดีตหัวหน้าวงคาไลโดสโคป ซึ่งมีเอกลักษณ์คือ ใช้กีตาร์ไฟฟ้าที่สั่งผลิตพิเศษเป็นรูปปืน กิตติเป็นนักกีต้าร์แนวร็อคเคยมีผลงานโซโลอัลบั้มของตนเอง นอกจากนี้ยังได้ก่อตั้งโรงเรียนสอนดนตรีโดยมีเพื่อนฝูงในวงการให้การสนับสนุน กิตติยังคงเล่นดนตรีแนวร็อคที่ตนเองชอบอยู่ที่พัทยาใต้.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และกิตติ กาญจนสถิตย์

กนิษฐ์ สารสิน

กนิษฐ์ สารสิน เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2507 เป็นพิธีกร, นักแสดงชาวไทย ชาวกรุงเทพมหานคร มีชื่อเสียงจากการเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และกนิษฐ์ สารสิน

ภาวิช ทองโรจน์

ตราจารย์พิเศษ เภสัชกร ภาวิช ทองโรจน์ ศาสตราภิชานเกิดเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 เคยดำรงตำแหน่งอาทิ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิการบดีผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาวิทยาลัยนครพนม, มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ รักษาการอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ และนายกสภาเภสัชกรรม ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง นายกสภามหาวิทยาลัยนครพนม และภาคีสมาชิกแห่งราชบัณฑิตยสถาน สาขาเภสัชศาสตร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และภาวิช ทองโรจน์

ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

วิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่และความรับผิดชอบใน การจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตทั้งระดับปริญญาตรีและปริญญาโท และจัดบริการวิชาการแก่สังคมในสาขาวิชาประวัติศาสตร์ รวมทั้งให้การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ทั้งนี้เพื่อพัฒนาบุคลากรของประเทศให้มีคุณภาพที่ดี และสอดคล้องกับความต้องการของสังคมและประเทศชาติ ก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

มหาวิทยาลัยบูรพา

มหาวิทยาลัยบูรพา (Burapha University) สถาบันอุดมศึกษาของรัฐแห่งแรกที่ตั้งอยู่ในส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ซึ่งในปัจจุบันเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐตั้งอยู่ที่ ตำบลแสนสุข อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยบูรพา

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Mahasarakham University, อักษรย่อ: มมส - MSU) ตั้งอยู่ในจังหวัดมหาสารคาม ก่อกำเนิดจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (Phranakhon Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ในเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร เริ่มทำการสอนเมื่อปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา (Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ที่ จังหวัดพระนครศรีอ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (Pibulsongkram Rajabhat University; อักษรย่อ: มรพส. / PSRU) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก เริ่มก่อนตั้งขึ้นในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (Kanchanaburi Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ที่จังหวัดกาญจนบุรี จัดตั้งขึ้นเป็นวิทยาลัยครูกาญจนบุรี เมื่อปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร

มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร (Kamphaengphet Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ที่ตำบลนครชุม อำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร

มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต (Phuket Rajabhat University) ตั้งอยู่ ณ ต.รัษฎา อ.เมือง จังหวัดภูเก็ต บนที่ดินเนื้อที่ประมาณ 354 ไร่ 78 ตารางวา ซึ่งเดิมเป็นที่ดินขององค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต 78 ไร่ ที่ดินที่ได้รับบริจาคจากขุนเลิศโภคารักษ์และทายาท 273 ไร่ และได้รับบริจาคจากนายโสภณ เอกวานิช 3 ไร่ 78 ตารางวา โดยจัดการศึกษาแบ่งเป็นภาคปกติ คือ ระดับปริญญาตรี (จันทร์ -ศุกร์) และระดับปริญาตรี (เสาร์ -อาทิตย์) และภาคพิเศษ ได้แก่ ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี (Rambhai Barni Rajabhat University) เป็นสถาบันอุดมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 41 หมู่ที่ 5 ตำบลท่าช้าง อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี อยู่ห่างจากตัวเมืองจันทบุรี 6 กิโลเมตร บริเวณสามแยกเขาไร่ยา ด้านหนึ่งของมหาวิทยาลัยติดกับถนนรักศักดิ์ชมูล อีกด้านหนึ่งติดกับถนนสุขุมวิท มีเนื้อที่ 720 ไร่ 3 งาน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด

มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด (Roi Et Rajabhat University) เปิดสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ได้รับการประกาศจัดตั้งโดยนายสุขวิช รังสิตพลรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น เพื่อตอบสนองความต้องการและกระจายโอกาสทางการศึกษาของประชากรในระดับภูมิภาค โดยจัดตั้งพร้อมกับสถาบันราชภัฏอีก 4 แห่ง อันได้แก่ สถาบันราชภัฏชัยภูมิ, สถาบันราชภัฏศรีสะเกษ, สถาบันราชภัฏนครพนม (ปัจจุบัน ได้รวมเข้ากับ มหาวิทยาลัยนครพนม แล้ว) และ สถาบันราชภัฏกาฬสินธุ์ (ปัจจุบันได้ควบรวมเป็นมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์แล้ว) ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด จะได้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์เป็นประจำทุกปี ณ หอประชุมมหาวชิราลงกรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (Suan Sunandha Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ถูกจัดอันดับมหาวิทยาลัยให้เป็นราชภัฏอันดับ 1 จากการจัดอันดับของสภาวิจัยจากประเทศสเปน สหภาพยุโรป และได้รับการติดจาก QS Star ประเทศอังกฤษ ในระดับ 2 ดาว ซึ่งหมายความว่าเป็นที่พูดถึงในระดับนานาชาติจำนวนมาก เป็นที่รู้จักในวงกว้างของสถาบันที่นำเสนองานวิจัยระดับนานาชาติ (เป็นราชภัฏเพียงแห่งเดียวจาก 38 แห่งทั่วประเทศไทยที่ได้รับการติดดาวQS) นอกจากนี้ยังมี สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ได้รับดาวจาก QS โดยสวนสุนันทาตั้งเป้าไว้ที่จะได้รับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกจาก QS ซึ่งเป็นที่ยอมรับในสากลเรื่องของการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก มหาวิทยาลัยแห่งนี้มีรากฐานมาจากการสถาปนา "โรงเรียนสวนสุนันทาวิทยาลัย" เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ (Uttaradit Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกและเพียงแห่งเดียวที่ตั้งอยู่ในจังหวัดอุตรดิตถ์ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม (Chandrakasem Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐบาล ตั้งอยู่ที่เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา เลขที่ 340 ถนนสุรนารายณ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา อยู่ห่างจากอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารีไปทางตำบลจอหอ ประมาณ 3 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 274 ไร่ 3 งาน 41 ตารางวา พื้นที่หลักอยู่ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จำนวน 174 ไร่ 3 งาน 41 ตารางวา และมีศูนย์ฝึกปฏิบัติงานด้านการเกษตรอีก 100 ไร่ อยู่ที่ตำบลโพธิ์กลาง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ติดกับสวนสัตว์ จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งอยู่ห่างจากมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ประมาณ 15กิโลเมตร มีปรัชญาประจำมหาวิทยาลัยว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช (Nakhon Si Thammarat Rajabhat University; อักษรย่อ:มร.นศ.) เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (Nakhon Sawan Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ที่ ตำบลนครสวรรค์ตก อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ เปิดทำการเรียนการสอนในระดับประกาศนียบัตร ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ (Phetchabun Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ในจังหวัดเพชรบูรณ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เป็นสถาบันอุดมศึกษา ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2516 เดิมมีฐานะเป็น "วิทยาลัยครูเลย" เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม (Sripatum University) เดิมชื่อวิทยาลัยไทยสุริยะ ก่อนได้รับพระราชทานนามใหม่จากสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 1 ใน 5 แห่งแรกในประเทศไทยถูกสถาปนาขึ้นพร้อมกับ วิทยาลัยเกริก วิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และวิทยาลัยพัฒนา ปัจจุบันมหาวิทยาลัยศรีปทุมตั้งอยู่ที่เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร และมีวิทยาเขตที่จังหวัดชลบุรี และจังหวัดขอนแก่น.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยศรีปทุม

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (Srinakharinwirot University; ชื่อย่อ: มศว - SWU) ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง" ซึ่งก่อตั้งเมื่อ..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

มหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยศิลปากร (Silpakorn University; ชื่อย่อ: มศก. – SU) เป็นมหาวิทยาลัยศิลปะแห่งแรกในประเทศไทย มีชื่อเสียงทางด้านศิลปะและการออกแบบ ปัจจุบันเปิดสอนครอบคลุมทุกสาขาวิชา ทั้งกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสากลอย่างสมบูรณ์ ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร" ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้พัฒนาขึ้นเป็นลำดับจนเป็น "โรงเรียนศิลปากร" และเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (Suan Dusit University) จาก โรงเรียนการเรือนแห่งแรกของประเทศไทย สู่การเป็น มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เป็นสถาบันที่มีชื่อเสียงทางด้าน การศึกษาปฐมวัย คหกรรมศาสตร์ ธุรกิจบริการ ธุรกิจการโรงแรม ธุรกิจการบิน และ " โรงเรียนกฎหมายและการเมือง ".

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยสวนดุสิต

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (ื่อย่อ: ม., STOU) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ "มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช" ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (อังกฤษ: Prince of Songkla University; อักษรย่อ: ม.อ.) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในภาคใต้ของประเทศไทย ตาม ก่อตั้งในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (Assumption University) หรือ เอแบค (ABAC) จัดอยู่ในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียล มี 2 วิทยาเขตหลัก วิทยาเขตหัวหมาก ตั้งอยู่ที่ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร วิทยาเขตสุวรรณภูมิ ตั้งอยู่ที่ ตำบลบางเสาธง อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ และ 2 ศูนย์การศึกษา city campus ในห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ศูนย์การศึกษา ACC Campus มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทยที่มีระบบการสอนหลักสูตรนานาชาติ และยังเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่มีจำนวนศาสตราจารย์มากที่สุดในประเทศไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยขอนแก่น (อังกฤษ: Khon Kaen University; อักษรย่อ: มข.) เดิมชื่อมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู่ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น มีจุดประสงค์เพื่อให้การศึกษาชั้นสูงขยายออกไปถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงประกอบพิธีเปิดเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตั้งอยู่ที่อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยแม่โจ้

มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย

มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย เป็นมหาวิทยาลัยออนไลน์ของประเทศไทย เสนอบทเรียนออนไลน์ให้กับผู้สนใจทั่วไป โดยผู้ที่เรียนจนจบหลักสูตรสามารถได้รับปริญญาจากสถาบันอุดมศึกษาในความร่วมมือได้ มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทยเป็นโครงการของ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อังกฤษ: Chiang Mai University; อักษรย่อ: มช.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทยที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค ตามโครงการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อังกฤษ: Kasetsart University; อักษรย่อ: มก.) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรทางด้านการเกษตร ก่อตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ เดิมเป็นโรงเรียนช่างไหมในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐบาล ก่อตั้งโดยความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี หรือ บางมด (อังกฤษ: King Mongkut's University of Technology Thonburi; อักษรย่อ: มจธ.) โดยเป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ และเป็น สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตามประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 115 ตอนที่ 11 ก ลงวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (Rajamangala University of Technology) เป็นระบบมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปัจจุบันมีอยู่ 9 แห่งทั่วประเทศ ก่อตั้งในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (Rajamangala University of Technology Lanna) เป็นมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของรัฐ ได้รับการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขต ของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล โดยชื่อ "ราชมงคล" นั้น ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก เป็นวิทยาเขตในสังกัด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ในมีชื่อเสียงในการจัดการศึกษาด้านการเกษตรกรรม หรือที่รู้จักกันในนาม "เกษตรบ้านกร่าง" ปัจจุบันมีนักศึกษาในสังกัดจำนวน 1,136 คน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพเชียงใหม่ (ชื่อเดิม: วิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ) เคยเป็นวิทยาเขตในสังกัด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จัดการเรียนการสอนในระดับต่ำกว่าปริญญา และระดับปริญญา เป็นวิทยาเขตที่มีจำนวนนักศึกษาและบุคลากรมากที่สุด ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล้านนา ตาก เป็นวิทยาเขต ในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตั้งอยู่ที่ตำบลไม้งาม อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก เป็นวิทยาเขตที่มีจำนวนนักศึกษามากที่สุดรองจาก ภาคพายัพเชียงใหม่ คือ มีนักศึกษาจำนวน 3,247 คน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย เป็นสถาบันการศึกษาวิชาชีพ ด้านเทคโนโลยี ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้จัดตั้งขึ้น โดยได้รับการสถาปนาและวางศิลาฤกษ์ ในวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (Rajamangala University of Technology Srivijaya) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในประเทศไทย แยกตัวออกมาจากสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล เมื่อปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีวิทยาเขตในสังกัด 4 แห่ง เปิดทำการสอนด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเป็นหลัก.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Isan) เป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีที่จัดการเรียนการสอนในพื้นที่ 4 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ นครราชสีมา ขอนแก่น สกลนคร และสุรินทร์ โดยได้รับการยกฐานะจากวิทยาเขตในสังกัดสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล เป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล จำนวน 9 แห่งทั่วประเทศไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน อยู่ห่างจากตัวเมืองประมาณ 3 กิโลเมตร พื้นที่หลักของมหาวิทยาลัยฯมีเนื่อที่ประมาณ 330 ไร่ ติดกับถนนสุรนารายณ์ และยังมีพื้นที่ป่าหนองระเวียง เดิมใช้เป็นพื้นที่ฝึกภาคสนามของนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเรียกว่า "ศูนย์ฝึกภาคสนามหนองระเวียง" ปัจจุบันมหาวิทยาลัยฯได้รักษาสภาพพื้นที่ป่านี้ไว้ เพื่อใช้เป็นโรงเรียนธรรมชาติ มีพื้นที่ทั้งหมด 2,600 ไร่ มีรั้วล้อมรอบอย่างถาวร มีการแบ่งพื้นที่เป็นส่วนๆ คือ สวนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ จำนวน 200 ไร่ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา จำนวน 200 ไร่ พื้นที่รองรับการขยายการศึกษาของมหาวิทยาลัยฯ จำนวน 1,100 ไร่ และพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จำนวน 1,000 ไร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์ เป็นอดีตวิทยาเขตในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เริ่มเปิดทำการสอนเมื่อปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Tawan-ok) เน้นการจัดการศึกษาเพื่อให้บัณฑิตมีคุณลักษณะที่มีทักษะด้านช่างอุตสาหกรรม การก่อสร้าง เทคโนโลยีสารสนเทศ วิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรม การเกษตร การบริหารจัดการ และทักษะด้านธุรกิจ สามารถปฏิบัติงานได้จริง มีความคิดสร้างสรรค์ที่ทำให้สามารถประกอบอาชีพได้หลายอาชี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Tawan-Ok: Chakrabongse Bhuvanarth Campus)เป็นวิทยาเขตหนึ่งที่มีชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลเน้นการจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่มีทักษะด้านบริหารธุรกิจ การบริหารจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ และอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว อย่างมีคุณภาพสามารถปฏิบัติงานได้จริง มีความคิดสร้างสรรค์ที่ทำให้สามารถประกอบอาชีพได้หลายอาชีพ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 122 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (อังกฤษ: Suranaree University of Technology; อักษรย่อ: มทส.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

มารุต บุนนาค

ตราจารย์พิเศษ มารุต บุนนาค อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และรัฐมนตรีหลายกระทรวง ปัจจุบันวางมือทางการเมือง แต่ยังคงดำรงตำแหน่งกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมารุต บุนนาค

มานะ มานี ปิติ ชูใจ

มานะ มานี ปิติ ชูใจ เป็นชุดแบบเรียนภาษาไทย ระดับประถมศึกษาปีที่ 1-6 รวม 12 เล่ม (ภาคเรียนละ 1 เล่ม) ซึ่งใช้ในการเรียนการสอนภาษาไทย ระหว่างปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมานะ มานี ปิติ ชูใจ

มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์

ลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์ (นามเดิม: มุนี มหาสันทนะ; 29 มีนาคม พ.ศ. 2436 - พ.ศ. 2528) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศคนแรกของกองทัพอากาศไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการสำนักนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์ มีนามเดิมว่า มุนี มหาสันทนะ ศึกษาที่โรงเรียนราชวิทยาลัย สมัยสายสวลี จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อ..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์

มูลนิธิไทยรัฐ

มูลนิธิไทยรัฐ มูลนิธิไทยรัฐ (Thairath Foundation) หรือ มูลนิธิหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ (Thairath Newspaper Foundation) เป็นมูลนิธิเพื่อสาธารณประโยชน์ เป็นที่รู้จักของสังคมในฐานะ หน่วยงานอุปถัมภ์โรงเรียนไทยรัฐวิทยาทั้ง 101 แห่งทั่วประเทศไทย ก่อตั้งโดยกำพล วัชรพล ผู้อำนวยการหนังสือพิมพ์ไทยรัฐคนแรก.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมูลนิธิไทยรัฐ

มนตรี จุฬาวัฒนฑล

ตราจารย์เกียรติคุณ มนตรี จุฬาวัฒนฑล (28 กรกฎาคม 2485 -) นักวิจัยที่มีผลงานทางด้านชีวเคมีของระบบสืบพันธุ์เพศชาย, ชีวเคมีจากพืช, เลคติน และมันสำปะหลัง เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านนโยบายและการบริหารจัดการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และประธานสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาต.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และมนตรี จุฬาวัฒนฑล

รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของไทย

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514

รัฐประหารในประเทศไท..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514

ราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย)

ราชการส่วนกลาง หมายถึง ราชการที่ดำเนินการและบริหารโดยหน่วยราชการในส่วนกลางของฝ่ายบริหาร เพื่อสนองความต้องการของประชาชน จะมีลักษณะการปกครองแบบรวมอำนาจ หมายความว่า เป็นการรวมอำนาจในการสั่งการ การกำหนดนโยบายการวางแผน การควบคุมตรวจสอบ และการบริหารราชการสำคัญ ๆ ไว้ที่นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีและกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ตามหลักการรวมอำนาจ การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง จัดแบ่งออกได้ดังนี้.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย)

ราชการส่วนภูมิภาค (ประเทศไทย)

ราชการส่วนภูมิภาค หมายถึงราชการของกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ซึ่งได้แบ่งแยกออกไปดำเนินการจัดทำตามเขตการปกครอง โดยมีเจ้าหน้าที่ของทางราชการส่วนกลาง ซึ่งได้รับแต่งตั้งออกไปประจำตามเขตการปกครองต่าง ๆ ในส่วนภูมิภาคเพื่อบริหารราชการภายใต้การบังคับบัญชาของราชการส่วนกลางโดยมีการติดต่อกันอย่างใกล้ชิดเพราะถือเป็นเพียงการแบ่งอำนาจการปกครองออกมาจากการบริหารส่วนกลาง การบริหารราชการส่วนภูมิภาคเป็นการบริหารราชการตามหลักการแบ่งอำนาจโดยส่วนกลางแบ่งอำนาจในการบริหารราชการให้แก่ภูมิภาค อันได้แก่จังหวัด มีอำนาจในการดำเนินกิจการในท้องที่แทนการบริหารราชการส่วนกลาง ลักษณะการแบ่งอำนาจให้แก่การบริหารราชการส่วนภูมิภาค หมายถึง การมอบอำนาจในการตัดสินใจ วินิจฉัย สั่งการให้แก่เจ้าหน้าที่ที่ไปประจำปฏิบัติงานในภูมิภาค เจ้าหน้าที่ในว่าในภูมิภาคให้อำนาจบังคับบัญชาของส่วนกลางโดยเฉพาะในเรื่องการแต่งตั้งถอดถอนและงบประมาณซึ่งเป็นผลให้ส่วนภูมิภาคอยู่ในการควบคุมตรวจสอบจากส่วนกลางและส่วนกลางอาจเรียกอำนาจกลับคืนเมื่อใดก็ได้.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และราชการส่วนภูมิภาค (ประเทศไทย)

รายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย

ระราชวังและวัง คือ ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ พระมหาอุปราช พระบรมวงศานุวงศ์ตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป ส่วนที่อยู่ของหม่อมราชวงศ์และหม่อมหลวงนั้นไม่เรียกว่า "วัง" โดยวังใดจะเรียกว่าพระราชวังได้นั้นจะต้องมีพระบรมราชโองการสถาปนาขึ้นเป็น "พระราชวัง" เท่านั้น โดยในประเทศไทยมีพระราชวังและวัง ดังนี้.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และรายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย แบ่งตามประเภทสถานศึกษ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และรายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

รายชื่อสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทย

รายชื่อสถานีโทรทัศน์ในประเทศไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และรายชื่อสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทย

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

right รายชื่อบุคคลที่มีชื่อเสียงจาก มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

180px รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เรียงชื่อตามลำดับอักษร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รุ่ง แก้วแดง

รุ่ง แก้วแดง (1 มิถุนายน พ.ศ. 2487 -) นักการศึกษาชาวไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร (11 มีนาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และรุ่ง แก้วแดง

ว.ณ เมืองลุง

ว.ณ เมืองลุง เป็นนามปากกาของ ชิน บำรุงพงศ์ (11 กันยายน 2471- 26 กรกฎาคม 2547) เป็นนักเขียน และนักแปลหนังสือไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และว.ณ เมืองลุง

วรากรณ์ สามโกเศศ

รองศาสตราจารย์ วรากรณ์ สามโกเศศ กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ อธิการบดีกิตติคุณมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพอดีตประธานกรรมการ ในคณะกรรมการบริหารสำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์อดีตประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารสำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน)กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านการบริหารธุรกิจ ในคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการความลับทางการค้า ได้รับเลือกเป็นคณะกรรมการสรรหาเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวรากรณ์ สามโกเศศ

วัลลภ สุระกำพลธร

ตราจารย์ ดร. วัลลภ สุระกำพลธร ศาสตราจารย์ วัลลภ สุระกำพลธร (8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497 —) เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักวิจัยชาวไทยที่มีผลงานดีเด่นในสาขาอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะกับงานวิจัยและการออกแบบระบบวงจรที่เหมาะสมกับการทำเป็นวงจรรวม ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ ระดับ 11 ประจำภาควิชาอิเล็กทรอนิกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้รับการประกาศยกย่องให้รับรางวัล นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัลลภ สุระกำพลธร

วัดบูรพารามใต้

วัดบูรพารามใต้ ตั้งอยู่เลขที่ 1/1 หมู่ที่ 4 บ้านทรายมูล ตำบลทรายมูล อำเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร รหัสไปรษณีย์ 35170 โทรศัพท์ 0-4578-7032, 0-4578-7230 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 34 ไร่ อาณาเขตของวัด ทิศเหนือ ติดทุ่งนา ทิศใต้ ติดถนนสาธารณประโยชน์และหมู่บ้าน ทิศตะวันออก ติดถนนสาธารณประโยชน์และหมู่บ้าน และทิศตะวันตก ติดถนนสาธารณประโยชน์และหมู่บ้าน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดบูรพารามใต้

วัดบ้านขวาง

| full_name.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดบ้านขวาง

วัดพระธรรมกาย

วัดพระธรรมกาย เป็นวัดในสังกัดมหานิกาย ก่อตั้งเมื่อ 20 กุมภาพัน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดพระธรรมกาย

วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร

วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร เดิมชื่อ วัดพระธาตุเจ้าศรีจอมทอง ตั้งอยู่ถนนเชียงใหม่-ฮอด หมู่ 2 ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ห่างจากตัวจังหวัดเชียงใหม่ประมาณ 58 กิโลเมตร วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร เป็น พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร

วัดพระธาตุดอยเวียง

วัดพระธาตุดอยเวียง ตั้งอยู่บ้านดอยเวียง หมู่ที่ 9 ตำบลบ้านธิ อำเภอบ้านธิ จังหวัดลำพูน ห่างจากอำเภอบ้านธิ ประมาณ 7 กิโลเมตร บริเวณใกล้กับอ่างเก็บน้ำแม่ธิ มีเนื้อที่ประมาณ 15 ไร่ และบนดอยเป็นที่ประดิษฐานเจดีย์เก่าแก่ซึ่งมีพระสารีริกธาตุบรรจุอยู่ สันนิษฐานว่าสร้างเมื่อ พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดพระธาตุดอยเวียง

วัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม

วัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม (180px) พระอารามหลวงชั้นตรีชนิดสามัญ ตั้งอยู่ที่ ตำบลเวียงเหนือ อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง มีเนื้อที่ 51 ไร่ 2 งาน 61 ตารางวา เป็นวัดที่เก่าแก่และสวยงามมีอายุนับพันปี เคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแก้วมรกต) ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม

วัดกวิศรารามราชวรวิหาร

วัดกวิศรารามราชวรวิหาร (อารามหลวงแห่งเมืองลพบุรี) เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี อันดับ 1 ชนิดราชวรวิหาร ที่ตั้ง ถนนเพทราชา ตำบลท่าหิน อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี คำว่า วัดกวิศราราม แปลว่า วัดของพระเจ้าแผ่นดิน ปัจจุบันมี พระเทพเสนาบดี (ประเทือง อาภาธโร) เจ้าคณะจังหวัดลพบุรีเป็นเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน และในวันที่ 9 ตุลาคม ปีพุทธศักราช 2519 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนินมายังวัดกวิศรารามราชวรวิหาร เป็นการส่วนพระองค์ ได้นำมาซึ่งความปราบปลื้มแก่ชาวลพบุรีเป็นอย่างมาก.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดกวิศรารามราชวรวิหาร

วัดยางเอน

วัดยางเอน เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ หมู่ที่ 3 ตำบลตาลเตี้ย อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย เขตการปกครองคณะสงฆ์ตำบลบ้านสวน อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย มีเนื้อที่ 7 ไร่ 98 ตารางวา วัดนี้ประชาชนร่วมกันสร้างขึ้น เมื่อ..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดยางเอน

วัดราชพฤกษ์

วัดราชพฤกษ์ ตั้งอยู่ที่หมู่ 2 ตำบลบ้านหลุม อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย เป็ดวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย แต่เดิมวัดมีนามว่า “วัดเหนือ” สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดราชพฤกษ์

วัดราชธานี

วัดราชธานี เป็นวัดที่อยู่กลางเมืองสุโขทัย ที่มีประวัติความเป็นมานับแต่ครั้งกรุงสุโขทัย เป็นวัดที่มีความสำคัญ ที่ทางราชการ พ่อค้า ประชาชนถือว่าเป็นวัดสำคัญวัดหนึ่งทางราชการได้อาศัยประกอบรัฐพิธี ที่สำคัญ เช่น พิธีถือน้ำพิพัฒนสัตยา อีกทั้งเป็นวัดที่ตั้งอยู่ใจกลาง เป็นวัดที่มีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวสุโขทัยรู้จักกันในชื่อว่า "หลวงพ่อเป๋า" เป็นวัดที่อดีตพระราชประสิทธิ์คุณ (ทิม ยสทินโน) ผู้เป็นกำลังหลักในการรวบรวมศาสนวัตถุทางพระพุทธศาสนาครั้งกรุงสุโขทัย เพื่อจัดมอบให้กับพิพิธภัณฑ์สุโขทัย รวมทั้งยังเคยดำรงตำแหน่งเจ้าคณะจังหวัด และอดีตเจ้าอาวาสวัดราชธานี เคยอยู่อาศัยจำพรรษาที่วัดราชธานีแห่งนี้ นอกจากนี้วัดยังเคยเป็นที่ตั้งโรงเรียนประจำจังหวัดสุโขทัยด้ว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดราชธานี

วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม (วัดปากแคว)

วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม (วัดปากแคว) เป็นวัดในสังกัดของคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 4 ตำบลปากแคว อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย มีความสำคัญในฐานะที่เป็นวัดในพระพุทธศาสนา และเป็นศูนย์กลางของชุมชนชาวปากแควและบริเวณใกล้เคียง ทั้งยังเป็นที่ประดิษฐานของ หลวงพ่อเพชร ซึ่งที่เคารพบูชาของชาวตำบลปากแคว ปัจจุบันมีทุ่งทะเลหลวง พื้นที่อยู่ในตำบลบ้านกล้วยและตำบลปากแคว หมู่ที่ 1, หมู่ที่ 6, หมู่ที่ 7.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดราษฎร์ศรัทธาธรรม (วัดปากแคว)

วัดฤทธิ์ศิริราษฎร์เจริญธรรม

วัดฤทธิ์ศิริราษฎร์เจริญธรรมเป็นวัดที่มีประวัติความเป็นมายาวนานคู่กับวัดคุ้งยางใหญ่ หรือที่เรียกว่า "วัดใหญ่" ส่วนวัดฤทธิ์จะเป็นที่รับรู้กันในชุมชนว่า "วัดน้อย" คือใช้ที่ตั้งวัดในเชิงภูมิศาสตร์และขนาดเป็นตัวกำหนด โดยวัดจะเป็นศูนย์กลางชุมชนอีกฟากหนึ่งของ"คลอง"บ้านสวนกับชุมชนวัดคุ้งยางใหญ่ ที่เชื่อมต่อจากแม่น้ำยมที่ใช้เป็นทางสัญจรและแหล่งน้ำในการเกษตร อุปโภคบริโภคในชุมชนชาวบ้านสวนนับแต่ครั้งอดีต.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดฤทธิ์ศิริราษฎร์เจริญธรรม

วัดลานหอย

วัดลานหอย ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านลานหอย หมู่ที่ 1 ตำบลลานหอย อำเภอบ้านด่านลานหอย จังหวัดสุโขทัย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 35 ไร่ 2 งาน 52 ตารางวา ได้สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณ..2475 มีนามตามเชื่อหมู่บ้าน ประชาชนนิยมเรีกว่า “วัดนอก” ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาวันที่ 23 สิงหาคม..2499.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดลานหอย

วัดวิเวกวนาราม

วัดวิเวกวนาราม เป็นศาสนสถานในพระพุทธศาสนา ตั้งอยู่ที่บ้านเมืองเก่า หมู่ที่ ๓ ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 11 ไร่ 55 ตารางวา วัดนี้ประชาชนร่วมใจกันสร้าง กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศตั้งวัดนับตั้งแต่ วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.2521.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดวิเวกวนาราม

วัดศรีมหาโพธิ์ จังหวัดสุโขทัย

วัดศรีมหาโพธิ์ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เถรวาท ตั้งอยู่เลขที่ 130 บ้านหลุ่ม หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านหลุม อำเภอ เมือง จังหวัดสุโขทั.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดศรีมหาโพธิ์ จังหวัดสุโขทัย

วัดศาลาไก่ฟุบ

วัดศาลาไก่ฟุบ เป็นศาสนสถานในพระพุทธศาสนาเถรวาท สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่หมู่ 7 ตำบลท่าชัย อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย เป็นวัดที่มีความสำคัญ และเป็นศูนย์ของชุมชนตำบลท่าชัย ที่สะท้อนถึงความเชื่อในชุมชน และการตั้งถิ่นฐานของชุมชนชาวท่าชัยได้เป็นอย่างดี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดศาลาไก่ฟุบ

วัดสังฆาราม

วัดสังฆาราม ตั้งอยู่ที่บ้านด่าน หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านด่าน อำเภอบ้านด่านลานหอย จังหวัดสุโขทัย สังหัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 16 ไร่ 2งาน 91 ตารางวา สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณ..1923 นับเป็นวัดชนิดได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา แล้วนับตั้งแต่ประมาณ..1928 ชาวบ้านนิยมเรียกว่า วัดบ้านด่าน ตามชื่อของหมู่บ้าน วัดสังฆาราม หรือ วัดบ้านด่าน ตามคนเก่าแก่ที่เล่าสืบกันมา และหลักจากหนังสือประวัติวัดทั่้วราชอาณาจักรไทย วัดสังฆารามเป็นวัดที่ตั้งขึ้นในสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานีประมาณ 700 ปี ตามที่อ้างอิงตามประว้ติศาสตร์เมืองสุโขทัย ระยะห่างจากเมืองสุโขทัย (เมืองเก่า) ประมาณ 12 กิโลเมตรทางทิศตะวันตกอันเป็นที่ตั้งของหมู่บ้านทหารซึ่งทำหน้าที่เป็นเ้มืองหน้าด่านป้องก้นเมืองสุโขทัย และคอยส่งข่าวแก่เมืองสุโขทัยกล่าวกันว่าเดิมที่เดียวในเมืองสุโขทัยมีการออกรบต่อสู้กับข้าศึกเป็นประจำ โดยเฉพาะชายฉกรรจ์ต้องออกต่อสู้กับข้าศึกโดยมีอาวุธเป็นจำพวกมีด ดาบ หอกฯลฯ ซึ่งการออกรบแต่ละครั้งต้องเสียเลือดเนื้อเป็นอย่างแน่นอน กล่าวกันว่าในครั้งหนึ่งเมื่อถึงคราวออกรบ เหล่าชายฉกรรจ์เหล่านั้น ได้บนบานสารกล่าวไวักับสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ ทั้งหลายว่า หากพวกตนออกรบและชนะข้าศึกได้จะร่้วมกันสร้างกุฏี โบสถ์ ถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา และสังฆบูชา ไว้ในบวรพุทธศาสนา ครั้งออกรบชายฉกรรจ์เหล่านั้นได้ชนะข้าศึก กลับมายังบ้านเดิม จึงได้ร่วมกันสร้างวัด กุฏี โบสถ์ ถวายเป็นพุทธบูช ธรรมบูชา และสังฆบูชา ไว้ในบวรพุทธศาสนา ตามที่ตนได้บนบานสารกล่าว เอาไว้ และตั้งชื่อว่า วัดสังฆารามหรือที่ชาวบ้านเรียกกันตามหมู่บ้านทั่วไปว่า วัดบ้่านด่าน (ก่อนเดิมคือเมืองหน้าด่านของจ.สุโขทัย) ตามหลักฐานในหนังสือประวัติวัดทั่วราชอาณาจักรไทยกล่าวว่าวัดสังฆารามตั้งขึ้นเมื่้อประมาณปี..1923 และได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อประมาณปี..1927 วัดสังฆารามปัจจุบันเป็นวัดที่กำลังพัฒนาทั้งด้านถาวรวัตถุ และทางด้านการศึกษาถือคำว่า บวร เป็นหลักในการพัฒนา คำว่า บวร นั้นตามหลักวิชาการ หมายถึง บ้าน วัดและโรงเรียนเป็นภาระซึ่งกันและกันในการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยเน้นเรื่องของการศึกษา เน้นคุณธรรม อาศัยการพึ่งพากันและกัน ปัจจุบันวัดสังฆารามได้เปิดการเรียนการสอนพระปริยัติธรรมแผนกบาลี ขึ้นตั้งแต่ปี 2554 โดยเริ่มสอนตั้งแต่ระดับชั้นประโยค1-2จนถึงประโยค ป..9 โดยมุ่งเน้นการสอนพระภิกษุสามเณรผู้สนใจและขาดแคลนทุนทัรพย์ในการศึกษาทางโลก ทางสำนักเรียนมีการจัดมอบทุนถวายสำหรับนักเรียนผู้สอบได้ในแต่ละปี ส่วนการศึกษาไม่มีค่าใช้จ่ายใดทั้งสิ้น 055-689319 055689311.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดสังฆาราม

วัดสำนัก

วัดสำนัก ตั้งอยู่หมู่ 7 บ้านสำนัก ตำบลวังทองแดง อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีประวัติการสร้างตั้งแต..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดสำนัก

วัดสตูลสันตยาราม

วัดสตูลสันตยาราม หรือชื่อเดิมคือ "วัดป่าช้าไทย" ตั้งอยู่เลขที่ 87 ถนนเรืองฤทธิ์จรูญ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสไปรษณีย์ 91000.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดสตูลสันตยาราม

วัดหัวฝาย

วัดหัวฝาย ตั้งอยู่ที่บ้านสวนใต้ หมู่ 2 ตำบลบ้านสวน อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เป็นวัดที่เก่าแก่และมีประวัติความเป็นมาพร้อมกับชุมชนบ้านสวนอีกแห่งหนึ่ง วัดหัวฝายเป็นวัดที่พระครูสังฆรักเจ๊ก เคยเป็นเจ้าอาวาส และท่านยังเป็นกรรมวาจาจารย์หลวงพ่อห้อม อมโร เถรคณาจารย์แห่งจังหวัดสุโขทัยด้ว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดหัวฝาย

วัดหนองทอง

วัดหนองทอง เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ที่หมู่ 11 ตำบลบ้านสวน อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย เป็นวัดที่มีความเก่าแก่อีกแห่งหนึ่งของตำบลบ้านสวน รวมทั้งเป็นศูนย์กลางให้กับชุมชนในบริเวณหมู่ 11 นับแต่การตั้งชุมชนในอดีตที่ผ่านม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดหนองทอง

วัดหนองตาโชติ

วัดหนองตาโชติ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 173 หมู่ 5 ตำบลวังทองแดง อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย เป็นวัดชนิดวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ในอดีตเป็นวัดที่พระครูประโชติสันติธรรม (หลวงพ่อประเสริฐ) ที่ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส ตั้งแต..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดหนองตาโชติ

วัดธรรมปัญญาราม

วัดธรรมปัญญาราม เป็นศาสนสถานในพระพุทธศาสนาเถรวาท สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ที่บ้านหนองไอ้ด่อน หมู่ที่ ๗ ตำบลโตนด อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย เป็นวัดที่มีความสำคัญในอดีตในการบริหารงานคณะสงฆ์ระดับจังหวัด คือเป็นวัดที่อดีตเจ้าคณะจังหวัด และเกจิคณาจารย์อยู่อาศั.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดธรรมปัญญาราม

วัดคลองตะเคียน

วัดคลองตะเคียน เป็นวัดของคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 6 ตำบลบ้านสวน อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย เป็นวัดที่มีประวัติการก่อตั้งในที่บริเวณที่เป็นวัดร้างเดิมที่เรียกว่า "วัดไก่แจ้" ที่มีประวัติความมเป็นมาตั้งแต่ครั้งกรุงสุโขทัยตอนปลาย อันปรากฏหลักฐานเป็นซากวัดร้างและเจดีย์ที่ปรากฏในปัจจุบัน เป็นวัดหลวงพ่อห้อม อมโร หรือพระราชพฤฒาจารย์ วัดคูหาสุวรรณ อดีตเจ้าคณะจังหวัดสุโขทัย ซึ่งเป็นบ้านเกิดของท่านได้ริเริ่มให้มีการจัดสร้าง และยกวัดร้างเดิมให้เป็นวัดที่มีพระสงฆ์อยู่จำพรรษาตั้งแต..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดคลองตะเคียน

วัดคลองโพธิ์

วัดคลองโพธิ์ เป็นพระอารามหลวงแห่งแรกของจังหวัดอุตรดิตถ์ วัดคลองโพธิ์ ตั้งอยู่ในท้องที่ตำบลบ้านเกาะ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ปัจจุบันวัดคลองโพธิ์เป็นวัดจำพรรษาของเจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ และมีสำนักเรียนพระปริยัติธรรมซึ่งถือได้ว่า เป็นสำนักเรียนของคณะสงฆ์ที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่ง ในเขตปกครองคณะสงฆ์หนเหนือ มีการศึกษาทั้งแผนกนักธรรม แผนกบาลี โรงเรียนศึกษาผู้ใหญ่ และโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิต.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดคลองโพธิ์

วัดคลองโป่ง

วัดคลองโป่ง เป็นศาสนสถานในพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เป็นวัดที่เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวพุทธในบริเวณตำบลสามเรือน อำเภอศรีสำโรง ในอดีตมีเกจิคณาจารย์ที่เลื่องชื่อนับแต่สมัยรัชกาลที่ 5 อย่างหลวงพ่อเอม วัดคลองโป่งหรือพระครูธรรมภาณโกศล (เอม,พ.ศ.2415-พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดคลองโป่ง

วัดคุ้งยางใหญ่

วัดคุ้งยางใหญ่เป็นวัดในสังกัดของคณะสงฆ์มหานิกาย ที่มีประวัติความเป็นในนับแต่ครั้งอดีต และศูนย์กลางของชุมชนชาวพุทธที่มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่ครั้งกรุงสุโขทัย ที่วัดคุ้งยางใหญ่พระพุทธรูปศิลปสุโขทัย ที่เป็นมรดกตกทอดมาจนกระทั่งทุกวันนี้ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย จำนวน 3 องค์ ที่ชาวบ้านสวนเรียกว่า "หลวงพ่อสามพี่น้อง" ซึ่งเป็นสิ่งการะและเคารพของชาวบ้านสวนนับแต่ครั้งอดีต.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดคุ้งยางใหญ่

วัดคูหาสุวรรณ

วัดคูหาสุวรรณ มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่ครั้งกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ตั้งอยู่ริมแม่น้ำยมด้านทิศตะวันตก ตรงข้ามกับวัดราชธานี เป็นวัดที่หลวงพ่อห้อม อมโร (พระราชพฤฒาจารย์) เคยดำรงตำแหน่งอดีตเจ้าอาวาส และอดีตเจ้าคณะจังหวัดสุโขทัยหลวงพ่อห้อม อมโร เป็นศิษย์ของหลวงพ่อสมฤทธิ์ เทโว แห่งวัดฤทธิ์ศิริราษฎร์เจริญธรรม ที่เป็นศิษย์สายตรงของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) อีกชั้นหนึ่ง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดคูหาสุวรรณ

วัดตระพังทอง

วัดตระพังทอง ตั้งอยู่ที่ถนนจรดวิถีถ่อง หมู่ที่ 3 ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 44 ไร่ อาณาเขต ทิศเหนือยาว 5 เส้น 10 วา ติดต่อกับถนนจรดวิถีถ่อง ทิศใต้ยาว 3 เส้น 10 วา ติดต่อกับสวนป่ากล้วยของชาวบ้าน ทิศตะวันออก ยาว 8 เส้น ติดต่อกับหมู่บ้านประชาชน ทิศตะวันตกยาว 8 เส้น ติดต่อกับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง โดยมี.1 เลขที่ 782 เป็นหลักฐาน พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่ม มีสระน้ำขนาดใหญ่อยู่ที่มุมด้านตะวันตกเฉียงเหนือ และมีสระน้ำโบราณหลายสระบริเวณพื้นที่วัดตั้งอยู่ภายในกำแพงเมืองเก่า สภาพแวดล้อมเป็นหมู่บ้าน ประชาชนและมีถนนหนทางติดต่อคมนาคมสะดวก อาคารเสนาสนะต่าง ๆ มีอุโบสถกว้าง 8.30 เมตร ยาว 15 เมตร สร้าง..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดตระพังทอง

วัดตาลเตี้ย

วัดตาลเตี้ย เป็นวัดในพระพุทธศาสนา เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 1 ตำบลตาลเตี้ย อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย เป็นวัดที่มีความสำคัญมานับแต่อดีตในฐานะที่เป็นศูนกลางชุมชน รวมทั้งมีหลักฐานทางโบราณคดีเป็นเจดีย์เก่าสมัยสุโขทัยตอนปลายในบริเวณวัด รวมทั้งมีวัดร้างที่มีประวัติการสืบค้นการสร้างนับแต่ครั้งกรุงสุโขทัยตอนปลายด้วยเช่นกัน อาทิ วัดนครยศ และ วัดคลองโบสถ์ เป็นต้น.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดตาลเตี้ย

วัดปัญญานันทาราม

วัดปัญญานันทาราม ตั้งอยู่ที่ ต.คลองหก อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี เป็นวัดที่มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักว่าเป็นวัดที่หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ อดีตเจ้าอาวาสวัดชลประทานรังสฤษฏ์ เป็นผู้ก่อตั้งและสร้างขึ้น โดยมุ่งหวังให้เป็นมรดกธรรม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดปัญญานันทาราม

วัดไทยชุมพล

วัดไทยชุมพล เป็นวัดที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์และมีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ อาทิ พระไตรภูมิ (หลวงพ่องาม) พระไตรโลก (หลวงพ่อโต) และพระพุทธบาทจำลอง เป็นต้น.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวัดไทยชุมพล

วังจันทรเกษม

้านหน้าของวังจันทรเกษม (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของกระทรวงศึกษาธิการ) อาคารราชวัลลภ ภายในวังจันทรเกษม วังจันทรเกษม ตั้งอยู่บนถนนราชดำเนิน ใกล้สะพานมัฆวานรังสรรค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชทานแก่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร (รัชกาลที่ 6) โดยเริ่มก่อสร้างฐานรากเมื่อ พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวังจันทรเกษม

วันวิสาขบูชา

วันที่สำคัญที่สุดในพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันคล้ายวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญของพระพุทธศาสนามากถึง 3 เหตุการณ์ คือ เป็นวันคล้ายวันประสูติ, ตรัสรู้ และปรินิพพาน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดังนั้นจึงมีคำเรียกวันนี้อีกอย่างหนึ่งว่า '''"วันพระพุทธเจ้า"''' วันวิสาขบูชา (วิสาขปุณฺณมีปูชา; Vesak) เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธสำหรับพุทธศาสนิกชนทุกนิกายทั่วโลก ทั้งเป็นวันหยุดราชการในหลายประเทศ และวันสำคัญในระดับนานาชาติตามข้อมติของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติRequest for inclusion of an additional item in the agenda of the fifty-fourth session in United Nations (12 November 1999).

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวันวิสาขบูชา

วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ

วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ เป็นวันสำคัญของไทยและมีความสำคัญต่อวงการวิทยาศาสตร์และดาราศาสตร์ไทย กำหนดให้ตรงกับวันที่ 18 สิงหาคม ของทุกปี ซึ่งเป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทอดพระเนตรสุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อ..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ

วิชัย ตันศิริ

วิชัย ตันศิริ กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภั.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิชัย ตันศิริ

วิชา การพิศิษฎ์

วิชา การพิศิษฎ์ เป็นบุคคลที่ควรแก่การยกย่อง ควรแก่ผู้เป็นครูและบุคคลทั่วไปประพฤติตนตามแบบอย่าง ตลอดชีวิตการเป็นครู ของท่านล้วนทำสิ่งที่เป็นประโยชน์อย่างกว้างขวางแก่จังหวัดสุราษฎร์ธานีและแก่ประเทศชาต.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิชา การพิศิษฎ์

วิภาต บุญศรี วังซ้าย

ตราจารย์ ดร.วิภาต บุญศรี วังซ้าย (12 มีนาคม 2459 - 30 ตุลาคม 2527) อดีตอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีการเกษตร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดแพร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิภาต บุญศรี วังซ้าย

วิทยบูรณากร ไอซีที.

วิทยบูรณากร ไอซีที. คือบุคคลที่ได้รับการพัฒนาโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ ให้มีความรู้ความสามารถใน 3 ด้านหลักๆ คือ ความรู้ความสามารถ1.ด้านการจัดการเรียนการสอนและการฝึกอบรม 2.การจัดการโครงการ และ 3.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยบูรณากร ไอซีที.

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวนครราชสีมา

วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวนครราชสีมา เป็นสถาบันการเรียนการสอนระดับอาชีวศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดนครราชสีมา โดยเปิดสอน 2 หลักสูตร คือ ปว.และ ปว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวนครราชสีมา

วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์

วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์

วิทยาลัยชุมชนพังงา

วิทยาลัยชุมชนพังงา เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นตามนโยบายของรัฐบาลในการจัดให้มีวิทยาลัยชุมชนขึ้นโดยเฉพาะยังจังหวัดที่ยังไม่มีสถาบันอุดมศึกษา เพื่อให้ประชาชนได้รับโอกาสที่เท่าเทียมกันในการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยยึดหลัก "การศึกษาสร้างชาติ สร้างคน และสร้างงาน".

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยชุมชนพังงา

วิทยาลัยชุมชนพิจิตร

วิทยาลัยชุมชนพิจิตร  เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเปิดสอนในหลักสูตรอนุปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงและประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยการเสริมสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อเพิ่มคุณค่าชีวิตและศักยภาพของบุคคลและชุมชน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยชุมชนพิจิตร

วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร

วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร

วิทยาลัยชุมชนยโสธร

วิทยาลัยชุมชนยโสธร (Yasothon Community College) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยชุมชนยโสธร

วิทยาลัยชุมชนระนอง

วิทยาลัยชุมชนระนอง เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นตามนโยบายของรัฐบาลในการกระจายการศึกษาสู่ท้องถิ่น ให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตามหลักการ "การศึกษาสร้างชาติ สร้างคน สร้างาน" สืบเนื่องจากการแถลงนโยบายต่อรัฐสภาของรัฐบาล พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เมื่อวันที่ 26 กุมภาพัน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยชุมชนระนอง

วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร

วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร

วิทยาลัยชุมชนสระแก้ว

วิทยาลัยชุมชนสระแก้ว เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นตามนโยบายการกระจายการศึกษาไปยังจังหวัดที่ไม่มีสถาบันอุดมศึกษา โดยการคัดเลือกศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนจังหวัดสระแก้ว ให้ทำหน้าที่วิทยาลัยชุมชนควบคู่ไปกับภารกิจเดิม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยชุมชนสระแก้ว

วิทยาลัยชุมชนสงขลา

วิทยาลัยชุมชนสงขลา เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยชุมชนสงขลา

วิทยาลัยชุมชนสตูล

วิทยาลัยชุมชนสตูล เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยชุมชนสตูล

วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู

วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดการศึกษาในระดับอนุปริญญา และหลักสูตรระยะสั้น จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 19 กุมภาพัน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู

วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี

วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี

วิทยาลัยชุมชนตราด

วิทยาลัยชุมชนตราด เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยชุมชนตราด

วิทยาลัยชุมชนตาก

วิทยาลัยชุมชนตาก  เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเปิดสอนในหลักสูตรอนุปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงและประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยการเสริมสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อเพิ่มคุณค่าชีวิตและศักยภาพของบุคคลและชุมชน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยชุมชนตาก

วิทยาลัยชุมชนปัตตานี

วิทยาลัยชุมชนปัตตานี เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยชุมชนปัตตานี

วิทยาลัยชุมชนนราธิวาส

วิทยาลัยชุมชนนราธิวาส เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นตามนโยบายการขยายการศึกษาไปยังจังหวัดที่ไม่มีสถาบันอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยชุมชนนราธิวาส

วิทยาลัยชุมชนแพร่

วิทยาลัยชุมชนแพร่ เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยชุมชนแพร่

วิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน

วิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน  เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในกลุ่มสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเปิดสอนในหลักสูตรอนุปริญญา โดยการเสริมสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา เพื่อเพิ่มคุณค่าชีวิตและศักยภาพของบุคคลและชุมชน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน

วิทยาลัยช่างศิลป

วิทยาลัยช่างศิลป (College of Fine Arts) เป็นกลุ่มสถาบันการศึกษาในสังกัดสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม โดยจัดการเรียนการสอนในสาขาศิลปะ ทั้งศิลปะไทยประเพณีและศิลปะร่วมสมั.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยช่างศิลป

วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร

วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน (Chetupon Commercial College)  เป็นวิทยาลัยด้านพณิชยกรรมและบริหารธุรกิจ สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในเขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร โดยเปิดสอน 3 หลักสูตร คือ ปว., ปว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยพณิชยการเชตุพน สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร

วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่

วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่ เป็นสถาบันการเรียนการสอนระดับอาชีวศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดนครราชสีมา โดยเปิดสอน 2 หลักสูตร คือ ปว.และ ปว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่

วิทยาลัยการอาชีพชุมพวง

วิทยาลัยการอาชีพชุมพวง เป็นสถาบันการเรียนการสอนระดับอาชีวศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดนครราชสีมา ประกาศจัดตั้งโดยนายสุขวิช รังสิตพลขณะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม..2540 โดยเปิดสอน 2 หลักสูตร คือ ปว.และ ปว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยการอาชีพชุมพวง

วิทยาลัยการอาชีพพนัสนิคม

วิทยาลัยการอาชีพพนัสนิคม เป็นสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ในอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยการอาชีพพนัสนิคม

วิทยาลัยการอาชีพปากช่อง

วิทยาลัยการอาชีพปากช่อง เป็นสถาบันอาชีวศึกษาในจังหวัดนครราชสีมา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 881 หมู่ 13 ตำบลจันทึก อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา 30130.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยการอาชีพปากช่อง

วิทยาลัยการอาชีพเทิง

วิทยาลัยการอาชีพเทิง ตั้งอยู่เลขที่ 191 หมู่ 15 ถนนพิศาล ตำบลเวียง อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย (สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3) สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศจัดตั้งเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยการอาชีพเทิง

วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น

วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น (College of Local Administration, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับวิทยาลัย สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ โอนย้ายมาจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยมีฐานะเป็นองค์กรในกำกับมหาวิทยาลัย ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยองค์กรในกำกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น

วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

วิทยาลัยสหวิทยาการ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะ สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนระดับปริญญาตรี โท และเอก ในหล.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๑

วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี เป็นวิทยาลัยด้านคหกรรม ซึ่งหน่วยงานหนึ่งในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๑ ในกำกับสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งก็ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๑

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา  เป็นวิทยาลัยด้านคหกรรมและศิลปกรรม สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ดยเปิดสอน 3 หลักสูตร คือ ปว., ปว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก

วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) เดิมชื่อ วิทยาลัยการอาชีพพานทอง ประกาศจัดตั้งเมื่อ 24กุมภาพันธ์2540โดยนายสุขวิช รังสิตพลรัฐมนตรีว่าการกนะทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น ต่อมากระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยสำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ได้ร่วมกันจัดทำโครงการจัดตั้งโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์นำร่อง โดยมีวิทยาลัยการอาชีพพานทอง เป็นสถานศึกษานำร่องแห่งแรก และได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2550 ต่อมากระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศเปลี่ยนชื่อวิทยาลัยเมื่อวันที่ 21พฤษภาคม 2552 เพื่อรองรับการขยายผลของนักเรียนโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ โดยใช้รูปแบบของห้องเรียนพิเศษในสถานศึกษาที่มีอยู่เดิม (school in school) โรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ เป็นโรงเรียนระดับชาติ (national school) จัดการศึกษาในระดับการศึกษาพื้นฐานช่วงชั้นที่ 4 (มัธยมศึกษาตอนปลาย) ที่มีหลักสูตรครอบคลุมการเรียนวิชาทั้งสายสามัญและสายอาชีพ เพื่อรองรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ (talented children) ทางการประดิษฐ์คิดค้น และพัฒนาเชิงเทคโนโลยี โดยส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพ กระบวนการเรียนรู้และความสนใจที่จะพัฒนาตนเองไปสู่การเป็น"นักเทคโนโลยี"ในอนาคต ซึ่งถือเป็นจุดเด่นที่แตกต่างจากสายอาชีพแบบเดิมที่เน้นการผลิตกำลังคนในระดับผู้ใช้เทคโนโลยี หรือสายสามัญที่เน้นการสร้างนักวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดังตัวอย่างของโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ โดยนักเรียนของโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์จะมีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ที่มีความเข้มข้นเท่านักเรียนสายสามัญ (วิทย์-คณิต) ในขณะที่มีทักษะด้านงานทางเทคโนโลยีเท่าเก่านักเรียนสายอาชีพ ภายใต้การเรียนการสอนแบบ Project-Based learning ที่มุ่งเน้นสร้างทักษะในการแก้ปัญหาและสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ เพื่อรองรับการสร้างนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ให้กับภาคการผลิตและบริการต่อไปในอนาคต และเมื่อนักเรียนสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียน จะสามารถเลือกศึกษาต่อได้ทั้งสายอุดมศึกษา หรือสายอาชีพ(ปวส.) ซึ่งจะมีการพัฒนาหลักสูตรพิเศษในการศึกษาเพื่อรองรับนักเรียนกลุ่มนี้เป็นการเฉ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก

วิทยาลัยนาฏศิลป

วิทยาลัยนาฏศิลป (The College of Dramatic Arts) เป็นกลุ่มสถาบันการศึกษาในสังกัดสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม และกระทรวงศึกษาธิการ โดยเปิดสอนเพื่อผลิตครูและบุคลากรสายอาชีพในด้านนาฏศิลป์และดนตรี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยนาฏศิลป

วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา

วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา (Nakhon Ratchasima College of Dramatic Arts) เป็นวิทยาลัยนาฏศิลป สังกัดสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 2 มกราคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา

วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิตเป็นสถาบันแพทยศาสตร์ในมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งแรกของประเทศไทย ก่อตั้งเป็นสถาบันแพทยศาสตร์ลำดับที่ 9 ในจำนวนโรงเรียนแพทย์ทั่วประเทศ 21 สถาบัน ได้รับการรับรองจากแพทยสภาเปิดเป็นโรงเรียนแพทย์โดยสมบูรณ์ ด้วยปณิธานของมหาวิทยาลัยรังสิตที่จะผลิตผลิตบัณฑิตในสาขาที่ประเทศขาดแคลนต่อการพัฒนาประเทศ เพื่อเพิ่มจำนวนแพทย์ให้เพียงพอโดยการร่วมกันผลิตแพทย์ระหว่างภาครัฐคือกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข และเอกชน คือมหาวิทยาลัยรังสิต ในปัจจุบันวิทยาลัยนี้มีนักศึกษาจบไปแล้วทั้งสิ้น 19 รุ่น จำนวนกว่า 1200 คน (บัณฑิตแพทย์รุ่น 19 สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2555-56).

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ (Poh-Chang Academy of Arts, Rajamangala University of Technology Rattanakosin) เดิมคือ โรงเรียนเพาะช่าง ตั้งอยู่ที่ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีสีแดง–สีดำ เป็นสัญลักษณ์ของสถาบัน เพาะช่างเป็นสถาบันศิลปะการช่าง ก่อตั้งขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถือเอาวันที่ 7 มกราคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครราชสีมา สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครราชสีมา (อังกฤษ: NakhonRatchasima College of Agriculture and Technology) เป็นวิทยาลัยด้านการเกษตร สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา โดยเปิดสอน 3 หลักสูตร คือ ปว., ปว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครราชสีมา สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

วิทยาลัยเทคนิค กรุงเทพฯ

วิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพฯ หรือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ เป็นวิทยาลัยเทคนิคเปิดสอนการเรียนการสอนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เป็นแห่งแรกในประเทศไทย สังกัดกองวิทยาลัยเทคนิค กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีการปรับปรุงโครงสร้างการบริหารและ การจัดการศึกษาภายในกรมอาชีวศึกษา และกระทรวงศึกษาธิการหลายครั้ง กระทั่งในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยเทคนิค กรุงเทพฯ

วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกสมุทรปราการ

วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก สมุทรปราการ(Kanchanapisek Samutprakan Technical College) เป็นหนึ่งใน 7 วิทยาลัยเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เนื่องในวโรกาส งานฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 50 ปี ในวันที่ 9 มิถุนายน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกสมุทรปราการ

วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๔

วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี เป็นสถาบันด้านการอาชีวศึกษา (Vocational Education) อยู่ในสังกัดของ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๔ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) ปัจจุบันตั้งอยู่ ณ เลขที่ 433 ถนนศรีสุริยวงศ์ ต.หน้าเมือง อ.เมือง จ.ราชบุรี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยเทคนิคราชบุรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๔

วิทยาลัยเทคนิคหลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๕

รรยากาศในวิทยาลัยฯ บรรยากาศในวิทยาลัยฯ วิทยาลัยเทคนิคหลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ เป็นศูนย์กลางอำนวยการของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๕ ตั้งอยู่ในอำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา และเปิดสอน 3 หลักสูตร คือ ปว., ปว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยเทคนิคหลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๕

วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๑

วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี (Udonthani Technical College) เป็นวิทยาลัยด้านช่างอุตสาหกรรม ซึ่งหน่วยงานหนึ่งในสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๑ ในกำกับสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เปิดทำการเรียนการสอนระดับ ปริญญาตรี ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) และประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๑

วิทยาลัยเทคนิคปักธงชัย

วิทยาลัยเทคนิคปักธงชัย เป็นสถาบันการเรียนการสอนระดับอาชีวศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดนครราชสีมา โดยเปิดสอน 2 หลักสูตร คือ ปว.และ ปว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยเทคนิคปักธงชัย

วิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๕

วิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา  (อังกฤษ : Nakhonrahasima Technical College ) เป็นวิทยาลัยด้านช่างอุตสาหกรรม สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๕ ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา โดยเปิดสอน 3 หลักสูตร คือ ปว., ปว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๕

วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ

วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ (เดิมชื่อ โรงเรียนชลบุรีบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี เปลี่ยนชื่อตาม พรบ.โรงเรียนเอกชน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ

วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ

วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC; คำอ่าน: เอส-แบค) หรือ Siam Business Administration College of Technology เป็นสถาบันการศึกษาระดับอาชีวศึกษา ที่มีชื่อเสียง ตั้งอยู่ที่ ถนนพหลโยธิน แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร เปิดสอน 2 ระดับ คือ ปวช.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ

วิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

ัญลักษณ์ของการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิก ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (International Junior Science Olympiad: IJSO) เป็นสัญลักษณ์หลักการแข่งขันในทุกๆครั้ง การแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (International Junior Science Olympiad: IJSO) เป็นสาขาหนึ่งในสาขาของโอลิมปิกวิชาการประเภทเดียวที่ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เนื่องจากการแข่งขันมีข้อกำหนดว่าผู้เข้าแข่งขันต้องมีอายุน้อยกว่า 15 ปีในวันแข่งขัน โดยมีการเริ่มแข่งขันครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

วินัย สะมะอุน

วินัย สะมะอุน มีชื่อมุสลิมว่ามัรฺวาน (مروان) อิหม่ามมัสยิดกมาลุลอิสลาม นักวิชาการศาสนาอิสลามที่มีชื่อเสียงในประเทศไทย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตสมาชิวุฒิสภา อดีตรองประธานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย อดีตผู้ได้รับการเสนอชื่อให้เป็นจุฬาราชมนตรีหลังจากนายประเสริฐ มะหะหมัดถึงแก่อนิจกรรม และได้รับการเสนอชื่ออีกครั้งเมื่อนายสวาสดิ์ สุมาลยศักดิ์ถึงแก่อนิจกรรม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และวินัย สะมะอุน

ศักดิ์เกษม หุตาคม

ักดิ์เกษม หุตาคม (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2461 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2529) นักเขียนนวนิยายรัก โศกนาฏกรรม และนักแต่งเพลงที่มีชื่อเสียง เจ้าของนามปากกา อิงอร ได้รับฉายาว่า นักเขียนปลายปากกาจุ่มน้ำผึ้ง ศักดิ์เกษม หุตาคม เกิดที่จังหวัดสงขลา อาศัยอยู่กับมารดาและยาย เพราะกำพร้าบิดาตั้งแต่เด็ก จบชั้นมัธยมจากโรงเรียนมหาวชิราวุธ สงขลา แล้วเข้ามาหางานทำที่กรุงเทพ พร้อมกับเรียนกฎหมายที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จนจบอนุปริญญาเมื่อ..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และศักดิ์เกษม หุตาคม

ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และศาสนาพุทธในประเทศไทย

ศิลป์ พีระศรี

ตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี (15 กันยายน พ.ศ. 2435 — 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2505) เดิมชื่อ คอร์ราโด เฟโรชี (Corrado Feroci) ชาวอิตาลีสัญชาติไทย เป็นประติมากรจากเมืองฟลอเรนซ์ที่เข้ามารับราชการในประเทศไทยตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถือเป็นปูชนียบุคคลคนหนึ่งของไทยที่ได้สร้างคุณูปการในทางศิลปะและมีผลงานที่เป็นที่กล่าวขานจนเป็นที่รู้จักกว้างขวาง ทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งและอาจารย์สอนวิชาศิลปะที่โรงเรียนประณีตศิลปกรรม ซึ่งภายหลังได้รับการยกฐานะให้เป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยศาสตราจารย์ศิลป์ได้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัย มีความรักใคร่ ห่วงใยและปรารถนาดีต่อลูกศิษย์อยู่ตลอดจนเป็นที่รักและนับถือทั้งในหมู่ศิษย์และอาจารย์ด้วยกัน ศาสตราจารย์ศิลป์ยังเป็นผู้วางรากฐานที่เข้มแข็งให้แก่วงการศิลปะไทยสมัยใหม่จากการที่ได้พร่ำสอนและผลักดันลูกศิษย์ให้ได้มีความรู้ความสามารถในวิชาศิลปะทั้งงานจิตรกรรมและงานช่าง มีจุดประสงค์ให้คนไทยมีความรู้ความเข้าใจในศิลปะและสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะได้ด้วยความสามารถของบุคลากรของตนเอง การก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงเปรียบเสมือนการหว่านเมล็ดพันธุ์ให้แก่คนไทยเพื่อที่จะออกไปสร้างศิลปะเพื่อแผ่นดินของตน และถึงแม้จะริเริ่มรากฐานของความรู้ด้านศิลปะตะวันตกในประเทศไทย แต่ในขณะเดียวกันศาสตรจารย์ศิลป์ก็ได้ศึกษาศิลปะไทยอย่างลึกซึ้ง เนื่องจากต้องการให้คนไทยรักษาความงามของศิลปะไทยเอาไว้ จึงได้เกิดการสร้างลูกศิษย์ที่มีความรู้ทั้งงานศิลปะตะวันตกและศิลปะไทยออกไปเป็นกำลังสำคัญให้แก่วงการศิลปะไทยเป็นจำนวนมาก และเกิดรูปแบบงานศิลปะไทยสมัยใหม่ในที่สุด ด้วยคุณูปการนี้ศาสตราจารย์ศิลป์จึงได้รับการยกย่องให้เป็นปูชนียบุคคลของมหาวิทยาลัยศิลปากรและของประเทศไทย โดยเฉพาะในงานประติมากรรมที่ได้มีผลงานที่โดดเด่นมากมายที่สร้างไว้แก่ประเทศไทย ได้แก่ พระพุทธรูปประธานที่พุทธมณฑล, อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ, อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย และรวมไปถึง พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ที่วงเวียนใหญ่, พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช, อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี และพระบรมราชานุสาวรีย์ของกษัตริย์ไทยอีกหลายพระองค์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ศาสตรจารย์ศิลป์จงได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทยและเป็นบิดาแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยในวันที่ 15 กันยายน ของทุกปีจะถือเป็นวันศิลป์ พีระศรี ซึ่งมหาวิทยาลัยจะจัดงานรำลึกขึ้นทุกปีเพื่อระลึกถึงคุณงามความดีของศาสตราจารย์ศิลป์ที่มีต่อมหาวิทยาลัยและประเทศไทยหลายประการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และศิลป์ พีระศรี

ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เป็นโรงพยาบาลในสังกัดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 222 หมู่ 1 ถนนติวานนท์ ตำบลบางตลาด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

ทความนี้เกี่ยวข้องกับสถานที่แสดงมหรสพ สำหรับสถานีรถไฟฟ้ามหานคร ดูที่ สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย (Thailand Cultural Centre) เป็นสถานที่จัดแสดงนิทรรศการและจัดการแสดงต่างๆ อาทิ คอนเสิร์ต ละครเวที รวมไปถึงเป็นสถานที่จัดการประชุมต่างๆ ตั้งอยู่ที่ บ้านเลขที่ 14 ถนนเทียมร่วมมิตร แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร โดยผู้อำนวยการศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย คนปัจจุบัน คือ นางดาวลดา พันธ์วร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา

ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (Science Center for Education) หรือที่นิยมเรียกตามชื่อเดิมของสถานที่ว่า ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ (Bangkok Planetarium) ตั้งอยู่เลขที่ 928 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร จากเว็บไซต์ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา

สกล พันธุ์ยิ้ม

ตราจารย์ สกล พันธุ์ยิ้ม (31 มีนาคม 2486 -) เกิดที่อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานวิจัยดีเด่นในสาขาชีวเคมี อณูชีววิทยา พันธุศาสตร์ และพันธุวิศวกรรม เป็นเจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย สาขาชีวเคมี ประจำปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสกล พันธุ์ยิ้ม

สกุล ศรีพรหม

กุล ศรีพรหม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสกุล ศรีพรหม

สมบัติผู้ดี

มบัติผู้ดี คือหลักปฏิบัติ 10 ประการ ของผู้ที่มี กาย วาจา ใจ อันสุจริต ซึ่ง เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล) เสนาบดีกระทรวงธรรมการ ในสมัยรัชกาลที่ 6 ขณะมีบรรดาศักดิ์เป็น พระยาวิสุทธสุริยศักดิ์ ได้เรียบเรียงเป็นหนังสือชื่อ "สมบัติของผู้ดี" เมื่อปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสมบัติผู้ดี

สมบุญ ระหงษ์

ลอากาศเอกสมบุญ ระหงษ์ (21 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 — 23 กันยายน พ.ศ. 2556) อดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีต..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสมบุญ ระหงษ์

สมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย

ัญลักษณ์ สมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย สมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย หรือ...ท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย

สมาคมผู้ดูแลเว็บไทย

ัญลักษณ์สมาคมผู้ดูแลเว็บไทย สมาคมผู้ดูแลเว็บไทย (Thai Webmaster Association) เป็นสมาคมเอกชนของไทย จัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการใน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสมาคมผู้ดูแลเว็บไทย

สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา

ท่านผู้หญิง สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา (10 มกราคม 2456 - 5 มีนาคม 2550) เป็นผู้ประพันธ์คำร้องในเพลงพระราชนิพนธ์ ค่ำแล้ว, มหาจุฬาลงกรณ์, เมื่อโสมส่อง, ลมหนาว, พณิชยการพระนคร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)

ตราจารย์พิเศษ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิม ประยุทธ์ อารยางกูร ฉายา ปยุตฺโต หรือที่รู้จักกันดีทั่วไปในนามปากกา "ป.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส

มเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 10 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เสด็จสถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ได้รับมหาสมณุตตมาภิเษกเมื่อปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

มหาอำมาตย์ตรี พันเอกพิเศษ จอมพลเรือ นายกองเอกเสือป่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (1 มกราคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง พลตำรวจเอกหญิง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พระนามเดิม: สังวาลย์ ตะละภัฏ; พระราชสมภพ: 21 ตุลาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ

อมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (3 มีนาคม พ.ศ. 2426-13 มิถุนายน พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุล "จักรพงษ์" เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 40 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้เข้าศึกษาในโรงเรียนนายร้อยมหาดเล็กตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย หลังจากสำเร็จการศึกษา ทรงรับราชการทหารเป็นเสนาธิการทหารบก โดยทรงริเริ่มจัดตั้งโรงเรียนเสนาธิการ ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบินในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่า "พระบิดาแห่งกองทัพอากาศไทย" และ "พระบิดาแห่งการบินไทย" ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 เกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งขึ้น มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยศจากนายพลเอกเป็นจอมพล และทรงเป็นผู้ที่จัดส่งทหารอาสาเขาทำการรบในสงครามครั้งนั้น ต่อมาสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ เสด็จทิวงคตด้วยพระโรคพระปับผาสะ ขณะเสด็จไปประทับพักผ่อนพระวรกายที่สิงคโปร์ พระชนม์เพียง 37 พรรษา เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ

สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์

มเด็จพระบรมราชา (ที่ 3) หรือ สมเด็จพระเจ้าเอกทัศ หรือ สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 33 และเป็นรัชกาลสุดท้ายแห่งอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี

ันเอกหญิง สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี (20 ธันวาคม พ.ศ. 2447 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2527) เป็นพระอัครมเหสีเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมเหสีพระองค์แรกตามแบบยุโรปและระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย หลังจากพระราชสวามีสละราชสมบัติเมื่อ..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร

ลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร พระนามเดิม พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ (12 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

สริ ยงยุทธ

ริ ยงยุทธ (2 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 6 เมษายน พ.ศ. 2548) เป็นนักดนตรีที่มีชื่อเสียงในการเล่นเปียโนให้แก่วงดนตรีกรมโฆษณาการ หรือ วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ หรือ วงดนตรีสุนทราภรณ์ในระยะต่อมา เป็นผู้แต่งทำนองเพลงไว้หลายเพลง เช่น รักเอาบุญ หากภาพเธอมีวิญญาณ ชั่วคืนเดียว ดาวเจ้าชู้ รักฉันตรงไหน อุบลรัตน์ เงาแห่งความหลัง วิมานทล.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสริ ยงยุทธ

สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์

วนสมเด็จพระศรีนครินทร์ สวนสาธารณะที่รัฐบาลจัดสร้างโดยมอบให้กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีในวาระพระชนมายุ 80 พรรษา เมื่อ พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์

สัมพันธ์ ทองสมัคร

นายสัมพันธ์ ทองสมัคร กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ แล..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสัมพันธ์ ทองสมัคร

สัตววิทยา

ัตววิทยา (Zoology, มาจากภาษากรีกโบราณ ζῷον (zoon) หมายถึง "สัตว์" และ λόγος หมายถึง "วิทยาการ หรือ ความรู้") จัดเป็นศาสตร์ด้านชีววิทยาสาขาหนึ่ง เกี่ยวข้องกับสมาชิกในอาณาจักรสัตว์ และชีวิตสัตว์โดยทั่วไป โดยเป็นการศึกษาเรื่องสัตว์ ตั้งแต่พวกสัตว์ชั้นต่ำพวก ฟองน้ำ แมงกะพรุน พยาธิตัวแบน พยาธิตัวกลม กลุ่มหนอนปล้อง สัตว์ที่มีข้อปล้อง กลุ่มสัตว์พวกหอย ปลาดาว จนถึง สัตว์มีกระดูกสันหลัง และ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตววิทยาศึกษาโดยรวมเกี่ยวกับร่างกายของสัตว์ ไม่ได้เน้นส่วนใดส่วนหนึ่ง และกระบวนการสำคัญในการดำรงชีพ แต่ศึกษาความสัมพันธ์ของสัตว์หรือกลุ่มสัตว์กับสภาพแวดล้อม เนื่องจากเป็นขอบเขตการศึกษาที่กว้าง จึงมักจะแบ่งย่อยเป็นสาขาอื่นๆ อีก เช่น วิทยาเซลล์, วิทยาตัวอ่อน, สัณฐานวิทยา, โบราณชีววิทยา, พันธุศาสตร์และวิวัฒนาการ, อนุกรมวิธาน, พฤติกรรมวิทยา, นิเวศวิทยา และสัตวภูมิศาสตร์ เป็นต้น สัตววิทยานั้นมีการศึกษามาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ และจักรวรรดิโรมัน จากงานของฮิปโปเครเตส, อะริสโตเติล, และพลินี นักธรรมชาตินิยมสมัยต่อมาเจริญรอยตามอริสโตเติล จนในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เมื่อมีการพิมพ์แพร่หลาย ความรู้เหล่านี้ก็กว้างขวางขึ้น มีการศึกษาและเผยแพร่มากขึ้น เช่น วิลเลียม ฮาร์วีย์ (การไหลเวียนของเลือด), คาโรลุส ลินเลียส (ระบบการตั้งชื่อทางวิทยาศาสตร์), ฌอร์ฌ-หลุยส์ เลอแกลร์ก กงต์เดอบูว์ฟง (ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ) และฌอร์ฌ กูว์วีเย (กายวิภาคเปรียบเทียบ) ซึ่งเป็นการศึกษาในขั้นลึกของสัตววิทยา จุดเปลี่ยนครั้งใหญ่ของการศึกษาสัตววิทยา ก็เมื่อชาลส์ ดาร์วิน ได้ตีพิมพ์หนังสือ กำเนิดพงศ์พันธุ์ (On the Origin of Species by Means of Natural Selection) ซึ่งได้อธิบายทฤษฎีวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต นับแต่นั้นการศึกษาด้านพันธุศาสตร์เริ่มมีความจำเป็นในการศึกษาทางชีววิทยา และการศึกษาในแนวลึกเฉพาะด้านเริ่มมีมากขึ้น และยังมีการศึกษาคาบเกี่ยวกันในแต่ละสาขาวิชาด้วย สำหรับสถาบันที่เปิดสอนศาสตร์ด้านสัตววิทยานั้น ในประเทศไทย ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ ต้องผ่านการสอบคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ที่มีหลักสูตร สาขาวิชาสัตววิทยา และสาขาวิชาชีววิทยา เช่น คณะวิทยาศาสตร์ คณะเกษตร คณะประมง เช่น คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น หลักสูตร 4 ปี สำเร็จการศึกษาได้วุฒิปริญญาตรี เป็นต้น และเมื่อศึกษาจบแล้ว สามารถเข้าทำงานในหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนได้ต่าง ๆ หลากหล.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสัตววิทยา

สายสุรี จุติกุล

รองศาสตราจารย์ สายสุรี จุติกุล ที่ปรึกษาด้านสตรี เด็ก เยาวชน การศึกษาและพัฒนาสังคมสำนักงานปลัด สำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสายสุรี จุติกุล

สำนักพระราชวัง

ำนักพระราชวัง (Bureau of the Royal Household; BRH) เป็นหน่วยงานของทางราชการมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลและรับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระราชวัง ตลอดจนดูแลรักษาทรัพย์สินและผลประโยชน์ในองค์ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นผู้บังคับบัญชาสำนักพระราชวัง และเลขาธิการพระราชวังเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชกิจราชการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสำนักพระราชวัง

สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นสถาบันการศึกษาทางการแพทย์ในกำกับของรัฐบาลแห่งที่ 2 ของประเทศไทย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ได้เริ่มจัดทำโครงการพัฒนาระบบสุขภาพ จังหวัดนครศรีธรรมราช เสนอต่อนายกรัฐมนตรี เมื่อปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (National Office of Buddhism) เป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี เป็นหน่วยงานที่ไม่สังกัดกระทรวง ทบวงใด จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสำนักงานราชบัณฑิตยสภา

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Office of the Basic Education Commission: OBEC) เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าที่รับผิดชอบการจัดการศึกษาในระดับพื้นฐานตั้งแต่ระดับปฐมวัย จนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยแบ่งออกเป็น 3 ช่วงชั้น.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) หรือ "กรมอาชีวศึกษา" (เดิม) เป็นหนึ่งในห้าหน่วยงานหลักของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบกำกับดูแลงานการศึกษาในด้านการอาชีวศึกษา เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการการอาชีวศึกษ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย)

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา: สกอ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) (Office of the Private Education Commission: OPEC) เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เดิมมีชื่อว่า "สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน" ในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา

ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (Office of the Welfare Promotion Commission for Teachers and Education Personnel) หรือ สก.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (Office of the Permanent Secretary, Ministry of Education) เป็นหน่วยงานระดับกรม ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ในอดีตเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบงานธุรการทั่วไปของกระทรวงศึกษาธิการ แต่ภายหลังการปฏิรูประบบราชการ ในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) (Office of the Education Council: ONEC) เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าที่ในการเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษาของชาติที่บูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและการกีฬากับการศึกษาทุกระดับ การเสนอนโบายและแผนสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา และการประเมินผลการจัดการศึกษ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา

ำนักงานเลขาธิการคุรุสภา เป็นสำนักเลขานุการของคุรุสภา เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ มีเลขาธิการคุรุสภาเป็นผู้บังคับบัญชา มีสำนักงานอยู่ที่ 128/1 ถนนนครราชสีมา แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสำนักงานเลขาธิการคุรุสภา

สิปปนนท์ เกตุทัต

ตราจารย์กิตติคุณ สิปปนนท์ เกตุทัต (23 กุมภาพันธ์ 2474 — 16 กรกฎาคม 2549) ราชบัณฑิตกิตตมศักดิ์ เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ทีมีคุณูปการต่อวงการศึกษา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม และการพัฒนาประเทศไทยในภาพรวม ท่านเป็นผู้บุกเบิกหลายสิ่งในประเทศ ที่เป็นรากฐานทำให้เกิดองค์กรและโครงการที่ช่วยในการยกระดับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การศึกษา ของประเทศมาโดยลำดับ ท่านมีผลงานเขียน ที่จุดประกายให้เยาวชนไทย และผู้บริหารการพัฒนาประเทศได้ใช้นำทางจำนวนมาก และในวาระที่ท่านดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ท่านได้กราบทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเพื่อนำเอา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย และเป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสิปปนนท์ เกตุทัต

สุชาติ ชวางกูร

ติ ชวางกูร (เกิด 22 เมษายน พ.ศ. 2503) เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทยที่ได้รับความนิยมในช่วง 2525-2530.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสุชาติ ชวางกูร

สุกิจ นิมมานเหมินท์

ตราจารย์ สุกิจ นิมมานเหมินท์ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2449 — 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519) อดีตราชบัณฑิต อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีหลายกระทรวง และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสุกิจ นิมมานเหมินท์

สุวิทย์ คุณกิตติ

นายสุวิทย์ คุณกิตติ (17 ตุลาคม 2500 -) ประธานที่ปรึกษาพรรคกิจสังคม อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน..ขอนแก่น 7 สมัย อดีตรองนายกรัฐมนตรี เคยดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีในหลายกระทรวงทั้งกระทรวงยุติธรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสุวิทย์ คุณกิตติ

สุธรรม แสงประทุม

รรม แสงประทุม อดีตประธานกรรมการบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน), อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กับอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร สมัยที่ 1, ผู้ร่วมก่อตั้งพรรคไทยรักไทย และอดีตเลขาธิการศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสุธรรม แสงประทุม

สุดสาคร (ภาพยนตร์การ์ตูน)

ร เป็นภาพยนตร์การ์ตูนแนวแฟนตาซี ผจญภัย ที่กำกับโดย ปยุต เงากระจ่าง และนับเป็นภาพยนตร์การ์ตูนขนาดยาวเรื่องแรกของประเทศไทย ออกฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 เมษายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสุดสาคร (ภาพยนตร์การ์ตูน)

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (สพบ.) (National Institute of Development Administration) หรือ ที่นิยมเรียกกันว่า นิด้า (NIDA) เป็นสถาบันการศึกษาชั้นสูงของรัฐ เปิดสอนเฉพาะระดับมหาบัณฑิต (ปริญญาโท) และดุษฎีบัณฑิต (ปริญญาเอก) และถือเป็นสถาบันการศึกษาที่เปิดการสอนหลักสูตร MBA เป็นแห่งแรกในประเทศไทย โดยคณะบริหารธุรกิจของนิด้าได้รับการจัดอยู่ในอันดับต้นของทวีปเอเชียอยู่สม่ำเสมอจากสื่อชั้นนำระดับนานาชาติ ประกอบกับเป็นสถาบันที่มีอัตราส่วนอาจารย์ระดับปริญญาเอกต่อจำนวนนักศึกษาที่สูงที่สุดในประเทศไทย และสัดส่วนอาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการสูงที่สุดในประเทศไทย รวมไปถึงยังได้รับคะแนนการประเมินการดำเนินงานจากหลากหลายองค์กรในระดับสูงที่สุดในประเทศไทย บุคคลที่เกี่ยวข้องกับสถาบันรวมถึงคณาจารย์และศิษย์เก่ามีหลากหลาย ซึ่งรวมถึงบุคคลสำคัญในด้านการเมืองการปกครองและภาคธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นนายกรัฐมนตรี, รองนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีประจำกระทรวงต่างๆ, สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ, สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ และข้าราชการระดับสูง รวมถึงเจ้าของธุรกิจขนาดใหญ่ ของประเทศไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

ันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (Bunditpatanasilpa Institute; ชื่อย่อ: BPI) เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเป็นผู้พระราชทานนามสถาบัน ซึ่งหมายถึง "สถาบันผลิตบัณฑิตทางศิลปะแห่งความเจริญ" โดยมีหน้าที่จัดการศึกษาระดับปริญญาตรีทางด้านช่างศิลป์ นาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และคีตศิลป์ ทั้งไทยและสากล รวมถึงศิลปวัฒนธรรม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์

ันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ (Chulabhorn Graduate Institute) เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ส่วนงานหนึ่งของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ มีหน้าที่จัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ทําการวิจัย นําผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ และให้บริการทางวิชาการ อดีตเป็นบัณฑิตวิทยาลัยเอกชน ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้รับอนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์

สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคตะวันออกเฉียงหนือ เดิมมีชื่อว่า ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน)

ันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน) เรียกโดยย่อว่า "." และใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า International Institute for Trade and Development (Public Organization) เรียกโดยย่อว่า "ITD" เป็นองค์การมหาชน จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน)..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน)

สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์

ันวิจัยจุฬาภรณ์ เป็นสถาบันอิสระภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงศึกษาธิการ มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนงานในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยการสนับสนุนด้านการวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทั้งในด้านทุนวิจัย สนับสนุนอุปกรณ์เครื่องมือศึกษาวิจัยที่ทันสมัยรวมทั้งนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรที่มีคุณภาพ สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์

สถาบันวิจัยเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

ันวิจัยเทคโนโลยีการเกษตร เป็นส่วนราชการ ระดับสำนัก สังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตั้งอยู่ที่หมู่ 11 ตำบลพิชัย อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง (ด้านหลังมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง) มีหน้าที่ในการค้นคว้าวิจัยและให้บริการวิชาการด้านการเกษตร อุตสาหกรรมเกษตร การสร้างสิ่งประดิษฐ์ ฝึกทักษะวิชาชีพ ผลิตพันธุ์พืชที่ดีให้กับเกษตรกร รวมถึงการให้บริการตรวจวิเคราะห์ทางการเกษตร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสถาบันวิจัยเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

สถาบันวิทยาลัยชุมชน

ันวิทยาลัยชุมชน เป็นนิติบุคคลและเป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ แต่เดิมคือ "สำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน" ซึ่งมีหน้าที่กำกับดูแลวิทยาลัยชุมชน 20 แห่งทั่วประเทศ WA.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสถาบันวิทยาลัยชุมชน

สถาบันสมทบ

ันสมทบ (Affiliated Institutes) คือ สถาบันการศึกษาชั้นสูงหรือสถาบันวิจัยที่เข้าสมทบในมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจาก คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ยุบสถาบันการศึกษาที่อยู่นอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ดำเนินการสอนวิชาที่มีการสอนอยู่ในความควบคุมของกระทรวงศึกษาธิการ และให้สถาบันการศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ รับสถานศึกษาดังกล่าวเข้าสมทบในมหาวิทยาลัย โดยสถาบันสมทบที่สังกัดมหาวิทยาลัยต่าง ๆ มีดังนี้.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสถาบันสมทบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท. หรือ IPST) เป็นองค์การมหาชนในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าที่หลักในการพัฒนาขีดความสามารถในด้านการศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ของครู และเยาวชนไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ

ันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ (national university) หรือที่เรียกว่า มหาวิทยาลัยนอกระบบ คือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มีการบริหารการจัดการอิสระแยกจากระบบราชการ (autonomous university) แต่ยังได้รับเงินอุดหนุนทั่วไป (block grant) ที่รัฐจัดสรรให้เป็นรายปีโดยตรง เพื่อใช้จ่ายตามความจำเป็นในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และเพื่อประกันคุณภาพการศึกษ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

ันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สท. เป็นหน่วยงานของรัฐ ประเภทองค์การมหาชน จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีการจัดตั้งสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน)..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

ันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นหน่วยงานที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า

ันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เป็นอดีตสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ เคยมีสถานะเป็นกรมในกระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งขึ้นใน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ก่อตั้งด้วยความช่วยเหลือของรัฐบาลญี่ปุ่น โดยเน้นการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งอยู่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นีวิทยุกระจายเสียงแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกโดยย่อว่า "วิทยุจุฬาฯ" เป็นสถานีวิทยุกระจายเสียงของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ออกอากาศด้วยคลื่นความถี่ 101.5 เมกะเฮิรตซ์ ในระยะแรกสถานีวิทยุแห่งนี้ป็นสถานที่ทดลองส่งคลื่นวิทยุกระจายเสียงที่นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพัฒนาขึ้น โดยทดลองทำเครื่องส่งสัญญาณขึ้นเองจนสามารถใช้งานได้จริงสถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU Radio) FM 101.5 MHz.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม

นีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television ชื่อย่อ: DLTV) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2538 เพื่อเฉลิมพระเกียรติ ในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี บริหารงานโดย มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (Distance Learning Foundation ชื่อย่อ: DLF) โดยจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ถ่ายทอดสดตามหลักสูตร อนุบาลศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา สายอาชีวศึกษา อุดมศึกษา ให้แก่โรงเรียนในประเทศไทย และประเทศเพื่อนบ้าน จำนวน 15 ช่อง (ในชื่อ DLTV 1-15) รวมทั้ง การออกอากาศรายการเพื่อพัฒนาครู จำนวน 15 ช่อง (ในชื่อ DSTV Network 186-200) ปัจจุบันไม่ได้ถ่ายทอดสดการเรียนการสอนตามตารางสอนของชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม

สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

นีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา หรือ อีทีวี เป็นสถานีโทรทัศน์ของศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ นำเสนอรายการเกี่ยวกับการศึกษา ทั้งระดับประถมศึกษา, มัธยมศึกษา และการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) มีคำขวัญประจำสถานีว่า บ้านหลังใหญ่แห่งการเรียนรู้ และ เพื่อนเรียนรู้ตลอดชีวิต.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา

สด กูรมะโรหิต

กูรมะโรหิต (27 เมษายน พ.ศ. 2451 - 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521) เป็นนักเขียนนวนิยายไทยที่มีชื่อเสียง มีผลงานเขียนหลากหลาย ทั้งสารคดี เรื่องสั้น นวนิยาย นวนิยายแปล บทละครเวที และบทภาพยนตร์ นอกจากนี้ยังเป็นเกษตรกร ที่พยายามนำแนวคิดเกี่ยวกับกิจการสหกรณ์ไว้เป็นจำนวนมาก สด กูรมะโรหิต เกิดที่ตำบลท่าเรือจ้าง จังหวัดจันทบุรี เป็นบุตรของอำมาตย์โท พระจรูญภารการ (เติม กูรมะโรหิต) กับนางเหนย กูรมะโรหิต (2417-2512:95 ปี) มีน้องสาวคือ คุณหญิงนิธิวดี อ้นตระการ (2454- 2557 อายุ 103 ปี) บิดาเป็นข้าราชการมหาดไทย ตำแหน่งหลวงยกกระบัตรเมือง ยกกระบัตรมณฑล ปลัดมณฑล และผู้ว่าราชการจังหวัด ในวัยเด็กต้องย้ายตามบิดาไปตามจังหวัดต่างๆ และเข้าเรียนที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ตั้งแต่ชั้นประถม 1 ถึงมัธยม 8 เป็นเพื่อนร่วมรุ่นกับ โชติ แพร่พันธุ์ (ยาขอบ) กุหลาบ สายประดิษฐ์ (ศรีบูรพา) และหม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์ โดยมีผลการเรียนดีเด่น เข้าสอบชิงทุนเล่าเรียนหลวงสองครั้งในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสด กูรมะโรหิต

ส่ง เทภาสิต

รองอำมาตย์เอก ส่ง เทภาสิต (18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2442 - 5 มีนาคม พ.ศ. 2470) นักเขียนเรื่องสั้นชาวไทย ที่มีผลงานออกมาในช่วงเวลาสั้นๆ และได้รับการยอมรับว่าเป็นผลงานสร้างสรรค์แนวใหม่ ได้รับความชื่นชม และเป็นแรงบันดาลใจให้กับนักเขียนหลายคน เช่น เลียว ศรีเสวก บุญยืน โกมลบุตร ซึ่งถึงกับยอมรับว่าได้รับอิทธิพลมาจากงานเขียนของ ส่ง เทภาสิต ส่ง เทภาสิต เกิดเมื่อวันอาทิตย์ ปีกุน ตรงกับวันที่ 18 กุมภาพัน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และส่ง เทภาสิต

หมู่บ้านหัวหาด

หมู่บ้านหัวหาด หรือ บ้านหัวหาด เป็นหมู่บ้านหนึ่งในตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ชาวบ้านส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท มีวัดประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง และ โรงเรียนระดับพื้นฐาน 1 โรง เส้นทางคมนาคมหลักคือ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1247 และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1213) ด้านเศรษฐกิจ ชาวบ้านประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และหมู่บ้านหัวหาด

หมู่บ้านหาดเสือเต้น

หมู่บ้านหาดเสือเต้น หรือ บ้านหาดเสือเต้น เป็นหมู่บ้านหนึ่งในตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ชาวบ้านส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท มีวัดประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง และ โรงเรียนระดับพื้นฐาน 1 โรง มีโรงงานอุตสาหกรรม 1 แห่ง (โรงงานน้ำตาลไทยเอกลักษณ์) มีเส้นทางคมนาคมหลักคือ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 102) ด้านเศรษฐกิจ ชาวบ้านประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ปัจจุบันหมู่บ้านหาดเสือเต้นแบ่งการปกครองออกเป็น 2 หมู่ คือหมู่ 6 และ 8 โดยหมู่ 8 ​แยก​จาก​ หมู่ 6 ​เมื่อ​วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และหมู่บ้านหาดเสือเต้น

หมู่บ้านป่ากล้วย

หมู่บ้านป่ากล้วย หรือ บ้านป่ากล้วย เป็นหมู่บ้านหนึ่งในตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ชาวบ้านส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท มีวัดประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง และ โรงเรียนระดับพื้นฐาน 1 โรง มีเส้นทางคมนาคมหลักคือถนนเอเชีย (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11) ด้านเศรษฐกิจ ชาวบ้านประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และหมู่บ้านป่ากล้วย

หม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย

ลตำรวจจัตวา หม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย (5 ตุลาคม พ.ศ. 2451 - 3 มกราคม พ.ศ. 2552) นักเขียน นักภาษาศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักการศึกษา หม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย เป็นบุตรของ พันเอก หลวงเอนกนัยวาที (หม่อมราชวงศ์นารถ ชุมสาย) มีน้องสาวคือ หม่อมหลวงอนงค์ นิลอุบล เกิดที่จังหวัดฉะเชิงเทรา จบชั้นมัธยม 8 จากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และได้รับพระราชทานทุนเล่าเรียนหลวง ไปศึกษาอักษรศาสตร์จาก ทรินิตี้คอลเลจ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ สำเร็จการศึกษาเมื่อปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และหม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย

หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล

ตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล

หม่อมเจ้าพูนพิศมัย ดิศกุล

หม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2438 — 11 สิงหาคมพ.ศ. 2533) ทรงเป็นพระธิดาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ กับหม่อมเฉื่อย ดิศกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ยมาภัย).

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และหม่อมเจ้าพูนพิศมัย ดิศกุล

หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล

ตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล (23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 — 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) เป็นนักประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีชาวไทย ทรงเป็นบุคคลคนแรกที่พบทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ ปราสาทพนมรุ้ง อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ ในสถาบันศิลปะแห่งชิคาโก สหรัฐอเมริกา จนมีการทวงทับหลังชิ้นกลับคืนสู่ประเทศไทย ทรงเป็นหนึ่งในบุคคลไทยที่ทรงมีคุณูปการเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และหม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล

หลวงพรตพิทยพยัต (พรต เดชา)

ตราจารย์พรต เดชา หรือ อำมาตย์โท ศาสตราจารย์ หลวงพรตพิทยพยัต (Luang Brata) เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2438 เป็นอาจารย์ชาวไทย เริ่มดำรงตำแหน่งเป็นอาจารย์พิเศษสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ พรตเคยดำรงตำแหน่งสำคัญทางการศึกษาเป็นคณบดีคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในช่วง..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และหลวงพรตพิทยพยัต (พรต เดชา)

หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)

ลเรือเอก หลวงสินธุสงครามชัย มีชื่อจริงว่า สินธุ์ กมลนาวิน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คนแรก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ คนแรก ภายหลังเปลี่ยนชื่อจากกระทรวงธรรมการเป็นกระทรวงศึกษาธิการ, อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ, แม่ทัพเรือ หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร และเป็นหัวหน้าคณะราษฎรสายทหารเรือ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และหลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)

หลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์)

ตราจารย์พิเศษ อินทรี จันทรสถิตย์ หรือ หลวงอิงคศรีกสิการ (14 กันยายน พ.ศ. 2442 - 1 มกราคม พ.ศ. 2532) เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และเคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีและนายกสภามหาวิทยาลัย อดีตอธิบดีกรมเกษตร และเป็นอดีตรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการในสมัยรัฐบาลธานินทร์ กรัยวิเชียร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และหลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์)

หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน

หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน หรือชื่อเรียกย่อ โอดอส (ODOS ย่อมาจาก One District One Scholarship) เป็นโครงการพัฒนาการศึกษาของรัฐบาลในยุค ทักษิณ ชินวัตร ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และ อดิสัย โพธารามิก ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โดยชื่อเดิม และชื่อเต็มของโครงการนี้คือ โครงการทุนการศึกษาต่อของนักเรียนจากทุกอำเภอ และกิ่งอำเภอ ในระดับอุดมศึกษา (ปริญญาตรี) ทุนการศึกษา "หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน" ได้รับเงินสนับสนุนจากสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล โดยได้นำเงินจากการขายหวยออนไลน์ เลขท้าย 2 ตัวและ 3 ตัว ทำให้หลายคนเรียกและรู้จักทุนนี้ในชื่อของ "ทุนหวย".

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และหนึ่งอำเภอหนึ่งทุน

อภัย จันทวิมล

อภัย จันทวิมล เกิดวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2450 ที่อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนส่งเสริมคณะลูกเสือแห่งชาติ ในคณะกรรมการลูกเสือโลก ขององค์การลูกเสือโลก ตั้งแต..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และอภัย จันทวิมล

อภิวันท์ วิริยะชัย

ันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สอง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีหลายกระทรวง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และอภิวันท์ วิริยะชัย

อหังการ์ราชันย์ยักษ์

อหังการ์ราชันย์ยักษ์ (Ogre King โอเกอร์คิง) เป็นการ์ตูนไทยในรูปแบบมังงะหรือคอมมิค ซึ่งผู้สร้างสรรค์ผลงานคือนักวาดการ์ตูนชาวไทยสองคนได้แก่ มนตรี คุ้มเรือน เป็นผู้วาดภาพ และ อรุณทิวา วชิรพรพงศา เป็นผู้แต่งเรื่อง มีการจัดพิมพ์เป็นรูปเล่มแบบพ็อคเก็ตบุ๊คขนาดไม่เกิน 200 หน้าและตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และอหังการ์ราชันย์ยักษ์

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยในที่นี้ เป็นการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทยโดยหน่วยงานของไทยเอง และนิตยสารของต่างประเทศ สำหรับหน่วยงานของไทย ในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

อาณาจักรปลาทอง

อาณาจักรปลาทอง ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2533 อาณาจักรปลาทอง เป็นหนังสือส่งเสริมการอ่านแนววิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษาที่กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ จัดทำ โดยให้ ถนัดกิจ ปิณินทรีย์ เป็นผู้เขียน เป็นเรื่องราวการผจญภัยของปลาทองพันธุ์สิงห์วุ้นซึ่งมีชื่อว่า "สิงห์" เป็นตัวละครเอก ดำเนินเรื่องตั้งแต่เกิดจนตาย ถนัดกิจ ปิณินทรีย์ เขียนเรื่องนี้จากประสบการณ์จริงในการเลี้ยงปลาทองในวัยเด็กของตนเอง จึงต้องการที่จะถ่ายทอดประสบการณ์ให้เด็ก ๆ ที่คิดจะเลี้ยงปลาทอง รู้จักธรรมชาติของปลาทอง รู้จักวิธีการเลี้ยงดู และปัญหาต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับปลาที่เลี้ยง...

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และอาณาจักรปลาทอง

อาณาจักรปัตตานี

อาณาจักรปัตตานี (كراجأن ڤتاني; Kerajaan Patani) ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศไทย ในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส (เมืองสะโตย) (เมืองสตูล) และสงขลาบางส่วนในปัจจุบัน อาณาจักรปัตตานีถือกำเนิดขึ้นก่อนอาณาจักรสยาม 500 ปี เริ่มจากเป็นเผ่าเล็ก ๆ รวมตัวกัน มีประชากรอาศัย 200-250 คน มีชื่อว่า ปีสัง โดยแต่ละปีจะมีตูวอลา (หัวหน้าเผ่าในสมัยนั้น) มาปกครอง และจะสลับทุก ๆ 1 ปี ต่อมามีชนกลุ่มใหญ่เข้ามามีบทบาทในแถบนี้มากขึ้น จนในที่สุด ก็ถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรลังกาสุกะ และเปลี่ยนจากชื่อ ปีสัง มาเป็น บาลูกา ซึ่งมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 9 หลังจากนั้นราว 100 ปี ลูกชายกษัตย์ลังกาสุกะได้เดินทางมาถึงที่นี้และรู้สึกประทับใจ เลยเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น ปาตาอีนิง แล้วก่อตั้งเป็นรัฐใหม่ ชื่อ รัฐปาตาอีนิง จนมีพ่อค้ามากมายเข้ามาติดต่อค้าขายทั้งจีน อาหรับ แต่ชาวอาหรับเรียกที่นี้ว่า ฟาตอนี เลยมีคนเรียกดินแดนแห่งนี้แตกต่างกันออกไป เดิมอาณาจักรปัตตานีนับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน แต่ในราวพุทธศตวรรษที่ 21 ได้เริ่มเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม โดยบางช่วงอาณาจักรแผ่ขยายครอบคลุมถึงรัฐกลันตันและรัฐตรังกานู ตอนกลางของประเทศมาเลเซียอ้างอิงจาก"สี่กษัตริยาปตานี: บัลลังก์เลือด และตำนานรักเพื่อแผ่นดิน" ศิลปวัฒนธรรม ฉบับวันที่ 1 มีนาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และอาณาจักรปัตตานี

อาคม เอ่งฉ้วน

อาคม เอ่งฉ้วน กรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ 9 สมัย เกิดวันที่ 5 มกราคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และอาคม เอ่งฉ้วน

อาคารสวนกุหลาบ

....

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และอาคารสวนกุหลาบ

อำเภอเอราวัณ

อำเภอเอราวัณ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเล.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และอำเภอเอราวัณ

อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษแบบสหศึกษารับนักเรียนทั้งชายและหญิง ก่อตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยการศาสนูปถัมป์ ฝ่ายอิสลาม พุทธศักราช 2488 รับนักเรียนชายอยู่ประจำ ที่เป็นชายมุสลิม และรับนักเรียนชายต่างศาสนิก ไปกลับรวมทั้งรับนักเรียนหญิง ไปกลับ ตั้งแต่ ม.1-ม.6 เริ่มดำเนินการเรียนการสอนครั้งแรกในปี 2493 เดิมตั้งอยู่บริเวณโรงปูนบางซื่อ ต่อมาได้ย้ายมาตั้งอยู่ในสถานที่ปัจจุบันคือ บ้านเลขที่ 23 ถนนประชาอุทิศ แขวงทุ่งครุ เขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร จัดการเรียนการสอนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 1 เปิดสอนในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปล.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และอิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

อุดมศึกษา

อุดมศึกษา หมายถึง ระดับการศึกษารองจากระดับมัธยมศึกษา คำว่า อุดมศึกษา มีรากศัพท์มาจากศัพท์ภาษาบาลี "อุตม" หมายถึง สูงสุด และศัพท์ภาษาสันสกฤต ศิกฺษา หมายถึง การเล่าเรียน ดังนั้น คำว่า "อุดมศึกษา" จึงหมายถึง การเรียนขั้นสูง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และอุดมศึกษา

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

งของยูเนสโก องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ ยูเนสโก (UNESCO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

องค์การค้าของ สกสค.

องค์การค้าของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) เป็นหน่วยงานสังกัด สก.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และองค์การค้าของ สกสค.

อนุกรมวิธาน

อนุกรมวิธานวิทยา (อังกฤษ: Taxonomy) เป็นการจัดจำแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่ตามสายวิวัฒนาการ อนุกรมวิธานเป็นวิชาที่ว่าด้วยกฎเกณฑ์เกี่ยวกับ ในการศึกษาอนุกรมวิธานจะมีศัพท์ที่ใช้เรียกแตกต่างกันออกไป ถ้าหากการศึกษาเป็นไปในทางรวบรวมตัวอย่าง (specimen) บิดาแห่งอนุกรมวิธานวิทยา คือ คาโรลัส ลินเนียส นักพฤกษศาสตร์ชาวสวีเดน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และอนุกรมวิธาน

ผีเสื้อและดอกไม้ (นวนิยาย)

ผีเสื้อและดอกไม้ เป็นนวนิยายที่เขียนโดยนิพพานฯ ได้รับเลือกเป็นหนังสืออ่านนอกเวลาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย วิชาภาษาไทยบังคับ (ท๔๐๑, ๔๐๒, ๕๐๓, ๕๐๔, ๖๐๕, ๖๐๖) ตามประกาศของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ และได้รับรางวัลจากการประกวดหนังสือแห่งชาติ ปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และผีเสื้อและดอกไม้ (นวนิยาย)

ฃ (ขวด) เป็นพยัญชนะตัวที่ 3 จากพยัญชนะทั้งหมด 44 ตัวในอักษรไทย อยู่ในลำดับถัดจาก ข (ไข่) และก่อนหน้า ๒ค (ควาย) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรสูงในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า "ฃ ขวด" เข้าในพวกกัณฐชะ (เกิดจากเพดานอ่อน-) เป็นพยัญชนะชนิดหัวหยักหรือหัวแตก ออกเสียงอย่าง ข (ไข่) เมื่อเป็นพยัญชนะต้น ให้เสียง /kʰ/ สามารถใช้เป็นพยัญชนะสะกดในมาตรากกได้ ให้เสียง /k̚/ (ในทางทฤษฎี) ซึ่งเดิมทีนั้น ได้มีการคาดกันว่าเสียงของ ฃ นั้นมีความแตกต่างจากเสียง ข แต่กลับเพี้ยนไป ปัจจุบันไม่มีคำศัพท์ในหมวดคำ ฃ ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และฃ

จรวยพร ธรณินทร์

ร.จรวยพร ธรณินทร์ กรรมการในคณะกรรมการสภาการศึกษา อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อดีตกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.) เกิดเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และจรวยพร ธรณินทร์

จังหวัดพิษณุโลก

ังหวัดพิษณุโลก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีประชากรในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และจังหวัดพิษณุโลก

จังหวัดศรีสะเกษ

รีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ลักษณะภูมิประเทศทางตอนใต้เป็นที่สูง และค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางเหนือลงสู่ลุ่มแม่น้ำมูลซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด ปัจจุบันมีเนื้อที่ 8,840 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยอำเภอ 22 อำเภอ มีประชากรราว 1.47 ล้านคน ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน อาทิ ภาษาลาว (สำเนียงลาวใต้ซึ้งใช้ครอบคลุมทั้งฝั่งอุบลราชธานีและจำปาศักดิ์), ภาษากูย, ภาษาเยอ และภาษาเขมรถิ่นไทย ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิมกรมศิลปากร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และจังหวัดศรีสะเกษ

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และจังหวัดนครราชสีมา

จันทรเกษม

ันทรเกษม อาจหมายถึง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และจันทรเกษม

จิตวิทยา

ตวิทยา (psychology) คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับจิตใจ (กระบวนการของจิต), กระบวนความคิด, และพฤติกรรม ของมนุษย์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เนื้อหาที่นักจิตวิทยาศึกษาเช่น การรับรู้ (กระบวนการรับข้อมูลของมนุษย์), อารมณ์, บุคลิกภาพ, พฤติกรรม, และรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล จิตวิทยายังมีความหมายรวมไปถึงการประยุกต์ใช้ความรู้กับกิจกรรมในด้านต่าง ๆ ของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน (เช่นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในครอบครัว, ระบบการศึกษา, การจ้างงานเป็นต้น) และยังรวมถึงการใช้ความรู้ทางจิตวิทยาสำหรับการรักษาปัญหาสุขภาพจิต นักจิตวิทยามีความพยายามที่จะศึกษาทำความเข้าใจถึงหน้าที่หรือจุดประสงค์ต่าง ๆ ของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากตัวบุคคลและพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสังคม ขณะเดียวกันก็ทำการศึกษาขั้นตอนของระบบประสาทซึ่งมีผลต่อการควบคุมและแสดงออกของพฤติกรรม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และจิตวิทยา

จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์

นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ (15 มีนาคม 2499 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพังงา 6 สมัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขานโยบายสาธารณะและการวางแผน จาก สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) นายจุรินทร์ เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในสมัยรัฐบาลชวน 1 และ ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในสมัยรัฐบาลชวน 2 นอกจากนี้เคยดำรงตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล และ ประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมฝ่ายค้าน (2 สมัย) ด้านการทำงานในสภาผู้แทนราษฎร นายจุรินทร์ เคยได้รับการโหวตจาก สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ให้เป็นคณะกรรมาธิการดีเด่น จากบทบาทใน คณะกรรมาธิการการท่องเที่ยว สภาผู้แทนราษฎร กรณีดำเนินการทวงคืน ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ จากสหรัฐอเมริกา จนเป็นผลสำเร็จ ตั้งแต่การเลือกตั้งปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์

จุฬาราชมนตรี

ฬาราชมนตรี เป็นผู้นำกิจการศาสนาอิสลามในประเทศไทย และเป็นตำแหน่งฝ่ายมุสลิมให้ข้อปรึกษาด้านศาสนาอิสลามแก่รัฐบาลไทย โดยเฉพาะแก่กระทรวงมหาดไทยและกระทรวงวัฒนธรรม มีประวัติมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา ในทำเนียบศักดินาของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทำเนียบตำแหน่งขุนนาง ซึ่งในชั้นหลังเรียกว่า "กรมท่าขวา" มี "พระจุลาราชมนตรี" เป็นหัวหน้าฝ่ายแขก คู่กับ "หลวงโชฎึกราชเศรษฐี" หัวหน้าฝ่ายจีน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และจุฬาราชมนตรี

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ธรรมรัตน์ นาคสุริยะ

รรมรัตน์ นาคสุริยะ (พ.ศ. 2477 -) นักร้อง พิธีกรรายการโทรทัศน์ นักแสดง นักพากย์ มีผลงานที่น่าจดจำ คือเป็นพิธีกรรายการ "นาทีทอง" และ "ประตูดวง" รายการที่มีผู้ชมสูงสุดทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และธรรมรัตน์ นาคสุริยะ

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์

ผศ.ดร.ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ (เกิดวันที่) ประธานหลักสูตรรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นศิษย์เก่าสาขาวิชาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2524-2527 (สิงห์แดง 33) หลังจากนั้นศึกษาต่อปริญญาโทในสาขาวิชาประวัติศาสตร์ ที่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ปี 2530-2534) และปริญญาเอก สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ปี 2546-2550) ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ มีผลงานวิทยานิพนธ์ด้านประวัติศาสตร์การเมืองที่สำคัญคือเรื่อง รัฐประหาร 20 มิถุนายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์

ธงทอง จันทรางศุ

ตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ (8 มิถุนายน 2498 -) ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ภายใต้คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติและการสร้างความสามัคคีปรองดอง (ป.ย.ป.), กรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 8, กรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ, กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านนิติศาสตร์ในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ,ประธานกรรมการ บริษัท ท่าเรือราชาเฟอร์รี่ จำกัด (มหาชน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี, ไวยาวัจกร วัดโสมนัสวิหาร, อุปนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประธานอนุกรรมการเครือข่ายสถาบันการศึกษาในรัชกาลที่ 6, ประธานกรรมการพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สถาบันพระปกเกล้า, นายกสมาคมศิษย์เก่าสาธิตปทุมวัน, อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และธงทอง จันทรางศุ

ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)

นนราชดำเนินกลางและอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน (Thanon Ratchadamnoen) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยถนน 3 สาย ได้แก.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)

ทรงศักดิ์ เปรมสุข

นายทรงศักดิ์ เปรมสุข Songsak Premsuk ทรงศักดิ์ เปรมสุข นักธุรกิจชาวไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และทรงศักดิ์ เปรมสุข

ทองอินทร์ วงศ์โสธร

รองศาสตราจารย์ ดร.ทองอินทร์ วงศ์โสธร อดีตอธิการบดี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และทองอินทร์ วงศ์โสธร

ทองประศรี

นางทองประศรีเป็นชื่อตัวละครหญิงตัวสำคัญซึ่งมีบทบาทตั้งแต่ต้นจนจบในเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน โดยเป็นภริยาของข้าราชการทหารชื่อขุนไกรพลพ่ายและเป็นมารดาของพลายแก้ว นางทองประศรีนั้นเป็นตัวอย่างของหญิงไทยแต่โบราณซึ่งมีความรู้ความสามารถและช่วยเหลือส่งเสริมผู้อื่นให้เป็นคนดี ซึ่งตรงกันข้ามกับนางศรีประจันมารดาของนางวันทอง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และทองประศรี

ที่สุดในประเทศไทย

ติที่สุดในประเทศไทยเรื่องต่าง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และที่สุดในประเทศไทย

ข้าราชการไทย

้าราชการ คือ บุคคลซึ่งรับการบรรจุแต่งตั้งให้รับราชการปฏิบัติหน้าที่ และรับเงินเดือนในกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ของประเทศไทย ส่วนองค์กรที่บุคคลดังกล่าวปฏิบัติงานอยู่นั้นเรียก ส่วนราชการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และข้าราชการไทย

ณหทัย ทิวไผ่งาม

ร.ณหทัย ทิวไผ่งาม อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ปี 2544 และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคไทยรักไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และณหทัย ทิวไผ่งาม

คลองผดุงกรุงเกษม

ลองผดุงกรุงเกษมบริเวณสะพานเจริญสวัสดิ์ (ภาพถ่ายสมัยรัชกาลที่ 5) คลองผดุงกรุงเกษม ในปัจจุบัน คลองผดุงกรุงเกษม เป็นคลองรอบพระนครชั้นนอก ขุดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ขุดเมื่อ..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคลองผดุงกรุงเกษม

คลังปัญญาไทย

ลังปัญญาไทย เป็นเว็บไซต์สร้างสารานุกรมออนไลน์ ที่ผู้อ่านสามารถร่วมเขียนเนื้อหาได้ โดยจะเป็นโครงการพัฒนาแหล่งความรู้ภาษาไทย โดยอาศัยสื่ออินเทอร์เน็ต เปิดตัวทางสื่อมวลชนในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคลังปัญญาไทย

ควง อภัยวงศ์

รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวงศ์ หรือ พันตรี ควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม 2445 – 15 มีนาคม 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนแรก ควง อภัยวงศ์เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนซึ่งร่วมการปฏิวัติสยาม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และควง อภัยวงศ์

คำสร้างใหม่

ำสร้างใหม่ หรือ ศัพท์บัญญัติ หมายถึงคำที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ซึ่งอาจเริ่มมีการใช้งานทั่วไป แต่อาจยังไม่เป็นที่ยอมรับในภาษาทั่วไป อาจถูกสร้างขึ้นมาเพื่อความเฉพาะเจาะจง เกี่ยวกับคน การเผยแพร่ เวลา หรือเหตุการณ์ ในประเทศไทยราชบัณฑิตยสถานมีหน้าที่บัญญัติศัพท์ และมีคณะกรรมการบัญญัติศัพท์สาขาวิชาต่าง ๆ เช่น คณะกรรมการบัญญัติศัพท์ปรับอากาศ คณะกรรมการบัญญัติศัพท์วิทยาศาสตร์ คณะอนุกรรมการบัญญัติศัพท์แพทย์ และคณะกรรมการบัญญัติศัพท์พิมพ์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานทางด้านวิทยาการและเทคโนโลยีจาก ต่างประเทศเข้ามา และได้บัญญัติศัพท์เฉพาะขึ้นมาใช้เอง เช่น คณะกรรมการวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย คณะกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศึกษาของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ และกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการของกรมวิชาการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคำสร้างใหม่

คุรุสภา

รุสภา (Khurusapha) มีชื่อทางการว่า สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา (The Teachers’ Council of Thailand) เป็นสภาในกระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษ..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคุรุสภา

คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Khon Kaen Business School) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 15 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น มีชื่อเดิมว่า "คณะวิทยาการจัดการ" หลังจากมีการแยกสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ออกไปจัดตั้งเป็นคณะเศรษฐศาสตร์ จึงมีการเปลี่ยนชื่อคณะเป็น "คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี" นับแต่นั้นเป็นต้นม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Nursing, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 5 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ด้วยความตระหนักถึงปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบกับปัญหาการขาดแคลนบุคลากรทางการพยาบาลของประเทศ คณะพยาบาลศาสตร์จึงได้ก่อตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกในมหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อ พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เป็นส่วนงานหนึ่งของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แรกเริ่มจัดตั้งเป็น โรงเรียนพลศึกษากลาง สังกัดกระทรวงธรรมการ ในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับ 2 ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2481 ภายในการนำของหลวงดำริอิสรานุวรรตน์ ในระยะเริ่มแรกได้ก่อตั้งเป็น “แผนกวิชาการบัญชี” โดยเปิดสอน 2 หลักสูตร คือ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ประเทศไทย)

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานแห่งราชอาณาจักรไทย (Basic Education Commission of Thailand) เป็นคณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ คณะกรรมการฯ มีสำนักเลขานุการ คือ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หมวดหมู่:คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ประเทศไทย).

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ประเทศไทย)

คณะภราดาเซนต์คาเบรียล

ณะภราดาเซนต์คาเบรียล (Frères de Saint-Gabriel, The Montfort Brothers of St.) เป็นคณะนักบวชคาทอลิกคณะหนึ่งซึ่งขึ้นตรงต่อพระสันตะปาปา นักบุญหลุยส์ มารี กรีญอง เดอ มงฟอร์ตเป็นผู้ก่อตั้งคณะ และบาทหลวงกาเบรียล เดแอ เป็นผู้ฟื้นฟูคณะ นักบวชในคณะปฏิญาณตนต่อพระเจ้าเพื่อถือ ความยากจน ความบริสุทธิ์ และความนบนอบ ทำงานรับใช้พระเจ้าแต่เพียงผู้เดียว ด้วยการอุทิศตน เสียสละ รับใช้ผู้อื่นดังพี่น้อง โดยมุ่งที่จะให้บริการศึกษาอบรมที่เป็นความรู้ทางโลกและทางธรรมแก่สังคม คณะภราดาเซนต์คาเบรียลมีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี สมาชิกประกอบด้วยภราดาที่ทำงานรับใช้พระเป็นเจ้าผ่านทางการให้การศึกษาแก่เยาวชน และเอาใจใส่เป็นพิเศษต่อคนยากจน ตามจิตตารมณ์ของนักบุญมงฟอร์ต ปัจจุบัน ภราดา John Kallarackal เป็นอัคราธิการ และภราดาสุรสิทธิ์ สุขชัย เป็นอธิการเจ้าคณะแขวงประเทศไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะภราดาเซนต์คาเบรียล

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 7 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งเป็นคณะวิชาที่โอนย้ายมาจาก "คณะวิทยาศาสตร์และอักษรศาสตร์" (ปัจจุบัน คือ คณะวิทยาศาสตร์) มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดการเรียนการสอนวิชาพื้นฐานให้กับนักศึกษาคณะต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัย และผลิตบัณฑิตทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อการพัฒนาภูมิภาคและสนับสนุนความเจริญจากส่วนกลางไปยังภูม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 15

นายปรีดี พนมยงค์''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 7 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 15 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 15 ของไทย (24 มีนาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 15

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 3 (1 เมษายน พ.ศ. 2476 - 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476) พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) เป็นนายกรัฐมนตรี ตามความในข้อ 2 แห่งพระราชกฤษฎีกาให้ปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรและตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ ๒๔๗๖ ซึ่งในประกาศนั้นบัญญัติให้รัฐมนตรีผู้ซึ่งว่าการกระทรวงต่าง ๆ อยู่ในเวลายุบสภาเป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรีใหม่โดยตำแหน่ง ส่วนรัฐมนตรีอื่น ๆ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งขึ้นโดยคำแนะนำของนายกรัฐมนตรี โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกฯ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย ในประกาศตั้งคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 4 (21 มิถุนายน พ.ศ. 2476 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476) นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 43

ลเอกเปรม ติณสูลานนท์''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 16 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 43 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 43 ของไทย (30 เมษายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 43

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 44

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 44 ของไทย (5 สิงหาคม พ.ศ. 2529 - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2531) พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 44

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 47

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 47 ของไทย (2 มีนาคม พ.ศ. 2534 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2535) นายอานันท์ ปันยารชุน เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 47

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 48

ลเอกสุจินดา คราประยูร''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 19 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 48 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 48 ของไทย (7 เมษายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 48

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 49

นายอานันท์ ปันยารชุน''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 18 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 49 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 49 (10 มิถุนายน 2535-23 กันยายน 2535) นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายอาทิตย์ อุไรรัตน์ ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 18 มิถุนายน 2535 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 49

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 5 (16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 22 กันยายน พ.ศ. 2477) นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 50

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 50 ของไทย (23 กันยายน พ.ศ. 2535 - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538) ชวน หลีกภัย เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศนายมารุต บุนนาค ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 50

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53

นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีคนที่ 20 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 (14 พฤศจิกายน 2540 - 9 พฤศจิกายน 2543) นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2540 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 55 (11 มีนาคม พ.ศ. 2548 - 19 กันยายน พ.ศ. 2549) พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (ยศขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2548 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายโภคิน พลกุล ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 11 มีนาคม 2548 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56

รัฐบาลพลเรือน ที่ตั้งขึ้นภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร เมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 57 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 - 18 กันยายน พ.ศ. 2551) นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายยงยุทธ ติยะไพรัช ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 58 (24 กันยายน พ.ศ. 2551 - 19 ธันวาคม พ.ศ. 2551) หรือที่รู้จักกันในชื่อ คณะรัฐมนตรีสมชาย (ครม.สมชาย 1) นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59

ณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59 (20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2554) มีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9

นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 9 หลวงพรหมโยธี คณะรัฐมนตรี คณะที่ 9 ของไทย (16 ธันวาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9

คณะรัฐมนตรีเงา (พรรคประชาธิปัตย์)

ณะรัฐมนตรีเงา เริ่มมีการจัดตั้งในประเทศไทย เมื่อ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ผู้นำฝ่ายค้าน ได้ประกาศติดตามการทำงานของรัฐบาลผสมที่มีพรรคพลังประชาชนเป็นแกนนำ ในสมัยที่นายสมัคร สุนทรเวช และนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทย และได้มีการจัดตั้งคณะรัฐมนตรีเงาเป็นคณะที่ 2 ในช่วงรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีเงา (พรรคประชาธิปัตย์)

คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Faculty of Political Science, Thammasat University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ จัดเป็น 1 ใน 4 คณะวิชาก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเป็นคณะวิชาลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลั.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Political Science, Chulalongkorn University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ถือได้ว่าเป็นคณะวิชาที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ เป็นคณะรัฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดทำการเรียนการสอนทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก อีกทั้งยังเป็นคณะที่ได้รับการเลือกเข้าศึกษาจากผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดจากการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีด้วยระบบ Admission ถึง 4 ปีซ้อน (2553 - 2556).

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Faculty of Political Science and Public Administration, Chiang Mai University) เป็นหน่วยงานระดับคณะวิชา มีฐานะเป็นหน่วยงานอิสระในกำกับของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะลำดับที่ 19 ของมหาวิทยาลั.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะที่เปิดสอนด้านวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน แห่งแรกของประเทศไทย หรือที่เรียกทั่วไปภายหลังเรียกว่า "นิเทศศาสตร์" ทั้งยังเป็นที่ตั้งของสมาคมวารสารศาสตร์แห่งประเทศไทยด้วย โดยปัจจุบันเป็นสถาบันชั้นนำของประเทศ ที่ผลิตบุคลากร แถวหน้าเพื่อยกระดับวิชาชีพและวิชาการด้านสื่อสารมวลชน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นคณะแรกของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และเป็นคณะวิชาที่เก่าแก่ที่สุดในภาคใต้ ปัจจุบันแบ่งออกเป็น 7 ภาควิชา 12 สาขาว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Engineering, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นพร้อมกับคณะวิทยาศาสตร์และอักษรศาสตร์ (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นคณะวิทยาศาสตร์) และคณะเกษตรศาสตร์ ซึ่งได้ถือว่าเป็นคณะแรกตั้งของการสถาปนามหาวิทยาลัย ถือว่าเป็นสถาบันการศึกษาทางด้านวิศวกรรมศาสตร์แห่งแรกในส่วนภูมิภาค รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 04.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นหนึ่งในคณะแรกตั้งของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีเป็นคณะในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และเป็น 1 ใน 16 คณะที่เปิดสอนระดับปริญญาตรีสังกัดสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง แต่เดิมเป็นเพียง"ศูนย์ฝึกโทรคมนาคมนนทบุรี" ก่อนจะยกฐานะเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็น 1 ใน 7 คณะของสถาบัน มีทั้งสิ้น 13 ภาควิชา ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามสำนักหอสมุดกลาง และมีพื้นที่ติดกับคณะสถาปัตยกรรมศาสตร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทยที่เก่าแก่ที่สุด และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือกำเนิดมาจากโรงเรียนยันตรศึกษาแห่งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถือเป็นคณะที่มีจำนวนรุ่นมากที่สุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในปีการศึกษา 2560 เป็นรุ่นที่ 101 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีหน้าที่หลักในการผลิตบัณฑิตวิศวกรรมศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา ศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์และเผยแพร่องค์ความรู้สู่ประชาชนทั่วไป เพื่อเป็นที่พึ่งพิงทางวิชาการให้กับประเทศ มีงานวิจัยและความร่วมมือทางวิชาการซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและระดับนานาชาติ ปัจจุบันมีภาควิชาทั้งหมด 12 ภาควิชาและหน่วยงานเทียบเท่าภาควิชาอีก 2 หน่วยงาน นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ มักเรียกแทนตัวเองว่า "อินทาเนีย" คณะวิศวกรรมศาสตร์ตั้งอยู่ในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฝั่งตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี จาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 147 ของโลก และเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่มีสาขาวิชาติดอันดับโลกมากที่สุดในประเทศไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Science, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นพร้อมกับคณะเกษตรศาสตร์ และคณะวิศวกรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นคณะแรกตั้งของการสถาปนามหาวิทยาลัย มีชื่อเดิมว่า "คณะวิทยาศาสตร์และอักษรศาสตร์" เพื่อการจัดการบริหารมหาวิทยาลัยให้ดียิ่งขึ้น จึงมีการแยกภาควิชาที่เกี่ยวกับมนุษยศาสตร์ออกไปจัดตั้งเป็นคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จึงมีการเปลี่ยนชื่อคณะเป็น "คณะวิทยาศาสตร์" นับแต่นั้นเป็นต้นม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นหน่วยงานหนึ่งของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่มีอาจารย์ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติมากที่สุดของประเทศไทย และเป็นคณะวิทยาศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย โดยเป็นหนึ่ง 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในขณะนั้นใช้ชื่อว่า "คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์" ปัจจุบันประกอบด้วย 14 ภาควิชา แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มวิทยาศาสตร์ชีวภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์กายภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และกลุ่มเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ภายในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยด้านตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างสระน้ำ การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติจาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 258 ของโลก และเป็นเพียงแห่งเดียวในประเทศที่ติดอันดั.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Fine and Applied Arts, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 16 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นหนึ่งในคณะที่แยกออกมาจาก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 22.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Education, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 4 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการศึกษาในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยการผลิตครูระดับปริญญา และระดับอนุปริญญาสาขาวิชาต่างๆ ที่จะสอนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีสถานปฏิบัติการคือ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 05.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันเปิดสอนวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ กายภาพบำบัด วิทยาศาสตร์การกีฬาและการพัฒนากีฬา และรังสีเทคน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับ 5 ของมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Veterinary Medicine, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 13 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น และเป็นโรงเรียนสอนสัตวแพทย์ระดับปริญญา แห่งที่ 3 ของประเทศไทย รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 18.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Public Health, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 9 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 11.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Architecture, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 14 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น และเป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งแรกในส่วนภูมิภาค รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 20.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เป็น 1 ใน 7 คณะของสถาบัน มีทั้งสิ้น 3 กลุ่มวิชา ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามหอสมุดกลาง ติดกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ มีเนื้อที่ 80 ไร่เศษ แต่เดิมเป็นโรงเรียนช่างบริการส่งเสริมอาชีวศึกษาก่อนที่ยกฐานะเป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ถือเป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ที่ใหญ่และมีพื้นที่การเรียนการสอนมากที่สุดในประเทศไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็นหนึ่งในสี่คณะกลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ร่วมของไทยในสาขาสถาปัตยกรรม และ สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง  (อันดับที่ 101 - 150 ของโลก) จากการจัดอันดับของ QS world university ranking by Subject.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Arts, Chulalongkorn University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะองคมนตรีไทย

ณะองคมนตรีในประเทศไทย คือกลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่พระมหากษัตริย์ โดยในอดีตเคยใช้ชื่อ ปรีวีเคาน์ซิล (สภาที่ปฤกษาในพระองค์), องคมนตรีสภา, และ สภากรรมการองคมนตรี ตามลำดับ ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็นชื่อปัจจุบัน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะองคมนตรีไทย

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Dentistry, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 10 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 13.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เป็นคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมแห่งแรกของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นเป็นแผนกวิชาครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

ณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ (เดิมคือ วิทยาเขตสุพรรณบุรี) เป็นคณะในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ตั้งอยู่ที่ตำบลย่านยาว อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะนิติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Law, Khon Kaen University) เป็นหน่วยงานอิสระเทียบเท่าระดับคณะวิชา ภายในกำกับของมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 17 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยโอนย้ายมาจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับ 11 ของมหาวิทยาลัย และเป็นสถาบันทางแพทยศาสตร์ที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับ 9 ของประเทศ ตามที่ได้รับการสถาปนาขึ้นใน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Medicine, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 6 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นคณะแพทยศาสตร์ลำดับที่ 5 ของประเทศไทย และเป็นลำดับที่ 2 ของส่วนภูมิภาค ต่อจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีสถานปฏิบัติการคือโรงพยาบาลศรีนครินทร์ รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 07.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2548 ตามมติว่าด้วยหลักการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ โดยเป็นคณะแพทยศาสตร์ลำดับที่ 18 ในจำนวนโรงเรียนแพทย์ทั่วประเทศ 20 สถาบัน และเป็นลำดับที่ 2 ในภาคใต้และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์จึงริเริ่มจัดตั้งโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เพื่อเป็นโรงพยาบาลหลักในการทำการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์และนักศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ เป้าหมายของคณะแพทยศาสตร์ คือการผลิตบุคลากรทางการแพทย์สาขาต่าง ๆ เป็นสถาบันผลิตบัณฑิตแพทย์ที่มุ่งมั่นจะอุทิศตนเพื่อพัฒนาท้องถิ่น โดยปฏิบัติงานดูแลสุขภาพของชุมชนได้อย่างมีความสุข เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมและจริยธรรม สามารถประยุกต์ความรู้ทางการแพทย์สากลให้ผสมผสานเข้ากับวัฒนธรรมอิสลามท้องถิ่น (Islamic Oriental Medical School) ได้เป็นอย่างดีคู่มือนักศึกษา หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาแพทยศาสตร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล นับได้ว่าเป็นคณะที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย โดยมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนแพทยากร และพัฒนามาจนกระทั่งเป็น คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มีอายุ 128 ปี มีแพทย์สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 121 รุ่น นักศึกษาแพทย์ปีการศึกษา 2560 นี้นับเป็นรุ่นที่ 128.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Archaeology, Silpakorn University) ตั้งขึ้นเป็นคณะที่ 3 ของมหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อ..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Agriculture, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นพร้อมกับคณะวิทยาศาสตร์และอักษรศาสตร์ (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นคณะวิทยาศาสตร์) และคณะวิศวกรรมศาสตร์ ซึ่งได้ถือว่าเป็นคณะแรกตั้งของการสถาปนามหาวิทยาลัย ถือว่าเป็นสถาบันการศึกษาทางด้านเกษตรศาสตร์แห่งแรกในภูมิภาค รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 03.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Pharmaceutical Sciences, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเพื่อตอบสนองแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นหนึ่งในสี่ของมหาวิทยาลัยภายหลังที่ได้ยกเลิกระบบการสอนแบบธรรมศาสตร์บัณฑิต และนับเป็นคณะเศรษฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เป็นคณะลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เปิดทำการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี (สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์) และระดับปริญญาโท ใน 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ และสาขาวิชาเอกเศรษฐศาสตร์ภาครั.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะเทคนิคการสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดตั้งขึ้นเพื่อพัฒนากำลังคน ให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐในด้าน ารส่งเสริมและพัฒนาด้านการเกษตร และการลงทุนทางด้านเกษตรอุตสาหกรรมอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยเปิดสอนในหลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาเทคนิคการสัตวแพท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะเทคนิคการสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Associated Medical Science, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 8 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น (วันประกาศใช้ในพระราชกิจจานุเบกษาพร้อมกับคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) เป็นคณะเทคนิคการแพทย์แห่งแรกและแห่งเดียวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 09.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Technology, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 12 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 16.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะเทคโนโลยีการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยรามคำแหง กระทรวงศึกษาธิการเดิมชื่อ คณะเทคโนโลยีการสื่อสารมวลชน โดยเป็นคณะวิชาในแขนงคณะเทคโนโลยีการสื่อสารมวลชนหรือที่เรียกทั่วไปว่า "นิเทศศาสตร์" เป็นการผสมผสานศาสตร์ทางด้านศิลปะและเทคโนโลยี บูรณาการเข้าไว้กัน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะเทคโนโลยีการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เป็น 1 ใน 9 คณะของสถาบัน เดิมมีทั้งสิ้น 7 ภาควิชา ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 3 ภาควิชา 5 หลักสูตร เดิมเป็น "โรงเรียนเกษตรกรรมนครปฐม" ก่อนจะโอนมาสังกัดสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังและยกฐานะเป็น "คณะเทคโนโลยีการเกษตร" ในวันที่ 22 เมษายน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

คนเดือนตุลา

นเดือนตุลา เป็นชื่อเรียกกลุ่มบุคคลที่เข้าร่วมชุมนุม ในเหตุการณ์ 14 ตุลา และ 6 ตุลา ซึ่งส่วนมากขณะนั้นเป็นนักศึกษา โดยในปัจจุบัน กลุ่มคนเดือนตุลาบางส่วน ก็เข้าสู่แวดวงการเมืองและสังคม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคนเดือนตุลา

งานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ

ัญลักษณ์ประจำงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ งานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ (Thai National Book Fair) เป็นงานจำหน่ายหนังสือและสื่อการศึกษา ที่มีบริษัทผู้ผลิตหนังสือ สำนักพิมพ์และร้านหนังสือ ร่วมออกร้านมากที่สุดในประเทศไทย ตามปกติจะจัดขึ้นในราวปลายเดือนมีนาคม ถึงต้นเดือนเมษายนของทุกปี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ

ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ

ตราสัญลักษณ์งานพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2530 ตราสัญลักษณ์ งานพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2530 ออกแบบโดย นายพินิจ สุวรรณบุณย์ นายช่างกองหัตถศิลป์ กรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ (ในขณะนั้น) ประกอบด้วยรูปครุฑพ่าห์ ซึ่งหมายถึงรัฐบาลและปวงชนชาวไทย เทิดพระแสงจักร และตรี อันเป็นพระราชสัญลักษณ์ประจำพระบรมราชจักรีวงศ์ กลางวงจักร มีอักษรพระปรมาภิไธยย่อ ภปร และเลข 9 ประจำรัชกาลปัจจุบัน อยู่ภายใต้พระมหาพิชัยมงกุฎเปล่งรัศมี สองข้างซ้ายและขวา มีรูปคชสีห์ ซึ่งเป็นเครื่องหมายแทนข้าราชการฝ่ายทหาร กับราชสีห์ ซึ่งเป็นเครื่องหมายแทนข้าราชการฝ่ายพลเรือน ประคองฉัตรเครื่องสูง 7 ชั้น สำหรับประกอบพระบรมราชอิสริยยศ สมเด็จพระมหากษัตริยาธิราชเจ้า เบื้องล่างมีแพรแถบ จารึกอักษรข้อความว่า “พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๐”.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ

ตรีดาว อภัยวงศ์ สุขุม

ตรีดาว อภัยวงศ์ สุขุม เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519 เป็นบุตรสาวคนที่ 2 ของ พันตำรวจเอกวิจิตร และนางเกื้อกูล อภัยวงศ์ จบการศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลจนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนราชินี และต่อในระดับปริญญาที่ภาควิชาศิลปการละคร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังจากเรียนจบได้รับการทาบทามให้เป็นอาจารย์ประจำที่คณะ หนึ่งปีต่อมาไปศึกษาเพิ่มเติมทางด้านศิลปะการละคร (MA in Theatre Practice) ในระดับมหาบัณฑิต ที่ มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ ประเทศอังกฤษ ซึ่งเป็นนักเรียนชาวเอเชีย เพียงคนเดียวที่ได้รับการตอบรับให้เข้าเรียนในสาขานี้ ซึ่งเปิดสอนนักศึกษาเพียงแค่ 5 คนในปีนั้น จากนั้นกลับมารับราชการเป็นอาจารย์ประจำ ที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นอาจารย์พิเศษในปัจจุบัน ตรีดาวเคยเป็นพิธีกรในรายการ "เรียงร้อย ถ้อยไทย" ซึ่งเป็นรายการเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง ซึ่งเป็นรายการสั้น ๆ ช่วงหัวค่ำวันธรรมดา ทางช่อง 3 อยู่พักหนึ่ง ชีวิตครอบครัว สมรสกับ พงษ์ สุขุม บุตรชายคนโตของ ปราโมทย์ สุขุม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และนักการเมืองพรรคประชาธิปัตย์กับคุณหญิงกัญญา หงส์ลดารมภ์ ไปเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และตรีดาว อภัยวงศ์ สุขุม

ตอบปัญหาภาษาอังกฤษกับเชลล์

ตอบปัญหาภาษาอังกฤษกับเชลล์ (Shell English Quiz) หรือที่นิยมเรียกว่า เชลล์ควิซ เป็นรายการโทรทัศน์ที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จำกัด ผลิตขึ้นตามโครงการสนับสนุนการศึกษา เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ รวมถึงทดสอบทักษะความรู้ในสาขาวิชาต่างๆ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ตลอดทั้งเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ชมทางโทรทัศน์ เพิ่มพูนความรู้ทางภาษาอังกฤษ และความรู้ทั่วไป ร่วมด้วยเช่นกัน โดยจัดรูปแบบเป็นการแข่งขันตอบคำถาม ซึ่งมีชาวต่างประเทศเป็นผู้ถามด้วยภาษาอังกฤษ และมีการคัดเลือกคณะนักเรียนมัธยมปลาย ซึ่งเป็นผู้แทนโรงเรียนต่างๆ จากทั้งกรุงเทพมหานครและทั่วประเทศ เข้าเป็นผู้ตอบในห้องส่ง อันเป็นการฝึกทักษะทั้งการฟังและพูดภาษาอังกฤษ เพื่อสร้างความคุ้นเคยต่อสำเนียงการออกเสียงของชาวต่างชาติ ในเว็บไซต์ เชลล์ควิซ เริ่มออกอากาศตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และตอบปัญหาภาษาอังกฤษกับเชลล์

ฅ (คน) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 5 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ค (ควาย) และก่อนหน้า ฆ (ระฆัง) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ ออกเสียงอย่าง ค (ควาย) นิยมเรียกกันว่า “ฅ คน” อักษรเป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /kʰ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /k̚/ (ในทางทฤษฎี) ฅ เป็นอักษรที่เลิกใช้แล้ว ไม่มีคำศัพท์ในหมวดคำ ฅ ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน แต่ยังมีการใช้ ฅ อยู่บ้างในบางแวดวง นัยว่าเพื่อเป็นการอนุรักษ์ให้ตัวอักษรไทยมีใช้ครบ 44 ตัว เท่าที่พบเห็น มักจะใช้ในคำว่า ฅน (คน) โดยเฉพาะในบันเทิงคดีต่าง ๆ อย่างไรก็ตาม ในแบบเรียนอักษรไทย ยังคงมีอักษร ฅ อยู่ อักษร ฅ นี้เป็นอักษรที่ใช้แทนเสียงในภาษาไทดั้งเดิม ในชุดอักษรสำหรับภาษาตระกูลอื่นๆ ที่ลำดับอักษร ก ข ค ฆ ง แบบอักษรอินเดีย เช่น อักษรเทวนาครี อักษรขอม อักษรมอญ ฯลฯ มักจะไม่มีตัวอักษร ฅ น่าจะเป็นการประดิษฐ์แทรกเช่นเดียวกับอักษร ฃ ซ ฎ ด บ ฝ ฟ ฯลฯ ที่ไทยได้เติมเข้าในวรรคอักษรแบบอินเดีย โดยเหตุผลเพื่อต้องการใช้แทนเสียงที่มีอยู่ให้ครบถ้วน โดยมีพัฒนาการควบคู่กันมากับอักษร ฃ (ขวด).

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และฅ

ประยูร ภมรมนตรี

รองอำมาตย์เอก นายพลโท ประยูร ภมรมนตรี ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เป็นหนึ่งในคณะผู้ก่อการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ฝ่ายพลเรือน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นเหลนของพระยาราชมนตรี (ภู่ ภมรมนตรี) เสนาบดีพระคลังในรัชกาลที่๓ เป็นบุตรของ พันตรี พระชำนาญคุรุวิทย์ (แย้ม ภมรมนตรี) ทูตทหารประจำจักรวรรดิเยอรมัน กับมารดาที่เป็นชาวเยอรมัน ซึ่งเป็นครูสอนภาษาเยอรมันให้กับนักเรียนในจักรวรรดิเยอรมันขณะนั้น2475: สองฝั่งประชาธิปไตย, สารคดี: ทีวีไทย พฤหัสบดีที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และประยูร ภมรมนตรี

ประวัติกระทรวงการคลังไทย

กระทรวงการคลัง คือหนึ่งใน 12 กระทรวงของประเทศไทย เป็นกระทรวงที่มีมาตั้งแต่โบราณ ในฐานะหนึ่งในจตุสดม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และประวัติกระทรวงการคลังไทย

ประเวศ วะสี

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ ประเวศ วะสี ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดลกรรมการสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการ สภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ราษฎรอาวุโส เป็นนักวิชาการด้านสาธารณสุข และนักวิชาการเกี่ยวกับการศึกษา ทั้งเป็นผู้สนับสนุนงานค้นคว้าวิจัยต่างๆที่เกี่ยวกับการแก้ปัญหาและพัฒนาชีวิต นายแพทย์ประเวศ วะสี เกิดเมื่อวันที่ ตำบลเกาะสำโรง บนฝั่งลำน้ำแควน้อย จังหวัดกาญจนบุรี เป็นบุตรคนที่ 4 ของนายคลายและนางกิม วะสี ศึกษาชั้นมูลฐานในวัยเยาว์ที่โรงเรียนวัดเหนือ ชั้นประถมศึกษาที่ โรงเรียนประชาบาลตำบลเกาะสำโรง ชั้นมัธยมที่โรงเรียนวิสุทธรังษี จนถึง..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และประเวศ วะสี

ประเทศไทยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ประเทศไทยได้เข้าร่วมการแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 ครั้งที่ 15 จัดขึ้นที่เมืองเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ ระหว่างวันที่ 19 กรกฎาคม - 3 สิงหาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และประเทศไทยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

ปราโมทย์ สุขุม

ปราโมทย์ สุขุม (เกิด 9 ตุลาคม พ.ศ. 2483 - 23 มีนาคม พ.ศ. 2550) อดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกผู้แทนราษฎรเขตคลองสาน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นนักการเมืองที่ได้รับฉายาว่า “สุภาพบุรุษนักการเมือง” จากสื่อมวลชน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และปราโมทย์ สุขุม

ปรียา ฉิมโฉม

ปรียา ฉิมโฉม (สกุลเดิม เทพหัสดิน ณ อยุธยา, 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2458 – 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2550) นักผังเมืองและสถาปนิก ผู้บุกเบิกสำคัญผู้หนึ่งด้านการผังเมืองของประเทศไทย ตั้งแต่ครั้งยังเป็นกองผังเมืองจนถึงระดับกรมโดยได้เป็นผู้อำนวยการ (อธิบดี) คนที่ 3 ของสำนักผังเมือง (ปัจจุบันคือกรมโยธาธิการและผังเมือง) และนับเป็นอธิบดีหญิงคนแรกของกระทรวงมหาดไทย นางปรียา ฉิมโฉมเป็นนิสิตคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รุ่น ที่ 1 (พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และปรียา ฉิมโฉม

นภัทร อินทร์ใจเอื้อ

นภัทร อินทร์ใจเอื้อ (ชื่อเดิม: ชนินทร์ อินทร์ใจเอื้อ; ชื่อเล่น: กัน เป็นนักร้องชาวไทย ซึ่งเป็นที่รู้จักจากการได้รับตำแหน่งชนะเลิศการแข่งขันรายการเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวปี 6(2553) และเป็น 1 ใน 3 คนของแก๊งอสรพิษซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันในช่วงแข่งขันรายการเดอะสตาร์และยังคงคบหาสนิทสนมกันจนมาถึงปัจจุบัน อันประกอบไปด้วย ภาคิน คำวิลัยศักดิ์ และ เรืองฤทธิ์ ศิริพานิช, ได้รับรางวัลมณีเมขลาดีเด่นยอดนิยม ประเภท ดารานำชายดีเด่นยอดนิยมจากผลงานละครเรื่องแรกในชีวิตของเขา"เรือนแพ"(2554), รับบทคุณเปรม(วัยหนุ่ม) ในละครเวทีเรื่อง สี่แผ่นดิน เดอะมิวสิคัล(2554-2555/2557/2560), รับบทพัดใน ลมหายใจ เดอะมิวสิคัล(2559), ร้องเพลงประกอบภาพยนตร์ แผลเก่า(2557), คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 12 สาขายอดนิยมขวัญใจมหาชนฝ่ายชาย ปี 2558, รางวัล "ลูกที่มีความกตัญญูกตเวทีอย่างสูงต่อแม่" เนื่องในวันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2558 คัดเลือกโดยสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 13 สาขายอดนิยมขวัญใจมหาชนฝ่ายชายปี 2559 และรางวัล เพลงประกอบละครยอดนิยม ขวัญใจมหาชน (เพลง คนไม่สำคัญ ประกอบละครบัลลังก์เมฆ) Maya Awards 2559.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และนภัทร อินทร์ใจเอื้อ

นาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา

นาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา ผู้ได้รับการยกย่องเป็น “บรมครูแห่งวิชากระบี่กระบอง” เคยดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และนาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา

นิยม ทองชิตร

นิยม ทองชิตร เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2452 ที่กรุงเทพมหานคร ในวัยเด็กเรียนหนังสือที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยร่วมห้องเดียวกับ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ในชั้น ม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และนิยม ทองชิตร

นิรมล เมธีสุวกุล

นิรมล เมธีสุวกุล นิรมล เมธีสุวกุล (ชื่อเล่น: นก) อดีตนักข่าว และผู้ประกาศข่าวโทรทัศน์ ปัจจุบันเป็นพิธีกร และผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และโรงเรียนในถิ่นธุรกันดาร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และนิรมล เมธีสุวกุล

แสงดา บัณสิทธิ์

นางแสงดา บัณสิทธิ์ (14 เมษายน พ.ศ. 2462 - 11 มกราคม พ.ศ. 2536) ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (การทอผ้า) พ.ศ. 2529.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และแสงดา บัณสิทธิ์

แหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชร

แหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชร อยู่ที่บ้านดอนตาเพชร ที่อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี มีหลายอย่างซึ่งเป็นหลักฐานที่ยืนยันว่าบ้านดอนตาเพชรคือบริเวณที่ตะวันตกและตะวันออกมาพบกัน แบบอย่างที่มาจากทางตาวันออกที่พบที่นี่คือตุ้มหูและจี้ห้อยคอ หรือ ลิง-ลิง-โอ เป็นรูปสัตว์ที่มีเขาสองหัวสำหรับห้อยคอ และตุ้มหูที่มียอดแหลมประดับสามยอด ที่เป็นเหมือนเครื่องประดับทั่วไปในบริเวณเอเชียตะวันออก ซึ่งพบว่าเป็นโบราณวัตถุชนิดนี้เป็นวัตถุชิ้นหนึ่งซึ่ง พวกซาหวีนในเวียดนามปัจจุบันใช้กันมาก ซึ่งนี่เองที่เป็นหลักฐานสำคัญว่าพื้นที่บริเวณนี้มีการติดต่อสัมพันธ์กับภายนอกทางทะเลที่มีความเก่าแก่ นอกจากนี้จี้ห้อยคออีกชนิดหนึ่งที่พบคือจี้ห้อยคอรูปสิงห์เผ่น ซึ่งเป็นแบบอย่างมาจากทางตะวันตกคืออินเดีย นอกจากนี้ลูกปัดหินสีที่พบบริเวณนี้ยังพบในแถมอินเดียอีกด้วย อาจสรุปได้ว่าแหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชรเคยเป็นชุมชนโบราณที่มีการติดต่อทางทะเลกับทั้งอินเดียและทางตะวันออก แหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชร ค้นพบครั้งแรก เมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และแหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชร

แอลเลอร์ เอลลิส

ตราจารย์อุปการคุณ นายแพทย์ แอลเลอร์ กัสติน เอลลิส (Aller Gustin Ellis; A.G. Ellis) (พ.ศ. 2411 - 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496) เป็นแพทย์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน รับราชการในไทยในสัญญากับรัฐบาลไทยผ่านมูลนิธิร็อกกีเฟลเลอร์โดยเป็นอาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นคนที่สามในช่วงวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และแอลเลอร์ เอลลิส

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และแปลก พิบูลสงคราม

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา เป็นหลักฐานการอนุญาตให้ผู้ประกอบวิชาชีพควบคุมตามมาตรา 43 แห่งพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษ..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา

โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

รงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เป็นโรงพยาบาลทั่วไป ขนาด 1,200 เตียง ตามอัตราการจัดเฉพาะกิจที่ 3600 มีภารกิจดังต่อไปนี้ 1.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

โรงพยาบาลรามาธิบดี

รงพยาบาลรามาธิบดี เป็นหน่วยงานหนึ่งในระดับภาควิชาของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และเป็นสถานพยาบาลแห่งหนึ่งของรัฐ ตั้งอยู่เลขที่ 270 ถนนพระราม 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 มีเนื้อที่ทั้งหมด 38 ไร่ มีอาคารรวม 20 อาคาร เริ่มเปิดดำเนินการรักษาคนไข้เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงพยาบาลรามาธิบดี

โรงพยาบาลในประเทศไทย

รงพยาบาล (หรืออาจใช้ว่า สถานพยาบาล หรือ ศูนย์การแพทย์) เป็นสถานที่สำหรับการบริการทางด้านสุขภาพ โดยมักที่จะมุ่งเน้นทางด้านการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูภาวะความเจ็บป่วย หรือโรคต่างๆ ทั้งทางร่างกายและทางจิตใจ ในประเทศไทยมีการให้บริการทั้งโรงพยาบาลรัฐบาล โรงพยาบาลเอกชน รวมทั้งคลินิกที่เปิดบริการโดยทั่วไป.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงพยาบาลในประเทศไทย

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

รงเรียน.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนประจำชายล้วน เดิมคือโรงเรียนราชวิทยาลัย พระราชทานกำเนิดโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ก่อนจะถูกยุบรวมเป็นวชิราวุธวิทยาลัย ในสมัยรัชกาลที่ 7 และถูกฟื้นฟูใหม่อีกครั้งโดยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงพระมหากรุณารับโรงเรียนไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ กับได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้อัญเชิญอักษรพระปรม.ป.ร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

โรงเรียนบรบือวิทยาคาร

รงเรียนบรบือวิทยาคาร เป็นโรงเรียนประจำอำเภอแห่งแรกในอำเภอบรบือ (Borabu Wittayakhan school,อักษรย่อ บ.ค. BWK) อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา รูปแบบสหศึกษา ปัจจุบันจัดอยู่ในประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ จัดการเรียนการสอนในสายสามัญ ตั้งแต่ช่วงชั้นที่ 3 - 4 (ม.1 - 6) ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ และเป็นทำการเรียนการสอนในโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ (Gifted Program) ของ สสวท ปัจจุบันมีจำนวนนักเรียนรวมทุกระดับชั้นประมาณ 2,522 คน บุคลากรทางการศึกษาอีกประมาณ 120 คน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบรบือวิทยาคาร

โรงเรียนบรมราชินีนาถราชวิทยาลัย

อาคารเฉลิมพระเกียรติโรงเรียนบรมราชินีนาถราชวิทยาลัย โรงเรียนบรมราชินีนาถราชวิทยาลัย เป็นโรงเรียนในโครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เดิมชื่อ "โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ราชบุรี" กระทรวงศึกษาธิการประกาศจัดตั้งเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2535 ในสมัยที่ พล.อ.อ.สมบุญ ระหงษ์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ ดร.โกวิท วรพิพัฒน์ เป็นอธิบดีกรมสามัญศึกษา ซึ่งเป็นโรงเรียนสหศึกษาแบบประจำรับนักเรียนตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนมีเนื้อที่ 75 ไร่ 1 งาน 72 ตารางวา ได้รับบริจาคจากนายวัลลภ เจียรวนนนท์ และนายเชิดชัย เรียรวนนท์ ซึ่งเป็นเจ้าของบริษัทมัลติอโกร ราชบุรี โดยประสงค์จะมอบให้กรมสามัญศึกษาสร้างโรงเรียนเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ วาระที่มีพระชนมายุ 60 พรรษา กรมสามัญศึกษาจึงจัดให้เป็นสาขาของ "โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา" และให้ผู้บริหารโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาขณะนั้น คือ คุณหญิงพรรณี กาญจนะวสิต เป็นผู้บริหารโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ราชบุรี อีกตำแหน่งหนึ่ง วันที่ 5 สิงหาคม 2535 โรงเรียนได้รับพระกรุณาธิคุณจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระราชทานชื่อโรงเรียนใหม่ว่า "โรงเรียนบรมราชินีนาถราชวิทยาลัย" และมีพระบรมราชานุญาตให้ประดับตราสัญลักษณ์ในปีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ ที่อาคารเฉลิมพระเกียรติ ซุ้มประตูโรงเรียน และใช้เป็นตราประจำโรงเรียน ห้องพยาบาลของโรงเรียน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบรมราชินีนาถราชวิทยาลัย

โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 3

รงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 3 (อังกฤษ: Banhanjamsaiwitthaya 3 School) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ เปิดทำการเรียนการสอนแบบสหศึกษา มีสถานะเป็นโรงเรียนประจำอำเภอของรัฐบาล โรงเรียนประจำอำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 (สุพรรณบุรี-นครปฐม) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีเนื้อที่ 180 ไร่ 1 งาน เปิดทำการเรียนการสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 รวมทั้งสิ้น 55 ห้องเรียน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 3

โรงเรียนบรรจงรัตน์

รงเรียนบรรจงรัตน์ เป็นโรงเรียนเอกชนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนตั้งแต่ระดับอนุบาล และประถมศึกษาชั้นปีที่ 1 - 6 ตั้งอยู่ที่ 77 ซอยเอกทศ อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี อัตลักษณ์: รักเรียน รักเรียนรู้ เอกลักษณ์: เรียบร้อย น่ารัก.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบรรจงรัตน์

โรงเรียนชลบุรีเรืองกิตติ์พณิชยการ

รงเรียนชลบุรีเรืองกิตติ์พณิชยการ เป็นสถานศึกษาขนาดกลาง ตั้งอยู่ที่ 528 ถนนพิพิธ ตำบลบ้านโขด อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000 โทรศัพท์ 0-3827-8820.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนชลบุรีเรืองกิตติ์พณิชยการ

โรงเรียนชลกันยานุกูล

รงเรียนชลกันยานุกูล เป็นโรงเรียนสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 สำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ก่อตั้งขึ้นวันที่ 10 กันยายน 2479 มีนักเรียนจำนวน 4,169 คน ผู้บริหาร 1 คน รองผู้อำนวยการ 4 คน ครู 131 คน ครูอัตราจ้าง 30 คน นักการภารโรง 11 คน มีพื้นที่รวม 27 ไร่ 2 งาน 46 ตารางวา ตั้งอยู่เลขที่ 31.ตำหนักน้ำ ต.บางปลาสร้อย อ.เมืองชลบุรี.ชลบุรี 20230.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนชลกันยานุกูล

โรงเรียนชลราษฎรอำรุง

รงเรียนชลราษฎรอำรุง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี โดยมีผู้อำนวยการชื่อ นายอุทัย สิงห์โตทอง โดยมีชื่อที่เรียกกันติดปากของชาวชลบุรีว่า “ชลชาย” โรงเรียนชลราษฎรอำรุง ตั้งอยู่เลขที่ 215 หมู่ที่ 3 ถนนพระยาสัจจา ตำบลบ้านสวน อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี โทรศัพท์ 0 3828 2078, โทรสาร 0 3828 6079 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีเนื้อที่ 67 ไร่ 2 งาน 69.7 ตารางวา เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น(มัธยมศึกษาปีที่1-มัธยมศึกษาปีที่3)เฉพาะนักเรียนชาย และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (มัธยมศึกษาปีที่ 4 – มัธยมศึกษาปีที่ 6) เปิดสอนแบบสหศึกษ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนชลราษฎรอำรุง

โรงเรียนชัยบุรีพิทยา

รงเรียนชัยบุรีพิทยา เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำอำเภอชัยบุรี จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปล.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนชัยบุรีพิทยา

โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม

รงเรียนชัยนาทพิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำจังหวัดขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 5 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 55/30 ถนนลูกเสือ 1 ต.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนชัยนาทพิทยาคม

โรงเรียนชัยเกษมวิทยา

รงเรียนชัยเกษมวิทยา (อังกฤษ: Chaikasem Wittaya School) (อักษรย่อ: ช.ษ., C.S.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาสหขนาดกลาง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย กำนันมนต์ชัย ผอูนรัตน์ ร่วมกับชาวบ้าน ตำบลชัยเกษม เกษม อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จัดเตรียมพื้นที่เพื่อตั้งโรงเรียน สภาพพื้นที่ครั้งแรกเป็นไหล่เขาสลับที่ลุ่มจำนวน 38 ไร่ มีคณะอาจารย์จากโรงเรียนทับสะแกวิทยาเป็นผู้บุกเบิกและมีนายอนุ ธีรานุวรรตน์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ ฝ่ายวิชาการโรงเรียนทับสะแกวิทยา ได้รับคำสั่งแต่งตั้งจากกรมสามัญศึกษาให้ปฏิบัติหน้าที่ครูใหญ่โรงเรียนชัยเกษมวิทยา วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2535 กระทรวงศึกษาธิการได้อนุมัติจัดตั้งให้เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา นามว่า “ ชัยเกษมวิทยา” ซึ่งตรงกับโอกาสครบรอบ 100 ปี กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันเปิดทำการสอนนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีนักเรียนชายจำนวน 251 คน นักเรียนหญิง 353 รวมทั้งสิ้น 604 คน มีครู-อาจารย์ 27 คน นักการ-ภารโรง 2 คน พนักงานขับรถ 1 คน จากสภาพทั่วไปทางภูมิศาสตร์ ของตำบลชัยเกษม อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ประชากรของตำบลชัยเกษม มีแหล่งที่อยู่และที่ทำมาหากินกระจัดกระจาย ทั้งจากการพิจารณาข้อมูลสารสนเทศขององค์การบริหารส่วนตำบล และสำนักงานสถิติจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ พบว่าสารสนเทศประชากรในตำบลชัยเกษม อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ส่วนใหญ่มีอาชีพทำไร่-ทำนา และรับจ้างทั่วไป ทั้งมีพื้นฐาน ความรู้ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นส่วนมาก.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนชัยเกษมวิทยา

โรงเรียนบางกะปิ

รงเรียนบางกะปิ เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และตอนปลายแห่งแรกของเขตบางกะปิ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบางกะปิ

โรงเรียนบางมดวิทยา

ลหลวงปู่ชิต อนุสาวรีย์มด บริเวณหน้าโรงเรียน บริเวณหน้าเสาธง โรงเรียนบางมดวิทยา "สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ์" (อังกฤษ: Bangmod Wittaya School) (อักษรย่อ: บ.ม.ว., B.M.W.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เดิมชื่อ โรงเรียนสีสุกหวาดจวนวิทยา ปัจจุบันมีนักเรียนทั้งสิ้น 2127 คน ครู 114 ท่าน จัดการเรียนการสอน 51 ห้องเรียน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบางมดวิทยา

โรงเรียนบางระจันวิทยา

รงเรียนบางระจันวิทยา เป็นสถานศึกษาระดับมัธยม ของอำเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี ปัจจุบันจัดอยู่ในประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง ในรูปแบบสหศึกษา ทำการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับช่วงชั้นที่ 3 และช่วงชั้นที่ 4 มีจำนวนนักเรียนกว่า1,000 คน และบุคลากรทางการศึกษาอีกกว่า 60 คน โดยมีเนื้อที่ 36 ไร่ 84 ตารางว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบางระจันวิทยา

โรงเรียนบางดีวิทยาคม

รงเรียนบางดีวิทยาคม เป็นโรงเรียนสหศึกษาให้การศึกษาตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบางดีวิทยาคม

โรงเรียนบางปะกงบริหารธุรกิจ

รงเรียนบางปะกงบริหารธุรกิจ เป็นสถานศึกษาขนาดกลาง ตั้งอยู่ที่ 1/425 หมู่ 14 ซอย 7/3 ถนนจรัญญานนท์ ตำบลบางวัว อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา 24180 โทรศัพท์ 0-3853-8809.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบางปะกงบริหารธุรกิจ

โรงเรียนบางปะอิน "ราชานุเคราะห์ ๑"

รงเรียนบางปะอิน "ราชานุเคราะห์ ๑" เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บริเวณถนนปราสาททอง ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษา และเป็นและโรงเรียนประจำอำเภอบางปะอิน ผู้บริหารจากอดีตถึงปัจจุบัน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบางปะอิน "ราชานุเคราะห์ ๑"

โรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย

รงเรียนชิโนรสวิทยาลัย ชื่อเดิม โรงเรียนวัดชิโนรส ตั้งอยู่ในวัดชิโนรสารามวรวิหาร ซึ่งสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรสทรงสร้างชึ้นในราวปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย

โรงเรียนบึงมะลูวิทยา

รงเรียนบึงมะลูวิทยา Bungmaluwittayaschool มีชื่อย่อว่า (บ.ล.ว.) โรงเรียนบึงมะลูวิทยา เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ตั้งขึ้นตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2527 ในท้องที่ตำบลบึงมะลู อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ อยู่ห่างจากอำเภอกันทรลักษ์ 12 กิโลเมตร แรกตั้ง นายทองจีน แตะต้อง กำนันตำบลบึงมะลู ร่วมกับ นายขวัญชัย เวชกามา อาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านบึงมะลู นายสุรวุฒิ แก้วมหาวงศ์ ศึกษาธิการ อำเภอกันทรลักษ์ นายสมรรถชัย นาคะผิว ผู้อำนวยการโรงเรียนกันทรลักษ์วิทยา ร่วมกันจัดที่ดินบริเวณป่าสงวนแห่งชาติ จำนวน 50 ไร่ เป็นสถานที่ตั้งโรงเรียน โรงเรียนเปิดทำการสอน เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2528 แต่งตั้งโดยกรมสามัญศึกษา เว็บโรงเรียนบึงมะลูวิทยา www.blwsc.ac.th.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบึงมะลูวิทยา

โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย

รงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย (ภาษาอังกฤษ: Bunyawat Witthayalai School) เป็นโรงเรียนรัฐบาลแห่งแรกของจังหวัดลำปาง ตั้งขึ้นเมื่อประมาณ..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย

โรงเรียนบูรณะรำลึก

รงเรียนบูรณะรำลึก (อังกฤษ:Buranarumluk School) เป็นโรงเรียนเอกชน ศาสนาคริสต์ ประเภทสามัญศึกษา รับนักเรียนทั้งชายและหญิง ให้การศึกษาในระดับอนุบาล ประถมศึกษา และ มัธยมศึกษ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบูรณะรำลึก

โรงเรียนชูธรรมานุสรณ์

รงเรียนชูธรรมานุสรณ์ เป็นโรงเรียนประเภทสามัญศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน (สช.) กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนตั้งแต่ระดับอนุบาล ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มี นาย ถวัลย์ รักศีล เป็น ผู้อำนวยการโรงเรียน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนชูธรรมานุสรณ์

โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)

รงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษในกรุงเทพมหานคร ประเภทสหวิทยา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ขนาดเนื้อที่ 39 ไร่ 3 งาน 86 ตารางว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)

โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒

รงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒, เว็บไซต์โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี).

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒

โรงเรียนบ่อเกลือ

รงเรียนบ่อเกลือ ตั้งขึ้นเมื่อปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบ่อเกลือ

โรงเรียนช่างฝีมือในวัง

รงเรียนช่างฝีมือในวัง (เดิมชื่อ วิทยาลัยในวัง หรือ โรงเรียนผู้ใหญ่พระตำหนักสวนกุหลาบ) เป็นโรงเรียนในสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งขึ้นตามพระราชดำริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่จะให้มีการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับงานช่างประดิษฐ์ของสตรีให้แพร่หลายในวงกว้าง และเป็นการสืบสาน ฟื้นฟูช่างฝีมือไทย และอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย และฝึกสอนวิชาให้แก่ผู้ที่ต้องการนำไปประกอบอาชีพ โรงเรียนช่างฝีมือในวัง (หญิง) จัดตั้งขึ้นโดยกรมการศึกษานอกโรงเรียน เมื่อวันที่ 25 เมษายน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนช่างฝีมือในวัง

โรงเรียนบ้านบ่อพระ

รงเรียนบ้านบ่อพระ เป็น โรงเรียนประจำหมู่บ้านบ่อพระ ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนบ้านบ่อพระเป็นโรงเรียนในกลุ่มคุ้งตะเภา-ถ้ำฉลอง โรงเรียนแบ่งการเปิดการสอนเป็น ระดับประถมศึกษา และระดับก่อนประถมศึกษ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบ้านบ่อพระ

โรงเรียนบ้านราษฎร์บำรุง

รงเรียนบ้านราษฎร์บำรุง ก่อตั้งโดย นายณรงค์ ทาสอนพันธุ์ ตัวแทนกรรมการสถานศึกษา เปิดเรียนเมื่อ ปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบ้านราษฎร์บำรุง

โรงเรียนบ้านสวน (จั่นอนุสรณ์)

รงเรียนบ้านสวน (จั่นอนุสรณ์) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 18 (ชลบุรี) กระทรวงศึกษาธิการเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ตั้งอยู่เลขที่ 111 หมู่ 6 ตำบลบ้านสวน อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบ้านสวน (จั่นอนุสรณ์)

โรงเรียนบ้านหลวง

้านหลวง บ้านหลวง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบ้านหลวง

โรงเรียนบ้านหัวหาด

รงเรียนบ้านหัวหาด เป็น โรงเรียนประจำหมู่บ้านหัวหาด ตั้งอยู่ที่ บ้านหัวหาด ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนบ้านหัวหาดเป็นโรงเรียนในกลุ่ม คุ้งตะเภา-ถ้ำฉลอง แบ่งการเปิดการสอนเป็น ระดับประถมศึกษา และระดับก่อนประถมศึกษา โรงเรียนบ้านหัวหาดได้ดำเนินการจัดการเรียนการสอน โดยทำการสอนครั้งแรก ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มี นายอนันต์ เอี่ยมสรรพางค์ เป็นครูใหญ่คนแรก ปัจจุบันเปิดทำการสอนเป็น 2 ระดับชั้น คือระดับก่อนประถมศึกษา และระดับประถมศึกษา มีนายอำนวย คงอินทร์ ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหัวห.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบ้านหัวหาด

โรงเรียนบ้านหาดเสือเต้น

รงเรียนบ้านหาดเสือเต้น เป็นโรงเรียนประจำหมู่บ้านหาดเสือเต้น ตั้งอยู่ที่ บ้านหาดเสือเต้น ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนบ้านหาดเสือเต้น เป็นสถานศึกษารางวัลโรงเรียนพระราชทานในระดับประถมศึกษา ปัจจุบันโรงเรียนแบ่งการเปิดการสอนเป็น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับประถมศึกษา และระดับก่อนประถมศึกษา โรงเรียนบ้านหาดเสือเต้น เดิมชื่อว่า "โรงเรียนบ้านงิ้วงาม 2" เปิดทำการเรียนการสอนครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบ้านหาดเสือเต้น

โรงเรียนบ้านดอน (ศรีเสริมกสิกร)

รงเรียนบ้านดอน (ศรีเสริมกสิกร) เดิมตั้งอยู่ในเขตหัวเวียงใต้ ตำบลในเวียง อำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน และได้ตั้งชื่อ "โรงเรียนศรีเสริมกสิกร" โดยมีนายเสถียร บูรณกิจ เป็นครูใหญ่คนแรก ต่อมาในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบ้านดอน (ศรีเสริมกสิกร)

โรงเรียนบ้านคุ้งตะเภา

รงเรียนบ้านคุ้งตะเภา เป็น โรงเรียนประจำหมู่บ้านคุ้งตะเภา ตั้งอยู่ที่ บ้านคุ้งตะเภา ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนบ้านคุ้งตะเภาเป็นโรงเรียนในกลุ่มคุ้งตะเภา-ถ้ำฉลอง แบ่งการเปิดการสอนเป็น ระดับประถมศึกษา และระดับก่อนประถมศึกษ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบ้านคุ้งตะเภา

โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา

รงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา ชื่อภาษาอังกฤษ Banchangkranchanakul Wittaya School เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาสหศึกษา ประจำอำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 18 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนมัธยมขนาดใหญ่ เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย มีเนื้อที่จำนวน 42 ไร่ 3 งาน 7.5 ตารางวา โดยได้รับบริจาคที่ดินจากคุณสุธรรม กาญจนกุล และคุณนวลศรี กาญจนกุล เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา

โรงเรียนบ้านป่ารังงาม

รงเรียนบ้านป่ารังงาม เป็นโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก หมู่บ้านในเขตบริการคือ บ้านป่ารังงาม ตำบลห้วยบง อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ตั้งอยู่จากอำเภอด่านขุนทด 31 กิโลเมตร และห่างจังหวัดนครราชสีมา 100 กิโมตร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบ้านป่ารังงาม

โรงเรียนบ้านโป่งแดง

รงเรียนบ้านโป่งแดง (อักษรย่อ ป.ด.) ตั้งอยู่หมู่ที่ 12 บ้านโป่งแดงใหม่ ตำบลทรายขาว อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย เป็นโรงเรียนรัฐบาลที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบ้านโป่งแดง

โรงเรียนบ้านเขาเทพพิทักษ์

รงเรียนบ้านเขาเทพพิทักษ์ (Bannkaotheppituk School,อักษรย่อ ข.พ.) เป็นโรงเรียนประถมศึกษาประเภทสหศึกษา ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลบ้านเชี่ยวหลาน โรงเรียนบ้านเขาเทพพิทักษ์ ทำการสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนบ้านเขาเทพพิทักษ์

โรงเรียนพญาไท

รงเรียนพญาไท (Phyathai School) เป็นโรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร เปิดสอนชั้นอนุบาล 1-2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ตั้งอยู่ 306 ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพญาไท

โรงเรียนพยัคฆภูมิวิทยาคาร

รงเรียนพยัคฆภูมิวิทยาคาร เป็นโรงเรียนประจำอำเภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม เปิดการเรียนการสอนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา สารคามใต้.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพยัคฆภูมิวิทยาคาร

โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี

รงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี (Prommanusorn Phetchaburi School) (อักษรย่อ พ.บ. / P.B.) ตั้งอยู่เลขที่ 278 ถนนบันไดอิฐ ตำบลคลองกระแชง อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี เป็นโรงเรียนสหศึกษาทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย อีกทั้งยังเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดเพชรบุรี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี

โรงเรียนพรหมคีรีพิทยาคม

รงเรียนพรหมคีรีพิทยาคม (อักษรย่อ: พ.ร.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง ประเภทสหวิทยาสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการเลขที่ 4 หมู่ 4 ตำบลทอนหงส์ อำเภอพรหมคีรี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพรหมคีรีพิทยาคม

โรงเรียนพระมารดานิจจานุเคราะห์

รงเรียนพระมารดานิจจานุเคราะห์ เป็นโรงเรียนของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ก่อตั้งเมื่อปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพระมารดานิจจานุเคราะห์

โรงเรียนพระหฤทัยดอนเมือง

รงเรียนพระหฤทัยดอนเมือง (Phraharuthai Donmuang School) (อักษรย่อ: พ.ท.ด., PTD) เป็นโรงเรียนเอกชนในกรุงเทพมหานคร ประเภทสหวิทยา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนในเครือของคณะภคินีพระหฤทัยของพระเยซูเจ้าแห่งกรุงเทพฯ ศาสนาโรมันคาทอลิก มุ่งเน้นภาษาต่างประเท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพระหฤทัยดอนเมือง

โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ

รงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ตั้งอยู่บริเวณท้ายพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ จัดตั้งขึ้นในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ

โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ มหามงคล

รงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ มหามงคล (อักษรย่อ: พ.ส.ม.) สอนระดับอนุบาล และประถม ตั้งอยู่เลขที่ 300 หมู่ที่ 5 ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 ประเทศไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ มหามงคล

โรงเรียนพระปริยัติธรรม

รงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เป็นศาสนศึกษาแผนกสามัญศึกษา อยู่ในความผิดชอบของ กองพุทธศาสนศึกษา สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ดำเนินการจัดการศึกษาทางวิชาการพระพุทธศาสนา แผนกนักธรรม-ภาษาบาลี และหลักสูตรการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-ม.3) และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-ม.6) ให้แก่พระภิกษุสามเณร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพระปริยัติธรรม

โรงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์

รงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์ เป็นโรงเรียนสหศึกษา ในความดูแลของคณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร เขตมิสซังกรุงเทพฯ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนในระดับชั้นอนุบาล ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีกำเนิดมาจาก โรงเรียนแม่พระสกลสงเคราะห์ ที่บาทหลวงบรัวซาร์ อธิการโบสถ์วัดพระแม่สกลสงเคราะห์องค์แรกจัดตั้งขึ้น เมื่อปี ค.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์

โรงเรียนพระโขนงพิทยาลัย

รงเรียนพระโขนงพิทยาลัย (Prakhanongpittayalai School) สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพระโขนงพิทยาลัย

โรงเรียนพรานกระต่ายพิทยาคม

รงเรียนพรานกระต่ายพิทยาคม ตั้งอยู่ระหว่างหลักกิโลเมตร 26 - 27 หมู่ที่ 1 ต.ถ้ำกระต่ายทอง อ.พรานกระต.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพรานกระต่ายพิทยาคม

โรงเรียนพรตพิทยพยัต

รงเรียนพรตพิทยพยัต (Protpittayapayat school) ก่อตั้งในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพรตพิทยพยัต

โรงเรียนพะเยาพิทยาคม

รงเรียนพะเยาพิทยาคม เป็นสถานศึกษาของรัฐประจำจังหวัดพะเยาเดิมมีชื่อว่า โรงเรียนพะเยา พะเยาพิทยาคม" ปักหน้าอกเป็น.ร.๓ เพราะเป็นโรงเรียนมัธยมแห่งที่ ๓ ของจังหวัดเชียงรายในสมัยนั้น ในช่วงปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพะเยาพิทยาคม

โรงเรียนพานพิทยาคม

รงเรียนพานพิทยาคม ตั้งอยู่เลขที่ 816 หมู่ 17 ต.เมืองพาน อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย มีเนื้อที่รวม 24 ไร่ 25 ตารางวา เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 ไร่ ปัจจุบันเปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพานพิทยาคม

โรงเรียนพานพิเศษพิทยา

รงเรียนพานพิเศษพิทยา (อังกฤษ: Phan Phiset Phitthaya School; ย่อ: พ.พ.ย., P.P.Y.) หรือชื่อเดิม โรงเรียนพานมัธยมสามัญ (พาน ช.ร.8) เป็นหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ประเภทสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 36 (เชียงราย และพะเยา) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 2) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 250 หมู่ 1 ตำบลสันติสุข อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษา ผู้อำนวยการคนปัจจุบันคือ นายไชยนคร ขุมคำ และมีรองผู้อำนวยการคือ นายชวลิต ปัญจขันธ์ ป้ายหน้าโรงเรียนพานพิเศษพิท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพานพิเศษพิทยา

โรงเรียนพิชญศึกษา

รงเรียนพิชญศึกษา (Pichaya Suksa School) เป็นโรงเรียนเอกชนสหศึกษาในย่านปากเกร็ด นนทบุรี ที่มีชื่อเสียง เปิดสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล 1 จนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 94/1 หมู่ 8 ซอยสุขาประชาสรรค์3 ตำบลบางพูด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทร 02 5833777 และ 0655082108 ประเทศไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพิชญศึกษา

โรงเรียนพิบูลมังสาหาร

รงเรียนพิบูลมังสาหาร (อักษรย่อ: พ.ม. / P.M.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย จัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา สายสามัญ ตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนประจำอำเภอ (โรงเรียนยอดนิยม) และเป็นโรงเรียนอันดับ 1 ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี โรงเรียนพิบูลมังสาหาร ตั้งอยู่เลขที่ 29/3 ถนนเทศบาล 2 ตำบลพิบูล อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี มีเนื้อที่ 51 ไร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพิบูลมังสาหาร

โรงเรียนพิพัฒน์ราษฎร์บำรุง

รงเรียนพิพัฒน์ราษฎร์บำรุง เป็นโรงเรียนรัฐบาลประจำอำเภอ ระดับชั้นประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งอยู่ที่ถนนสัญจรราชกิจ อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสิน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพิพัฒน์ราษฎร์บำรุง

โรงเรียนพิมายวิทยา

รงเรียนพิมายวิทยา อักษรย่อ.ม. เป็นโรงเรียนในจังหวัดนครราชสีมา และเป็นโรงเรียนประจำอำเภอของอำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพิมายวิทยา

โรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่

รงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่ แต่เดิมชื่อว่าโรงเรียนเทพวงศ์ ตั้งอยู่ระหว่างวัดพระบาทและวัดมิ่งเมือง (ในสมัยนั้น) ก่อตั้งเมื่อ..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่

โรงเรียนพณิชยการหาดใหญ่

วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการหาดใหญ่ (Hatyai Commercial Technological College) (อักษรย่อ: พ.ก.ญ.) เป็นโรงเรียนเอกชนใน อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ประเทศไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพณิชยการหาดใหญ่

โรงเรียนพงษ์ศิริวิทยา

รงเรียนพงษ์ศิริวิทยา (Pongsiriwittaya) อักษรย่อ..ว. (PSV) เป็นโรงเรียนในจังหวัดนครราชสีมา และเป็นโรงเรียนเอกชนในอำเภอด่านขุนทด ของจังหวัดนครราชสีม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพงษ์ศิริวิทยา

โรงเรียนพนัสพิทยาคาร

รงเรียนพนัสพิทยาคาร (Phanatpittayakarn School, ย่อ: พ.พ., PP) เป็นโรงเรียนรัฐบาลสหศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ตั้งอยู่ หมู่ที่ 6 ถนนสุขประยูร ตำบลกุฎโง้ง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี โดยมีชื่อที่เรียกกันทั่วไปของชาวพนัสนิคมว่า “โรงเรียนหลวงใหญ่” โรงเรียนพนัสพิทยาคาร อยู่ภายใต้สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 สหวิทยาเขตชลบุรี 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนประจำ อำเภอพนัสนิคม ก่อตั้งขึ้นในปี 28 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนพนัสพิทยาคาร

โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย

รงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 กระทรวงศึกษาธิการ เกิดจากการรวมกันของโรงเรียน 2 โรงเรียนคือ โรงเรียนปรีชาพิทยากร และ โรงเรียนวัดประตูสาร โดยกำหนดฐานะเป็น "โรงเรียนประจำจังหวัดสุพรรณบุรี" บริเวณที่ตั้งของโรงเรียนตั้งอยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำท่าจีน ระยะทางจากตัวเมืองสุพรรณบุรี ประมาณ 2.5 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 48 ไร่ 2 งาน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย

โรงเรียนกันทรลักษ์วิทยา

รงเรียนกันทรลักษ์วิทยา (อังกฤษ: Kanthalakwittaya School) เป็นโรงเรียนมัธยมสหศึกษา ขนาดใหญ่พิเศษ 1 ใน 362 โรงเรียนยอดนิยมของประเทศ ตั้งอยู่เลขที่ 443 ถนนดำรงสถิต ตำบลน้ำอ้อม อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ บนพื้นที่ประมาณ 30 ไร่ ก่อตั้งเมื่อ 17 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนกันทรลักษ์วิทยา

โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย กาฬสินธุ์

รงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย กาฬสินธุ์ (อังกฤษ: kanchanapisek wittayalai kalasin school) เป็นหนึ่งในกลุ่มโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย 9 โรงเรียน สร้างขึ้นมาเนื่องในวโรกาศที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 พรรษาในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย กาฬสินธุ์

โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุราษฎร์ธานี

รงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุราษฎร์ธานี เป็นหนึ่งในกลุ่มโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย 9 โรงเรียน สร้างขึ้นมาเนื่องในวโรกาศที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 พรรษาในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุราษฎร์ธานี

โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตำหนักสวนกุหลาบมัธยม)

รงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตำหนักสวนกุหลาบมัธยม) เป็นหนึ่งใน ๙ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เนื่องในวโรกาส งานฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 50 ปี ในวันที่ 9 มิถุนายน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตำหนักสวนกุหลาบมัธยม)

โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์

รงเรียนกาญจนานุเคราะห์ เป็นโรงเรียนสตรีประจำจังหวัด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรีเขต 8 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ แต่ก็ยังมีนักเรียนชายปนอยู่ในโครงการโรงเรียนสองภาษา โครงการพิเศษวิทยาศาสตร์ และในระดับชั้นมัธยมปลายเกือบทุกห้องเรียน เปิดทำการเรียนการสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นถึงชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนกาญจนานุเคราะห์

โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์

รงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์ (อังกฤษ: Kalasinpittayasan School) (อักษรย่อ: ก.พ.ส,K.P.S.) เป็นสถานศึกษาแห่งแรกของจังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งแต่เดิมเป็นโรงเรียนชายล้วน ปัจจุบันจัดอยู่ในประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ รูปแบบสหศึกษา ทำการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปล.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์

โรงเรียนกิ่งแก้ว (เทวะพัฒนาคาร)

รงเรียนวัดกิ่งแก้ว เป็นโรงเรียนขยายโอกาสในจังหวัดสมุทรปราการ ประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนกิ่งแก้ว (เทวะพัฒนาคาร)

โรงเรียนกุนนทีรุทธารามวิทยาคม

รงเรียนกุนนทีรุทธารามวิทยาคม เป็นโรงเรียนสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยมี นางพรภินันท์ เลาะหนับ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ มีข้าราชการครูทั้งสิ้น 73 คน และมีลูกจ้างประจำ 9 คน ครูอัตราจ้างรายปี 29 คน ครูสอนภาษาอังกฤษ 3 คน (ชาวอังกฤษ) ครูสอนภาษาจีน(ชาวจีน) 2 คน มีนักเรียนประมาณ 2,000 คนต่อปีการศึกษา จำนวน 53 ห้องเรียน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนกุนนทีรุทธารามวิทยาคม

โรงเรียนกู่จานวิทยาคม

รงเรียนกู่จานวิทยาคม (Kuchanwitthayakhom School) อักษรย่อ (ก.จ.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง เป็นโรงเรียนเรียนใน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขตที่ ๒๘ จังหวัดศรีสะเกษและยโสธร กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 127 ม.3 ตำบลกู่จาน อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร 35110 โรงเรียนกู่จานวิทยาคม ได้รับรางวัลมากมาย ไม่ว่าจะเป็นผลงานการแข่งขัน ศิลปหัตถกรรมระดับประเทศ ประจำปีการศึกษา 2556 1 เหรียญทอง การแข่งขันศิลปหัตถกรรมระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีการศึกษา 2556 ได้รับรางวัล 4 เหรียญทอง 4 เหรียญเงิน 2 เหรียญทองแดง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนกู่จานวิทยาคม

โรงเรียนฝั่งแดงวิทยาสรรค์

รงเรียนฝั่งแดงวิทยาสรรค์ (อังกฤษ: Fangdaeng Wittayasan School) ตั้งอยู่ที่บ้านสุขสำราญ หมู่ที่ 16 ตำบลฝั่งแดง อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดทำการเรียนการสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น-มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนฝั่งแดงวิทยาสรรค์เป็นโรงเรียนในสหวิทยาเขตวังแสนสุวรรณ ซึ่งประกอบด้วยโรงเรียนคำแสนวิทยาสรรค์ โรงเรียนนาวังศึกษาวิช โรงเรียนสุวรรณคูหาพิทยาสรรค์ โรงเรียนฝั่งแดงวิทยาสรรค์ โรงเรียนกุดดินจี่พิทยาคม โรงเรียนนาแกวิทยา โรงเรียนภูซางใหญ่วิทยาคม โรงเรียนดงมะไฟวิทยาคม และโรงเรียนกุงแก้ววิทยาคาร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนฝั่งแดงวิทยาสรรค์

โรงเรียนฝางชนูปถัมภ์

รงเรียนฝางชนูปถัมภ์ (Fangchanupathum School; ชื่อย่อ: ฝ.ช. - FC) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง นอกเขตตัวเมืองเชียงใหม่ เป็นโรงเรียนประจำอำเภอฝาง และเป็นโรงเรียนรัฐบาลแห่งเดียวในอำเภอฝางที่เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนฝางชนูปถัมภ์

โรงเรียนภราดานุสรณ์

รงเรียนภราดานุสรณ์ เป็นโรงเรียนเอกชน จัดการเรียนการสอนแบบสหศึกษา ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 112 ถนนอินใจมี ตำบลท่าอิฐ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัด คณะกรรมการการศึกษาเอกชน ประเภทสามัญศึกษา ภายใต้การดูแลของกระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนภราดานุสรณ์ เดิมชื่อว่า โรงเรียนการรถไฟอุปถัมภ์ เปิดทำการเรียนการสอนครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนภราดานุสรณ์

โรงเรียนภัทรบพิตร

รงเรียนภัทรบพิตร (Phattharaborphit School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา (ช่วงชั้นที่ 3-4) ปัจจุบันสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนภัทรบพิตร

โรงเรียนภู่วิทยา

รงเรียนภู่วิทยา อักษรย่อ.ว. เป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล ใน อำเภอโนนแดง จังหวัดนครราชสีม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนภู่วิทยา

โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย

รงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย (Phuketwittayalai School) (อักษรย่อ ภ.ว.,P.K.W) คนส่วนใหญ่มักจะเรียกสั้นๆว่า ภว.เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลนครภูเก็ต โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย สอนในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ตั้งขึ้นครั้งแรกใน ปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย

โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา

รงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (ชื่อภาษาอังกฤษ: Mahavajiravudh Songkhla School) (อักษรย่อ: ม.ว., M.V.) (สุภาษิตประจำโรงเรียน: รฺกขาม อตฺตโน สาธุง (รัก - ขา - มะ - อัด - ตะ - โน - สา - ทุง) แปลว่า " พึงรักษาความดีของตนไว้ (ประดุจเกลือรักษาความเค็ม) ") เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รหัสสถานศึกษา 03900101(เดิม), 1003900101 (ใหม่) มีเนื้อที่ 45 ไร่ 2 งาน 99.9 ตารางวา เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษา มีประวัติความเป็นมาและชื่อเสียงเกียรติยศที่สั่งสมมายาวนานจนถึงปัจจุบันกว่า 121 ปี เป็นโรงเรียนหลวงแห่งแรกในภาคใต้ เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดสงขลา โดยมีกุลบุตร - กุลธิดา ในพื้นที่จังหวัดสงขลาและพื้นที่ใกล้เคียง มาศึกษาเล่าเรียนกันเป็นจำนวนมาก ผู้ริเริ่มก่อตั้งโรงเรียนคือ มหาอำมาตย์นายก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ขณะท่านมีบรรดาศักดิ์เป็น " พระยาสุขุมนัยวินิต " ข้าหลวงเทศาภิบาลสำเร็จการมณฑลนครศรีธรรมราช และเป็นพระอาจารย์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 โดยในเดือนมกราคม พุทธศักราช 2439 ในวาระโอกาสวันพระราชสมภพพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร เจ้าพระยายมราชได้ขอพระราชทานพระนามของพระองค์ในขณะนั้นมาเป็นนามของโรงเรียน ว่าโรงเรียน "มหาวชิราวุธ" ปัจจุบันเป็นสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงของภาคใต้ และลูกมหาวชิราวุธทุกคนที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันแห่งนี้ ต่างมีความรักภาคภูมิใจในสถาบัน และภูมิใจใน ตราวชิราวุธ อันเป็นลัญจกรประจำพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นตราสัญลักษณ์อันเป็นมิ่งมงคลยิ่งของสถาบัน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา

โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาเมืองพล

รงเรียนมหาไถ่ศึกษาเมืองพล ตั้งอยู่ในอำเภอพล จังหวัดขอนแก่น.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนมหาไถ่ศึกษาเมืองพล

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

รงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย มีฐานะเป็นองค์การมหาชน ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

โรงเรียนมักกะสันพิทยา

รงเรียนมักกะสันพิทยา เป็นโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตการศึกษา กรุงเทพมหานครเขต 1 กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 ถือกำเนิดจาก โรงเรียนการรถไฟอนุกูลศึกษา ตั้งโดยกลุ่มพนักงานการรถไฟแห่งประเทศไทยในปีพุทธศักราช 2502 ในระยะเริ่มแรกเปิดสอนตั้งแต่ชั้น ป.1 ถึง ป.7.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนมักกะสันพิทยา

โรงเรียนมัญจาศึกษา

รงเรียนมัญจาศึกษา (อังกฤษ: Mancha Suksa School) (อักษรย่อ: ม.ศ.,M.C.) เป็นสถานศึกษาแห่งแรกของจังหวัดขอนแก่นที่ผ่านการประเมินโรงเรียนต้นแบบ โรงเรียนในฝัน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนมัญจาศึกษา

โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ

รงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐประจำอำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน เปิดการเรียนการสอนแบบสหศึกษาตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงปีที่ 6.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ

โรงเรียนมัธยมวัดบึงทองหลาง

รงเรียนมัธยมวัดบึงทองหลางตั้งอยู่ที่ ซอยลาดพร้าว101 แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2522 เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร ประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนมัธยมวัดบึงทองหลาง

โรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์

รงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์ (Mathayom Wat Makutkasat School) เป็นโรงเรียนสหศึกษา (เดิมชื่อโรงเรียนวัดมกุฏกษัตริย์ เป็นโรงเรียนชายล้วน) เปิดการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตั้งอยู่บนพื้นที่ของวัดมกุฏกษัตริยารามวรวิหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์

โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์

รงเรียนมัธยมวัดสิงห์ (Mathayomwatsing school) เป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 35ก หมู่3 ถนนเอกชัย แขวงบางขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์เป็นโรงเรียนสหศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ มีเนื้อที่ 37 ไร่ ถือเป็นโรงเรียนรัฐบาลที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่ที่สุดในฝั่งธนบุรีซึ่งได้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์

โรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม

รงเรียนมัธยมวัดหนองแขม (ชื่อภาษาอังกฤษ: Matthayom Wat Nongkhaem School) เป็นโรงเรียนรางวัลพระราชทานขนาดใหญ่พิเศษและโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 443 ถนนเลียบคลองภาษีเจริญฝั่งใต้ แขวงหนองแขม เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร โรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม ได้รับอนุมัติให้ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม

โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร

ก่าอาคารพระพุทธเจ้าหลวง ปัจจุบันได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน ภาพหน้าบันอาคารพระพุทธเจ้าหลวง โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร (Mathayom Wat Benchamabophit School) ตั้งอยู่ในบริเวณวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ในเนื้อที่ประมาณ 5 ไร่ 42 ตารางวา อยู่ในเขตพระราชฐาน เป็นโรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานครที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชาย (โรงเรียนชายล้วน) ตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชกำเนิดเมื่อ ร..119 (พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร

โรงเรียนมัธยมวัดเขาสุกิม

รงเรียนมัธยมวัดเขาสุกิม เป็นโรงเรียนในจังหวัดจันทบุรี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนมัธยมวัดเขาสุกิม

โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

รงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เป็นโรงเรียนสาธิตในระดับมัธยมศึกษา ในกำกับของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ณ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งเมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

โรงเรียนมัธยมป่ากลาง

มัธยมป่ากลาง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนมัธยมป่ากลาง

โรงเรียนมารีย์วิทยา

รงเรียนมารีย์วิทยา (อักษรย่อ: ม.ว. /MV) เป็นสถานศึกษาเอกชนขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนมารีย์วิทยา

โรงเรียนมาเรียลัย

รงเรียนมาเรียลัย เป็นโรงเรียนโรมันคาทอลิกในเขตมิสซังกรุงเทพฯ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน (สช.) ตั้งอยู่เลขที่ 389 ถนนประชาพัฒนา แขวงทับยาว เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่จำนวน 15 ไร่ 40 ตารางวา เดิมเป็นอาคารเรียนเรือนไม้ 2 ชั้น 3 หลัง ชุมชนมีการพัฒนาความเจริญมากขึ้น ตามลำดับ ในพื้นที่ของวัดแม่พระประจักษ์เมืองลูร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนมาเรียลัย

โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย

อาคารเรือนเพชร ซึ่งปัจจุบันถูกรื้อถอนไปเพื่อนำไม้ไปสร้างอาคารเรือนแก้ว ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2496 ตึกยุพราชอาคารหลังแรกของโรงเรียน ปัจจุจบันมีอายุครบ 114 ปี โรงช้างต้น หรือ เรือนช้างต้น หนึ่งในอาคารเก่าแก่ที่ปัจจุบันใช้เป็นห้อง BAND โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย (อักษรย่อ: ย.ว., Y.R.C.) เป็นโรงเรียนรัฐบาลแห่งแรกของภาคเหนือ และโรงเรียนสหศึกษาของรัฐบาลประจำจังหวัดเชียงใหม่ เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 (เชียงใหม่-แม่ฮ่องสอน) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นสถานศึกษาในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี โรงเรียนก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย

โรงเรียนยโสธรพิทยาคม

รงเรียนยโสธรพิทยาคม (Yasothonpittayakom School) อักษรย่อ (ย.ส.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ เป็นโรงเรียนเรียนสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขตที่ ๒๘ จังหวัดศรีสะเกษและยโสธร กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ถนนแจ้งสนิท ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร 35000 และโรงเรียนยโสธรพิทยาคมได้เข้าร่วมโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากลWorld Class Standard School ซึ่งมีโรงเรียนในจังหวัดยโสธร เพียง 2 แห่งเท่านั้นที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากลคือ โรงเรียนยโสธรพิทยาคม และโรงเรียนเลิงนกท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนยโสธรพิทยาคม

โรงเรียนระยองวิทยาคมปากน้ำ

รงเรียนระยองวิทยาคมปากน้ำ เป็นโรงเรียนในจังหวัดระยอง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนระยองวิทยาคมปากน้ำ

โรงเรียนรัชชประภาวิทยาคม

รงเรียนรัชชประภาวิทยาคม (อังกฤษ: Ratchaprapha Wittatykom School) (อักษรย่อ ร.ว.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประเภทสหศึกษา ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลบ้านเชี่ยวหลาน โรงเรียนรัชชประภาวิทยาคม ก่อตั้งเมื่อ วันที่ 30 พฤษภาคม 2527 ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ เลขที่ 383 หมู่ที่ 5 ถนน ตำบลเขาพัง อำเภอบ้านตาขุน จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีเนื้อที่ 53 ไร่ ประกอบด้วยอาคารเรียน - หลัง - ห้องเรียน ในปี 2553 มีนักเรียน - คน เป็นผู้ชาย - คน และ เป็นผู้หญิง - คน และมีคณะครูและบุคลากรรวม - คน แบ่งเป็น ชาย- คน และ หญิง - คน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนรัชชประภาวิทยาคม

โรงเรียนรัตนาธิเบศร์

รงเรียนรัตนาธิเบศร์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 1) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ในซอยประชาราษฎร์ 17 (โรงเรียนรัตนาธิเบศร์) ถนนประชาราษฎร์ ตำบลสวนใหญ่ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนรัตนาธิเบศร์

โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบางขุนเทียน

250x250px 250x250px โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบางขุนเทียน (Rattanakosinsompoch Bangkhunthian School) เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 (กรุงเทพมหานคร) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนพระรามที่ 2 ซอย 69 แขวงแสมดำ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันมีเนื้อที่ 12 ไร่ เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษา และเป็นโรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภช 4 มุมเมือง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบางขุนเทียน

โรงเรียนราชวินิต

รงเรียนราชวินิต ถือกำเนิดด้วยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช คำว่า"ราชวินิต" เป็นนามพระราชทาน ความหมายว่า "สถานที่อบรมกุลบุตรกุลธิดาให้เป็นคนดี ด้วยพระบารมีปกเกล้าฯ" พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชปรารถที่จะจัดตั้งโรงเรียนราชอุปถัมภ์ ณ บริเวณสวนเพาะชำ วังสวนกุหลาบ จำนวน 6 ไร่ ทรงให้สำนักพระราชวังจัดตั้งเป็นโรงเรียนราษฎร์ ระดับประถมศึกษา รับนักเรียนที่เป็นบุตรหลานข้าราชการสำนักพระราชวัง โดยไม่เก็บค่าเล่าเรียน ขอครูจากกระทรวงศึกษาธิการมาช่วยทำการสอน ใช้งบประมาณจากสวัสดิการของกองมหาดเล็ก สำนักพระราชวัง จำนวน 1,000,000 บาท สร้างอาคารเรียน เมื่อหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ทราบพระราชประสงค์ จึงรับสนองพระบรมราชโองการ จัดตั้งโรงเรียนราชวินิต เป็นโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกองการประถมศึกษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนราชวินิต

โรงเรียนราชวินิต มัธยม

รงเรียนราชวินิต มัธยม (Rajavinit Mathayom School) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2521 เป็นโรงเรียนสหศึกษา มีการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนราชวินิต มัธยม

โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว

รงเรียนราชวินิตบางแก้ว โรงเรียนสหศึกษาในพระบรมราชูปถัมภ์ สังกัดส่วนกลาง กรมสามัญศึกษา ตั้งอยู่ที่ ตำบลบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ โดยคำว่า "ราชวินิต " หมายความว่า "สถานที่ อบรมสั่งสอนกุลบุตรกุลธิดาให้เป็นคนดีโดยพระราชา".

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนราชวินิตบางแก้ว

โรงเรียนราชวินิตบางแคปานขำ

รงเรียนราชวินิตบางแคปานขำ เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 โดยเป็น 1 ใน 7 โรงเรียนที่มีคำว่า ราชวินิต เป็นชื่อของโรงเรียน โรงเรียนราชวินิตบางแคปานขำ เคยอยู่ในสังกัดของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร เขต 3 ปัจจุบันอยู่ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนราชวินิตบางแคปานขำ

โรงเรียนราชวินิตบางเขน

รงเรียนราชวินิตบางเขน เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 22/18 ซอยชินเขต 1/22 ถนนงามวงศ์วาน แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โดยเป็นหนึ่งในโรงเรียนเครือราชวินิตทั้ง 8 โรงเรียน ซึ่งเป็นโรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในหลวงรัชกาลที่ ๙.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนราชวินิตบางเขน

โรงเรียนราชวินิตสุวรรณภูมิ

รงเรียนราชวินิตสุวรรณภูมิ เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้รับพระราชทานนามโรงเรียน และได้รับพระบรมราชานุญาต ให้อัญเชิญพระมหามงกุฎประกอบเป็นตราสัญลักษณ์โรงเรียนจากองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2550 ปัจจุบันเปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนราชวินิตสุวรรณภูมิ

โรงเรียนราชินี

รงเรียนราชินี เป็นโรงเรียนเก่าแก่แห่งหนึ่ง ตั้งอยู่เลขที่ 444 ถนนมหาราช แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ผู้ทรงให้กำเนิดโรงเรียนคือ สมเด็จพระศรีพัชรินทรา พระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนราชินี

โรงเรียนราชินีบูรณะ

มเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง องค์ผู้พระราชทานกำเนิดโรงเรียนราชินีบูรณะ อาคารเรียนโรงเรียนราชีนีบูรณะในอดีต มุมมองหนึ่งของตึกศรีพัชรินทร์และพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถในปัจจุบัน โรงเรียนราชินีบูรณะ (Rachineeburana School) เป็นโรงเรียนตั้งอยู่ใน ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ก่อตั้งครั้งแรกใน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนราชินีบูรณะ

โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์

รงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษในจังหวัดราชบุรี ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2470 แต่เดิมเป็นโรงเรียนสตรีประจำมณฑลราชบุรี เปิดสอนตั้งแต่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปัจจุบันเป็นศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษและคณิตศาสตร์ศูนย์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาของจังหวัดราชบุรี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์

โรงเรียนรามราชพิทยาคม

รงเรียนรามราชพิทยาคม ตั้งอยู่ที่ หมู่ 14 ตำบลรามราช อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม โรงเรียนรามราชพิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กประจำตำบลรามราช เปิดสอนในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนรามราชพิทยาคม

โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย

รงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย เป็นสถานศึกษาแห่งแรกของจังหวัดร้อยเอ็ดซึ่งแต่เดิมเป็นโรงเรียนชายล้วน ปัจจุบันจัดอยู่ในประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ รูปแบบสหศึกษาในมัธยมปลาย และ ชายล้วนในมัธยมต้น ทำการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับช่วงชั้นที่ 3 และช่วงชั้นที่ 4 โดยมีเนื้อที่ 27 ไร่ 3 งาน 52 ตารางวา โดยในช่วงเวลา 100 ปีที่ผ่านมา ร้อยเอ็ดวิทยาลัยได้ทำหน้าที่ผลิตทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าออกมาทำหน้าที่รับใช้สังคมและชุมชนอย่างมาก มาย ในฐานะสถานศึกษาที่เป็นผู้นำทางด้านวิชาการ กีฬา และคุณธรรมจริยธรรมทั้งระดับจังหวัดและระดับประเทศ ดังที่เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ได้กล่าวไว้ว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย

โรงเรียนร้องกวางอนุสรณ์

รงเรียนร้องกวางอนุสรณ์ (Rongkwang Anusorn School) เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ประจำอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ปัจจุบันเปิดการเรียนการสอนแบบสหศึกษา เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนร้องกวางอนุสรณ์

โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย

รงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทสหศึกษา เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 171/3151 ถนนพหลโยธิน แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์10220.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย

โรงเรียนลำปางกัลยาณี

รงเรียนลำปางกัลยาณี เริ่มก่อตั้งครั้งแรกเมื่อ..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนลำปางกัลยาณี

โรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา

รงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดสงขลา ประเภทสหศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 16 จังหวัดสงขลาและสตูล โรงเรียนมีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนานถึง 100 กว่าปี (112 ปีในปี 2560) ปัจจุบันเปิดสอนในระดับชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 1-6 ตั้งอยู่ เลขที่ 1 ถนนปละท่า ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา มีเนื้อที่ 26 ไร่ 3 งาน 77 ตารางวา พื้นที่แบ่งออกเป็น 2 เขต(ฝั่ง) ซึ่งอยู่ห่าง กันประมาณ 450 เมตร (โดยสถานที่ทำการเรียนการสอน คือ โรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา ส่วนเขต(ฝั่ง)ที่ 2 เป็นสถานที่เรียนภาควิชางานอาชีพทุกแขนง) ทางโรงเรียนได้รับการขนานนามว่า เป็นโรงเรียนที่สุดยอดของภาษาต่างประเทศ จึงมีห้องเรียนทางภาษาจำนวนมาก และหลายภาษา และในปีการแข่งขันกีฬาประจำจังหวัดทางโรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลามีการจัดการแปรอักษรอย่างงดงาม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา

โรงเรียนวัดบวรนิเวศ

รงเรียนวัดบวรนิเวศ เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทชายล้วน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาทั้งตอนต้นและตอนปลายเป็นโรงเรียนชายล้วน มีที่ตั้งอยู่ในบริเวณวัดบวรนิเวศวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โรงเรียนนี้ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวัดบวรนิเวศ

โรงเรียนวัดบางพูดใน (นนทวิทยา)

รงเรียนวัดบางพูดใน (นนทวิทยา) เป็นโรงเรียนประถมศึกษา ประเภทสหศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นนทบุรี เขต 2 กองการประถมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวัดบางพูดใน (นนทวิทยา)

โรงเรียนวัดพุทธบูชา

รงเรียนวัดพุทธบูชา เป็นโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนสหศึกษา ตั้งขึ้นตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 19 เมษายน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวัดพุทธบูชา

โรงเรียนวัดกิ่งแก้ว (เทวะพัฒนาคาร)

รงเรียนวัดกิ่งแก้ว เป็นโรงเรียนขยายโอกาสในจังหวัดสมุทรปราการ ประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวัดกิ่งแก้ว (เทวะพัฒนาคาร)

โรงเรียนวัดม่วงชุมวิทยา

รงเรียนวัดม่วงชุมวิทยา (Wat Muangchum Wittaya School) เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กองพุทธศาสนศึกษา สังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ และ ตั้งอยู่ที่อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ปัจจุบันได้เปิดให้มีการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 เป็นโรงเรียนสามเณร ซึ่งปัจจุบันประสบภาวะการขาดแคลนหนังสือ แต่ยังคงได้รับการบริจาคและช่วยเหลือ และเป็นหนึ่งในโรงเรียนของโครงการจัดหาหนังสือสำหรับสามเณรในโรงเรียนพระปริยัติธรรม 82 แห่ง เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 82 พรรษา ทั้งนี้ ทางโรงเรียนมักจัดกิจกรรม และมีส่วนร่วมทางพุทธศาสนาอยู่เสมอม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวัดม่วงชุมวิทยา

โรงเรียนวัดราชบพิธ

รงเรียนวัดร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวัดราชบพิธ

โรงเรียนวัดราชโอรส

รงเรียนวัดราชโอรส เดิมเป็นโรงเรียนประชาบาล ตั้งอยู่ในเขตวัดราชโอรสาราม ด้านหน้าติดกับคลองสนามชัย หรือ คลองด่าน เดิมชื่อโรงเรียนประสิทธิ์วิทยาคม ต่อมาได้โอนเป็นโรงเรียนรัฐบาลขึ้นกับกระทรวงธรรมการ โดยรองอำมาตย์เอกหลวงพิรุณพิทยาพรรณเจ้าหน้าที่กระทรวงธรรมการกับพระธรรมุเทศาจารย์ เจ้าอาวาส ได้พิจารณาร่วมกันว่ายังไม่มีโรงเรียนมัธยมในละแวกนี้จึงเสนอให้โอนโรงเรียนประสิทธิ์วิทยาคมไปขึ้นกับกระทรวงธรรมการ มีชื่อว่า โรงเรียนวัดราชโอรส ในวันที่ 19 มีนาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวัดราชโอรส

โรงเรียนวัดสระเกศ

รงเรียนวัดสระเกศ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาชายล้วน เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาที่ 1 - 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวัดสระเกศ

โรงเรียนวัดสุทธิวราราม

รงเรียนวัดสุทธิวราราม (Wat Suthiwararam School) (อักษรย่อ: ส.ธ., ST) เป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ราษฎรสร้างขึ้นแล้วยกให้กระทรวงธรรมการ มีพระราชหัตถเลขาชมเชยให้การสร้างโรงเรียนวัดสุทธิวรารามเป็นแบบอย่างของการบำเพ็ญกุศลที่ต้องด้วยพระราชนิยมเป็นอย่างยิ่ง โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระองค์เสด็จพระราชดำเนินมาทรงทำพิธีเปิดเป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลวรชาติ มีชูบท, พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าแผ่นดินสยาม, สำนักพิมพ์ สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2552 เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวัดสุทธิวราราม

โรงเรียนวัดทรงธรรม

รงเรียนวัดทรงธรรม เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 (ฉะเชิงเทรา-สมุทรปราการ) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งตั้งอยู่ในพระอารามหลวงที่มีนามว่า "วัดทรงธรรมวรวิหาร" ตำบลตลาด อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดยมีพื้นที่ของโรงเรียนทั้งหมด ประมาณ 4 ไร่เศษ โดยเจ้าพระคุณอุดมวิจารณ์ (พระใบฎีกากลั่น สีละเตชะ หรือ กลั่น นพคุณ) อดีตเจ้าอาวาสวัดทรงธรรมวรวิหาร ได้ทำหนังสือต่อท่านขุนประพจน์ เนติประวัตร นายเวรการโรงเรียน ขอนำความกราบบังคมทูลพระเจ้าลูกเธอฯ อธิบดีกรมการศึกษา ทรงทราบเป็นโรงเรียนเชลยศักดิ์ เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวัดทรงธรรม

โรงเรียนวัดทุ่งเศรษฐี

รงเรียนวัดทุ่งเศรษฐี เป็นโรงเรียนประจำหมู่บ้านห้วยบง ตั้งอยู่ที่ หมู่ 7 บ้านห้วยบง ตำบลป่าเซ่า อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนวัดทุ่งเศรษฐี เดิมชื่อว่า โรงเรียนวัดทุ่งเศรษฐีราษฎร์ศรัทธาธรรม เปิดทำการเรียนการสอนครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวัดทุ่งเศรษฐี

โรงเรียนวัดนวลนรดิศ

รงเรียนวัดนวลนรดิศ (Wat Nuannoradit School) อักษรย่อ (น.ด.) เป็น โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ เดิมเป็นประเภทนักเรียนชายล้วน ปัจจุบันเป็นประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บริเวณวัดนวลนรดิศ เลขที่ 137 ซอยเพชรเกษม 19 แขวงปากคลอง เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวัดนวลนรดิศ

โรงเรียนวัดน้อยนพคุณ

รงเรียนนี้ควรได้รับการเปลี่ยนแปลงที่ดีกว่านี้ โรงเรียนวัดน้อยนพคุณ เป็นโรงเรียนสหศึกษาขนาดกลางระดับมัธยมศึกษา สังกัดสักนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ตั้งอยู่เลขที่ 2/1.พระราม 5 แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 สถานศึกษารางวัลพระราชทานประจำปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวัดน้อยนพคุณ

โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม

รงเรียนวัดเขมาภิรตาราม (Watkhemapirataram School) เป็นโรงเรียนรัฐบาล ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 74/11 หมู่ที่ 8 ถนนพิบูลสงคราม ตำบลสวนใหญ่ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี เปิดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรียนวัดเขมาภิรตารามเป็น 1 ใน 500 โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) และเป็นโรงเรียนรางวัลพระราชทานประจำปีพุทธศักราช 2536 และ 2553.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม

โรงเรียนวังสมบูรณ์วิทยาคม

รงเรียนวังสมบูรณ์วิทยาคม (Wangsomboonwittayakom School)เป็นโรงเรียนสหศึกษา ระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวังสมบูรณ์วิทยาคม

โรงเรียนวังน้ำเย็นวิทยาคม

รงเรียนวังน้ำเย็นวิทยาคม เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 ตั้งอยู่ที่ 862/1 หมู่ 1 ถนนจันทบุรี-สระแก้ว ตำบลวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว โทรศัพท์และโทรสาร 037-251429.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวังน้ำเย็นวิทยาคม

โรงเรียนวังน้ำเขียวพิทยาคม

โรงเรียนวังน้ำเขียวพิทยาคม อักษรย่อ - เป็นโรงเรียนในจังหวัดนครราชสีมา และเป็นโรงเรียนประจำอำเภอของอำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา หมวดหมู่:โรงเรียนมัธยมประจำอำเภอในจังหวัดนครราชสีมา หมวดหมู่:โรงเรียนในจังหวัดนครราชสีมา.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวังน้ำเขียวพิทยาคม

โรงเรียนวังไกลกังวล

รงเรียนวังไกลกังวล เป็นโรงเรียนของรัฐในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนตั้งแต่ในระดับอนุบาล 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 และยังมีการสอนในระดับประกาศวิชาชี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวังไกลกังวล

โรงเรียนวาปีปทุม

รงเรียนวาปีปทุม (อักษรย่อ: ว.ท., W.T.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐบาลแห่งแรกของอำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม (ซึ่งในขณะนั้นมีโรงเรียนเอกชนที่เปิดทำการคือโรงเรียนเรืองวิทยา) ปัจจุบันจัดอยู่ในประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ รูปแบบสหศึกษา ทำการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับช่วงชั้นที่ 3 และช่วงชั้นที่ 4 เป็นโรงเรียนระดับอำเภอที่จัดเป็นโรงเรียนยอดนิยม และเป็น 1 ใน 3 โรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูงของจังหวัดมหาสารคาม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวาปีปทุม

โรงเรียนวิสุทธรังษี

รงเรียนวิสุทธรังษี (Visuttharangsi School) (อักษรย่อ: ว.ส.) เป็นโรงเรียนรัฐบาลแห่งแรกของจังหวัดกาญจนบุรี เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษและเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดกาญจนบุรี สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 (ราชบุรี-กาญจนบุรี) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวิสุทธรังษี

โรงเรียนวิไลเกียรติอุปถัมภ์

รงเรียนวิไลเกียรติฯ เป็นโรงเรียนในจังหวัดแพร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวิไลเกียรติอุปถัมภ์

โรงเรียนวิเชียรมาตุ

รงเรียนวิเชียรมาตุ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ประจำจังหวัดตรัง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13 กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย รับนักเรียนแบบสหศึกษาทั้งชายและหญิง ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น มี 10 ห้อง ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มี 13 ห้อง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวิเชียรมาตุ

โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน

รงเรียนวีรวัฒน์โยธิน เป็นโรงเรียนในตัวเมืองสุรินทร์แห่งที่ 3 (เป็นโรงเรียนสหศึกษาทั่วไป ไม่นับเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดหรือโรงเรียนประจำอำเภอ) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ และเป็นโรงเรียนที่มีชื่อเสียงอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดสุรินทร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน

โรงเรียนศรีบุณยานนท์

ัญลักษณ์ของโรงเรียน ศรีบุณยานนท์ รูปทั่งและเข็ม อันหมายถึง การให้นักเรียนใช้ความพยายามในการเล่าเรียน เหมือนการฝนทั่งเป็นเข็ม โรงเรียนศรีบุณยานนท์ เป็นโรงเรียนในจังหวัดนนทบุรี ตั้งอยู่เลขที่ 41/1 หมู่ที่ 1 ถนนนนทบุรี 1 ตำบลสวนใหญ่ อำเภอเมืองนนทบุรี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนศรีบุณยานนท์

โรงเรียนศรีพฤฒา

รงเรียนศรีพฤฒา เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2 กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 61 ในหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง ถนนนักกีฬาแหลมทอง แขวงทับช้าง เขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร 10250 มีเนื้อที่ 21 ไร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนศรีพฤฒา

โรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม

ป้ายโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม โรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม อำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น เป็นหน่วยงานของรัฐบาลซึ่งจัดการศึกษาในรูปแบบของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดกองมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา (เดิม) กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันได้จัดการเรียนการสอนในสายสามัญ รูปแบบสหศึกษา ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 มีจำนักเรียนมากกว่า 3,000 คน และบุคลากรทางการศึกษาอีกกว่า 150 คน ซึ่งปัจจุบันจัดอยู่ในประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมีเนื้อที่ทั้งหมดของโรงเรียนจำนวน 52 ไร่ 18 ตารางวา โรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม ตั้งอยู่ที่ถนนกระนวน-ท่าคันโท ตำบลหนองโก อำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม

โรงเรียนศรียาภัย

รงเรียนศรียาภัย (Sriyapai School; ชื่อย่อ: ศ.ภ. – SP) เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 (สุราษฎร์ธานี–ชุมพร) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชุมพร เขต 1) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยชื่อโรงเรียนมีที่มาจากนามสกุลของ "คุณย่าชื่น ศรียาภัย" คหปตานีชาวไชยา ผู้บริจาคเงินสร้างอาคารหลังแรก เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษา อดีตเป็นโรงเรียนชายล้วนประจำจังหวัดชุมพร คู่กับโรงเรียนสอาดเผดิมวิทยา ปัจจุบันทั้ง 2 โรงเรียนได้กลายเป็นโรงเรียนสหศึกษา และโรงเรียนศรียาภัยเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดเช่นเดิม ผู้อำนวยการโรงเรียนคนปัจจุบันคือ นายอนันต์ มณีรัตน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนศรียาภัย

โรงเรียนศรีวิชัยวิทยา

รงเรียนศรีวิชัยวิทยา (อังกฤษ: Sriwichaiwithaya School) (อักษรย่อ:ศ.ว.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบสหศึกษาและเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดยพล.อ.ท.มนตรี หาญวิชัย มีเนื้อที่ 42 ไร่ ประกอบด้วยอาคารเรียน 5 หลัง ตั้งอยู่ที่ ถนนมาลัยแมน ตำบลวังตะกู อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนศรีวิชัยวิทยา

โรงเรียนศรีวิกรม์

รงเรียนศรีวิกรม์ (Srivikorn School) ตั้งอยู่บนถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย จัดเป็นโรงเรียนเอกชนขนาดกลาง ประเภทสามัญศึกษ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนศรีวิกรม์

โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร

รงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน เดิมมีชื่อว่า “ โรงเรียนสุริยานุเคราะห์ ” ตั้งขึ้นเมื่อ วันที่ 20 พฤษภาคม2450 ณ บริเวณวัด ช้างค้ำวรวิหาร ด้วยความอุปถัมภ์ ของ พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช เจ้าผู้ครองนครน่าน เมื่อแรก ตั้งเปิดสอน ตั้งแต่ชั้น ป.1 ถึง ป.3 ต่อมาในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร

โรงเรียนศรีสำโรงชนูปถัมภ์

รงเรียนศรีสำโรงชนูปถัมภ์ (Srisamrongchanupatham School) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 38 เป็นโรงเรียนประจำอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2501 ณ ทุ่งคลองกระบาย (โรงเรียนอนุบาลศรีสำโรงในปัจจุบัน) ตำบลสามเรือน อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย ก่อนที่จะย้ายมาตั้งอยู่ ณ บ้านเลขที่ 97 หมู่ที่ 6 ตำบลคลองตาล อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย ในปัจจุบัน โรงเรียนศรีสำโรงชนูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนสหศึกษา เป็นสถานศึกษาประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ จัดการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนศรีสำโรงชนูปถัมภ์

โรงเรียนศรีสุวิช

รงเรียนศรีสุวิช เป็นโรงเรียนเอกชนประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 3 เปิดทำการสอนครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนศรีสุวิช

โรงเรียนศรีสงครามวิทยา

รงเรียนศรีสงครามวิทยา (อักษรย่อ: ศ.ส.ว.; อังกฤษ: Srisongkram Wittaya School) เรียกย่อ ๆ ว่า ศรีสงคราม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา เปิดสอนในระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น - มัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นโรงเรียนหลักของสหวิทยาเขตวังภูผา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนตั้งอยู่เลขที่ 494 หมู่ที่ 11 ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 210 (อุดรธานี-วังสะพุง) กม.ที่ 117 ตำบลศรีสงคราม อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาอันดับที่ 3 ของจังหวัดเลย รองจากโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย และโรงเรียนเลยพิทยาคม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนศรีสงครามวิทยา

โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯ

รงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯ เป็นโรงเรียนรัฐบาล สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่กรุงเทพมหานครเขต 1 มีชื่อย่อว.อ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯ

โรงเรียนศรีนครมูลนิธิ

รงเรียนศรีนครมูลนิธิ (อังกฤษ: Srinakorn Foundation School) (จีน: 国光中学)(อักษรย่อ: ศ.น.ค.) เป็นโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสงขลา เขต 2 กระทรวงศึกษาธิการ มีเนื้อที่ 17 ไร่ 2 งาน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนศรีนครมูลนิธิ

โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล

รงเรียนสกลราชวิทยานุกูล เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดสกลนคร เปิดสอนแบบโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 กระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล

โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง

รงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดตรัง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13 กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย รับนักเรียนแบบสหศึกษาทั้งชายและหญิง ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น มี 11 ห้อง ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มี 11 ห้อง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง

โรงเรียนสมุทรสาครบูรณะ

รงเรียนสมุทรสาครบูรณะ เป็นโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดสมุทรสาคร ปรัชญาของโรงเรียน: วิชาดี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม พระพุทธรูปประจำโรงเรียน: พระศรีสมุทรสาครภูมิบาล.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสมุทรสาครบูรณะ

โรงเรียนสมถวิล

รงเรียนสมถวิล (พระโขนง) เป็นโรงเรียนเอกชนในกรุงเทพมหานคร เปิดสอนตั้งแต่ชั้นเตรียมอนุบาล ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ก่อตั้งโดย สมถวิล สังขะทรัพย์ อดีตข้าราชการครู และมีน้องสาวคือยิ่งถนอม เทียมเมธ เป็นอาจารย์ใหญ่ท่านแรก เริ่มต้นตั้งเป็นโรงเรียนอนุบาล ภายในซอยสุขุมวิท 42 (กล้วยน้ำไท) เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสมถวิล

โรงเรียนสรรพวิทยาคม

รงเรียนสรรพวิทยาคม เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 ปัจจุบันเป็นโรงเรียนประจำอำเภอแม่สอด ปัจจุบันโรงเรียนสรรพวิทยาคมได้มีการเปิดห้องเรียนนานาชาติใน 3 ช่วงชั้น(ม.1-ม.3) เพื่อส่งเสริมให้ไทยเป็นศูนย์กลางทางการศึกษาของภูมิภาค(Education Hub).

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสรรพวิทยาคม

โรงเรียนสระแก้ว

รงเรียนสระแก้ว เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาและเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดสระแก้ว สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ 58 ถนนสุวรรณศร ตำบลสระแก้ว อำเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสระแก้ว

โรงเรียนสวรรค์อนันต์วิทยา

รงเรียนสวรรค์อนันต์วิทยา ตั้งอยู่ริมถนนจรดวิถีถ่อง ตำบลย่านยาว อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำอำเภอสวรรคโลก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 38 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งจัดเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ และมีอายุเก่าแก่กว่า 100 ปี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสวรรค์อนันต์วิทยา

โรงเรียนสวายวิทยาคาร

รงเรียนสวายวิทยาคาร (Sawaiwittayakarn School) (อักษรย่อ: ส.ว., S.W.) เป็นโรงเรียนมัธยมสหศึกษาขนาดกลาง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ตำบลสวาย อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ก่อตั้งโดย ชาวบ้านในชุมชน นำโดยพระครูปัญญาวุฒิสุนทร มีเนื้อที่ 75 ไร่ 2 งาน 23 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารเรียน 6 หลัง มีจำนวนห้องเรียนทั้งหมด 88 ห้อง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสวายวิทยาคาร

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (อักษรย่อ: ส.ก./S.K.) เป็นโรงเรียนชายล้วนในระดับชั้น มัธยมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 88 ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 11 ไร่ 2 งาน 23 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารเรียน 7 หลัง ห้องเรียนทั้งหมด 78 ห้อง นอกจากนี้โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยยังโดดเด่นในเรื่องคุณภาพมาตรฐานของศิษย์เก่าที่จบไปโดยเฉพาะด้านวิชาการ ภาษา และความเป็นผู้นำ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็น 1 ในกลุ่มโรงเรียนจตุรมิตรสามัคคี ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย มีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมของทั้ง 4 โรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้าภาพในทุกๆ 2 ปี นอกจากการแข่งขันฟุตบอล ยังมี การแปรอักษร ของทั้ง 4 โรงเรียน ซึ่งเป็นอีกสัญลักษณ์สำคัญของงาน โดยกีฬาจตุรมิตรสามัคคีจะจัดขึ้นในทุกๆ 4 ปี ที่ สนามศุภชลาศัย นอกจากนี้ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ยังมีงานกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์ และงานชุมนุมลูกเสือสวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งจัดขึ้นร่วมกับโรงเรียนใน เครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นประจำทุกปี โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (จิรประวัติ) นครสวรรค์

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (จิรประวัติ) นครสวรรค์ (Suankularb Wittayalai (Jiraprawat) Nakornsawan School) (อักษรย่อ: ส.ก.จ., S.K.J.) เป็นโรงเรียนในจังหวัดนครสวรร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (จิรประวัติ) นครสวรรค์

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ชลบุรี

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ชลบุรี (ส.ก.ช.) (อังกฤษ: Suankularb Wittayalai Chon Buri School) S.K.C. ตั้งอยู่ที่เลขที่ 8 หมู่ 3 ตำบลบ่อวิน อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ในกลุ่มโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยลำดับที่ 6 ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ชลบุรี

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต เป็นโรงเรียนรัฐบาลดังในเขตปทุมธานีประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 (ปทุมธานี สระบุรี) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1) สหวิทยาเขตสวนเทพรัตน์ทีปไท้ ตั้งอยู่เลขที่ 2/617 หมู่บ้านศุภาลัยบุรี ตำบลคลองสี่ อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี และเป็นโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย ลำดับที่ 5 ปัจจุบัน มีเนื้อที่ 25 ไร่ 2 งาน 86.8 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารเรียน 4 หลัง อาคารประกอบ 1 หลัง เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษา มีการจัดชั้นเรียนแบบ 14-14-14/15-15-15.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สระบุรี

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สระบุรี (อังกฤษ: Suankularb Wittayalai Saraburi School) (อักษรย่อ: ส.ก.บ., S.K.B.) เดิมชื่อ โรงเรียนปากเพรียววิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ในเครือสวนกุหลาบฯลำดับที่ 8 ของกลุ่มโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ตั้งอยู่ที่ ตำบลปากเพรียว อำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สระบุรี

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (Suankularb Wittayalai Nonthaburi School; อักษรย่อ: ส.ก.น., S.K.N.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา ในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย ลำดับที่สอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยกรมสามัญศึกษา (ปัจจุบัน: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ได้รับบริจาคที่ดิน จากนายผาสุก และนางเง็ก มณีจักร สองสามีภรรยา คหบดีชาวอำเภอปากเกร็ด ที่มีความประสงค์ให้สร้างโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย บนพื้นที่ดังกล่าว จึงเกิดการประสานงานจัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

โรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ

รงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ เป็นโรงเรียนสอนคนตาบอดแห่งแรกในประเทศไทย ภายใต้การดำเนินงานของ มูลนิธิช่วยคนตาบอดแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ

โรงเรียนสัตยาไส

รงเรียนสัตยาไส เป็นโรงเรียนประจำ เปิดทำการเรียนการสอนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 โดยเปิดตั้งแต่ระดับอนุบาลถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนสัตยาไส ตั้งอยู่ใน 53 ประเทศทั่วโลก ภายใต้มูลนิธิสัตยาไส ไม่มีการเก็บค่าเล่าเรียนแต่อย่างใด ที่ประเทศไทยอยู่ภายใต้การดูแลของ ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา เป็นผู้บริหารสูงสุดของโรงเรียน ตั้งอยู่เลขที่ 99 หมู่ 2 ตำบลลำนารายณ์ อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี มีพื้นที่ประมาณ 300 ไร่เศษ เป็นธรรมชาติ ป่าเขา หนองบึง สงบ ร่มรื่น มีนักเรียน 352 คน ครู 49 คน อัตราส่วนครูต่อนักเรียน 1: 6 โดยประมาณ เปิดสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาลถึง ม.6 จำนวน 12 ห้องเรียน ห้องเรียนละไม่เกิน 30 คน เป็นโรงเรียนประจำ นักเรียนพักค้างภายในโรงเรียน รับประทานอาหารมังสวิรัติของทางโรงเรียน ยกเว้นนักเรียนชั้นอนุบาลไป-กลับ และรับเฉพาะเด็กบ้านใกล้โรงเรียนโรงเรียนสัตยาไส สำหรับในระดับมัธยมปลาย มีสาย วิทย์-คณิต ศิลป์-ภาษา(อังกฤษ,ญี่ปุ่น,จีน) และจะเปิดสอนในสายอื่นๆ ตามลำดับ มี Summer เพื่อให้นักเรียนได้เลือกประเทศที่ต้องการและไปอยู่กับ Hostfamily แลกเปลี่ยนภาษาและวัฒนธรรม โรงเรียนแห่งนี้อยู่ภายใต้กฎ "ความรัก ความเมตตา" โดยเด็กนักเรียนและคุณครูอยู่ในโรงเรียนเป็นเสมือนครอบครัวใหญ่ ทุกคนดูแลช่วยเหลือกัน มีอาจารย์แลกเปลี่ยนจากต่างประเทศมาสอนภาษา ทางโรงเรียนได้เน้นให้เด็กนักเรียนเป็นคนดี ไม่ได้เน้นให้เป็นคนเก่งเพียงอย่างเดียว เพื่อเด็กจะได้เป็นผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคต สังคมต้องการคนดีและคนเก่งควบคู่กันไป สาระสำคัญที่ได้รับ 1.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสัตยาไส

โรงเรียนสันป่าตองวิทยาคม

รงเรียนสันป่าตองวิทยาคม เป็นโรงเรียนรัฐบาล ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ และเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งแรกของอำเภอสันป่าตอง ตั้งอยู่รอบนอกอำเภอเมืองเชียงใหม่ กลุ่มดอยสัพพัญญู มีสถิตินักเรียนสูงสุดทั้งหมด ปี 2553 มีนักเรียนทั้งสิ้น 2,937 คน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 (เชียงใหม่-แม่ฮ่องสอน) ตั้งอยู่เลขที่ 134 ถนนโยธาธิการ หมู่ 11 ตำบลยุหว่า อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ 50120 มีขนาดพื้นที่ทั้งหมด 225 ไร่ 1 งาน 30 ตารางว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสันป่าตองวิทยาคม

โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม

รงเรียนสามัคคีวิทยาคม (ย่อ: ส.ว.ค.) ชื่อเดิม โรงเรียนประจำจังหวัดเชียงรายสามัคคีวิทยาคม เป็นหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ประเภทสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดเชียงราย มีสถานะเป็นนิติบุคคลมหาชนตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนสามัคคีวิทยาคมก่อตั้งขึ้นโดยพระยาศรีสุริยราชวรานุวัตร (ศุข ดิษยบุตร) ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย เมื่อ..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสามัคคีวิทยาคม

โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย

รงเรียนสามเสนวิทยาลัย (ย่อ: ส.ส., S.S.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บนถนนพระรามที่ 6 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่จำนวน 22 ไร่ 1 งาน 44 ตารางว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์

รงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนหญิงล้วน สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2459 ภายหลังพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์สิ้นพระชนม์ โดยบรรดาทายาทของพระองค์ได้บริจาคตำหนักส่วนพระองค์ และที่ดินข้างเคียงเพื่อตั้งเป็นโรงเรียนสตรีและรับโรงเรียนไว้ในอุปการะ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ผู้เป็นพระนัดดา ทรงนำความขึ้นกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามโรงเรียนว่า “สายปัญญา” ต่อมาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับโรงเรียนสายปัญญา ไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ปัจจุบันโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มีอายุ ปี เปิดรับสอนเฉพาะนักเรียนหญิง ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ตั้งอยู่บนถนนกรุงเกษม เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 0.6 ตารางวา มีอาคารเรียน 4 หลัง มี 53 ห้องเรียน 53  ห้องเรียน แบ่งตามแผนการจัดชั้นเรียนระดับมัธยมต้นและมัธยมปลายดังนี้ 6-6-8/11-12-10 มีครูทั้งหมด 108 คน มีนักเรียนในปีการศึกษา 2557 รวมทั้งสิ้น 2,641 คน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์

โรงเรียนสายปัญญารังสิต

รงเรียนสายปัญญารังสิต เป็นโรงเรียนดังในรังสิต เดิมชื่อ โรงเรียนสายปัญญาในพระบรมราชินูปถัมภ์ 2(ภักดีจรัส) ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 สพม.4(ปทุมธานี-สระบุรี) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 99 ถนนพหลโยธิน 87 ซอย 6 ทางเข้าเมืองเอก ตำบลประชาธิปัตย์ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี โรงเรียนสายปัญญารังสิต เกิดขึ้นจากการที่ผู้อำนวยการโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ได้ติดต่อกระทรวงศึกษาธิการเพื่อขอที่ดินสำหรับรองรับนักเรียนจากชานเมืองและต่างจังหวัดมากขึ้น และได้รับการบริจาคที่ดินจำนวน 35 ไร่ ในอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี จากนายเจียง ภักดีจรัสโดยน้อมเกล้าฯถวายแด่สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ซึ่งต่อมากระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดตั้งโรงเรียนบนที่ดินที่ได้รับการบริจาคนี้ โดยใช้ชื่อว่า"โรงเรียนสายปัญญาในพระบรมราชินูปถัมภ์ 2 (ภักดีจรัส)" ในวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสายปัญญารังสิต

โรงเรียนสายน้ำผึ้ง ในพระอุปถัมภ์ฯ

รงเรียนสายน้ำผึ้ง ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา (หญิงล้วน) ขนาดใหญ่ สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยดำริของหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยซื้อที่ดินจากมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย จำนวนเนื้อที่ 12 ไร่ 1 งาน 63 ตารางวา ก่อตั้งวันที่ 20 สิงหาคม 2504 ณ เลขที่ 186 ซอยสุขุมวิท 22 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสายน้ำผึ้ง ในพระอุปถัมภ์ฯ

โรงเรียนสารวิทยา

รงเรียนสารวิทยา เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 2398/96 ถนนพหลโยธิน แขวงเสนานิคม เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้ง.อ.พระวิทยาสารรณยุต เจ้ากรมวิทยาศาสตร์ทหารบก มีเนื้อที่ประมาณ 31 ไร่ เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้น ม.1 - ม.6 มีนักเรียนประมาณ 2,700 คน ครู-อาจารย์ 127 คน มีทั้งหมด 68 ห้องเรียนโดย มัธยมศึกษาตอนต้นมี 32 ห้อง (แบ่งเป็น 12-10-10) มัธยมศึกษาตอนปลายมี 36 ห้อง (แบ่งเป็น 12-12-12) สำหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มี 6 แผนการเรียนคือ วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์, คณิตศาสตร์-ภาษาอังกฤษ, ภาษาอังกฤษ-เทคโนโลยี, ภาษาอังกฤษ-ภาษาต่างประเทศที่ 2 เช่น ภาษาจีน,ภาษาญี่ปุ่น,ภาษาฝรั่งเศส,ภาษาเกาหลี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสารวิทยา

โรงเรียนสารสาสน์พิทยา

รงเรียนสารสาสน์พิทยา (Sarasas Pittaya School) เป็นโรงเรียนแห่งที่แรก ของกลุ่มโรงเรียนในเครือสารสาสน์ที่เปิด ทำการเรียนการสอนตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อการสอน (Bilingual Program โรงเรียนสองภาษา) ก่อตั้งขึ้นโดยท่านอาจารย์พิบูลย์ ยงค์กมล และท่านอาจารย์ เพ็ญศรี ยงค์กมล เมื่อปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสารสาสน์พิทยา

โรงเรียนสารสาสน์วิเทศศึกษา

รงเรียนสารสาสน์วิเทศศึกษา (Sarasas Witaed Suksa School) เป็นโรงเรียนอันดับที่ 12 ของกลุ่มโรงเรียนในเครือสารสาสน์ ซึ่งก่อตั้งโดย นายพิบูลย์ และ นางเพ็ญศรี ยงค์กมล เริ่มแรกได้จัดสร้างขึ้นบนเนื้อที่ 5 ไร่ 48 ตารางวา โดยเริ่มก่อสร้างในเดือน ตุลาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสารสาสน์วิเทศศึกษา

โรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย

รงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย ตั้งอยู่บนเลขที่ 76 ถนนสารสิทธิ์ฯ ตำบลบ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี เป็นโรงเรียนเอกชนขนาดใหญ่ประเภทสามัญศึกษาในเครือคณะซาเลเซียนของคุณพ่อบอสโก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ โดยได้รับใบอนุญาตจัดตั้งเมื่อ พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย

โรงเรียนสารคามพิทยาคม

รงเรียนสารคามพิทยาคม (Sarakham Pittayakhom School) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2456 ซึ่งตั้งอยู่ที่เขตเทศบาลเมืองมหาสารคาม ตำบลตลาด อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มหาสารคาม เขต 1 กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ถนนนครสวรรค์ เทศบาลเมืองมหาสารคาม ตำบลตลาด อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม มีบริเวณพื้นที่ทั้งหมด 36 ไร่ 2 งาน เดิมเปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ส่วนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รับทั้งนักเรียนหญิงและนักเรียนชาย ในปีการศึกษา 2538 กรมสามัญศึกษาอนุญาตให้เปิดสอนสหศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสารคามพิทยาคม

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา (ภาษาอังกฤษ: The Demonstration School of Nakhorn Ratchasima Rajabhat University) ตั้งอยู่ในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เป็นโรงเรียนสาธิต ประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ตั้งอยู่ในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช เป็นโรงเรียนสาธิต จัดการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษา ประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี เป็นโรงเรียนประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เปิดทำการเรียนการสอน 2 ช่วงชั้นคือช่วงชั้นที่ 3 และ 4 ตั้งอยู่ในมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ใช้อาคาร 7 อาคาร 15 และอาคาร 18 ของมหาวิทยาลัยฯ เลขที่ 321 ถนนนารายณ์มหาราช ตำบลทะเลชุบศร อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ห่างจากวงเวียนศรีสุริโยทัยไปทางทิศตะวันตกประมาณ 2 กิโลเมตร บนพื้นที่ 1 ไร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง

รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง (ฝ่ายมัธยม) ตั้งอยู่ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัยรามคำแหง เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เป็นโรงเรียนแบบสหศึกษา (ชาย - หญิง).

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร

รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร เป็นโรงเรียนสาธิตในสังกัดคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งอยู่เลขที่ 174 ซอยสุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ได้พัฒนาจากโรงเรียนประสานมิตร ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมวิสามัญศึกษาในบริเวณโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูงเป็นระบบโรงเรียนสาธิต เพื่อเป็นสถานที่ปฏิบัติงานในการฝึกสอนระดับมัธยมศึกษาของนิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และต่อมาได้ตั้งโรงเรียนประถมสาธิต วิทยาลัยวิชาการศึกษา เพิ่มเป็นสถานที่ปฏิบัติงานในการฝึกสอนระดับประถมศึกษา และได้มีการพัฒนามาจนถึงปัจจุบัน โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร มีการแบ่งหน่วยงานออกเป็น 2 หน่วยงาน คือ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม) และ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายประถม).

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน มีฐานะเป็นภาควิชาโรงเรียนสาธิต มศว ปทุมวัน สังกัด คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนอังรีดูนังต์ แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 บนพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

โรงเรียนสาธิตมัธยม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

รงเรียนสาธิตมัธยม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา (ภาษาอังกฤษ: Laboratory School of Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University) เป็นโรงเรียนสาธิตสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ในมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เป็นโรงเรียนประเภทสหศึกษาขนาดกลาง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 96 ถนนปรีดีพนมยงค์ ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000 โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์สุวัฒน์ ทับทิมเจือ ดำรงตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนคนปัจจุบัน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสาธิตมัธยม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

โรงเรียนสาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษก

ตำบลน้ำมวบ ได้ยกที่ดินสาธารณประโยชน์ของตำบลให้เป็นที่ของโรงเรียน รวมพื้นที่ 50 ไร่ 5 ตารางวา โรงเรียน สาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษก เดิมเป็นหน่วยเคลื่อนที่ของโรงเรียนสา ซึ่งจัดตั้งในปีการศึกษา 2528 โดยใช้หอประชุมโรงเรียน บ้านน้ำมวบ เป็นห้องเรียน -ปีพุทธศักราช 2529 เจ้าตำบลน้ำมวบ พระครูไพโรจน์สาธุกิจ ได้นำประชาชนทั้งสองตำบล จัดสร้างอาคารเรียนชั่วคราว มุงหญ้าคาให้ 1 หลัง และ ดร.เอกวิทย์ ณ ถลาง อธิบดีกรมสามัญศึกษา ได้ยกโรงเรียนเป็นโรงเรียนสาขาของโรงเรียนสา -ปีการศึกษา 2531 นายมารุต บุญนาค รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และนายพนอม แก้วกำเนิด อธิบดีกรมสามัญศึกษา ได้ประกาศจัดตั้งโรงเรียนเอกเทศ และให้ชื่อว่า โรงเรียนสาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษก เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2531 โดยให้โรงเรียนเข้าร่วมอยู่ในโครงการขยายโอกาสทางการศึกษา ของกรมสามัญศึกษา (ค.อ.มต.สศ.) โดยมี นายประพันธ์ พันธุปาล ผู้อำนวยการโรงเรียนสา ปฏิบัติหน้าที่ผู้บริหารคนแรก -เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2531 กรมสามัญศึกษา ได้แต่งตั้ง นายจรูญ วรรณวิไลย อาจารย์ 2 โรงเรียนปัว ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะ ผู้บริหารโรงเรียน และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งครูใหญ่ -เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2531 พลเอกมานะ รัตนโกเศส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศเปลี่ยนชื่อโรงเรียน เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติ ในวโรกาสพระราชมังคลาภิเษก เป็น โรงเรียนสาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษก -เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2535 กรมสามัญศึกษา ได้แต่งตั้งนายรังสรรค์ จันทร์เจนจบ ตำแหน่งครูใหญ่ โรงเรียนเมืองลีประชาสามัคคี มารักษาการ ในตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ โรงเรียนสาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษก และได้แต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการโรงเรียน สาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษก ในปี 2542 -เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2543 กรมสามัญศึกษาได้แต่งตั้งให้ นายปัญญา บุญมาก ตำแหน่งอาจารย์ใหญ่โรงเรียนเมืองลีประชาสามัคคี มารักษาการในตำแหน่งอาจารย์ใหญ่โรงเรียนสาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษก และเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2544 กรมสามัญศึกษา ได้แต่งตั้งให้นายวิเชียร บรรลือ ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนสูงเม่นชนูปถัมภ์ มาดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ -เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2546 สำนักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แต่งตั้งให้ นายสมพร วัลลิยะเมธี ผู้ช่วยผู้อำนวยการ โรงเรียนน้ำปาดชนูปถัมภ์ มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนสาธุกิจประชาสรรค์รัชมังคลาภิเษก จนถึงวันที่ 9 มกราคม 2549 -เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2549 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แต่งตั้งให้ นายสมบูรณ์ สุนทร ผู้อำนวยการโรงเรียน บ้านฝั่งหมิ่น มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนสาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษก -เมื่อวันที่ กุมภาพันธ์ 2552 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาน่าน เขต 1 ได้แต่งตั้งให้ นายศิลป์ชัย ทัศณีวรรณ์ ผู้อำนวยการโรงเรียน บ้านน้ำปาย อำเภอแม่จริม มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนสาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษก จนถึงปัจจุบัน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษก

โรงเรียนสิริรัตนาธร

รงเรียนสิริรัตนาธร (อักษรย่อ: ส.ร.ธ.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประเภทสหศึกษา และเป็นส่วนราชการสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ อยู่ในเครือข่ายสหวิทยาเขตเบญจสิร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสิริรัตนาธร

โรงเรียนสิรินธร

รงเรียนสิรินธร (อักษรย่อ: ส.ธ.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษา และเป็นส่วนราชการสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เดิมชื่อ "โรงเรียนสตรีสุรินทร์" โรงเรียนสิรินธร ก่อตั้งเมื่อ ปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสิรินธร

โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย

รงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย (Princess Sirindhorn's College) จังหวัดนครปฐม จัดตั้งขึ้นโดยกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมายุ 3 รอบ ในวันที่ 2 เมษายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย

โรงเรียนสิงห์บุรี

รงเรียนสิงห์บุรี เป็นสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา แห่งแรกของ จังหวัดสิงห์บุรี ปัจจุบันจัดอยู่ในประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในรูปแบบสหศึกษา ทำการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับช่วงชั้นที่ 3 และช่วงชั้นที่ 4 มีจำนวนนักเรียน 3,000 คน และบุคลากรทางการศึกษาอีกกว่า 150 คน โดยมีเนื้อที่ 121 ไร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสิงห์บุรี

โรงเรียนสุรวิทยาคาร

รงเรียนสุรวิทยาคาร เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำจังหวัดสุรินทร์ ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ 372 ถนนหลักเมือง ตำบลในเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสุรวิทยาคาร

โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา

รงเรียนสุราษฎร์พิทยา เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสุราษฎร์พิทยา

โรงเรียนสุราษฎร์ธานี

รงเรียนสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า "โรงเรียนจังหวัด" ใช้อักษรย่อ ".." ก่อตั้งชั้นในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสุราษฎร์ธานี

โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา

รงเรียนสุนทรภู่พิทยา โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐตั้งอยู่ในตำบลกร่ำ อำเภอแกลง จังหวัดระยอง มีผู้อำนวยการคนปัจจุบันคือนายดำรงค์ ศรีอร่าม ปัจจุบันโรงเรียนสุนทรภู่พิทยาใช้หลักสูตรการสอนแบบสองภาษารูปแบบใหม่ มีชื่อเป็นทางการว่า หลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาแบบบูรณาการ (English for Integrated Studies: EIS) มีชื่อเรียกสั้นๆว่า หลักสูตรEIS โดยเน้นการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์รูปแบบ OK Model หลักการเรียนภาษาที่สอง รูปแบบ SSF (S:Short, S: Simple, F: Familiarize) และ ประยุกต์การเรียนรู้ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษโดยการฝึกทักษะและการคิดวิเคราะห์โดยรูปแบบระเบียบวิธีคิดทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Methodology Model) ซึ่งปัจจุบันโรงเรียนสุนทรภู่พิทยานำหลักการของหลักสูตร EIS ประยุกต์ในการจัดการเรียนการสอนทั้ง3ภาษา (ไทย-อังกฤษ-จีน) มีโรงเรียนทั้งระดับมัธยมศึกษาประถมศึกษาในประเทศไทยและในต่างประเทศนำเอาไปประยุกต์ใช้แล้วไม่น้อยกว่า 125 โรงเรียน อีกทั้งโรงเรียนสุนทรภู่พิทยายังมีการแลกเปลี่ยนทางวิชาการและกิจกรรมนักเรียนกับโรงเรียนมัธยมในประเทศจีนและประเทศสิงคโปร์ รวมถึงนักเรียนที่เรียนหลักสูตรEISยังใช้หนังสือของสิงคโปร์เรียนอีกด้ว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสุนทรภู่พิทยา

โรงเรียนสีดาวิทยา

รงเรียนสีดาวิทยา อักษรย่อ.ว. เป็นโรงเรียนในจังหวัดนครราชสีมา และเป็นโรงเรียนประจำอำเภอของอำเภอสีดา จังหวัดนครราชสีมา หมวดหมู่:โรงเรียนมัธยมประจำอำเภอในจังหวัดนครราชสีมา หมวดหมู่:โรงเรียนในจังหวัดนครราชสีมา.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสีดาวิทยา

โรงเรียนสีคิ้ว"สวัสดิ์ผดุงวิทยา"

รงเรียนสีคิ้ว"สวัสดิ์ผดุงวิทยา"(Sikhiu"Sawadphadungwittaya"Schoolอักษรย่อ ส.ค.) เป็นโรงเรียนในจังหวัดนครราชสีมา และเป็นโรงเรียนประจำอำเภอของอำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบันเปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาต้อนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย ในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสีคิ้ว"สวัสดิ์ผดุงวิทยา"

โรงเรียนสตรีพัทลุง

รงเรียนสตรีพัทลุง (อังกฤษ: Satri Phatthalung School) อักษรย่อ (ส.พ.ท.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหวิทยา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 250 ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง 93000.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสตรีพัทลุง

โรงเรียนสตรีภูเก็ต

รงเรียนสตรีภูเก็ต ตั้งขึ้นโดยพระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี สมุหเทศาภิบาลมณฑลภูเก็ต ร่วมกับคณะกรรมการสตรี ได้จัดหาเงินเพื่อสร้างโรงเรียนสำหรับสตรีขึ้น ณ สถานที่บริเวณถนนสตูลเชิงเขารัง เมื่อ..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสตรีภูเก็ต

โรงเรียนสตรีราชินูทิศ

รงเรียนสตรีราชินูทิศ เป็นโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดอุดรธานี ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เดิมชื่อ "'โรงเรียนอุปถัมภ์นารี'" ก่อตั้งขึ้นเพื่อเป็นการสนองพระราชดำริของ สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี โดยมีคุณหญิงศรีสุริยราชวรานุวัตรเป็นผู้นำการบริจาคทรัพย์และก่อตั้งโรงเรียนขึ้น เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสตรีราชินูทิศ

โรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์

รงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนสตรีในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดทำการสอนครั้งแรกเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์

โรงเรียนสตรีวัดระฆัง

รงเรียนสตรีวัดระฆัง (ชื่อภาษาอังกฤษ: Satri Wat Rakhang School) เป็นโรงเรียนรัฐบาล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 248/9 ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสตรีวัดระฆัง

โรงเรียนสตรีวิทยา

รงเรียนสตรีวิทยา (อักษรย่อ: ส.ว.; อังกฤษ: Satri Wittaya School) หรือเรียกอย่างย่อ ว่า สตรีวิท เป็นโรงเรียนรัฐบาลมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทโรงเรียนสตรีล้วน ตั้งอยู่ที่ถนนดินสอ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้น ม.1 ถึง ม.6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 (กรุงเทพมหานคร).

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสตรีวิทยา

โรงเรียนสตรีวิทยา 2

รงเรียนสตรีวิทยา ๒ ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (อักษรย่อ: ส.ว.๒) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษา และเป็นส่วนราชการ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสตรีวิทยา 2

โรงเรียนสตรีศรีน่าน

รงเรียนสตรีศรีน่าน เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ สังกัดกองการมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เดิมตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำน่านบริเวณบ้านพักผู้ว่าราชการจังหวัด เปิดทำการสอนตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพัน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสตรีศรีน่าน

โรงเรียนสตรีสิริเกศ

รงเรียนสตรีสิริเกศ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 879 ถนนปลัดมณฑล ตำบลเมืองใต้ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสตรีสิริเกศ

โรงเรียนสตรีจุลนาค

รงเรียนสตรีจุลนาค โรงเรียนสหศึกษาระดับประถมศึกษา – มัธยมศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ ก่อตั้ง พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสตรีจุลนาค

โรงเรียนสตรีนครสวรรค์

รงเรียนสตรีนครสวรรค์ เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดนครสวรรค์ ตั้งอยู่หลังโรงพยาบาลปากน้ำโพ 2 เปิดสอนในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 ในระดับชั้นละ 15 ห้องเรียน โดยในอดีตได้ก่อตั้งอยู่บนที่ราชพัสดุตรงข้ามธนาคารไทยพาณิชย์สาขาตลาดปากน้ำโพในปัจจุบัน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสตรีนครสวรรค์

โรงเรียนสตรีเศรษฐบุตรบำเพ็ญ

รงเรียนสตรีเศรษฐบุตรบำเพ็ญ (อักษรย่อ: ส.ศ.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทหญิงล้วน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสตรีเศรษฐบุตรบำเพ็ญ

โรงเรียนสตูลวิทยา

รงเรียนสตูลวิทยา Satunwittaya-School เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดสตูลตั้งอยู่ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล ให้การศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ในระยะแรกตั้งขึ้นที่ถนนบุรีวานิช ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล (ห้องสมุดประชาชนประจำจังหวัดสตูลในปัจจุบัน) ต่อมาได้ย้ายมาอยู่ที่ถนนสตูลธานี ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล (โรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์ในปัจจุบัน) และได้ย้ายมาอยู่ที่ถนนคลองขุด-นาแค ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูลจนถึงปัจจุบัน ในจังหวัดสตูล โรงเรียนสตูลวิทยา(สว.) ถือว่าเป็นโรงเรียนที่มีชื่อเสียงในด้านกีฬาเป็นอย่างมาก เป็นสถาบันที่เป็นตัวแทนด้านกีฬาเยาวชนของจังหวัดสตูลมาอย่างช้านาน กีฬาที่โดดเด่นของโรงเรียนแห่งนี้คือ ฟุตบอล วอลเล่ย์บอลและกรีฑา ในด้านกีฬาฟุตบอล รร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสตูลวิทยา

โรงเรียนสนมวิทยาคาร

รงเรียนสนมวิทยาคาร เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐ ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เริ่มเปิดทำการสอนเมื่อปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสนมวิทยาคาร

โรงเรียนหอพระ

รงเรียนหอพระ ตั้งอยู่ที่ 16 ถนนสิงหราช ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นโรงเรียนสังกัดรัฐบาลที่มีการพัฒนาตามลำดับจนถึงปัจจุบัน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนหอพระ

โรงเรียนหอวัง

รงเรียนหอวัง ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2509 เป็นโรงเรียนสหศึกษา เปิดสอนระดับมัธยมศึกษา (ม.1-ม.6) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีประวัติการก่อกำเนิดโรงเรียนเกี่ยวเนื่องกับ "โรงเรียนมัธยมหอวังแห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย".

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนหอวัง

โรงเรียนหาดใหญ่พิทยาคม

รงเรียนหาดใหญ่พิทยาคม (Hatyaipittayakom School) (อักษรย่อ: ญ.พ.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 16 สำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ประกาศจัดตั้งโดยกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนหาดใหญ่พิทยาคม

โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์

รงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์ (Hatyairaprachasun schoolอักษรย่อ: ญ.ร.ส) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ก่อตั้งเมื่อ 21 มิถุนายน 2521 ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขล.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์

โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย

รงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย (Hatyaiwittayalai School) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีเนื้อที่ 14 ไร่ 2 งาน โดยขุนนิพัทธ์จีนนคร ต้นตระกูลจิระนคร เป็นผู้บริจาคที่ดินสร้างโรงเรียน จำนวน 14 ไร่ และ เทศบาลนครหาดใหญ่ บริจาคเพิ่มเติมอีก 2 งาน รวมเป็น 14 ไร่ 2 งาน ประกอบด้วยอาคารเรียน 8 หลัง มีห้องเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 42 ห้องเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 57 ห้องเรียน รวมทั้งหมด 99 ห้องเรียน มีนักเรียนประมาณ 4,500 คน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย

โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย 2

รงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒ (ย่อ: ญ.ว.๒) คือโรงเรียนสาขาของโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย แห่งที่ 2 อดีตเป็นสาขาโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยประจำจังหวัดสงขลา และเป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา ของจังหวัดสงขลา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย 2

โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา

รงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาสงขลาเขต 2 ตั้งอยู่บนถนนเพชรเกษม ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปัจจุบันมี นายเกษม ทองปัญจา ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ มีครูทำการสอนประมาณ 170 คน นักเรียนประมาณ 3,200 คน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา

โรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร

รงเรียนหนองบัวพิทยาคาร (ย่อ: น.พ.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประจำจังหวัดหนองบัวลำภูเปิดการเรียนการสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น-ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายแบบสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19 (เลย-หนองบัวลำภู) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ และเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาที่เก่าแก่ที่สุดในจังหวัดหนองบัวลำภู ปัจจุบันมีอายุกว่า ปี โรงเรียนหนองบัวพิทยาคารเป็น 1 ในโรงเรียนมาตรฐานสากล (World Class Standard School) ที่มีเพียง 3 แห่งในจังหวัดเท่านั้นได้แก่ โรงเรียนศรีบุญเรืองวิทยาคาร โรงเรียนคำแสนวิทยาสรรค์ และโรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร และยังเป็น 1 ใน 2 โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษของจังหวัดหนองบัวลำภู ที่เข้าร่วมในโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ของ สสวท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร

โรงเรียนหนองบุนนากพิทยาคม

รงเรียนหนองบุนนากพิทยาคม อักษรย่อ น..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนหนองบุนนากพิทยาคม

โรงเรียนหนองไผ่

รงเรียนหนองไผ่ (Nongphai School, อักษรย่อ: น.ผ.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ตั้งอยู่เลขที่ 700 หมู่ 6 ตำบลหนองไผ่ อำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ติดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21 ห่างจากเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ 58 กิโลเมตร มีพื้นที่ 80 ไร่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนหนองไผ่

โรงเรียนหนองเสือวิทยาคม

รงเรียนหนองเสือวิทยาคม เป็นโรงเรียนรัฐบาลในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 (ปทุมธานี สระบุรี) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2) ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษา ตั้งอยู่บริเวณถนนรังสิต-บางขันธ์ ตำบลบึงบา อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี ใกล้กับวัดบึงบาประภาสะวัต และเป็นโรงเรียนประจำอำเภอหนองเสือ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนหนองเสือวิทยาคม

โรงเรียนห้วยยอด

รงเรียนห้วยยอด จังหวัดตรัง (อังกฤษ:Huai yot school, Trang) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ให้การศึกษาในระดับมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนห้วยยอด

โรงเรียนห้วยสักวิทยาคม

"โรงเรียนห้วยสักวิทยาคม" (อักษรย่อ: หส.ว.) ปี 2524 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดตั้งโรงเรียนมัธยมขึ้นในพื้นที่ ชื่อว่า โรงเรียนห้วยสักวิทยาคม เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดเชียงราย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ในระยะแรกใช้อาคารเรียนชั่วคราวที่ โรงเรียนบ้านโป่งฮึ้ง ต่อมาได้ย้าย มาทำการเรียนการสอนที่ 204 ถนนเชียงราย - เทิง ตำบลห้วยสัก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ในวันที่ 9 ธันวาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนห้วยสักวิทยาคม

โรงเรียนห้องสอนศึกษา ในพระอุปถัมภ์ฯ

รงเรียนห้องสอนศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (ตัวอักษร190px) เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน แต่เดิมเป็นโรงเรียนชายล้วน ปัจจุบันจัดอยู่ในประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ รูปแบบสหศึกษา ตั้งอยู่บริเวณถนนขุนลุมประพาส ตำบลจองคำ อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน เป็นโรงเรียนในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนห้องสอนศึกษา ในพระอุปถัมภ์ฯ

โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย

รงเรียนอยุธยาวิทยาลัย (Ayutthaya Wittayalai School) เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปิดทำการสอนตั้งแต..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย

โรงเรียนอยู่เย็นวิทยา

รงเรียนอยู่เย็นวิท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนอยู่เย็นวิทยา

โรงเรียนอัสสัมชัญ

รงเรียนอัสสัมชัญ (บ้างเรียก อัสสัมชัญบางรัก หรือ อัสสัมชัญกรุงเทพ, ย่อ: อสช, AC) เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเทพศิรินทร์, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โรงเรียนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ แผนกประถม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเซนต์หลุยส์ 3 ถนนสาทรใต้ และแผนกมัธยม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก โรงเรียนอัสสัมชัญ ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการขึ้นโดยบาทหลวงเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์ เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนอัสสัมชัญ

โรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการ

รงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการ เป็นโรงเรียน ในเครือมูลนิธิเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ตั้ง อยู่เลขที่ 101 ซอยสาทร 13 (เซนต์หลุยส์ 2) ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร บนที่ดินของสำนักมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ โดยมีเนื้อ ที่จำนวน 14 ไร่ 2 งาน 26 ตารางว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการ

โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์

ทหลวงเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์ บาทหลวงผู้ยิ่งใหญ่ที่ก่อตั้งโรงเรียนอัสสัมชัญและโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ ที่มีประวัติเก่าแก่มายาวนาน โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ (Assumption Convent, Couvent De l'Assomption) (อักษรย่อ: อสค, ASC) เป็นโรงเรียนโรมันคาทอลิกหญิงแห่งแรกของประเทศ และเป็นโรงเรียนแรกในเครือคณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตรแห่งประเทศไทย ก่อตั้งโดยคุณพ่อหลุยส์ โชเวต์ บาทหลวงชาวฝรั่งเศส ณ ประเทศฝรั่งเศส เมื่อปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์

โรงเรียนอัสสัมชัญนครราชสีมา

มืองโคราชมุมสูง มองจากโรงเรียนอัสสัมชัญนครราชสีมา โรงเรียนอัสสัมชัญนครราชสีมา (อังกฤษ: Assumption College Nakhonratchasima) (อักษรย่อ: อสช, ACN) เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ของจังหวัดนครราชสีมา ก่อตั้งโดยโดยมูลนิธิคณะภราดาเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนอัสสัมชัญนครราชสีมา

โรงเรียนอันนาลัย

อาคารเทโอฟิลโรงเรียนอันนาลัยปัจจุบัน อาคารเทโอฟิลโรงเรียนอันนาลัยปัจจุบัน อาคารนักบุญอันนาโรงเรียนอันนาลัยปัจจุบัน อาคารนักบุญอันนาโรงเรียนอันนาลัยปัจจุบัน โรงเรียนอันนาลัย ตั้งอยู่ที่ 79 ม.4 ต.บางหญ้าแพรก อ.เมือง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนอันนาลัย

โรงเรียนอำมาตย์พานิชนุกูล

รงเรียนอำมาตย์พานิชนุกูล จังหวัดกระบี่ เป็นสถานศึกษาขนาดใหญ่ตั้งอยู่เลขที่10 ถนนกระบี่ ตำบลปากน้ำ อำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พุทธศักราช 2452 โดยพระยาอิศราธิชัย หรือ หมี ณ ถลาง ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่อยู่ในขณะนั้น ซึ่งสร้างขึ้นเขตวัดแก้วโกรวาราม โดยมีพ่อค้า ประชาชน ในจังหวัดกระบี่ร่วมกันออกกำลังทรัพย์ กำลังกายในการก่อสร้าง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนอำมาตย์พานิชนุกูล

โรงเรียนอำนาจเจริญ

รงเรียนอำนาจเจริญ (Amnatcharoen School) เป็นโรงเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา และเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดอำนาจเจริญเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา เขต 29 (อุบลราชธานี - อำนาจเจริญ) กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ อำเภอเมืองอำนาจเจริญ จังหวัดอำนาจเจริญ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนอำนาจเจริญ

โรงเรียนอินทร์บุรี

รงเรียนอินทร์บุรี (In-Buri School) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 เป็นโรงเรียนประจำอำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2495 ภายใน วัดโบสถ์ (พระอารามหลวง) ตำบลอินทร์บุรี อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี ก่อนที่จะย้ายมาตั้งอยู่ ฝั่งตรงข้าม ณ บ้านเลขที่ 109 หมู่ที่ 1 ถนนเทพสุทธิโมลี ตำบลอินทร์บุรี อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี ในปัจจุบัน โรงเรียนอินทร์บุรี เป็นโรงเรียนสหศึกษา เป็นสถานศึกษาประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ จัดการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนอินทร์บุรี

โรงเรียนอุดมวิทยา (อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี)

รงเรียนอุดมวิทยา เป็นโรงเรียนเอกชนในสังกัดสำนักงานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2 ซึ่งเปิดสอนในระดับชั้นเตรียมอนุบาลถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย ตั้งอยู่เลขที่ 104 ซอย รังสิต-นครนายก 31 ถนนรังสิต-นครนายก ตำบลประชาธิปัตย์ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนอุดมวิทยา (อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี)

โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล

รงเรียนอุดรพิทยานุกูล (อังกฤษ: Udon Pittayanukoon School) เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดอุดรธานี ประเภทสหศึกษา ระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ถนนศรีสุข ตรงข้ามสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดอุดรธานี บนถนนเส้นเดียวกับโรงเรียนอนุบาลอุดรธานี โรงเรียนสตรีราชินูทิศ และโรงเรียนบ้านหมากแข้ง ด้านหลังติดกับถนนศรีชมชื่น ในปัจจุบันโรงเรียนอุดรพิทยานุกูลนั้นเป็นโรงเรียนที่มีจำนวนนักเรียนมากที่สุดเป็นอันดับที่ 1 ของประเทศ และเป็นโรงเรียนชั้นนำแห่งหนึ่งของภาคอีสานและของประเทศไทย โดยมีชื่อเรียกอย่างย่อว่า อุดรพิท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนอุดรพิทยานุกูล

โรงเรียนอุตรดิตถ์

รงเรียนอุตรดิตถ์ เป็น โรงเรียนชายประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2452 เดิมชื่อ "โรงเรียนประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ " ก่อนจะย้ายไปยังที่ตั้งโรงเรียนอนุบาลจังหวัดอุตรดิตถ์ และย้ายมายังที่ตั้งปัจจุบันในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนอุตรดิตถ์

โรงเรียนอุตรดิตถ์ดรุณี

รงเรียนอุตรดิตถ์ดรุณีเป็นสถานศึกษาที่เคยได้รับรางวัลโรงเรียนพระราชทานประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ปัจจุบันโรงเรียนแบ่งการเปิดการสอนเป็น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเปิดสอนเฉพาะหญิง (หญิงล้วน) ส่วนมัธยมศึกษาตอนปลายเปิดสอนแบบ "สหศึกษา" โรงเรียนอุตรดิตถ์ดรุณีในปัจจุบันจัดเป็นสถานมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ และเป็นส่วนราชการในบังคับของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีสถานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนอุตรดิตถ์ดรุณี

โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ

รงเรียนอนุบาลชัยภูมิ (Anuban Chaiyaphum School) เป็นโรงเรียนที่เปิดทำการสอนในหลักสูตรมาตรฐานสากล (World Class Standard School) สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ เปิดทำการสอนเมื่อปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ

โรงเรียนอนุบาลพิบูลเวศม์

รงเรียนอนุบาลพิบูลเวศม์ เป็นโรงเรียนระดับอนุบาล และประถมศึกษา เดิมนั้นมาจากอาคารสงเคราะห์พิบูลเวศม์ โดยใช้ศาลาฟังธรรม ในอาคารจัดสรร ตามดำริของ จอมปล ป.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนอนุบาลพิบูลเวศม์

โรงเรียนอนุบาลพนัสศึกษาลัย

รงเรียนอนุบาลพนัสศึกษาลัย เป็นโรงเรียนรัฐบาล แบบสหศึกษา เปิดสอนในระดับอนุบาล ประถมศึกษา ในอำเภอพนัสนิคม สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนอนุบาลพนัสศึกษาลัย

โรงเรียนอนุบาลราชบุรี

รงเรียนอนุบาลราชบุรี (Anuban Ratchaburi School) ตั้งอยู่เลขที่ 411 ถนนยุติธรรม ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต1 เปิดสอนตั้งแต่ประดับชั้นอนุบาลปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และแผนก English Program.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนอนุบาลราชบุรี

โรงเรียนอนุบาลทัสนินทร

thumb โรงเรียนอนุบาลทัสนินทร ตั้งอยู่เลขที่ 191/228 หมู่บ้านกุลพันธ์วิลล์ โครงการ 5 หมู่ที่ 5 ตำบลแม่เหียะ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50100 มีอาคารเป็นตึก 3 ชั้น มี 3 ห้องเรียนและมี 9 ห้องประกอบการ ได้ก่อตั้งขึ้นจากปณิธานอันแน่วแน่ของคณะผู้บริหารโรงเรียนที่มีเจตนารมณ์ที่ต้องการจะจัดการศึกษาที่มุ่งส่งเสริมกระบวนการพัฒนาเด็กก่อนประถมศึกษาให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีรากฐานชีวิตที่มั่นคงและมีความเจริญงอกงามพร้อมกันทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและสติปัญญา เหมาะสมกับวัยอย่างเต็มตามศักยภาพ อบรมให้เด็กรู้จักแนวทางของพุทธศาสนาควบคู่ไปกับวิทยาการที่ทันสมัย มุ่งเน้นการอบรมศีลธรรม จริยธรรม มารยาทที่ดีงามเพื่อพัฒนาจิตใจ มีวิสัยทัศน์ที่ก้าวไกล มีสติปัญญาที่เฉลียวฉลาด รู้จักคิดเป็น ทำเป็น และแก้ปัญหาเป็น ทันต่อโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงและมีความสุขในการเรียนรู้ โรงเรียนได้เปิดสอนตามหลักสูตรก่อนประถมศึกษา พุทธศักราช 2546 ของกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแต่ชั้นอนุบาล 1 ถึงอนุบาล 3 เป็นโรงเรียนเอกชนแบบสหศึกษา ประเภทสามัญศึกษาโดยได้รับอนุญาตให้จัดตั้งเป็นโรงเรียนอนุบาลทัสนินทร ตามใบอนุญาตจัดตั้งโรงเรียน เลขที่ ชม 01 - 004/2549 ออกให้ ณ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนอนุบาลทัสนินทร

โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์

รงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ บริเวณถนนอู่ทอง ตำบลหอรัตนไชย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายโดยรับเฉพาะนักเรียนหญิง และเป็นโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดพระนครศรีอ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์

โรงเรียนจอมทอง

รงเรียนจอมทอง เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษถือเป็นโรงเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาแห่งแรกที่มีชื่อเสียงและใหญ่ที่สุด ประจำอำเภอจอมทอง และกลุ่มอำเภอทางตอนใต้ของจังหวัดเชียงใหม่ เป็นโรงเรียนประจำเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่เขต 6 ในอดีต และเป็นโรงเรียนประจำเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่เขต 5 ในปัจจุบัน ในช่วงที่ผ่านมาโรงเรียนจอมทอง เป็นโรงเรียนยอดนิยมที่สุดของเชียงใหม่ตอนใต้ และผลิตนักเรียนที่มีคุณภาพในการศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยทั้งของรัฐบาลและเอกชนที่มีชื่อเสียงหลายแห่ง และโรงเรียนจอมทองได้มุ่งมั่นเพื่อพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทั้งในด้านวิชาการ การกีฬาและมุ่งตอบแทนท้องถิ่น ให้เป็นโรงเรียนที่มีคุณภาพแนวหน้าของจังหวัดเชียงใหม่และระดับประเทศต่อไป รักษาตําแหน่งผู้อำนวยการคือ จ่าสิบเอก ไชยเชษฐ์์ อุ่นนํ้าใ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนจอมทอง

โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน

ลาพระพุทธโคดมบรมครูสัมมาสัมพุทธเจ้า โรงเรียนจักรคำคณาทรจังหวัดลำพูน โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำจังหวัดลำพูน คู่กับโรงเรียนส่วนบุญโญปถัมภ์ ลำพูน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 เป็นโรงเรียนมัธยมของรัฐขนาดใหญ่ ตั้งอยู่เลขที่ 426 ถนนเจริญราษฎร์ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน (ในเขตเทศบาลเมืองลำพูน) บนเนื้อที่ 37 ไร่ 3 งาน 17.80 ตารางวา ปัจจุบันห้องเรียนของมัธยมศึกษาตอนต้นมีทั้งหมด 36 ห้องเรียน และห้องเรียนของมัธยมศึกษาตอนปลายมี 42 ห้องเรียน รวม 78 ห้องเรียน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน

โรงเรียนจันทร์หุ่นบำเพ็ญ

รงเรียนจันทร์หุ่นบำเพ็ญ เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 มกราคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนจันทร์หุ่นบำเพ็ญ

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก

รงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์ที่จัดตั้งขึ้นจากวัตถุประสงค์ของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อสนองพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ที่ทรงมุ่งมั่นจะส่งเสริมคุณภาพชีวิต ในด้านความเป็นอยู่และการศึกษาของเยาวชนโดยเฉพาะเยาวชนที่อยู่ห่างไกล ปัจจุบันเป็นโรงเรียนที่อยู่ในแผนและยุทธศาสตร์ สำหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์ โดยจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น - ตอนปล.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ลพบุรี

รงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ลพบุรี ตั้งอยู่บริเวณเชิงเขาวงพระจันทร์ เลขที่ 216 ม.1 ต.ห้วยโป่ง อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี 15120 เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์ที่จัดตั้งขึ้นจากวัตถุประสงค์ของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อสนองพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ที่ทรงมุ่งมั่นจะส่งเสริมคุณภาพชีวิต ในด้านความเป็นอยู่และการศึกษาของเยาวชนโดยเฉพาะเยาวชนที่อยู่ห่างไกล ปัจจุบันเป็นโรงเรียนที่อยู่ในแผนและยุทธศาสตร์ สำหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันคณะรัฐมนตรีในที่ประชุมคณะรัฐมนตรีมีมติประกาศให้ กลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค โดยจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น - ตอนปล.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ลพบุรี

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล

กระทรวงศึกษาธิการได้จัดตั้งโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล ขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2537 ซึ่งเป็นโรงเรียนหนึ่งในจำนวน 12 โรง ที่จัดตั้งขึ้นเนื่องในวโรกาสที่ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 3 รอบ ในวันที่ 4 กรกฎาคม 2536 ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงมีต่องานด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งพัฒนาคุณภาพชีวิตประชากรของประเทศ ประกอบกับภาวะที่ประเทศชาติต้องการบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมไปช่วยพัฒนาในโครงการต่าง ๆ ของรัฐ กระทรวงศึกษาธิการจึงได้จัดตั้งโรงเรียนเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระองค์ท่าน โดยมีเป้าหมายในการก่อตั้งโรงเรียนเขตการศึกษาละ 1 โรง รวมทั้งหมด12 โรง เพื่อปลูกฝังและส่งเสริมพร้อมทั้งให้โอกาสแก่เยาชนที่มีความสนใจ มีความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ได้ฝึกฝนด้านนี้เป็นพิเศษตั้งแต่เยาว์วัย โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล เป็นโรงเรียนสหศึกษา เปิดรับนักเรียนประจำทั้งระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ตั้งปีการศึกษา 2538 โดยในระยะแรกกำหนดให้เรียนที่ วิทยาลัยเกษตรกรรมสตูล อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล เนื่องจากอาคารยังไม่แล้วเสร็จ และในวันที่ 4 ธันวาคม 2538 ได้ย้ายมาเรียนในสถานที่ปัจจุบัน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง

รงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง (อังกฤษ:Princess Chulabhorn's College, Trang) เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค ให้การศึกษาในระดับมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 3 รอบ ในวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี

รงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี ตั้งอยู่ เลขที่ 51 หมู่ 6 ตำบลบ่อเงิน อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานีโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี เป็นโรงเรียนที่เน้นการสอนด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ประกาศจัดตั้งโดยฯพณฯ สุขวิช รังสิตพล รัฐมนตรีว่าการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช

รงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช (อังกฤษ: Princess Chulabhorn's College Nakhon Si Thammarat, Princess Chulabhorn Science High School Nakhon Si Thammarat) เป็นโรงเรียนสหศึกษาให้การศึกษาในระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 3 รอบ ในวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย

รงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย (โรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค) (อังกฤษ: Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai) เป็นหนึ่งในโรงเรียน 12 โรงที่จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เนื่องในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ 3 รอบ และมุ่งเน้นการจัดการเรียนการสอนทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมให้แก่นักเรียน รับนักเรียนสหศึกษาประเภทประจำ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย

รงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย (อักษรย่อ: จภ.ลย.; อังกฤษ: Princess Chulabhorn's College Loei: PCCLOEI) หรือเรียกย่อๆ ว่า จุฬาเลย เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางในจังหวัดเลย ประเภทโรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาคของรัฐ เปิดการเรียนการสอนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19 นอกจากนี้โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย ยังเป็นโรงเรียนที่ได้รับการจัดอันดับโดยอยู่ในอันดับที่ 96 จาก 2,800 โรงเรียนทั่วประเทศจากผลการทดสอบ O-net ประจำปี 2559 ที่ผ่านมาและเป็นอันดับที่ 1 ของจังหวัดเลยด้ว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย

โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม

รงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม(Thammasat khlongluang withayakhom school)โรงเรียนในสวัสดิการแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 (ปทุมธานี สระบุรี) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1)ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ซึ่งเปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ตั้งอยู่เลขที่ 69 หมู่ที่ 10 ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 ริมถนนพหลโยธิน ใกล้กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม

โรงเรียนธัญบุรี

รงเรียนธัญบุรี เป็นโรงเรียนรัฐบาลในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 (ปทุมธานี สระบุรี) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2) ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษา และเป็นโรงเรียนประจำอำเภอธัญบุรี ตั้งอยู่เลขที่ 2 พหลโยธิน 94 ตประชาธิปัตย์ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ใกล้กับโรงพยาบาลธัญญารักษ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนธัญบุรี

โรงเรียนธัญรัตน์

รงเรียนธัญรัตน์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 (ปทุมธานี สระบุรี) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2) ตั้งอยู่เลขที่ 104 ถนนรังสิต-นครนายก ตำบลรังสิต อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี โรงเรียนธัญรัตน์ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนธัญรัตน์

โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา

รงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา เป็นโรงเรียนในจังหวัดสกลนคร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา

โรงเรียนธีรกานท์บ้านโฮ่ง

รงเรียนธีกานท์บ้านโฮ่ง ชื่อเดิมว่า โรงเรียนมัธยมศึกษาบ้านโฮ่ง เป็นโรงเรียนประจำที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในอำเภอบ้านโฮ่งจังหวัดลำพูน ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 335 ถนนลำพูน-ลี้ ต.บ้านโฮ่ง อ.บ้านโฮ่ง จ.ลำพูน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนธีรกานท์บ้านโฮ่ง

โรงเรียนทวีธาภิเศก

รงเรียนทวีธาภิเศก (Taweethapisek School) (อักษรย่อ: ท.ภ. / T.P.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทชายล้วน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 505/5 ซอยอิสรภาพ 42 ถนนอิสรภาพ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร 10600 มีพื้นที่ 13 ไร่ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนทวีธาภิเศก

โรงเรียนทวีธาภิเศก บางขุนเทียน

รงเรียนทวีธาภิเศก บางขุนเทียน เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเครือของโรงเรียนทวีธาภิเศก สังกัดกรมสามัญศึกษา ตั้งอยู่ในซอยแยกถนนบางขุนเทียนชายทะเล แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร เปิดดำเนินการครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนทวีธาภิเศก บางขุนเทียน

โรงเรียนทิพพากรวิทยาการ

นักเรียนทีจบปีการศึกษา2525 โรงเรียนทิพพากรวิทยาการตั้งอยู่เลขที่ 2 ซอยเก็บสมบัติ ถนนรังสิต-นครนายก ตำบลประชาธิปัตย์ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี รหัสไปรษณีย์ 12130.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนทิพพากรวิทยาการ

โรงเรียนทุ่งกะโล่วิทยา

รงเรียนทุ่งกะโล่วิทยา เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบสหศึกษาขนาดกลาง ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 132 หมู่ที่ 6 บ้านบึงหลัก ตำบลป่าเซ่า อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนแบ่งการเปิดการสอนเป็นประเภท มัธยมศึกษาตอนต้น-ตอนปลาย โรงเรียนทุ่งกะโล่วิทยา เปิดทำการเรียนการสอนครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนทุ่งกะโล่วิทยา

โรงเรียนทุ่งสง

รงเรียนทุ่งสงเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 (สพท.นศ.2) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนทุ่งสง

โรงเรียนทุ่งเสลี่ยมชนูปถัมภ์

รงเรียนทุ่งเสลี่ยมชนูปถัมภ์เป็นโรงเรียนประจำอำเภอทุ่งเสลี่ยม ในระดับมัธยมศึกษา สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาสุโขทัย เขต 2.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนทุ่งเสลี่ยมชนูปถัมภ์

โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (มัธยมวัดหัตถสารเกษตร) ในพระราชูปถัมภ์

รงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (มัธยมวัดหัตถสารเกษตร) ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เป็นโรงเรียนรัฐบาล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ปทุมธานี เขต 1 ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 34 หมู่ที่ 8 ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (มัธยมวัดหัตถสารเกษตร) ในพระราชูปถัมภ์

โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ฯ

รงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ฯ

โรงเรียนท่าบ่อ

รงเรียนท่าบ่อ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐ ในสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เริ่มเปิดทำการสอนเมื่อปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนท่าบ่อ

โรงเรียนท่าวังผาพิทยาคม

รงเรียนท่าวังผาพิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐประจำอำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน เปิดการเรียนการสอนแบบสหศึกษาตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงปีที่ 6.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนท่าวังผาพิทยาคม

โรงเรียนท่าปลาอนุสรณ์ 1

รงเรียนท่าปลาอนุสรณ์ 1 เป็น โรงเรียนระดับประถมศึกษาขนาดกลาง ตั้งอยู่ที่ ตำบลท่าปลา อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ แบ่งการเปิดการสอนเป็น ระดับประถมศึกษา และระดับก่อนประถมศึกษ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนท่าปลาอนุสรณ์ 1

โรงเรียนท่านครญาณวโรภาสอุทิศ

รงเรียนท่านครญาณวโรภาสอุทิศ (Thanakhon Yanwaropat Utith School) เป็นโรงเรียนประจำตำบลปากนคร อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 12.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนท่านครญาณวโรภาสอุทิศ

โรงเรียนท้ายเหมืองวิทยา

รงเรียนท้ายเหมืองวิทยา เป็นโรงเรียนที่ให้การศึกษาในระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ได้รับการตั้งชื่อตามอำเภออันเป็นที่ตั้งของโรงเรียน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนท้ายเหมืองวิทยา

โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน

ก่อนชื่อพระราชทาน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนขอนแก่นวิทยายน

โรงเรียนขุขันธ์

รงเรียนขุขันธ์ (อังกฤษ: Khukhan School) (บ้างเรียก ขุขันธ์ใหญ่, ย่อ: ข.ข., KKS) โรงเรียนมัธยมศึกษาประจำอำเภอขุขันธ์ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทมัธยมสหศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 60 ถนนเจริญราษฎร์สมบัติ หมู่ 3 ตำบลห้วยเหนือ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ บนพื้นที่ 62 ไร่ 18 ตารางวา ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 กันยายน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนขุขันธ์

โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา

ณกร จาตุรจินดา ได้บริจาคที่ดิน จำนวน 35 ไร่ พร้อมเงินสด 200,000 บาท เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา

โรงเรียนดอนเมืองทหารอากาศบำรุง

รงเรียนดอนเมืองทหารอากาศบำรุง (อังกฤษ: Donmuang Thaharnagardbumroong School) (อักษรย่อ: ด.ม., D.M.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา เปิดศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย ขุนวจีกรรมรักษา ตั้งอยู่ที่ 60/1 ถนนเชิดวุฒากาศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนดอนเมืองทหารอากาศบำรุง

โรงเรียนดำรงราษฎร์สงเคราะห์

รงเรียนดำรงราษฎร์สงเคราะห์ (อักษรย่อ: ด.ส., D.S.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งอยู่ที่ 554 หมู่ 2 ถนนอุตรกิจ ตำบลเวียง อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย โรงเรียนดำรงราษฎร์สงเคราะห์ก่อตั้งขึ้นโดย“พระยาราชเดชดำรง” (ผล ศรุตานนท์) เมื่อ..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนดำรงราษฎร์สงเคราะห์

โรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน

รงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน (อังกฤษ:Deebukphangnga Wittayayon School)ให้การศึกษาในระดับ มัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน

โรงเรียนด่านขุนทด

รรยากาศในโรงเรียน โรงเรียนด่านขุนทด (Dankhonthod) อักษรย่อ..ท. (DKT) เป็นโรงเรียนในจังหวัดนครราชสีมา และเป็นโรงเรียนประถมศึกษาประจำอำเภอด่านขุนทด ของจังหวัดนครราชสีม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนด่านขุนทด

โรงเรียนคลองบ้านระกาศ

รงเรียนคลองบ้านระกาศ เป็นสถานศึกษาขนาดเล็ก ที่เปิดสอนในระดับชั้นประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ 134 หมู่ 7 ตำบลบ้านระกาศ อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ 20000.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนคลองบ้านระกาศ

โรงเรียนคลองเมืองพิทยาคม

รงเรียนคลองเมืองพิทยาคม (ค.ม.พ.) เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ประจำตำบล เปิดสอนระดับช่วงชั้นที่ 3 และ 4 (มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6) อยู่ใน ต.คลองเมือง อ.จักราช จ.นครราชสีมา 30230 สังกัด กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา (เดิมสังกัดสำนักงานการศึกษานครราชสีมาเขต 2 สำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ) หมวดหมู่:โรงเรียนในจังหวัดนครราชสีมา.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนคลองเมืองพิทยาคม

โรงเรียนคำเขื่อนแก้วชนูปถัมภ์

รงเรียนคำเขื่อนแก้วชนูปถัมภ์ (Khamkhueankeao Chanubhatham School) เดิมชื่อ โรงเรียนวิสามัญคำเขื่อนแก้ว เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษภายในจังหวัดยโสธรเป็นโรงเรียนประจำอำเภอคำเขื่อนแก้ว โรงเรียนคำเขื่อนแก้วชนูปถัมภ์ ตั้งอยู่ในเขต ถนนแจ้งสนิท ตำบลลุมพุก อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และ มัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา เขต 28 (ศรีสะเกษ-ยโสธร) กระทรวงศึกษาธิการ และได้เข้าร่วมโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล (World–Class Standard School).

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนคำเขื่อนแก้วชนูปถัมภ์

โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา

รงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดยะลา ประเภทสหศึกษา เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงการศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา

โรงเรียนคณะราษฎร์บำรุงปทุมธานี

รงเรียนคณะราษฎร์บำรุงปทุมธานี เป็นโรงเรียนรัฐบาลในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 (ปทุมธานี สระบุรี) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1) โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษา(รับนักเรียนชายเฉพาะห้องเรียนพิเศษ)ห้องเรียนธรรมดารับนักเรียนชายในส่วนเฉพาะมัธยมปลาย และเป็นโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดปทุมธานี ตั้งอยู่เลขที่ 85 หมู่ 5 ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาใกล้กับวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานีและวั.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนคณะราษฎร์บำรุงปทุมธานี

โรงเรียนตราษตระการคุณ

รงเรียนตราษตระการคุณ จังหวัดตราด (Trattrakarnkhun School Trat) เดิมเป็นโรงเรียนชายล้วนประจำจังหวัดตราด ปัจจุบันเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ประเภทสหศึกษ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนตราษตระการคุณ

โรงเรียนตากพิทยาคม

รงเรียนตากพิทยาคม ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2443 เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาแห่งแรกของจังหวัดตาก ชื่อเดิม “โรงเรียนวัดสีตลาราม” ปัจจุบันอยู่ในบริเวณวัดสีตลาราม (วัดน้ำหัก) ตำบลระแหง อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก เปิดทำการสอนแบบสหศึกษา เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2443 จำนวน 6 ห้องเรียน จนถึงปี 2473 ต่อจากนั้นได้ย้ายไปยังบริเวณ ค่ายทหารพรานที่ 6 หรือ บริเวณศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ในปัจจุบัน และได่ย้ายอีกครั้งเมื่อปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนตากพิทยาคม

โรงเรียนประชารัฐธรรมคุณ

รงเรียนประชารัฐธรรมคุณ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำอำเภองาว สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนประชารัฐธรรมคุณ

โรงเรียนประสาทวิทยาคาร

รงเรียนประสาทวิทยาคาร จังหวัดสุรินทร์ (โรงเรียนศูนย์กลางการศึกษาอาเซียน EDUCATION HUB) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษในอำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ประเภทสหวิทยา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนประสาทวิทยาคาร

โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์

รงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์ เป็นโรงเรียนประถมศึกษาที่เปิดสอนในระดับชั้นประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ 99 หมู่ 18 ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ภายในบริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์

โรงเรียนประโคนชัยพิทยาคม

รงเรียนประโคนชัยพิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษในบุรีรัมย์ ประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนประโคนชัยพิทยาคม

โรงเรียนปราจิณราษฎรอำรุง

รงเรียนปราจิณราษฎรอำรุง เดิมเป็นโรงเรียนชายล้วน เปิดทำการสอนเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนปราจิณราษฎรอำรุง

โรงเรียนปราจีนกัลยาณี

รงเรียนปราจีนกัลยาณี เดิมชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดปราจีนบุรี "ปราจิณราษฎรอำรุง" ตั้งอยู่ข้างวัดหลวงปรีชากูล (สถานที่ตั้งโรงเรียนเทศบาล 2) ต่อมาในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนปราจีนกัลยาณี

โรงเรียนปราโมชวิทยารามอินทรา

โรงเรียนปราโมชวิทยารามอินทรา เดิมคือโรงเรียนปราโมชวิทยาทานแผนกประถม เป็นโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญศึกษา สังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ตั้งอยู่เลขที่ 55 หมู่ 3 ซอยรามอินทรา 7 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร ในเนื้อที่รวม 5 ไร่ 27 ตารางวา และพื้นที่เช่าเป็นลานจอดรถอีก 4 ไร่ นางรัชนี ชังชู ได้รับโอนกิจการมาจากผู้รับใบอนุญาตคนเดิม คือ นางปราณี ชวานิช ซึ่งเป็นป้า เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2526 ในปีแรกที่เริ่มดำเนินการ นางรัชนี ชังชู ได้ดำเนินการขยายโรงเรียนโดยสร้างอาคารเรียนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 ชั้นขึ้นก่อน โดยใช้ชั้นที่ 2 และชั้นที่ 3 เป็นห้องเรียนจำนวน 10 ห้องเรียน ชั้นล่างเปิดว่างไว้ใช้เป็นโรงอาหารและห้องประชุมอาคารหลังนี้เปิดใช้เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2527 และปรับปรุงอาคารหลังเดิมให้อยู่ในสภาพที่ดี จัดสร้างรั้วโรงเรียนแก้ปัญหาน้ำท่วมให้หมดไปในปีการศึกษา 2527 นี้ ได้ขอขยายชั้นเรียนถึงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เปิดสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1มีนักเรียน จำนวน 718 คน และได้ขอเปลี่ยนชื่อโรงเรียนจาก "โรงเรียนปราโมชวิทยาทานแผนกประถม" เป็น "โรงเรียนปราโมชวิทยารามอินทรา" จนถึงปัจจุบัน ปราโมชวิทยารามอินทรา หมวดหมู่:เขตบางเขน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนปราโมชวิทยารามอินทรา

โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม

รงเรียนปลายพระยาวิทยาคม เป็นสถานศึกษาขนาดกลางตั้งอยู่เลขที่ 4 ถนนอ่าวลึก - พระแสง ตำบลปลายพระยา อำเภอปลายพระยา จังหวัดกระบี่ โดยคนทั่วไปส่วนใหญ่มักเรียกว่า "โรงเรียนมอ หรือ โรงเรียนปลายยา" ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนมิถุนายน พุทธศักราช 2519 (วันที่ไม่ปรากฏชัด) โดยนายวิสูตร ขนอม ตำแหน่งอาจารย์ 1 โรงเรียนอ่าวลึกประชาสรรค์ มาดำรงตำแหน่งเป็นครูใหญ่อยู่ในขณะนั้น โดยได้รับงบประมาณการก่อสร้างอาคารเรียนแบบถาวร แบบ 216 ก 6 ห้องเรียน 1 หลัง บ้านพักครู 2 หลัง บ้านพักนักการภารโรง 1 หลัง ห้องน้ำนักเรียน 1 หลัง โดยใช้ที่ดินของกระทรวงศึกษาธิการ เนื้อที่ 168 ไร่ ในการก่อสร้างของสมัยนั้น.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม

โรงเรียนปล้องวิทยาคม

รงเรียนปล้องวิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 120 หมู่ 9 ตำบลปล้อง อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดเชียงราย เขตที่ 4 ได้รับประกาศจัดตั้งจากกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนปล้องวิทยาคม

โรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก

รงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก อักษรย่อ ป..ร. เดิมเป็นสาขาเป็นโรงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค์ ปัจจุบันจัดอยู่ในประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก ซึ่งมีฐานะป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำตำบลปอพาน อำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคามเขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษก

โรงเรียนปักธงชัยประชานิรมิต

รงเรียนปักธงชัยประชานิรมิต อักษรย่อ ป..ม. เป็นโรงเรียนในจังหวัดนครราชสีมา และเป็นโรงเรียนประจำอำเภอของอำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนปักธงชัยประชานิรมิต

โรงเรียนปากช่อง

รงเรียนปากช่อง (Pakchong School) (อักษรย่อ: ป.ช., P.C.)เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประจำอำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมาประเภทโรงเรียนสหศึกษา เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 เป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนปากช่อง

โรงเรียนปากเกร็ด

รงเรียนปากเกร็ด (Pakkred Secondary School) (อักษรย่อ: ป.ก., PK) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันโรงเรียนปากเกร็ดมีเนื้อที่ 20 ไร่ 1 งาน 96 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารเรียน 4 หลัง ศูนย์ฝึกงาน 1 หลัง ศูนย์กีฬา 1 หลัง มีอาคารเฉลิมพระเกียรติ 7 ชั้น อาคารกีฬาเอนกประสงค์ 1 อาคารศิลปะ 1 อาคารเรียนกึ่งถาวร 1 และ สระว่ายน้ำ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนปากเกร็ด

โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา

รงเรียนปางศิลาทองศึกษา เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ประจำอำเภอปางศิลาทอง จังหวัดกำแพงเพชร สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้รับอนุมัติจัดตั้งประกาศเป็นโรงเรียนของรัฐบาล เมื่อวันที่ 18 กุมภาพัน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนปางศิลาทองศึกษา

โรงเรียนปิยะบุตร์

รงเรียนปิยะบุตร์ ตั้งอยู่เลขที่ 133 หมู่ 6 ตำบลโพนทอง อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี รหัสไปรษณีย์ 15110 ภายใต้สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาของรัฐ จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ปัจจุบันมีนักเรียนประมาณ 589 คน และมีบุคลากรรวมทั้งสิ้น 47 คน จัดเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง โรงเรียนวิถีพุทธ และผ่านการรับรองให้เป็นโรงเรียนต้นแบบโรงเรียนในฝัน (โรงเรียนดีประจำอำเภอ) เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2554 อาคาร 4 โรงเรียนปิยะบุตร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนปิยะบุตร์

โรงเรียนปทุมคงคา

รงเรียนปทุมคงคา (Patumkongka School) เป็นโรงเรียนชายล้วนระดับมัธยมศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 920 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนปทุมคงคา

โรงเรียนป่ากล้วยเสริมวิทยา

รงเรียนป่ากล้วยเสริมวิทยา เป็น โรงเรียนประจำหมู่บ้านป่ากล้วย ตั้งอยู่ที่ บ้านป่ากล้วย ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนป่ากล้วยเสริมวิทยาเป็นโรงเรียนในกลุ่มคุ้งตะเภา-ถ้ำฉลอง แบ่งการเปิดการสอนเป็น ระดับประถมศึกษา และระดับก่อนประถมศึกษา โรงเรียนป่ากล้วยเสริมวิทยา เดิมชื่อว่า โรงเรียนวัดป่ากล้วย หมู่ที่ 2 ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ เปิดทำการเรียนการสอนครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนป่ากล้วยเสริมวิทยา

โรงเรียนป่าขนุนเจริญวิทยา

รงเรียนป่าขนุนเจริญวิทยา เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา 1 ใน 2 แห่งของตำบลคุ้งตะเภา และเป็นโรงเรียนที่มีนักเรียนทุกระดับชั้นรวมกันมากที่สุดในเขตตำบล โรงเรียนแห่งนี้ตั้งอยู่ที่ บ้านป่าขนุน ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันโรงเรียนแบ่งการเปิดการสอนเป็น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับประถมศึกษา และระดับก่อนประถมศึกษา โรงเรียนป่าขนุนเจริญวิทยา ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนป่าขนุนเจริญวิทยา

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา

รงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา เป็นโรงเรียนในโครงการเฉลิมพระเกียรติ ในกลุ่มโรงเรียน 9 นวมินทราชินูทิศ และเป็นโรงเรียนในเครือบดินทรเดชา แห่งที่ 3 เมื่อวันที่ 12-13 ตุลาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ

รงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ (Nawamintrachinutit Suankularb Wittayalai Samutprakarn School) (อักษรย่อ: นมร.ส.ก.ส., S.K.S.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา ในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การมัธยมศึกษาเขต6 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ชื่อเดิม: กรมสามัญศึกษา) กระทรวงศึกษาธิการ ผู้บริหารชุดปัจจุบันของโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ ข้อมูล ณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2560 โดยผู้ดูแลระบบ นมร.สกส 1.นายบรรหาร เอี่ยมสอาด ผู้อำนวยการคนที่ 6 ของโรงเรียน,รองผู้อำนวยการ 2.นางอรุณี คำสุวรรณ,3.นางสาวสุภกร สวนสมุทร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย ปทุมธานี

รงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย ปทุมธานี เป็นโรงเรียนในโครงการเฉลิมพระเกียรติ ในกลุ่มโรงเรียน 9 นวมินทราชินูทิศ และเป็นโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย แห่งที่ 4 เมื่อวันที่ 12-13 ตุลาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย ปทุมธานี

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา 2

รงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา 2 ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2535 บนที่ดินซึ่งนางทองสุข สุขทุม และนายเกษม คงสามสี คหบดีสองพี่น้อง มอบให้แก่กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 10 เมษายน ปีนั้น เพื่อเป็นที่ศึกษาเล่าเรียนของเยาวชนในย่านมีนบุรีและคลองสามวาโดยเฉพาะ ซึ่งภายหลังสถาปนาอาคารต่าง ๆ แล้ว กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดตั้งเป็นโรงเรียนสหศึกษา ชื่อ "โรงเรียนสตรีวิทยา 4" สังกัดกรมสามัญศึกษา โดยมอบให้โรงเรียนสตรีวิทยา 2 เป็นพี่เลี้ยง และให้นางสาวสมภาพ คมสัน ผู้อำนวยโรงเรียนสตรีวิทยา 2 รักษาการตำแหน่งผู้อำนวยโรงเรียนไปพลางก่อน ต่อมา วันที่ 10 สิงหาคม ปีเดียวกัน กรมสามัญศึกษาประกาศเปลี่ยนชื่อโรงเรียนตามที่ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาต และเพื่อให้สอดคล้องกับโรงเรียนพี่เลี้ยง เป็น "โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา 2 มีนบุรี" อักษรย่อว่า "นมร..ว.2" และวันที่ 15 มิถุนายน ปีนั้นเอง กรมสามัญศึกษาได้แต่งตั้งให้นางวิลาวัณย์ สิทธิ์วงศ์ ผู้ช่วยผู้อำนวยโรงเรียนสตรีวิทยา 2 เป็นผู้อำนวยการโรงเรียน นมร..ว.2 พร้อมได้อนุมัติงบประมาณ 95.3 ล้านบาท เพื่อก่อสร้างอาคารเรียนแบบพิเศษ 6 ชั้น 3 อาคารติดต่อกัน และอาคารอเนกประสงค์อีก 1 หลัง ใช้เวลาก่อสร้าง 680 วันจึงแล้วเสร็จ ครั้นปีการศึกษา 2539 กรุงเทพมหานครได้แบ่งเขตการปกครองใหม่ โดยได้แบ่งเขตมีนบุรีออกเป็น 2 เขต คือ เขตมีนบุรี และเขตคลองสามวา ซึ่งเดิมที่ตั้งของโรงเรียนเดิมอยู่ในเขตมีนบุรีจึงได้ชื่อ "โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา 2 มีนบุรี" แต่เมื่อแบ่งเขตใหม่แล้ว ไปอยู่ในเขตคลองสามวาแทน จึงได้ชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา 2" ปัจจุบัน อยู่ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขตที่ 2.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา 2

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล

รงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล หรือ โรงเรียนสตรีวิทยา 3 เป็นโรงเรียนรัฐบาล ซึ่งโรงเรียนในโครงการเฉลิมพระเกียรติ ในกลุ่มโรงเรียน 9 นวมินทราชินูทิศ และเป็นโรงเรียนในเครือสตรีวิทยา ตั้งอยู่ที่ ถนนพุทธมณฑล สาย3 แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร ที่ตั้งของโรงเรียนใกล้สถานที่สำคัญ 2 แห่ง คือ ถนนอุทยาน และพุทธมณฑล มีการเรียนการสอนตั้งแต่มัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่ 6.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี

รงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสเจริญพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ ได้รับคำนำหน้าโรงเรียนว่า “นวมินทราชินูทิศ” ตามด้วยโรงเรียนพี่เลี้ยง (ขณะนั้น) คือโรงเรียนหอวัง จึงมีชื่อว่า “นวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี”.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย

รงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2534 เป็นโรงเรียนในโครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในมหาศุภสมัยทรงเจริญพระชนมายุ 60 พรรษา ซึ่งทางกระทรวงศึกษาธิการถือเป็นโอกาสอันสำคัญยิ่ง เพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายเป็นราชสักการะและอนุสรณ์สถานแก่อนุชนรุ่นหลัง ให้ได้ระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่มีต่อปวงชนชาวไทยในด้านการศึกษา โดย สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ พระบรมราชินีนาถ ได้พระราชทานนามโรงเรียนว่า "นวมินทราชินูทิศ" ซึ่งมีความหมายว่า โรงเรียนที่อุทิศแด่พระราชินีลำดับที่ 9 ผู้เป็นใหญ่ (นวม (อ่านว่า นะ-วะ-มะ) + อินทร์ + ราชินี + อุทิศ) และเนื่องจากโรงเรียนมีชื่อเดิมว่า "เบญจมราชาลัย 3" กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศเปลี่ยนชื่อ โรงเรียนเป็น "โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย".

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า

รงเรียนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า ก่อกำเนิดขึ้นมาในวาระอันเป็นมหามงคลยิ่งในปีพุทธศักราช 2535 คือ วาระฉลอง 60 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 โดย กรมสามัญศึกษา มีโครงการจัดตั้งโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ (72 ห้องเรียน) จำนวน 1ใน9 โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลเพื่อเฉลิมพระเกียรติ ด้วยการติดต่อประสานงานของ คุณหญิงสุชาดา ถิระวัฒน์ ประธานที่ปรึกษาสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า คุณขณิษฐา หาญอุตสาหะ ศิษย์เก่าโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา คุณชูเกียรติ ลิ่มอรุณ ผู้จัดการหมู่บ้านสัมมากร ได้ติดต่อประสานงานกับ ดร.โกวิท วรพิพัฒน์ อดีตอธิบดีกรมสามัญศึกษา เพื่อพิจารณาความเหมาะสมของที่ดิน กรมสามัญศึกษาได้รับพระราชทานที่ดิน จำนวน 14 ไร่ 1 งาน 44 ตารางวา อันเป็นที่ดินทรัพย์สินส่วนพระองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2534 โดยนายเผดิม สุวรรณโพธิ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า ได้รับมอบอำนาจจากอธิบดีกรมสามัญศึกษา ให้ดำเนินการทำนิติกรรมรับโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินอันเป็นที่ดินในบริเวณหมู่บ้านสัมมากร กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศจัดตั้งโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 มีนาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า

โรงเรียนนวมินทราชูทิศ พายัพ

รงเรียนนวมินทราชูทิศ พายัพ (ชื่ออังกฤษ: Navamindarajudis Phayap School) (ตัวย่อไทย: น.ม.พ.) (ตัวย่ออังกฤษ: N.M.P.) เป็นโรงเรียนลำดับที่ 5 ในกลุ่มโรงเรียนนวมินทราชูทิศ 5 ภูมิภาค ตั้งอยู่พื้นที่ภาคเหนือในจังหวัดเชียงใหม่ เปิดสอนตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ปัจจุบันเปิดทำการเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมตอนต้นแบบทั่วไป และในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนผลายในแผนการเรียน วิทย์-คณิต, อังกฤษ-คณิต, อังกฤษ-ฝรั่งเศส, อังกฤษ-เยอรมัน, อังกฤษ-ญี่ปุ่น และอังกฤษ-จีน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนนวมินทราชูทิศ พายัพ

โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร

รงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ประเภทสหศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 115 หมู่ 11 ซอยนวมินทร์ 163 (อมรวิวัฒน์) ถนนนวมินทร์ แขวงนวลจันทร์ เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร

โรงเรียนนวมินทราชูทิศ ทักษิณ

รงเรียนนวมินทราชูทิศ ทักษิณ เป็นโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 5 รอบประจำภาคใต้ ซึ่งเป็นถาวรวัตถุทางการศึกษาที่ปวงชนชาวไทยน้อมเกล้าฯ ถวาย นอกจากโรงเรียนนวมินทราชูทิศ ทักษิณจะได้ทำหน้าที่เป็นสถานให้การศึกษาแก่เยาวชนชาวสงขลาและจังหวัดใกล้เคียงเป็นอย่างดี สมกับปรัชญาความรู้คู่คุณธรรม เอกลักษณ์ที่สำคัญและโดดเด่นอย่างหนึ่งของโรงเรียนคือ อาคารเรียนและอาคารประกอบลักษณะสถาปัตยกรรมทรงไทยประยุกต์แบบภาคใต้ ปัจจุบันเป็นสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงของภาคใต้ และลูกนวมินทร์ทุกคนที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันแห่งนี้ ต่างมีความรักภาคภูมิใจในสถาบัน และภูมิใจใน ตรานวมินทราชูทิศ ทักษิณ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนนวมินทราชูทิศ ทักษิณ

โรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่

ป้ายโรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่ โรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 1 ถนนคุ้มเดิม ตำบลในเวียง อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่

โรงเรียนนาหมื่นพิทยาคม

รงเรียนนาหมื่นพิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐประจำอำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน เปิดการเรียนการสอนแบบสหศึกษาตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงปีที่ 6.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนนาหมื่นพิทยาคม

โรงเรียนนาคประสิทธิ์

รงเรียนนาคประสิทธิ์ (มูลนิธิวัดบางช้างเหนือ) เป็นโรงเรียนเอกชนในจังหวัดนครปฐมก่อตั้งขึ้นโดยพระครูปลัดผัน แสงโสภา เมื่อพ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนนาคประสิทธิ์

โรงเรียนนาน้อย

www.nanoi.ac.th โรงเรียนนาน้อยตั้งขึ้นเมื่อปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนนาน้อย

โรงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค์

รงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค์ (อังกฤษ: Nachuak Pittayasan School) อักษรย่อ น..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค์

โรงเรียนนครขอนแก่น

รงเรียนนครขอนแก่น (Nakorn Khon Kaen School) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ แบบสหศึกษาอยู่ในความดูแลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๕ กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนนครขอนแก่น

โรงเรียนนครนายกวิทยาคม

รงเรียนนครนายกวิทยาคม ตั้งอยู่ที่ อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก เป็นโรงเรียนชั้นมัธยมศึกษา สังกัดเขตพื้นที่การศึกษานครนายก สำนักคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนที่มีกำเนิดจากการรวมโรงเรียนสองโรงเรียนเข้าด้วยกัน เมื่อ 5 สิงหาคม พุทธศักราช 2514 คือ โรงเรียนนาครส่ำสงเคราะห์(โรงเรียนชาย) และโรงเรียนศรีนครนายก(โรงเรียนหญิง) และเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนนครนายกวิทยาคม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนนครนายกวิทยาคม

โรงเรียนนนทรีวิทยา

รงเรียนนนทรีวิทยา (Nonsiwitthaya School) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ เป็นโรงเรียนประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนนนทรีวิทยา

โรงเรียนน่านนคร

น่านนคร น่านนคร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนน่านนคร

โรงเรียนน้ำพองศึกษา

รงเรียนน้ำพองศึกษา เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประเภทสหศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น ก่อตั้งเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนน้ำพองศึกษา

โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย

รงเรียนแก่นนครวิทยาลัย (Kaennakhon Wittayalai School.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในจังหวัดขอนแก่น เริ่มก่อตั้งเมื่อปีพ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย

โรงเรียนแม่สายประสิทธิ์ศาสตร์

รงเรียนแม่สายประสิทธิ์ศาสตร์ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ของรัฐประจำอำเภอแม่สาย ตั้งอยู่ที่ตำบลเวียงพางคำ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ถือว่าเป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาของรัฐที่อยู่เหนือที่สุดของประเทศไทย ปัจจุบันจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษารูปแบบสหศึกษา เป็นสถานมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ และเป็นส่วนราชการในบังคับของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีสถานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนแม่สายประสิทธิ์ศาสตร์

โรงเรียนแม่จริม

ม่แจริม ม่แจริม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนแม่จริม

โรงเรียนแม่จันวิทยาคม

รงเรียนแม่จันวิทยาคม อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย จัดตั้งขึ้น ในปีการศึกษา 2502 โดยการอนุมัติของกระทรวงศึกษาธิการ ตามหนังสือของกระทรวงศึกษาธิการที่ 450/2502 ลงวันที่ 19 มีนาคม 2502 ได้จัดสอนหลักสูตรมัธยมศึกษาวิสามัญศึกษาตอนปลาย ในปีแรกได้เปิดสอนชั้นมัธยมปีที่ 4(ม.4:เทียบเท่าชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของหลักสูตรปัจจุบัน)จำนวน 1 ห้องเรียน โดยรับนักเรียนสหศึกษาจำนวน 40 คน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนแม่จันวิทยาคม

โรงเรียนแม่ทาวิทยาคม

รงเรียนแม่ทาวิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมแห่งแรกของ อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2517 โรงเรียนแม่ทาวิทยาคมจึงถือเอาวันที่ 22 เมษายน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนแม่ทาวิทยาคม

โรงเรียนแจ้ห่มวิทยา

รงเรียนแจ้ห่มวิทยา (100px) เป็น โรงเรียนรัฐบาล ของ จังหวัดลำปาง ตั้งขึ้นเมื่อปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนแจ้ห่มวิทยา

โรงเรียนโชคเพชรพิทยา

ในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนโชคเพชรพิทยา

โรงเรียนโชตินันต์

รงเรียนโชตินันต์ ตั้งอยู่เลขที่ 46/3 หมู่ 2 ถนนแสงชูโต ตำบลท่าล้อ อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี มีเนื้อที่ประมาณ 4 ไร่เศษ ด้านหน้าติดถนนแสงชูโต ด้านหลังติดคลองชลประทาน และอยู่ในเขตชุมชนที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม การปลูกผัก การเลี้ยงสัตว์ และแหล่งสร้างสรรค์งานภูมิปัญญาท้องถิ่น โรงเรียนโชตินันต์ เป็นโรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน (สช) กระทรวงศึกษาธิการ เปิดดำเนินการตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนโชตินันต์

โรงเรียนโพธิสารพิทยากร

รงเรียนโพธิสารพิทยากร (Potisarnpittayakorn School) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย พระครูโพธิสารคุณ เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ ปัจจุบันตั้งอยู่ที่อยู่ ถนนพุทธมณฑลสาย 1 แขวงบางระมาด เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร 10170.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนโพธิสารพิทยากร

โรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม

รงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 51 หมู่ที่ 4 ซอยสุขาประชาสรรค์ 2 ซอย 35 (ทางเข้าวัดโพธิ์บ้านอ้อย) ถนนสุขาประชาสรรค์ 2 ตำบลบางพูด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 ประกาศจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 มกราคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม

โรงเรียนโกสุมวิทยาสรรค์

รงเรียนโกสุมวิทยาสรรค์ เป็นโรงเรียนประจำ อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม ระดับมัธยมศึกษารูปแบบสหศึกษา ปัจจุบันจัดอยู่ในประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนโกสุมวิทยาสรรค์

โรงเรียนโยธินบำรุง

รงเรียนโยธินบำรุง ที่ตั้ง 283 ถนนราชดำเนิน (ค่ายวชิราวุธ) เขตเทศบาลเมืองปากพูน ตำบลปากพูน อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช รหัสไปรษณีย์ 80000 มีเนื้อที่ 27 ไร่ 2 งาน 8 ตารางว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนโยธินบำรุง

โรงเรียนโยธินบูรณะ

อาคารโรงเรียนโยธินบูรณะแห่งใหม่ ซึ่งสร้างเป็นอาคารรูปทรงกรวย สูง 12 ชั้น ซึ่งทางโรงเรียนได้ย้ายการเรียนการสอนเมื่อวันจันทร์ที่ 16 พฤษภาคม 2559 อาคารสิรินธร โรงเรียนโยธินบูรณะเดิม ก่อนย้ายการเรียนการสอนไปยังโรงเรียนแห่งใหม่ โรงเรียนโยธินบูรณะ เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 1313 ถนนประชาราษฎร์ สาย 1 แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800 ก่อตั้งเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนโยธินบูรณะ

โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา

รงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนสุขเกษม ตำบล ป่าตัน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ได้รับอนุญาตให้ ดำเนินการจากกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแต่วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา

โรงเรียนโนนสูงศรีธานี

รงเรียนโนนสูงศรีธานี อักษรย่อ น..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนโนนสูงศรีธานี

โรงเรียนไชยปราการ

รงเรียนไชยปราการ (Chaiprakarn School; ชื่อย่อ: ช.ป. - CPK) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลางนอกเขตตัวเมืองเชียงใหม่ เป็นโรงเรียนประจำอำเภอไชยปราการ เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 และได้รับเลือกเป็นโรงเรียนส่งเสริมศักยภาพเด็กเป็นรายบุคคลเพื่อความเป็นผู้นำในศตวรรษที่ 21.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนไชยปราการ

โรงเรียนไร่ขิงวิทยา

รงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา (อังกฤษ: Watraikhing Wittaya School) (อักษรย่อ: ว.ข., W.R.K.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำตำบลขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดยพระครูมงคลวิลาส (เฉย กิตติธโร) อดีตเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง มีเนื้อที่ 37 ไร่ 2 ประกอบด้วยอาคารเรียน 5 หลัง ตั้งอยู่ที่ 53 หมู่ 2 ถนนไร่ขิง-ทรงคนอง ตำบลไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 284x284px.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนไร่ขิงวิทยา

โรงเรียนไทยวิจิตรศิลป

วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยวิจิตรศิลป์ ก่อตั้งโดย ร.ท. โภคัย ว่องกสิกร (ยศในขณะนั้น) ปัจจุบันเป็นสถาบันเอกชนที่เปิดสอนในระดับอาชีวศึกษาในหลักสูตร ปว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนไทยวิจิตรศิลป

โรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย

รงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย (Trimitwitthayalai School,岱密中学)เป็นโรงเรียนชายล้วน ที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในระดับมัธยมศึกษา ในย่านเยาวราชที่มีประวัติความเป็นมายาวนานแห่งหนึ่งในประเทศไทย เดิมชื่อโรงเรียนมัธยมวัดสามจีนใต้ เป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดกองการมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 661 ถนนเจริญกรุง เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย

โรงเรียนไตรเขตประชาสามัคคี รัชมังคลาภิเษก

รงเรียนไตรเขตประชาสามัคคี รัชมังคลาภิเษก เดิมเป็นหน่วยห้องเรียนเคลื่อนที่ของโรงเรียนเชียงกลาง (ประชาพัฒนา) เปิดทำการการสอนเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนไตรเขตประชาสามัคคี รัชมังคลาภิเษก

โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์

รงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 222 ถนนชุมพล ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ฉะเชิงเทรา เป็นโรงเรียนมัธยมสหศึกษา ซึ่งได้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์

โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์

รงเรียนเบญจมราชานุสรณ์ (Benjamarachanusorn School) อักษรย่อว่า ".." เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบสหศึกษาขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดยความสำนึกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์

โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี

รงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี (Benjamarachutit Ratchaburi School) (อักษรย่อ: บ.ช., B.J.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประจำจังหวัดราชบุรี ปัจจุบันมีอายุ 131 ปี (6 มกราคม 2562 ครบ 132 ปี)สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ที่ผ่านมาโรงเรียนเปิดรับสหศึกษาเฉพาะนักเรียน มัธยมศึกษาตอนปลาย ในปีการศึกษา 2544 เริ่มเปิดรับสหศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นเป็นปีแรก.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี

โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดปัตตานี

รงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดปัตตานี (Benjamarachutit Pattani School) (อักษรย่อ: บ.ม., B.M.) ปัจจุบันเป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา อยู่ในความดูแลของสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อปี พุทธศักราช 2455 ซึ่งโรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดปัตตานีนี้มีประวัติความเป็นมาอันยาวนานมากกว่า 100 ปี และได้สร้างบุคลากรอันมีชื่อเสียงให้แก่ประเทศชาติไว้เป็นจำนวนมาก โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดปัตตานี ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนสะบารัง ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดปัตตานี

โรงเรียนเบญจมราชูทิศ นครศรีธรรมราช

รูปหล่อพระรัตนธัชมุนี (ม่วง รตนทฺธโช) ภายใน "ศาลาอนุสรณ์ ๑๐๐ ปี เบญจมฯ" ผู้ริเริ่มก่อตั้งโรงเรียน พระบรมราชนุสาวรีย์รัชกาลที่ ๕ บรรยากาศภายในโรงเรียนเบญจมราชูทิศ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ (Benjamarachutit School) เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดจังหวัดนครศรีธรรมราช ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสหวิทยาเขตเบญจมราชูทิศ สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเบญจมราชูทิศ นครศรีธรรมราช

โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรี

รงเรียนเบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรี เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประจำจังหวัดเพชรบุรี รับนักเรียนแบบสหศึกษา เปิดทำการเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ชื่อเดิม โรงเรียนสตรีเพชรบุรีเบ็ญจมเทพอุท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรี

โรงเรียนเชียงกลาง (ประชาพัฒนา)

รงเรียนเชียงกลาง (ประชาพัฒนา) เดิมชื่อโรงเรียนประชาพัฒนา สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อปีการศึกษา 2503 มีเนื้อที่ประมาณ 79 ไร่ เปิดทำการสอนครั้งแรกในระดับประถมศึกษาตอนปลายปีที่ 5-7 โดยมีนายสุนทร มณีศรี เป็นครูใหญ่คนแรก ต่อมาในปีการศึกษา 2515 โรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดน่านได้ขยายการศึกษาในระดับประถมศึกษาเพิ่มมากขึ้น ทำให้จำนวนนักเรียนของโรงเรียนลดลงเหลือเพียงชั้นละ 1 ห้องและมีแนวโน้มที่จะลดลงจนไม่สามารถที่จะดำรงสถานะเป็นโรงเรียนประถมศึกษาตอนปลายได้อีกต่อไป ครูใหญ่ในขณะนั้นคือ นายกฤษณ์ สุวรรณประดิษฐ์ จึงได้นำเรื่องเข้าปรึกษากับอำเภอเชียงกลางและจังหวัดน่านเพื่อขออนุมัติให้กรมสามัญศึกษาเปิดสอนเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำอำเภอ โดยในครั้งแรกได้รับอนุมัติให้เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษา โดยเป็นสาขาของโรงเรียนปัว จำนวน 2 ห้องเรียน จนกระทั่งในวันที่ 21 มีนาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเชียงกลาง (ประชาพัฒนา)

โรงเรียนเชียงดาววิทยาคม

รงเรียนเชียงดาววิทยาคม ถือเป็นโรงเรียนแรกใน อ.เชียงดาว ที่ทำการเปิดสอนในระดับชั้น ม.1-ม.6 เดิมใช้อาคารเรียนของโรงเรียนบ้านเชียงดาว เป็นที่ทำการสอน ในช่วงแรกนั้น โรงเรียนได้เปิด เฉพาะชั้น ม.1-ม.3 เท่านั้น ต่อมาทางโรงเรียนจึงได้ขอสงวนที่ไว้ 165 ไร่เพื่อสร้างอาคารไม้ 2 ชั้น 4 ห้องเรียน บ้านพักครู 1 หลังต่อมาในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเชียงดาววิทยาคม

โรงเรียนเชียงคำวิทยาคม

รงเรียนเชียงคำวิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 จังหวั.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเชียงคำวิทยาคม

โรงเรียนเชียงใหม่คริสเตียน

รงเรียนเชียงใหม่คริสเตียน เป็นโรงเรียนเอกชนในสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสจักรในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเชียงใหม่คริสเตียน

โรงเรียนเพชรพิทยาคม

รงเรียนเพชรพิทยาคม (อักษรย่อ: พ.ช., PKS) เป็นโรงเรียนรัฐบาล เมื่อแรกก่อตั้งเป็นโรงเรียนประจำมณฑลเพชรบูรณ์ และเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดเพชรบูรณ์โดยเป็นโรงเรียนชายล้วนแต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็นโรงเรียนสหศึกษา จึงเป็นที่รู้จักของชาวเพชรบูรณ์และถูกเรียกอย่างแพร่หลายว่าเป็น "โรงเรียนชาย" และเป็นโรงเรียนรัฐบาลและสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาแห่งแรกของจังหวัดเพชรบูรณ์ ก่อตั้งในปี พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเพชรพิทยาคม

โรงเรียนเกษมพิทยา

รงเรียนเกษมพิทยา (อังกฤษ: Kasem Phithaya School) (อักษรย่อ: กพ,KPS) สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย นายเกษม สุวรรณดี เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2504 พร้อมทั้งดำเนินการก่อสร้างอาคารเรียนหลังแรก จำนวน 5 ห้องแรกและเปิดทำการสอนเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม ในปีเดียวกัน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเกษมพิทยา

โรงเรียนเกาะยาววิทยา

รงเรียนเกาะยาววิทยา (อักษรย่อ: ก.ว.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่เล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพังงา กระทรวงศึกษาธิการ ประกอบด้วยอาคารเรียน 2 หลัง อาคารฝึกงาน 1 อาคาร มีห้องเรียนทั้งหมด 14 ห้องเรียน มีนักเรียนประมาณ 400 คน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเกาะยาววิทยา

โรงเรียนเมืองพังงา

รงเรียนเมืองพังงา ตั้งอยู่ที่ตำบลนบปริง อำเภอเมือง จังหวัดพังงา สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเมืองพังงา

โรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี

รงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี เมื่อก่อตั้งโรงเรียนครั้งแรกเมื่อวันที่ 17 กุมภาพัน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี

โรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราช

รงเรียนเมืองนครศรีธรรมราช (ม.น.ศ.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหวิทยาสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการเลขที่ 128 หมู่ 1 ต.นาทราย อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช รหัสไปรษณีย์ 80280.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราช

โรงเรียนเมธีวุฒิกร

รงเรียนเมธีวุฒิกร "วัดพระธาตุหริภุญชัย" เป็นโรงเรียนเอกชน มุ่งเน้นการเรียนการสอนด้านสามัญศึกษาควบคู่ปริยัติศึกษา เปิดสอนในระดับช่วงชั้นที่ 3 และช่วงชั้นที่ 4 รับนักเรียนชาย-หญิง (คฤหัสถ์) และ พระภิกษุ สามเณร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเมธีวุฒิกร

โรงเรียนเมตตาวิทยา

รงเรียนเมตตาวิทยา จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นโรงเรียนเอกชน ประเภทสามัญศึกษาขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ในพื้นที่ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์เขต ๒ เปิดสอนตั้งแต่ระดับเตรียมปฐมวัย ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา (อ.1-ม.6) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2545 โดยมีอาจารย์เรือน ชนะวาที เป็นผู้จัดการ และอาจารย์จิตรา ชนะวาที เป็นผู้รับใบอนุญาตและผู้อำนวยการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเมตตาวิทยา

โรงเรียนเลยพิทยาคม

รงเรียนเลยพิทยาคม (Loei Pittayakom School, (อักษรย่อ: ล.พ.ค, L.P.K) หรือเรียกอย่างย่อว่า เลยพิทย์ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประจำจังหวัดเลย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ณ ถนนเลย-ด่านซ้าย บ้านนาหนอง ตำบลกุดป่อง อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย 42000 สถาปนาเมื่อ พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเลยพิทยาคม

โรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ

ัณฑ์โรงเรียนเศรษฐบุตร โรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ เป็นโรงเรียนในสังกัดมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการสร้างโดยพระยาภักดีนรเศรษฐ (เลิศ เศรษฐบุตร) เคยเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดมีนบุรี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ

โรงเรียนเอ็นคอนเส็ปท์ อี แอคเคเดมี่

รงเรียนเอ็นคอนเส็ปท์ อี แอคเคเดมี่ เป็นโรงเรียนเอกชน สอนภาษาอังกฤษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ อาคาร LearnBalance 2991/26 ซ.ลาดพร้าว 101/3.ลาดพร้าว แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 ก่อตั้งโดยนายธเนศ เอื้ออภิธร และนางสาวอริสรา ธนาปกิจ เมื่อเดือนมีนาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเอ็นคอนเส็ปท์ อี แอคเคเดมี่

โรงเรียนเผยอิง

รงเรียนเผยอิง (จีน: 培英学校; อังกฤษ: Pei-ing School) เป็นโรงเรียนเอกชนสอนภาษาจีน ที่ดำเนินงานโดย สมาคมแต้จิ๋วแห่งประเทศไทย มีปรัชญาว่า "รักชาติ เพียรศึกษา ซื่อสัตย์ มีคุณธรรม", คติพจน์คือ "ความเพียรพยายาม นำไปสู่ความสำเร็จ" และคำขวัญว่า "เรียนดี กีฬาเด่น เน้นคุณธรรม" จากเว็บไซต์โรงเรียนฯ ปัจจุบัน (พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเผยอิง

โรงเรียนเทพลีลา

รงเรียนเทพลีลา (อักษรย่อ: ท.ล, T.L.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประเภทสหศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อ 17 พฤษภาคม 2505 โดยดำริของหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ 281 ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเทพลีลา

โรงเรียนเทพศิรินทร์

รงเรียนเทพศิรินทร์ (Debsirin School, ย่อ: ท.ศ., DS) เป็นโรงเรียนรัฐบาลชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ตั้งอยู่ เลขที่ 1466 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร โรงเรียนเทพศิรินทร์ อยู่ภายใต้สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนประจำ วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร ก่อตั้งขึ้นใน 15 มีนาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเทพศิรินทร์

โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี

รงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี (Debsirin Nonthaburi School) เป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 86 หมู่ที่ 2 ถนนบางคูเวียง (แยกถนนกาญจนาภิเษก) ตำบลบางคูเวียง อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี 11130 โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรีเป็นโรงเรียนสหศึกษา เปิดสอนตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 มีการเรียนการสอนในระบบปกติ, Gifted และ Mini English Program ปัจจุบันเป็นหนึ่งในเครือข่ายโรงเรียนเทพศิรินทร์ 10 แห่ง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี

โรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า

อาคาร นวม (นะวะมะ) โรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า เป็นโรงเรียนสหศึกษาของรัฐบาล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 146 หมู่ที่ 3 ถนนร่มเกล้า แขวงคลองสามประเวศ เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า

โรงเรียนเทพารักษ์ราชวิทยาคม

รงเรียนเทพารักษ์ราชวิทยาคม อักษรย่อ ท.ร.ว. (MT) เป็นโรงเรียนในจังหวัดนครราชสีมา และเป็นโรงเรียนประจำอำเภอของอำเภอเทพารักษ์ จังหวัดนครราชสีม.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเทพารักษ์ราชวิทยาคม

โรงเรียนเทศบาล 4 (บ้านเชียงราย)

รงเรียนเทศบาล 4 (บ้านเชียงราย) เป็นโรงเรียนตั้งอยู่ที่จังหวัดลำปาง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเทศบาล 4 (บ้านเชียงราย)

โรงเรียนเขมราฐพิทยาคม

thumb โรงเรียนเขมราฐพิยาคม เป็นโรงเรียนประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขตที่ 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาสายสามัญ ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ ที่สำคัญของอำเภอเขมราฐ เป็นโรงเรียนแห่งเดียวที่เปิดสอนจนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และยังเป็นโรงเรียนในโครงการ หนึ่งอำเภอ หนึ่งโรงเรียนในฝัน ของ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเขมราฐพิทยาคม

โรงเรียนเคนเน็ตแม็คเคนซี

รงเรียนเคนเน็ตแม็คเคนซี เป็นโรงเรียนในเครือมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดลำปาง ก่อตั้งโดยมิชชันนารีคณะเพรสไบทีเรียนอเมริกัน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเคนเน็ตแม็คเคนซี

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Triam Udom Suksa School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคใต้ เป็นโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาประจำภาคแห่งแรกของประเทศไทย จัดการเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย  (ม.4-ม.6) จัดตั้งขึ้นเพื่อเตรียมนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในภาคใต้เข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาโดยเฉพาะ ทั้งนี้ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคใต้ มีแนวคิดสำคัญ คือ จัดตั้งโรงเรียนให้มีความพร้อมในทุกด้าน เพื่อสนองนักเรียนใน 14 จังหวัดภาคใต้ ให้มีโอกาสเท่าเทียมกับนักเรียนในกรุงเทพมหานคร ตลอดจนส่งเสริมให้นักเรียนมีความเป็นเลิศทางสติปัญญา และเน้นการเรียนการสอนทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ เป็นโรงเรียนลักษณะพิเศษนำร่อง จัดกระบวนการเรียนการสอนลักษณะเดียวกับโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคใต้ เดิมชื่อโรงเรียนศรีวิชัย (เตรียมอุดมศึกษานครศรีธรรมราช) ประกาศจัดตั้งเมื่อ วันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ หรือชื่อเดิม โรงเรียนพิษณุโลกศึกษา เปิดทำการเรียนการสอนเฉพาะในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ทำการสอนในรูปแบบสหศึกษา ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก และยังเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดพิษณุโลก ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 289 หมู่ 5 ถนนเอกาทศรถ ตำบลหัวรอ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก บนพื้นที่ราชพัสดุของกระทรวงกลาโหม มีเนื้อที่ 200 ไร่ โดยมีอาณาเขตติดต่อกับ โรงเรียนอนุบาลพิษณุโลก ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดพิษณุโลก สำนักวิทยาศาสตร์การแพทย์พิษณุโลก ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดพิษณุโลก นอกจากนี้ภายในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ยังเป็นที่ตั้งของโรงเรียนกีฬาจังหวัดพิษณุโลก สนามกีฬาจังหวัดพิษณุโลก สถานีตำรวจภูธรเมืองพิษณุโลก และกองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดพิษณุโลก.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ เป็นโรงเรียนสหศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร เขต 2 โรงเรียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 (กรุงเทพมหานคร) ตั้งอยู่ที่เลขที่ 170 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ถึง ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แบบสหศึกษา เป็นหนึ่งใน 282 โรงเรียนมัธยมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดให้เป็นโรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง และเป็นหนึ่งใน 41 โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี เดิมคือ โรงเรียนศรีปทุมพิทยาคาร เป็น โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ และเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำจังหวัด แห่งที่ ๓ ของจังหวัดอุบลราชธานี ตั้งอยู่ หมู่ที่ 11 บ้านหนองปลาปาก ถ.คลังอาวุธ ต.ขามใหญ่ อ.เมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และ มัธยมศึกษาตอนปลาย แบบสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา เขต 29 (อุบลราชธานี - อำนาจเจริญ) ได้เข้าร่วมเป็นโรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2558 และได้รับการอนุมัติให้เปลี่ยนชื่อจาก โรงเรียนศรีปทุมพิทยาคาร เป็น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี จัดเป็นโรงเรียนในเครือ "อัษฎเตรียมพัฒน์" ในลำดับที่ ๑๕.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 (ปทุมธานี- สระบุรี) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 80/4 หมู่ 5 ถนนพหลโยธิน-ลำลูกกา ตำบลลำลูกกา อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี เป็นหนึ่งในโรงเรียนต้นแบบ 1 อำเภอ 1 โรงเรียนในฝัน และเป็นหนึ่งในโรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง ในเขตพื้นที่จังหวัดปทุมธานี เป็นโรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการและโรงเรียนประจำอำเภอลำลูกกา ปัจจุบัน (พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ นนทบุรี

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ นนทบุรี เป็นโรงเรียนในจังหวัดนนทบุรี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ นนทบุรี

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ เขลางค์นคร

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการเขลางค์นคร เดิมชื่อ โรงเรียนเขลางค์นคร ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 249 หมู่ 12 ตำบลบ่อแฮ้ว อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง เป็นมัธยมศึกษาขนาดกลาง แบบสหศึกษา เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น-มัธยมศึกษาตอนปลาย ถือกำเนิดจากความต้องการการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาสายสามัญในเขตเมืองลำปาง โรงเรียนเขลางค์นคร ได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนชื่อจากโรงเรียนเขลางค์นคร เป็น “โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการเขลางค์นคร” และได้รับพระบรมราชานุญาตให้ใช้ “พระเกี้ยว” เป็นตราสัญลักษณ์ของโรงเรียน เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ เขลางค์นคร

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 22/24 ถนนรามคำแหง แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร ซึ่งคุณย่าฉวี ทัศนปรีดา มีความรู้สึกซาบซึ้งและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงแผ่เมตตาบารมีคุ้มเกล้าฯ พสกนิกร ชาวไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งทรงสนพระราชหฤทัยเป็นพิเศษ ในด้านการศึกษาของเยาวชน คุณย่าฉวี ทัศนปรีดาจึงได้เข้าเฝ้าสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายที่ดินถมแล้วจำนวน 10 ไร่ 3 งาน 28 ตารางวา (ปัจจุบันมีเนื้อที่ 15 ไร่ 93 ตารางวา) เมื่อวันพุธที่ 10 สิงหาคม 2526 เพื่อพระราชทานแก่กระทรวงศึกษาธิการ และได้ประกาศจัดตั้งโรงเรียนเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2526 โดยใช้ชื่อว่า "'โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า" ตามความประสงค์ของคุณย่าฉวี ทัศนปรีดา ทั้งนี้ คุณหญิงสุชาดา ถิระวัฒน์ ดำรงตำแหน่งผู้ตรวจการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้นเป็นผู้ประสานงานในการจัดตั้ง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า อุตรดิตถ์

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า อุตรดิตถ์ (เดิมชื่อ โรงเรียนอุตรดิตถ์วิทยา) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ประเภทสหวิทยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 ตั้งอยู่ที่ ตำบลผาจุก อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ บนพื้นที่ราชพัสดุ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้าอุตรดิตถ์ เป็นโรงเรียนในเครือข่ายเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า แห่งที่ 7 เดิมโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้าอุตรดิตถ์ มีชื่อว่า โรงเรียนอุตรดิตถ์วิทยา (ก่อตั้ง พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า อุตรดิตถ์

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า นครราชสีมา

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า นครราชสีมา แต่เดิมชื่อโรงเรียนนครราชสีมาวิทยาลัยก่อตั้งเมื่อปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า นครราชสีมา

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี

รงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในโครงการโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ 12 โรง ในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในการเสด็จสวรรคตปี2538 และประกาศจัดตั้งเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต

รงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต (Srinagarindra the Princess Mother School, Phuket) เดิมมีชื่อคือโรงเรียนภูเก็ตพิทยาคม เป็นโรงเรียนที่เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาประกาศจัดตั้งเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ต่อมาในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ต

โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี

รงเรียนเฉลิมขวัญสตรี เดิมมีชื่อว่า โรงเรียนสตรีประจำมณฑลพิษณุโลก เปิดทำการเรียนการสอนครั้งแรกในปี พ.ศ. 2466 ในอดีตเปิดทำการเรียนการสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาลไปจนถึงชั้นฝึกหัดครู ในปัจจุบันเปิดทำการเรียนการสอนเฉพาะชั้นมัธยมต้น-ปลาย ปัจจุบันโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี เป็นโรงเรียนประเภท มัธยมศึกษาตอนต้น-ตอนปลาย แบ่งการเปิดการสอนเป็น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเปิดสอนเฉพาะนักเรียนหญิง ส่วนมัธยมศึกษาตอนปลายเปิดสอนแบบ "สหศึกษา".

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี

โรงเรียนเซนต์ดอมินิก

รงเรียนเซนต์ดอมินิก ตั้งอยู่บนเลขที่ 1526 ถนนเพชรบุรี แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนเอกชนโรมันคาทอลิกชายล้วน ประเภทสามัญศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ และเป็นโรงเรียนลำดับที่ 7 ในสังกัดคณะซาเลเซียนของคุณพ่อบอสโกแห่งประเทศไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเซนต์ดอมินิก

โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์

รงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์ ตั้งอยู่บนถนนคอนแวนต์ แขวงสีลม เขตบางรัก เป็นโรงเรียนสตรีและคอนแวนต์ของคณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร จากประเทศฝรั่งเศส ที่เข้ามาเผยแพร่ธรรมและช่วยส่งเสริมงานพัฒนาสังคมไทยด้านการศึกษา การรักษาพยาบาลและการช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ผู้ยากไร้.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์

โผน กิ่งเพชร

ผน กิ่งเพชร (12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2478 — 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2525) แชมป์โลกชาวไทยคนแรกในประวัติศาสตร์ โผนเป็นนักมวยรูปร่างผอมบาง มีช่วงขาที่ยาว ถนัดขวา และเป็นแชมป์โลกชาวไทยคนแรกที่ได้ครองแชมป์โลกถึง 3 สมัย แต่ด้วยปัญหาส่วนตัว ทำให้โผนติดสุราจนการชกตกต่ำลง จนเสียแชมป์ไปและไม่มีโอกาสชิงแชมป์คืนได้อีก โผนถือเป็นตำนานของวงการมวยสากลคนหนึ่งของไทย วันที่โผนชิงแชมป์โลกได้ถูกกำหนดให้เป็นวันนักกีฬาไทย และมีการสร้างอนุสรณ์สถานของโผนที่หัวหินหลังจากที่โผนเสียชีวิตไปแล้ว 10 ปี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโผน กิ่งเพชร

โครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) เป็นโครงการของรัฐบาลไทยโดยความร่วมมือของกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เริ่มต้นขึ้นในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โคลงโลกนิติ

ลงโลกนิติ เป็นวรรณกรรมประเภทคำสอน ในลักษณะของโคลงสุภาษิต คำว่า โลกนิติ (อ่านว่า โลก-กะ-นิด) แปลว่า ระเบียบแบบแผนแห่งโลก เนื้อหาในโคลงโลกนิติจึงมุ่งแสดงความจริงของโลกและสัจธรรมของชีวิต เพื่อให้ผู้อ่านได้รู้เท่าทันต่อโลก และเข้าใจในความเป็นไปของชีวิต พร้อมเป็นแม่แบบเพื่อให้ผู้อ่านได้ดำเนินชีวิตไปในทางที่ถูกต้องดีงามสืบไป โคลงโลกนิติมีความไพเราะเหมาะสมทั้งด้านรูปแบบและเนื้อหาปรัชญาสาระ ครบคุณค่าทางวรรณกรรม ทำให้เป็นที่แพร่หลายในหมู่คนทั่วไป บางท่านกล่าวยกย่องโคลงโลกนิติว่าเป็น อมตะวรรณกรรมคำสอน หรือ ยอดสุภาษิตอมตะ, ได้รับคัดเลือกจากกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นบทอ่านในหนังสือแบบเรียนสำหรับนักเรียนนักศึกษาอยู่ทุกยุคสมัย และได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งในหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และโคลงโลกนิติ

ไสว สุทธิพิทักษ์

ร.ไสว สุทธิพิทักษ์ ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์ (10 มีนาคม พ.ศ. 2460 - 22 กันยายน พ.ศ. 2537) ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ อธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ อดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ และอดีตกรรมการสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งยังเคยเป็นผู้แทนฝ่ายไทยในการประสานงานกับกองบัญชาการกองทัพพันธมิตร ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และไสว สุทธิพิทักษ์

เชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริ

ร้อยตำรวจโทเชาวรินธร์ ลัทธศักย์ศิริ อดีตที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (พลตำรวจเอก โกวิท วัฒนะ) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบสัดส่วน พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดราชบุรี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริ

เพลงลูกทุ่ง

ลงลูกทุ่ง คือเพลงที่สะท้อนวิถีชีวิต สภาพสังคมอุดมคติและวัฒนธรรมไทย โดยมีท่วงทำนอง คำร้อง สำเนียง และลีลาการร้องการบรรเลงที่เป็นแบบแผน มีลักษณะเฉพาะซึ่งให้บรรยากาศ ความเป็นลูกทุ่ง ขุนวิจิตรมาตราบันทึกไว้ในหนังสือเรื่องของละครและเพลง ว่าเพลงลูกทุ่งเป็นวงดนตรีแบบสากลที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณปีหรือสองปี ลักษณะเพลงลูกทุ่งในระยะเริ่มแรก มาจากการร้องรำทำเพลงของไทยดั้งเดิม อาทิ แหล่เทศน์ สวดคฤหัสถ์ จำอวด ลิเก (ทรงเครื่อง) ลิเกลูกบท (ไม่แต่งเครื่อง) ลิเกบันตน ลำตัด เพลงขอทาน เพลงพื้นเมืองบางเพลง ฯลฯ โดยเพลงลูกทุ่งนำมาดัดแปลงแล้วใส่ดนตรีแบบสากล เป็นลักษณะเพลงแบบใหม่ ส่วนคำว่า "เพลงลูกทุ่ง" อาจารย์จำนง รังสิกุล คิดประดิษฐ์ขึ้นใช้เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเพลงลูกทุ่ง

เกริกวิทยาลัย

กริกวิทยาลัย (Krirk Institution) เป็นวิทยาลัยในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเกริกวิทยาลัย

เกษม วัฒนชัย

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ เกษม วัฒนชัย องคมนตรี,ประธานคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช, นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล นายกสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ในอดีตได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร สมรสกับคุณหญิง รัชนีวรรณ วัฒนชั.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเกษม วัฒนชัย

เภสัชกรรมไทย

ัชกรรมไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเภสัชกรรมไทย

เหตุการณ์ นปช. ปะทะกับกลุ่มพันธมิตรฯ 2 กันยายน พ.ศ. 2551

หตุการณ์ นปก.ปะทะกับกลุ่มพันธมิตรฯ 2 กันยายน..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเหตุการณ์ นปช. ปะทะกับกลุ่มพันธมิตรฯ 2 กันยายน พ.ศ. 2551

เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี

อาจารย์เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี (เกิดเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2495 ที่กรุงเทพมหานคร) เป็นอาจารย์สอนสถาปัตยกรรมไทย ที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์เผ่า เป็นศิษย์รุ่นแรกของศิลปินแห่งชาติ รศ.ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี ต่อมาในปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี

เจ้าพระยา (หนังสือพิมพ์)

้าพระยา เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย ที่ดำเนินการโดย องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย สำนักนายกรัฐมนตรี ในสมัยรัฐบาลซึ่งนำโดยนายกรัฐมนตรีธานินทร์ กรัยวิเชียร โดยดำริของดุสิต ศิริวรรณ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเจ้าพระยา (หนังสือพิมพ์)

เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล)

ลาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี ภายในโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2468 เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดีจัดทำหลักสูตรการสอน ตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี นามเดิม หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล (16 เมษายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล)

เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)

Vanity Fair" เมื่อ ค.ศ. 1879 (พ.ศ. 2422) เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) (พ.ศ. 2392 - พ.ศ. 2463) อดีตอธิบดีกรมพระคลังสวน อธิบดีจัดการกรมภาษีร้อยชักสาม (ปัจจุบันคือ กรมศุลกากร) เสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ และเสนาบดีกระทรวงธรรมการคนแรก (ปัจจุบันคือ กระทรวงศึกษาธิการ).

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)

เจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์; 20/21 สิงหาคม พ.ศ. 2386 - 19 เมษายน พ.ศ. 2456) อดีตปลัดทูลฉลอง และเสนาบดีกระทรวงธรรมการ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์)

เขตดุสิต

ตดุสิต เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้า แหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เขตทหาร แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ที่ตั้งรัฐสภา กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวัง จึงทำให้เขตนี้มีลักษณะราวกับว่าเป็นเขตการปกครองส่วนกลางของประเทศไทย อนึ่ง ที่ทำการสำนักงานส่วนภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศไทย ขององค์การสหประชาชาติ และขององค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ ก็อยู่ในพื้นที่เขตนี้.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเขตดุสิต

เดือน บุนนาค

ตราจารย์ เดือน บุนนาค ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ผู้ร่วมก่อตั้ง เลขาธิการ และรักษาการผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวหน้าพรรคสหชีพ มีผลงานที่สำคัญระหว่างปี..

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเดือน บุนนาค

เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย

รือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ในชื่อภาษาอังกฤษว่า สคูลเน็ตไทยแลนด์ (SchoolNet Thailand) คือโครงการส่งเสริมการเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ตของโรงเรียนทั่วประเทศไทย ก่อตั้งโดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยยกระดับการศึกษาและคุณภาพการศึกษาของเยาวชนไทย พร้อมกับลดช่องว่างและความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาระหว่างเด็กนักเรียนในเมืองและชนบท เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์แห่งแรกในกลุ่มประเทศอาเซียน ที่เปิดโอกาสให้โรงเรียนทั่วประเทศสามารถเข้าถึงเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน และได้รับการยกย่องว่าเป็นโครงการตัวอย่าง (Best Practice) ที่นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาเป็นเครื่องมือในการลดช่องว่างและความเหลื่อมล้ำของโอกาสในการศึกษาหาความรู้ (digital divide) ในรายงาน Human Development Report 2001 ขององค์การสหประชาชาติ และในรายงาน APEC New Economy Report 2001 นอกจากนี้ UNESCO ยังได้ผลักดันให้เกิดเป็นความร่วมมือในประเทศสมาชิกอาเซียนจัดทำโครงการ ASEAN SchoolNet เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดทำ และพัฒนา SchoolNet ของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย

เครือข่ายโทรทัศน์ดาวเทียมเอ็มคอท

นีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมเอ็มคอท (MCOT Television Satellite Station) เป็นสถานีเครือข่ายโทรทัศน์ผ่านระบบดาวเทียม ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเครือข่ายโทรทัศน์ดาวเทียมเอ็มคอท

เคียวอิกุกันจิ

ียวอิกุกันจิ เป็นอักษรคันจิซึ่งกระทรวงศึกษาธิการของญี่ปุ่น กำหนดไว้ว่าเป็นอักษรคันจิที่จำเป็นต้องเรียนในชั้นประถมศึกษา มีทั้งหมด 1,006 ตัว.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเคียวอิกุกันจิ

เงาะ

งาะ (Rambutan; Linn.) เป็นไม้ผลเมืองร้อน มีถิ่น กำเนิดในประเทศอินโดนีเซีย และมาเลเซีย โดยทั่วไปเงาะ เป็นไม้ผลที่เจริญเติบโตได้ดี ในบริเวณที่มีความชื้นค่อนข้างสูง เงาะในประเทศไทย จึงนิยมปลูกในบริเวณภาค ตะวันออกและภาคใต้ อาทิ พันธุ์สีทอง พันธุ์น้ำตาลกรวด พันธุ์สีชมพู พันธุ์โรงเรียน และพันธุ์เจ๊ะมง เป็นต้น แต่ พันธุ์เงาะที่นิยมปลูกเป็นการค้า มีแค่ 3 พันธุ์ คือ พันธุ์โรงเรียน พันธุ์สีทอง และพันธุ์สีชมพู ส่วนพันธุ์อื่นๆ จะมีปลูก กันบ้างประปรายและโดยมากมักใช้เพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือใช้ประโยชน์ เพื่อการศึกษาทางวิชาการ ในอดีตประ เทศที่ผลิตและส่งออกรายใหญ่ได้แก่ ไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย แต่ปัจจุบันพบว่าประเทศผู้ผลิตใหม่ เช่น ออสเตรเลีย และฮอนดูรัส ได้เข้ามามีส่วนแบ่งในตลาดเพิ่มมากขึ้น.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเงาะ

เงาะป่า (วรรณคดี)

งาะป่า เป็นวรรณคดีไทย ประเภท บทละครร้อยกรอง พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นในระหว่างการพักฟื้นหลังทรงพระประชวร โดยใช้เวลาเพียง 8 วันเท่านั้น.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเงาะป่า (วรรณคดี)

เฉลิมสวรรค์ ไพบูลย์พันธ์

ฉลิมสวรรค์ ไพบูลย์พันธ์ หรือ ฟิลิป เป็นนักมายากลชาวไทยที่มีชื่อเสียง ผู้ก่อตั้งโรงเรียนสอนวิทยากลฟิลิป และได้รับการยกย่องเป็นราชามายากลเมืองไท.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเฉลิมสวรรค์ ไพบูลย์พันธ์

เปรียญธรรม 3 ประโยค

ัดยศเปรียญธรรม 3 ประโยค เปรียญธรรม 3 ประโยค (ชื่อย่อ ป.ธ.3) เป็นระดับชั้นการศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย เรียกพระภิกษุผู้สอบไล่ได้ในชั้นนี้ว่า "พระมหา" และสามเณรว่า "สามเณรเปรียญ" กระทรวงศึกษาธิการเทียบวุฒิผู้สอบได้ในชั้นนี้ให้เทียบเท่ามัธยมศึกษาตอนต้น คณะสงฆ์ เคยมีการขอให้ปรับวุฒิผู้สอบไล่ได้ชั้นนี้ ให้เทียบเท่าระดับอุดมศึกษา แต่ไม่ได้รับการตอบรับจากผู้เกี่ยวข้อง แต่เปรียญธรรม 3 ประโยค ก็ยังเป็นที่นับถือกันโดยพฤตินัยในวงการคณะสงฆ์ไทยว่าผู้สอบได้ในชั้นนี้เป็น "ปริญญาตรี" ของฝ่ายคณะสงฆ์ หรือเปรียบได้กับคฤหัสถ์ผู้สอบไล่ได้ปริญญาบัณฑิตของฝ่ายฆราวาส โดยผู้สอบได้ในชั้นนี้จะได้รับพระมหากรุณาธิคุณ จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ โปรดฯ ทรงตั้งให้เป็นเปรียญ ได้รับพระราชทานประกาศนียบัตร พัดเปรียญธรรม 3 ประโยค การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีในชั้น "เปรียญธรรม 3 ประโยค" นั้น แบ่ง รายวิชาที่สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวงกำหนดให้พระภิกษุสามเณรสอบไล่เพื่อผ่านในชั้นนี้ได้เป็น 4 วิชา คือ วิชาไวยากรณ์, วิชาแปลมคธเป็นไทย, วิชาสัมพันธ์ไทย และวิชาบุร.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเปรียญธรรม 3 ประโยค

เปรียญธรรม 4 ประโยค

''ในภาพ:หนังสือมงคลัตถทีปนี จัดพิมพ์โดยมหามกุฏราชวิทยาลัย หลักสูตรเปรียญธรรม 4 ประโยค'' เปรียญธรรม 4 ประโยค (ชื่อย่อ ป.ธ.4) เป็นระดับชั้นการศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย เรียกผู้สอบผ่านในชั้นนี้ว่า เปรียญโท กระทรวงศึกษาธิการเทียบวุฒิผู้สอบได้ในชั้นนี้ให้เทียบเท่ามัธยมศึกษาตอนต้น.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเปรียญธรรม 4 ประโยค

เปรียญธรรม 5 ประโยค

''ในภาพ:ปกหนังสือมงคลัตถทีปนี จัดพิมพ์โดยมหามกุฏราชวิทยาลัย หลักสูตรเปรียญธรรม 5 ประโยค'' เปรียญธรรม 5 ประโยค (ชื่อย่อ ป.ธ.5) เป็นระดับชั้นการศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย เรียกผู้สอบผ่านได้ในชั้นนี้ว่า เปรียญโท ผู้สอบได้ในชั้นนี้สามารถนำใบประกาศนียบัตรมาขอใบเทียบวุฒิการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจากกระทรวงศึกษาธิการได้ ถ้าผู้ที่สอบได้ชั้นนี้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นครูสอน 1 ปี และทำการสอนมาแล้วไม่ต่ำกว่า 300 ชั่วโมง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเปรียญธรรม 5 ประโยค

เปลื้อง ณ นคร

ปลื้อง ณ นคร (4 กันยายน พ.ศ. 2452 - 25 ตุลาคม พ.ศ. 2541) นักวิชาการด้านภาษาไทย เป็นผู้แต่งปทานุกรมนักเรียน และพจนานุกรม เปลื้อง ณ นคร เกิดเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และเปลื้อง ณ นคร

MOE

MOE อาจหมายถึง.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และMOE

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และ1 เมษายน

2 พฤศจิกายน

วันที่ 2 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 306 ของปี (วันที่ 307 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 59 วันในปีนั้น.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และ2 พฤศจิกายน

8 สิงหาคม

วันที่ 8 สิงหาคม เป็นวันที่ 220 ของปี (วันที่ 221 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 145 วันในปีนั้น.

ดู กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และ8 สิงหาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ กระทรวงศึกษาธิการกระทรวงศึกษาธิการของไทยกระทรวงธรรมการ

พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยาพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานกบฏนายสิบกรมพลศึกษากรมการศาสนากรมศิลปากรกรมสามัญศึกษากระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)กระทรวงในประเทศไทยกรณ์ จาติกวณิชกฤษณพงศ์ กีรติกรกฤษณ์ สีวะรากลุ่มโรงเรียนบดินทรเดชากลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยกลุ่มโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์กษมา วรวรรณ ณ อยุธยากองทัพบกไทยการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยการประชุมแพทยศาสตร์ศึกษาแห่งชาติกิตติ กาญจนสถิตย์กนิษฐ์ สารสินภาวิช ทองโรจน์ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาวิทยาลัยบูรพามหาวิทยาลัยมหาสารคามมหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรีมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชรมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณีมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ดมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมามหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์มหาวิทยาลัยราชภัฏเลยมหาวิทยาลัยศรีปทุมมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาวิทยาลัยศิลปากรมหาวิทยาลัยสวนดุสิตมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยแม่โจ้มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลกมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพเชียงใหม่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงรายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออกมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีมารุต บุนนาคมานะ มานี ปิติ ชูใจมุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์มูลนิธิไทยรัฐมนตรี จุฬาวัฒนฑลรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของไทยรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514ราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย)ราชการส่วนภูมิภาค (ประเทศไทย)รายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทยรายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยรายชื่อสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทยรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรุ่ง แก้วแดงว.ณ เมืองลุงวรากรณ์ สามโกเศศวัลลภ สุระกำพลธรวัดบูรพารามใต้วัดบ้านขวางวัดพระธรรมกายวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหารวัดพระธาตุดอยเวียงวัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดารามวัดกวิศรารามราชวรวิหารวัดยางเอนวัดราชพฤกษ์วัดราชธานีวัดราษฎร์ศรัทธาธรรม (วัดปากแคว)วัดฤทธิ์ศิริราษฎร์เจริญธรรมวัดลานหอยวัดวิเวกวนารามวัดศรีมหาโพธิ์ จังหวัดสุโขทัยวัดศาลาไก่ฟุบวัดสังฆารามวัดสำนักวัดสตูลสันตยารามวัดหัวฝายวัดหนองทองวัดหนองตาโชติวัดธรรมปัญญารามวัดคลองตะเคียนวัดคลองโพธิ์วัดคลองโป่งวัดคุ้งยางใหญ่วัดคูหาสุวรรณวัดตระพังทองวัดตาลเตี้ยวัดปัญญานันทารามวัดไทยชุมพลวังจันทรเกษมวันวิสาขบูชาวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติวิชัย ตันศิริวิชา การพิศิษฎ์วิภาต บุญศรี วังซ้ายวิทยบูรณากร ไอซีที.วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวนครราชสีมาวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์วิทยาลัยชุมชนพังงาวิทยาลัยชุมชนพิจิตรวิทยาลัยชุมชนมุกดาหารวิทยาลัยชุมชนยโสธรวิทยาลัยชุมชนระนองวิทยาลัยชุมชนสมุทรสาครวิทยาลัยชุมชนสระแก้ววิทยาลัยชุมชนสงขลาวิทยาลัยชุมชนสตูลวิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภูวิทยาลัยชุมชนอุทัยธานีวิทยาลัยชุมชนตราดวิทยาลัยชุมชนตากวิทยาลัยชุมชนปัตตานีวิทยาลัยชุมชนนราธิวาสวิทยาลัยชุมชนแพร่วิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอนวิทยาลัยช่างศิลปวิทยาลัยพณิชยการเชตุพน สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานครวิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่วิทยาลัยการอาชีพชุมพวงวิทยาลัยการอาชีพพนัสนิคมวิทยาลัยการอาชีพปากช่องวิทยาลัยการอาชีพเทิงวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่นวิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๑วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานครวิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกวิทยาลัยนาฏศิลปวิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิตวิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครราชสีมา สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือวิทยาลัยเทคนิค กรุงเทพฯวิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกสมุทรปราการวิทยาลัยเทคนิคราชบุรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๔วิทยาลัยเทคนิคหลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๕วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๑วิทยาลัยเทคนิคปักธงชัยวิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๕วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นวินัย สะมะอุนศักดิ์เกษม หุตาคมศาสนาพุทธในประเทศไทยศิลป์ พีระศรีศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทยศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาสกล พันธุ์ยิ้มสกุล ศรีพรหมสมบัติผู้ดีสมบุญ ระหงษ์สมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทยสมาคมผู้ดูแลเว็บไทยสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยาสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสริ ยงยุทธสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์สัมพันธ์ ทองสมัครสัตววิทยาสายสุรี จุติกุลสำนักพระราชวังสำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติสำนักงานราชบัณฑิตยสภาสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย)สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาสำนักงานเลขาธิการคุรุสภาสิปปนนท์ เกตุทัตสุชาติ ชวางกูรสุกิจ นิมมานเหมินท์สุวิทย์ คุณกิตติสุธรรม แสงประทุมสุดสาคร (ภาพยนตร์การ์ตูน)สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือสถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน)สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์สถาบันวิจัยเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาสถาบันวิทยาลัยชุมชนสถาบันสมทบสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดลสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษาสด กูรมะโรหิตส่ง เทภาสิตหมู่บ้านหัวหาดหมู่บ้านหาดเสือเต้นหมู่บ้านป่ากล้วยหม่อมหลวงมานิจ ชุมสายหม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมเจ้าพูนพิศมัย ดิศกุลหม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลหลวงพรตพิทยพยัต (พรต เดชา)หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)หลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์)หนึ่งอำเภอหนึ่งทุนอภัย จันทวิมลอภิวันท์ วิริยะชัยอหังการ์ราชันย์ยักษ์อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยอาณาจักรปลาทองอาณาจักรปัตตานีอาคม เอ่งฉ้วนอาคารสวนกุหลาบอำเภอเอราวัณอิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทยอุดมศึกษาองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติองค์การค้าของ สกสค.อนุกรมวิธานผีเสื้อและดอกไม้ (นวนิยาย)จรวยพร ธรณินทร์จังหวัดพิษณุโลกจังหวัดศรีสะเกษจังหวัดนครราชสีมาจันทรเกษมจิตวิทยาจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์จุฬาราชมนตรีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยธรรมรัตน์ นาคสุริยะธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ธงทอง จันทรางศุถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)ทรงศักดิ์ เปรมสุขทองอินทร์ วงศ์โสธรทองประศรีที่สุดในประเทศไทยข้าราชการไทยณหทัย ทิวไผ่งามคลองผดุงกรุงเกษมคลังปัญญาไทยควง อภัยวงศ์คำสร้างใหม่คุรุสภาคณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ประเทศไทย)คณะภราดาเซนต์คาเบรียลคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 15คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 43คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 44คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 47คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 48คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 49คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 50คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9คณะรัฐมนตรีเงา (พรรคประชาธิปัตย์)คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะองคมนตรีไทยคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะเทคโนโลยีการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหงคณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังคนเดือนตุลางานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบตรีดาว อภัยวงศ์ สุขุมตอบปัญหาภาษาอังกฤษกับเชลล์ประยูร ภมรมนตรีประวัติกระทรวงการคลังไทยประเวศ วะสีประเทศไทยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952ปราโมทย์ สุขุมปรียา ฉิมโฉมนภัทร อินทร์ใจเอื้อนาค เทพหัสดิน ณ อยุธยานิยม ทองชิตรนิรมล เมธีสุวกุลแสงดา บัณสิทธิ์แหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชรแอลเลอร์ เอลลิสแปลก พิบูลสงครามใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษาโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าโรงพยาบาลรามาธิบดีโรงพยาบาลในประเทศไทยโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์โรงเรียนบรบือวิทยาคารโรงเรียนบรมราชินีนาถราชวิทยาลัยโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 3โรงเรียนบรรจงรัตน์โรงเรียนชลบุรีเรืองกิตติ์พณิชยการโรงเรียนชลกันยานุกูลโรงเรียนชลราษฎรอำรุงโรงเรียนชัยบุรีพิทยาโรงเรียนชัยนาทพิทยาคมโรงเรียนชัยเกษมวิทยาโรงเรียนบางกะปิโรงเรียนบางมดวิทยาโรงเรียนบางระจันวิทยาโรงเรียนบางดีวิทยาคมโรงเรียนบางปะกงบริหารธุรกิจโรงเรียนบางปะอิน "ราชานุเคราะห์ ๑"โรงเรียนชิโนรสวิทยาลัยโรงเรียนบึงมะลูวิทยาโรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัยโรงเรียนบูรณะรำลึกโรงเรียนชูธรรมานุสรณ์โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒โรงเรียนบ่อเกลือโรงเรียนช่างฝีมือในวังโรงเรียนบ้านบ่อพระโรงเรียนบ้านราษฎร์บำรุงโรงเรียนบ้านสวน (จั่นอนุสรณ์)โรงเรียนบ้านหลวงโรงเรียนบ้านหัวหาดโรงเรียนบ้านหาดเสือเต้นโรงเรียนบ้านดอน (ศรีเสริมกสิกร)โรงเรียนบ้านคุ้งตะเภาโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยาโรงเรียนบ้านป่ารังงามโรงเรียนบ้านโป่งแดงโรงเรียนบ้านเขาเทพพิทักษ์โรงเรียนพญาไทโรงเรียนพยัคฆภูมิวิทยาคารโรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรีโรงเรียนพรหมคีรีพิทยาคมโรงเรียนพระมารดานิจจานุเคราะห์โรงเรียนพระหฤทัยดอนเมืองโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ มหามงคลโรงเรียนพระปริยัติธรรมโรงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์โรงเรียนพระโขนงพิทยาลัยโรงเรียนพรานกระต่ายพิทยาคมโรงเรียนพรตพิทยพยัตโรงเรียนพะเยาพิทยาคมโรงเรียนพานพิทยาคมโรงเรียนพานพิเศษพิทยาโรงเรียนพิชญศึกษาโรงเรียนพิบูลมังสาหารโรงเรียนพิพัฒน์ราษฎร์บำรุงโรงเรียนพิมายวิทยาโรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่โรงเรียนพณิชยการหาดใหญ่โรงเรียนพงษ์ศิริวิทยาโรงเรียนพนัสพิทยาคารโรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัยโรงเรียนกันทรลักษ์วิทยาโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย กาฬสินธุ์โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุราษฎร์ธานีโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตำหนักสวนกุหลาบมัธยม)โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์โรงเรียนกิ่งแก้ว (เทวะพัฒนาคาร)โรงเรียนกุนนทีรุทธารามวิทยาคมโรงเรียนกู่จานวิทยาคมโรงเรียนฝั่งแดงวิทยาสรรค์โรงเรียนฝางชนูปถัมภ์โรงเรียนภราดานุสรณ์โรงเรียนภัทรบพิตรโรงเรียนภู่วิทยาโรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัยโรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลาโรงเรียนมหาไถ่ศึกษาเมืองพลโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์โรงเรียนมักกะสันพิทยาโรงเรียนมัญจาศึกษาโรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติโรงเรียนมัธยมวัดบึงทองหลางโรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์โรงเรียนมัธยมวัดหนองแขมโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตรโรงเรียนมัธยมวัดเขาสุกิมโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครโรงเรียนมัธยมป่ากลางโรงเรียนมารีย์วิทยาโรงเรียนมาเรียลัยโรงเรียนยุพราชวิทยาลัยโรงเรียนยโสธรพิทยาคมโรงเรียนระยองวิทยาคมปากน้ำโรงเรียนรัชชประภาวิทยาคมโรงเรียนรัตนาธิเบศร์โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบางขุนเทียนโรงเรียนราชวินิตโรงเรียนราชวินิต มัธยมโรงเรียนราชวินิตบางแก้วโรงเรียนราชวินิตบางแคปานขำโรงเรียนราชวินิตบางเขนโรงเรียนราชวินิตสุวรรณภูมิโรงเรียนราชินีโรงเรียนราชินีบูรณะโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์โรงเรียนรามราชพิทยาคมโรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัยโรงเรียนร้องกวางอนุสรณ์โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัยโรงเรียนลำปางกัลยาณีโรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลาโรงเรียนวัดบวรนิเวศโรงเรียนวัดบางพูดใน (นนทวิทยา)โรงเรียนวัดพุทธบูชาโรงเรียนวัดกิ่งแก้ว (เทวะพัฒนาคาร)โรงเรียนวัดม่วงชุมวิทยาโรงเรียนวัดราชบพิธโรงเรียนวัดราชโอรสโรงเรียนวัดสระเกศโรงเรียนวัดสุทธิวรารามโรงเรียนวัดทรงธรรมโรงเรียนวัดทุ่งเศรษฐีโรงเรียนวัดนวลนรดิศโรงเรียนวัดน้อยนพคุณโรงเรียนวัดเขมาภิรตารามโรงเรียนวังสมบูรณ์วิทยาคมโรงเรียนวังน้ำเย็นวิทยาคมโรงเรียนวังน้ำเขียวพิทยาคมโรงเรียนวังไกลกังวลโรงเรียนวาปีปทุมโรงเรียนวิสุทธรังษีโรงเรียนวิไลเกียรติอุปถัมภ์โรงเรียนวิเชียรมาตุโรงเรียนวีรวัฒน์โยธินโรงเรียนศรีบุณยานนท์โรงเรียนศรีพฤฒาโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคมโรงเรียนศรียาภัยโรงเรียนศรีวิชัยวิทยาโรงเรียนศรีวิกรม์โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารโรงเรียนศรีสำโรงชนูปถัมภ์โรงเรียนศรีสุวิชโรงเรียนศรีสงครามวิทยาโรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯโรงเรียนศรีนครมูลนิธิโรงเรียนสกลราชวิทยานุกูลโรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรังโรงเรียนสมุทรสาครบูรณะโรงเรียนสมถวิลโรงเรียนสรรพวิทยาคมโรงเรียนสระแก้วโรงเรียนสวรรค์อนันต์วิทยาโรงเรียนสวายวิทยาคารโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (จิรประวัติ) นครสวรรค์โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ชลบุรีโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิตโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สระบุรีโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีโรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพโรงเรียนสัตยาไสโรงเรียนสันป่าตองวิทยาคมโรงเรียนสามัคคีวิทยาคมโรงเรียนสามเสนวิทยาลัยโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์โรงเรียนสายปัญญารังสิตโรงเรียนสายน้ำผึ้ง ในพระอุปถัมภ์ฯโรงเรียนสารวิทยาโรงเรียนสารสาสน์พิทยาโรงเรียนสารสาสน์วิเทศศึกษาโรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัยโรงเรียนสารคามพิทยาคมโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรีโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหงโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตรโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวันโรงเรียนสาธิตมัธยม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาโรงเรียนสาธุกิจประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษกโรงเรียนสิริรัตนาธรโรงเรียนสิรินธรโรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัยโรงเรียนสิงห์บุรีโรงเรียนสุรวิทยาคารโรงเรียนสุราษฎร์พิทยาโรงเรียนสุราษฎร์ธานีโรงเรียนสุนทรภู่พิทยาโรงเรียนสีดาวิทยาโรงเรียนสีคิ้ว"สวัสดิ์ผดุงวิทยา"โรงเรียนสตรีพัทลุงโรงเรียนสตรีภูเก็ตโรงเรียนสตรีราชินูทิศโรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์โรงเรียนสตรีวัดระฆังโรงเรียนสตรีวิทยาโรงเรียนสตรีวิทยา 2โรงเรียนสตรีศรีน่านโรงเรียนสตรีสิริเกศโรงเรียนสตรีจุลนาคโรงเรียนสตรีนครสวรรค์โรงเรียนสตรีเศรษฐบุตรบำเพ็ญโรงเรียนสตูลวิทยาโรงเรียนสนมวิทยาคารโรงเรียนหอพระโรงเรียนหอวังโรงเรียนหาดใหญ่พิทยาคมโรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย 2โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยาโรงเรียนหนองบัวพิทยาคารโรงเรียนหนองบุนนากพิทยาคมโรงเรียนหนองไผ่โรงเรียนหนองเสือวิทยาคมโรงเรียนห้วยยอดโรงเรียนห้วยสักวิทยาคมโรงเรียนห้องสอนศึกษา ในพระอุปถัมภ์ฯโรงเรียนอยุธยาวิทยาลัยโรงเรียนอยู่เย็นวิทยาโรงเรียนอัสสัมชัญโรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการโรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์โรงเรียนอัสสัมชัญนครราชสีมาโรงเรียนอันนาลัยโรงเรียนอำมาตย์พานิชนุกูลโรงเรียนอำนาจเจริญโรงเรียนอินทร์บุรีโรงเรียนอุดมวิทยา (อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี)โรงเรียนอุดรพิทยานุกูลโรงเรียนอุตรดิตถ์โรงเรียนอุตรดิตถ์ดรุณีโรงเรียนอนุบาลชัยภูมิโรงเรียนอนุบาลพิบูลเวศม์โรงเรียนอนุบาลพนัสศึกษาลัยโรงเรียนอนุบาลราชบุรีโรงเรียนอนุบาลทัสนินทรโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์โรงเรียนจอมทองโรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูนโรงเรียนจันทร์หุ่นบำเพ็ญโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลกโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ลพบุรีโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูลโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรังโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานีโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราชโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงรายโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เลยโรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคมโรงเรียนธัญบุรีโรงเรียนธัญรัตน์โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยาโรงเรียนธีรกานท์บ้านโฮ่งโรงเรียนทวีธาภิเศกโรงเรียนทวีธาภิเศก บางขุนเทียนโรงเรียนทิพพากรวิทยาการโรงเรียนทุ่งกะโล่วิทยาโรงเรียนทุ่งสงโรงเรียนทุ่งเสลี่ยมชนูปถัมภ์โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (มัธยมวัดหัตถสารเกษตร) ในพระราชูปถัมภ์โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ฯโรงเรียนท่าบ่อโรงเรียนท่าวังผาพิทยาคมโรงเรียนท่าปลาอนุสรณ์ 1โรงเรียนท่านครญาณวโรภาสอุทิศโรงเรียนท้ายเหมืองวิทยาโรงเรียนขอนแก่นวิทยายนโรงเรียนขุขันธ์โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดาโรงเรียนดอนเมืองทหารอากาศบำรุงโรงเรียนดำรงราษฎร์สงเคราะห์โรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายนโรงเรียนด่านขุนทดโรงเรียนคลองบ้านระกาศโรงเรียนคลองเมืองพิทยาคมโรงเรียนคำเขื่อนแก้วชนูปถัมภ์โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลาโรงเรียนคณะราษฎร์บำรุงปทุมธานีโรงเรียนตราษตระการคุณโรงเรียนตากพิทยาคมโรงเรียนประชารัฐธรรมคุณโรงเรียนประสาทวิทยาคารโรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์โรงเรียนประโคนชัยพิทยาคมโรงเรียนปราจิณราษฎรอำรุงโรงเรียนปราจีนกัลยาณีโรงเรียนปราโมชวิทยารามอินทราโรงเรียนปลายพระยาวิทยาคมโรงเรียนปล้องวิทยาคมโรงเรียนปอพานพิทยาคม รัชมังคลาภิเษกโรงเรียนปักธงชัยประชานิรมิตโรงเรียนปากช่องโรงเรียนปากเกร็ดโรงเรียนปางศิลาทองศึกษาโรงเรียนปิยะบุตร์โรงเรียนปทุมคงคาโรงเรียนป่ากล้วยเสริมวิทยาโรงเรียนป่าขนุนเจริญวิทยาโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชาโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย ปทุมธานีโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา 2โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑลโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรีโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลัยโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้าโรงเรียนนวมินทราชูทิศ พายัพโรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานครโรงเรียนนวมินทราชูทิศ ทักษิณโรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่โรงเรียนนาหมื่นพิทยาคมโรงเรียนนาคประสิทธิ์โรงเรียนนาน้อยโรงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค์โรงเรียนนครขอนแก่นโรงเรียนนครนายกวิทยาคมโรงเรียนนนทรีวิทยาโรงเรียนน่านนครโรงเรียนน้ำพองศึกษาโรงเรียนแก่นนครวิทยาลัยโรงเรียนแม่สายประสิทธิ์ศาสตร์โรงเรียนแม่จริมโรงเรียนแม่จันวิทยาคมโรงเรียนแม่ทาวิทยาคมโรงเรียนแจ้ห่มวิทยาโรงเรียนโชคเพชรพิทยาโรงเรียนโชตินันต์โรงเรียนโพธิสารพิทยากรโรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคมโรงเรียนโกสุมวิทยาสรรค์โรงเรียนโยธินบำรุงโรงเรียนโยธินบูรณะโรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาโรงเรียนโนนสูงศรีธานีโรงเรียนไชยปราการโรงเรียนไร่ขิงวิทยาโรงเรียนไทยวิจิตรศิลปโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัยโรงเรียนไตรเขตประชาสามัคคี รัชมังคลาภิเษกโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรีโรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดปัตตานีโรงเรียนเบญจมราชูทิศ นครศรีธรรมราชโรงเรียนเบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรีโรงเรียนเชียงกลาง (ประชาพัฒนา)โรงเรียนเชียงดาววิทยาคมโรงเรียนเชียงคำวิทยาคมโรงเรียนเชียงใหม่คริสเตียนโรงเรียนเพชรพิทยาคมโรงเรียนเกษมพิทยาโรงเรียนเกาะยาววิทยาโรงเรียนเมืองพังงาโรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานีโรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราชโรงเรียนเมธีวุฒิกรโรงเรียนเมตตาวิทยาโรงเรียนเลยพิทยาคมโรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญโรงเรียนเอ็นคอนเส็ปท์ อี แอคเคเดมี่โรงเรียนเผยอิงโรงเรียนเทพลีลาโรงเรียนเทพศิรินทร์โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรีโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้าโรงเรียนเทพารักษ์ราชวิทยาคมโรงเรียนเทศบาล 4 (บ้านเชียงราย)โรงเรียนเขมราฐพิทยาคมโรงเรียนเคนเน็ตแม็คเคนซีโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานีโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ นนทบุรีโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ เขลางค์นครโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้าโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า อุตรดิตถ์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า นครราชสีมาโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรีโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ภูเก็ตโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรีโรงเรียนเซนต์ดอมินิกโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์โผน กิ่งเพชรโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโคลงโลกนิติไสว สุทธิพิทักษ์เชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริเพลงลูกทุ่งเกริกวิทยาลัยเกษม วัฒนชัยเภสัชกรรมไทยเหตุการณ์ นปช. ปะทะกับกลุ่มพันธมิตรฯ 2 กันยายน พ.ศ. 2551เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรีเจ้าพระยา (หนังสือพิมพ์)เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล)เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)เจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์)เขตดุสิตเดือน บุนนาคเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทยเครือข่ายโทรทัศน์ดาวเทียมเอ็มคอทเคียวอิกุกันจิเงาะเงาะป่า (วรรณคดี)เฉลิมสวรรค์ ไพบูลย์พันธ์เปรียญธรรม 3 ประโยคเปรียญธรรม 4 ประโยคเปรียญธรรม 5 ประโยคเปลื้อง ณ นครMOE1 เมษายน2 พฤศจิกายน8 สิงหาคม