สารบัญ
215 ความสัมพันธ์: บัวแก้ว (แก้ความกำกวม)ชาญชัย ลิขิตจิตถะบางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ วีคชาติชาย ชุณหะวัณบุษยา มาทแล็งชเว ย็อง-ซ็อกพ.ศ. 2418พ.ศ. 2435พ.ศ. 2457พรรคสามัคคีธรรมพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)พระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ)พระยาสมันตรัฐบุรินทร์ (ตุ๋ย บินอับดุลลาห์)พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)พระยาอรรคราชวราทร (ภัสดา บุรณศิริ)พระราชวังสราญรมย์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสนิทพงศ์พัฒนเดชพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากรพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ กรมหมื่นเทววงศวโรทัยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์พจน์ สารสินพนิช วิกิตเศรษฐ์กฎบัตรอาเซียนกร ทัพพะรังสีกรมพิธีการทูตกรมการกงสุลกรมยุโรปกรมสารนิเทศกรมสนธิสัญญาและกฎหมายกรมอาเซียนกรมองค์การระหว่างประเทศกรมอเมริกาและแปซิฟิกใต้กรมแพทย์ทหารบกกรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศกรมเอเชียตะวันออกกรมเอเชียใต้ ตะวันออกกลางและแอฟริกากรมเจ้าท่ากระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ (ประเทศไทย)กระทรวงในประเทศไทยกรณีพิพาทพรมแดนไทย–กัมพูชากรณีการตีความคำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหารกรณีสิ่งบันทึกวีดิทัศน์ศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2553กฤษณ์ กาญจนกุญชรกษิต ภิรมย์กอบศักดิ์ ชุติกุลกันตธีร์ ศุภมงคลการชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาไทย 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551... ขยายดัชนี (165 มากกว่า) »
บัวแก้ว (แก้ความกำกวม)
ัวแก้ว อาจหมายถึง.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และบัวแก้ว (แก้ความกำกวม)
ชาญชัย ลิขิตจิตถะ
นายชาญชัย ลิขิตจิตถะ (25 เมษายน พ.ศ. 2489 - 18 มกราคม พ.ศ. 2560) อดีตองคมนตรี อดีตประธานศาลฎีกา และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตผู้พิพากษาอาวุโส ชาญชัย เป็นผู้มีบทบาทในการแก้ไขวิกฤตการเมือง อันเนื่องจากการเลือกตั้งวันที่ 2 เมษายน พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และชาญชัย ลิขิตจิตถะ
บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ วีค
งานสัปดาห์สื่อบันเทิงกรุงเทพ หรือ บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ วีค (Bangkok Entertainment Week) เป็นงานแสดงสื่อบันเทิงในประเทศไทย โดยความร่วมมือขององค์กรภาครัฐร่วมกับเอกชนในการสร้างมหกรรมสื่อบันเทิงและวัฒนธรรมร่วมสมัยที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จัดขึ้นเป็นครั้งแรกในปี..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และบางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ วีค
ชาติชาย ชุณหะวัณ
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (5 เมษายน พ.ศ. 2463 — 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม พลเอกชาติชาย เป็นผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง 2 พรรค และได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค คือ พรรคชาติไทย และ พรรคชาติพัฒน.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และชาติชาย ชุณหะวัณ
บุษยา มาทแล็ง
ษยา มาทแล็ง (เกิด 15 ธันวาคม 2502) กรรมการสภาราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ กรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559กรรมการในสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติกรรมการในคณะกรรมการนโยบายป่าไม้แห่งชาติ อดีตเอกอัครราชทูตหลายประเทศและอดีตผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเท.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และบุษยา มาทแล็ง
ชเว ย็อง-ซ็อก
ว ย็อง-ซ็อก หรือ โค้ชเช เกิดวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2517 ที่ซองนัม ประเทศเกาหลีใต้ เป็นหัวหน้าผู้ฝึกสอนนักกีฬาเทควันโดทีมชาติไทย ช่วยพัฒนากีฬาจากที่เป็นอันดับท้ายๆ ของโลกก้าวมาสู่ 1-10 ของโลก ผลงานสำคัญ คือ นำทีมนักกีฬาเทควันโดทีมชาติไทยเข้าร่วมการแข่งขันในเอเชียนเกมส์และโอลิมปิกเกมส์จนสร้างผลงานโดดเด่นได้รับเหรียญรางวัลมากมายอย่างต่อเนื่องรวมถึงในระดับเยาวชนโลก ทั้งเทวินทร์ หาญปราบ เหรียญเงินโอลิมปิกที่บราซิลในปี 2016, บุตรี เผือดผ่อง เหรียญเงินโอลิมปิกที่จีนในปี 2008, พาณิภัค วงศ์พัฒนกิจ เหรียญทองแดงโอลิมปิกที่บราซิลในปี 2016, ชนาธิป ซ้อนขำ เหรียญทองแดงโอลิมปิกที่อังกฤษในปี 2012 และเหรียญทองเอเชียนเกมส์ที่กว่างโจว ในปี 2010, เยาวภา บุรพลชัย เหรียญทองแดงโอลิมปิกที่เอเธนส์ในปี 2004, สริตา ผ่องศรี และชัชวาล ขาวละออ เหรียญทองเอเชียนเกมส์ที่กว่างโจว รวมถึงสร้างแชมป์โลกเทควันโดชาวไทยถึงสี่คน ได้แก่ รังสิญา นิสัยสม, ชัชวาล ขาวละออ, ชนาธิป ซ้อนขำ และพาณิภัค วงศ์พัฒนกิจ จากผลงานในโอลิมปิก 2004 ทำให้โค้ชเชได้รับพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 4 จตุตถดิเรกคุณาภรณ์เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2550 ณ กระทรวงการต่างประเทศ และโค้ชเชได้ชื่อไทยคือ "ชัยศักดิ์"และได้ใช้ชื่อนี้มาจนกระทั่งปัจจุบัน ใน..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และชเว ย็อง-ซ็อก
พ.ศ. 2418
ทธศักราช 2418 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1875.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2418
พ.ศ. 2435
ทธศักราช 2435 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1892 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2435
พ.ศ. 2457
ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพ.ศ. 2457
พรรคสามัคคีธรรม
รรคสามัคคีธรรม (Justice Unity Party) พรรคการเมืองไทยที่ก่อตั้งขึ้นตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 เป็นลำดับที่ 30/2535 เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพรรคสามัคคีธรรม
พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
ระยาพหลพลพยุหเสนา (แถวหน้าซ้ายมือ) นำคณะรัฐมนตรีของไทยเข้าเยือนประเทศญี่ปุ่น และพบกับ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้าตรงกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)
ันเอก พระยาศรีวิสารวาจา (นามเดิม เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล: 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 – 23 มีนาคม พ.ศ. 2511) อดีตอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, อดีตปลัดทูลฉลอง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นหนึ่งในผู้ร่างกฎหมายที่จะนำมาใช้เป็นรัฐธรรมนูญถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวร่วมกับเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ และนายเรมอนต์ บี สตีเวนส์ ซึ่งทรงมีกำหนดที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญในวันสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)
พระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ)
ระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ) (? — 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2525) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงการต่างประเทศ เอกอัครราชทูตไทยคนแรกประจำประเทศญี่ปุ่น และองคมนตรีไทย พระยาศรีเสนา มีนามเดิมว่า ฮะ สมบัติศิริ ได้ศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญ ก่อนที่จะเป็นคนไทยกลุ่มแรกๆ ที่ไปศึกษาด้านการปกครอง ที่ London School of Economics ประเทศอังกฤษ เมื่อ..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ)
พระยาสมันตรัฐบุรินทร์ (ตุ๋ย บินอับดุลลาห์)
อำมาตย์เอก พระยาสมันตรัฐบุรินทร์ (ตุ๋ย บินอับดุลลาห์) อดีตรัฐมนตรีที่ไม่ได้ประจำกระทรวง (รัฐมนตรีลอย) 3 สมัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล 1 สมัย ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรกของจังหวัดสตูล เมื่อปี..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพระยาสมันตรัฐบุรินทร์ (ตุ๋ย บินอับดุลลาห์)
พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)
มหาอำมาตย์เอก พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค) เป็นบุตรพระยามนตรีสุริยวงศ์ (ชุ่ม) มารดาชื่อ ศิลา เกิดเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)
พระยาอรรคราชวราทร (ภัสดา บุรณศิริ)
ระยาอรรคราชวราทร (ภัสดา บุรณศิริ) (23 มกราคม พ.ศ. 2403 -) เป็นอธิบดีกรมกองตระเวน คนที่ 2 อดีตอัครราชทูตสยามประจำกรุงวอชิงตัน และอดีตอัครราชทูตสยามประจำกรุงอังกฤษ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพระยาอรรคราชวราทร (ภัสดา บุรณศิริ)
พระราชวังสราญรมย์
ระราชวังสราญรมย์ เป็นวังที่ตั้งอยู่ระหว่างพระบรมมหาราชวัง กับวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม ทางทิศตะวันออกของพระบรมมหาราชวัง สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เคยใช้เป็นที่ทำการของกระทรวงการต่างประเทศ และเป็นบ้านพักรับรองพระราชอาคันตุกะ พระราชวังสราญรมย์ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนสองชั้น ออกแบบโดย เฮนรี อาลาบาศเตอร์ เริ่มก่อสร้างเมื่อ..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพระราชวังสราญรมย์
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสนิทพงศ์พัฒนเดช
ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสนิทพงศ์พัฒนเดช (12 ธันวาคม พ.ศ. 2413 - 17 กันยายน พ.ศ. 2481) อดีตปลัดทูลฉลองกระทรวงทหารเรือ และรองเสนาบดีกระทรวงทหารเรือ เป็นพระโอรสลำดับที่ 37 ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท เมื่อประสูติเป็นหม่อมเจ้า มีพระนามว่า หม่อมเจ้าตุ้ม หม่อมเจ้าตุ้มทรงรับราชการในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในกระทรวงต่างประเทศ กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และกระทรวงทหารเรือ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า และพระราชทานพระนามใหม่ว่า สนิทพงศ์พัฒนเดช เมื่อ..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสนิทพงศ์พัฒนเดช
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร
ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร ประสูติเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ
ลเอก พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ (4 มกราคม พ.ศ. 2440 — 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496) พระนามเดิม หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 3 ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร เป็นพระบิดาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีน.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ กรมหมื่นเทววงศวโรทัย
มหาอำมาตย์เอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ กรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย หรือ หม่อมเจ้าไตรทศประพันธ์ เทวกุล (11 สิงหาคม 2426 - 5 กุมภาพันธ์ 2486) อดีตเสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศ เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ประสูติแต่ หม่อมลม้าย เทวกุล ณ อยุธยา ต่อมาได้รับการเฉลิมพระนามเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ เสกสมรสกับ หม่อมเพี้ยน เทวกุล ณ อยุธยา มีโอรส-ธิดา 12 คน คือ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ กรมหมื่นเทววงศวโรทัย
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์
ตราจารย์ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 5 กันยายน พ.ศ. 2519) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานสมัชชาองค์การสหประชาชาติ และอดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน รวมถึงเป็นผู้ร่วมสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และทรงเสนอให้คณะรัฐมนตรีจัดตั้งโรงเรียนการเมืองชั้นสูง(เป็นจุดเริ่มต้นแนวคิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง) พระปรีชาสามารถในด้านการทูตและการต่างประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับโลก และทรงมีชื่อเสียงการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย ทั้งยังทรงเป็นผู้วางกฎเกณฑ์ในการบัญญัติศัพท์ภาษาต่างประเทศด้วยคำบาลีและสันสกฤต สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กันยายน..
พจน์ สารสิน
น์ สารสิน (25 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 28 กันยายน พ.ศ. 2543) นายกรัฐมนตรีคนที่ 9 ของประเทศไทย นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทยที่เป็นพลเรือนในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ แต่ภายหลังได้ลาออกเนื่องจากมีความเห็นขัดแย้งกับรัฐบาลเกี่ยวกับการรับรองรัฐบาลเบาได๋ แห่งเวียดนามใต้ และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริก.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพจน์ สารสิน
พนิช วิกิตเศรษฐ์
นิช วิกิตเศรษฐ์ (4 กันยายน 2506 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ (สำรอง) อดีตผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (นายกษิต ภิรมย์) และอดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในสมัยนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และพนิช วิกิตเศรษฐ์
กฎบัตรอาเซียน
กฎบัตรอาเซียน เป็นร่างสนธิสัญญาที่ทำร่วมกันระหว่างประเทศสมาชิกในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อเป็นเครื่องมือในการวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กรของสมาคม ทั้งนี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของอาเซียนในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการขับเคลื่อนการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน ภายในปี..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกฎบัตรอาเซียน
กร ทัพพะรังสี
นายกร ทัพพะรังสี (14 กันยายน 2488 -) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาราช อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เป็นบุตรของ นายอรุณ ทัพพะรังสี (บุตร พระยานราธรหิรัญรัฐ กับคุณหญิงหวาน) และ นางพร้อม ทัพพะรังสี (สกุลเดิม "ชุณหะวัณ" เป็นบุตรีของจอมพลผิน ชุณหะวัณ) เนื่องจากสืบเชื้อสายจากนักการเมืองซอยราชครู ทำให้ได้รับการขนานนามให้เป็น “ทายาทราชครู รุ่นที่ 3” ด้านครอบครัวสมรส กับ ระพีพรรณ ทัพพะรังสี มีบุตรชื่อ กฤตพณ ทัพพะรังสี และ กมลสุทธิ์ ทัพพะรังสี โดย กมลสุทธิ์ ทัพพะรังสี บุตรชายสมรสกับ อุษณา มหากิจศิริ บุตรสาว ประยุทธ มหากิจศิริ ในปี..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกร ทัพพะรังสี
กรมพิธีการทูต
กรมพิธีการทูต มีภารกิจเกี่ยวกับพิธีการ ระเบียบแบบแผนและประเพณีปฏิบัติทางการทูต การให้การรับรองการเยือนของแขกสำคัญต่างประเทศในทุกระดับและการกำกับ ดูแลเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตเพื่อเสริมสร้างภาพลัษณ์ที่ดีต่อคนไทย และประเทศไท.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมพิธีการทูต
กรมการกงสุล
กรมการกงสุล มีภารกิจเกี่ยวกับการดำเนินการด้านการกงสุล โดยการเสนอความเห็นเกี่ยวกับนโยบายและแผนงานด้านการกงสุล กำหนดระเบียบด้านการกงสุลประสาน สนับสนุนการทำงานของสถานเอกอัครราบทูต สถานกงสุลใหญ่ และสถานกงสุลกิตติมศักดิ์ของไทยในต่างประเทศ เพื่อปกป้อง คุ้มครอง ดูแลและช่วยเหลือและผลประโยชน์ของคนไทยในต่างประเทศให้ทั่วถึง.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมการกงสุล
กรมยุโรป
กรมยุโรป (Department of European Affairs) กระทรวงการต่างประเทศ มีภารกิจเกี่ยวกับการเสนอแนะนโยบายและดำเนินการเกี่ยวกับความสัมพันธ์ ทวิภาคีและพหุภาคีกับประเทศ กลุ่มประเทศในภูมิภาคยุโรป และ องค์การระหว่างประเทศของภูมิภาคยุโรป โดยการวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ทุกด้านในภูมิภาคยุโรปเพื่อเสริมสร้าง ความร่วมมือทวิภาคีและพหุภาคี และปกป้องรักษาผลประโยชน์แห่งชาต.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมยุโรป
กรมสารนิเทศ
กรมสารนิเทศ มีภารกิจเกี่ยวกับงานสารนิเทศและการทูตเชิงวัฒนธรรม โดยการประชาสัมพันธ์ สร้างเครือข่ายกับสื่อมวลชนต่างประเทศและระหว่างสื่อมวลชนท้องถิ่นกับสื่อ มวลชนต่างประเทศในไทย และส่งเสริมกิจกรรมทางวัฒนธรรมรวมทั้งแลกเปลี่ยนด้านวัฒนธรรมกับนานาประเทศ เพื่อเผยแพร่ภาพพจน์ที่ดีของประเทศไทยและปกป้องรักษาผลประโยชน์ของชาต.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมสารนิเทศ
กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย
กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย มีภารกิจเกี่ยวกับปัญหากฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง สนธิสัญญา และเรื่องเขตแดนของประเทศ รวมทั้งประมวลศึกษา วิจัย ติดตาม วิเคราะห์แนวโน้มและพัฒนาการของกฎหมายระหว่างประเทศในกรอบองค์การสหประชา ชาติ และองค์การระหว่างประเท.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย
กรมอาเซียน
กรมอาเซียน (Department of ASEAN Affairs) มีภารกิจเกี่ยวกับการดำเนินงานสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน และการส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ฐานะสำนักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติ เพื่อดำเนินงานความร่วมมือของอาเซียนให้สำเร็จและบรรลุผลตามมติที่ประชุมสุด และเสริมสร้างความแข็งแกร่งและความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนในเวที ระหว่างประเทศ ตลอดจนเพิ่มอำนาจต่อรองของประเทศไทยในกรอบความร่วมมือระหว่างประเท.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมอาเซียน
กรมองค์การระหว่างประเทศ
กรมองค์การระหว่างประเทศ มีภารกิจเกี่ยวกับการดำเนินการให้ความร่วมมือกับ ประชาคมระหว่างประเทศ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่จะมีผลกระทบต่อเสถียรภาพความมั่นคงในภูมิภาค และสังคมโลก โดยการมีบทบาทอย่างแข็งขันในเวทีระหว่างประเทศ รักษาพันธกรณีของไทยภายใต้กฎบัตรสหประชาชาติและสนธิสัญญาต่างๆ ที่ไทยเป็นภาคี เพื่อปกป้องผลประโยชน์ของไทยในเวทีระหว่างประเทศ และหาแนวทางในการใช้ประโยชน์จาการเป็นภาคีสนธิสัญญาและอนุสัญญาให้เกิดประโยชน์สูง.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมองค์การระหว่างประเทศ
กรมอเมริกาและแปซิฟิกใต้
กรมอเมริกาและแปซิฟิกใต้ มีภารกิจเกี่ยวกับการเสนอแนะนโยบายและดำเนินการเกี่ยวกับความสัมพันธ์ ทวิภาคีและพหุภาคีกับประเทศกลุ่มประเทศในภูมิภาคอเมริกาและแปซิฟิกใต้ และองค์การระหว่างประเทศของภูมิภาคอเมริกาและแปซิฟิกใต้ โดยการวิเคราะห์ประเมินสถานการณ์ทุกด้านในภูมิภาคอเมริกาและแปซิฟิกใต้ เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทวิภาคีและ พหุภาคี และปกป้อง รักษาผลประโยชน์แห่งชาต.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมอเมริกาและแปซิฟิกใต้
กรมแพทย์ทหารบก
กรมแพทย์ทหารบก เป็นหน่วยงานในประเทศไทย ที่ศึกษาวิจัย ฝึกอบรมบุคลากรเหล่าทหารแพทย์ ในการให้บริการแก่ กำลังพลของกองทัพบก และครอบครัว รวมถึงประชาชน โดยให้บริการในโรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก จำนวน 37 แห่ง เริ่มก่อตั้งเป็นกองกรมกลาง กรมยุทธนาธิการ และโรงพยาบาลกลางกรมทหารบก บริเวณฝั่งทิศเหนือปากคลองหลอด ในปี พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมแพทย์ทหารบก
กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ มีภารกิจเกี่ยวกับการเสนอแนะแนวทางในการกำหนดและดำเนินนโยบายเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ เพื่อส่งเสริมและรักษาผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจของประเทศเป็นหน่วยประสาน งานกลางของรัฐบาลในการดำเนินความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับรัฐบาลต่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ ในกรอบความร่วมมือระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาคและพหุภาคี.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
กรมเอเชียตะวันออก
กรมเอเชียตะวันออก มีภารกิจเกี่ยวกับการเสนอแนะนโยบายและยุทธศาสตร์ในการดำเนินความสัมพันธ์ ทวิภาคีและพหุภาคีกับประเทศ กลุ่มประเทศและดินแดนอื่นในภูมิภาคเอเชียตะวันออก และองค์การระหว่างประเทศของภูมิภาคเอเชียตะวันออก ยกเว้นสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยการวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ทุกด้านในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทวิภาคีและพหุภาคี และปกป้อง รักษาผลประโยชน์แห่งชาต.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมเอเชียตะวันออก
กรมเอเชียใต้ ตะวันออกกลางและแอฟริกา
กรมเอเชียใต้ ตะวันออกกลางและแอฟริกา มีภารกิจเกี่ยวกับการเสนอแนะนโยบายและดำเนินความสัมพันธ์ทวิภาคีและพหุภาคี กับประเทศ กลุ่มประเทศขบวนการทางการเมืองในภูมิภาคเอเชียใต้ ตะวันออกกลางและแอฟริกา และองค์การระหว่างประเทศของภูมิภาคเอเชียใต้ ตะวันออกลางและแอฟริกา โดยการวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ทุกด้าน ในภูมิภาคเอเชียใต้ ตะวันออกกลางและแอฟริกา เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทวิภาคีและพหุภาคี และปกป้อง รักษาผลประโยชน์แห่งชาต.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมเอเชียใต้ ตะวันออกกลางและแอฟริกา
กรมเจ้าท่า
กรมเจ้าท่า (Marine Department; เคยใช้ชื่อ: กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี) มีหน้าที่ดูแลพื้นน้ำและการเดินทางทางน้ำ มีสำนักงานตั้งอยู่ที่ 1278 ถนนโยธา แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรมเจ้าท่า
กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ (ประเทศไทย)
กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ เป็นหน่วยงานราชการระดับกระทรวงของไทย จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2506 ในสมัยรัฐบาลของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ในคณะรัฐมนตรีคณะที่ 29 ของไทย โดยมีหน้าที่ในการดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับ งานด้านพลังงาน การพัฒนาที่ดิน การทางหลวง สหกรณ์ และทรัพยากรธรณี ภายหลังหลังการรัฐประหารโดยจอมพลถนอม กิตติขจร ได้มีการยุบกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ (ประเทศไทย)
กระทรวงในประเทศไทย
กระทรวงในประเทศไทย เป็นหน่วยงานของรัฐบาลไทย จัดตั้งขึ้นโดยการตราพระราชบัญญัติ ปัจจุบันมีกระทรวงหรือเทียบเท่าจำนวนทั้งสิ้น 20 กระทรวง.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกระทรวงในประเทศไทย
กรณีพิพาทพรมแดนไทย–กัมพูชา
วามขัดแย้งไทย-กัมพูชา เป็นเหตุการณ์ที่เริ่มต้นในเดือนมิถุนายน..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรณีพิพาทพรมแดนไทย–กัมพูชา
กรณีการตีความคำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหาร
การร้องขอให้ตีความคำพิพากษาศาลยุติธรรมระหว่างประเทศลงวันที่ 15 มิถุนายน..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรณีการตีความคำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหาร
กรณีสิ่งบันทึกวีดิทัศน์ศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2553
กรณีสิ่งบันทึกวีดิทัศน์ศาลรัฐธรรมนูญ..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกรณีสิ่งบันทึกวีดิทัศน์ศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2553
กฤษณ์ กาญจนกุญชร
กฤษณ์ กาญจนกุญชร (เกิด 14 ตุลาคม พ.ศ. 2491) กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช อธิบดีกรมราชเลขานุการในพระองค์ อดีตราชเลขาธิการในพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว กรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกฤษณ์ กาญจนกุญชร
กษิต ภิรมย์
นายกษิต ภิรมย์ อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตรองนายกรัฐมนตรีเงา พรรคประชาธิปัตย์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยในหลายประเทศ เกิดวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกษิต ภิรมย์
กอบศักดิ์ ชุติกุล
ร.กอบศักดิ์ ชุติกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคชาติไทย และอดีตผู้สมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในปี..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกอบศักดิ์ ชุติกุล
กันตธีร์ ศุภมงคล
ร.กันตธีร์ ศุภมงคล (3 เมษายน พ.ศ. 2495 -) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร และอดีตโฆษกพรรคไทยรักไทยคนแรก.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกันตธีร์ ศุภมงคล
การชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาไทย 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551
หตุการณ์ 7 ตุลาคม..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และการชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาไทย 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551
การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551
การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไต..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551
การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2552
นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ ขณะชี้แจงข้อกล่าวหาจากผู้อภิปราย การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไท..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2552
การประชุมสุดยอดอาเซียน
การประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) เป็นการประชุมประจำปีที่จัดขึ้นโดยสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) ภายใต้หัวข้อ เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของประเทศสมาชิกต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้แนวทางในการดำเนินกิจกรรมความร่วมมือต่าง ๆ ของเหล่าสมาชิก.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และการประชุมสุดยอดอาเซียน
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
แต่เดิม ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นข้าราชการการเมืองที่มาจากแต่งตั้งโดยคณะรัฐมนตรีตั้งแต่ปี..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
ม่ได้ลงนามและไม่ได้ให้สัตยาบัน กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights) หรือ ICCPR เป็นสนธิสัญญาพหุภาคี ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
มหาวิทยาลัยศิลปากร
มหาวิทยาลัยศิลปากร (Silpakorn University; ชื่อย่อ: มศก. – SU) เป็นมหาวิทยาลัยศิลปะแห่งแรกในประเทศไทย มีชื่อเสียงทางด้านศิลปะและการออกแบบ ปัจจุบันเปิดสอนครอบคลุมทุกสาขาวิชา ทั้งกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสากลอย่างสมบูรณ์ ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร" ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้พัฒนาขึ้นเป็นลำดับจนเป็น "โรงเรียนศิลปากร" และเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยศิลปากร
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (ื่อย่อ: ม., STOU) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ "มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช" ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
มาริอินสกีบัลเลต์
ัลเลต์รอบปฐมทัศน์เรื่อง ''เจ้าหญิงนิทรา'' (Sleeping Beauty) แสดงเมื่อ พ.ศ. 2433 คณะบัลเลต์มาริอินสกี (Mariinsky Ballet) หรือ อิมพีเรียลบัลเลต์ (Imperial Ballet) เป็นคณะบัลเลต์ที่มีชื่อเสียงในประวัติศาสตร์ แสดงประจำอยู่ที่ โรงละครมาริอินสกี เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประเทศรัสเซีย คณะบัลเลต์มาริอินสกี ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และมาริอินสกีบัลเลต์
มานะ มหาสุวีระชัย
มานะ มหาสุวีระชัย อดีตหัวหน้าพรรคแทนคุณแผ่นดิน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และมานะ มหาสุวีระชัย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย
รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไท.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย
รัดเกล้า อามระดิษ
รัดเกล้า อามระดิษ (เกิด 16 ตุลาคม พ.ศ. 2512) เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย ด้านการร้องเพลง รัดเกล้าเป็นศิลปินหญิงสุดยอดคุณภาพระดับแนวหน้าของประเทศไทย และเป็น 1 ใน 3 นักร้องสมัครเล่นยอดเยี่ยมแห่งเอเซีย (อีกสองท่านคือ นันทิดา แก้วบัวสาย และมณีนุช เสมรสุต) มีผลงานเพลงเป็นที่รู้จัก เช่น "ลมหายใจ", "โปรดเถอะ" และ"บีบมือ" ด้านการแสดงรัดเกล้าได้รับรางวัลนาฏราชสาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากละครสุดแค้นแสนรักใน..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และรัดเกล้า อามระดิษ
ราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย)
ราชการส่วนกลาง หมายถึง ราชการที่ดำเนินการและบริหารโดยหน่วยราชการในส่วนกลางของฝ่ายบริหาร เพื่อสนองความต้องการของประชาชน จะมีลักษณะการปกครองแบบรวมอำนาจ หมายความว่า เป็นการรวมอำนาจในการสั่งการ การกำหนดนโยบายการวางแผน การควบคุมตรวจสอบ และการบริหารราชการสำคัญ ๆ ไว้ที่นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีและกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ตามหลักการรวมอำนาจ การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง จัดแบ่งออกได้ดังนี้.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย)
รายชื่อสกุลนักการเมืองไทย
้านล่างนี้คือสกุลนักการเมืองไทย ที่บุคคลในตระกูลมีนักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หมายเหตุ: ตัวหนาหมายถึงบุคคลที่กำลังหรือเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ หรือรัฐมนตรีช่วยว่าการ หรือเทียบเท.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และรายชื่อสกุลนักการเมืองไทย
รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รางวัลครุฑทองคำ
รางวัลครุฑทองคำ หรือรางวัลผู้บริหารราชการพลเรือนดีเด่น เป็นรางวัลที่สมาคมข้าราชการพลเรือนแห่งประเทศไทย มอบให้แก่ผู้บริหารราชการพลเรือน จำนวน 9 คน เพื่อประกาศเกียรติคุณบุคคลที่มีผลงานสร้างสรรค์ประโยชน์ให้แก่สังคมและระบบราชการ โดยเริ่มต้นโครงการในปี พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และรางวัลครุฑทองคำ
รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายหมอชิต-ปากเกร็ด
รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายหมอชิต-ปากเกร็ด หรือ รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายหมอชิต-ศูนย์ราชการกรุงเทพมหานคร เป็นโครงการก่อสร้างระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ (BRT) ของกรุงเทพมหานคร จำนวน 7 สถานี เกิดแนวคิดขึ้นเมื่อปี..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายหมอชิต-ปากเกร็ด
ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557
ต่อไปนี้ คือลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไท..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557
ลี้ ต๊ง
ลี้ ต๊ง (Lý Tống; Ly Tong; เกิด ค.ศ. 1946) อดีตนักบินเครื่องบินรบแห่งกองทัพอากาศเวียดนามใต้ในช่วงสงครามเวียดนาม เชื้อชาติเวียดนาม สัญชาติอเมริกัน เป็นนักเคลื่อนไหวต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และลี้ ต๊ง
วชิระมณฑ์ คุณะเกษมธนาวัฒน์
วชิระมณฑ์ คุณะเกษมธนาวัฒน์ นายวชิระมณฑ์ คุณะเกษมธนาวัฒน์ อดีตโฆษกพรรคเพื่อแผ่นดิน อดีต..กรุงเทพมหานคร เขต 17 (ลาดพร้าว) และรองโฆษกพรรคไทยรักไทย เกิดวันที่ 15 สิงหาคม..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และวชิระมณฑ์ คุณะเกษมธนาวัฒน์
วสุ แสงสิงแก้ว
ว่าที่ร้อยตรี วสุ แสงสิงแก้ว (ชื่อเล่น จี๊บ) หรือ จิ๊บ ร.. (29 ธันวาคม พ.ศ. 2510 —) เป็นพิธีกร นักร้อง นักแสดงชาวไท.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และวสุ แสงสิงแก้ว
วิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอช. นิทซ์
SAIS - วอชิงตัน ดี.ซี. วิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และวิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอช. นิทซ์
วิทย์ รายนานนท์
นายวิทย์ รายนานนท์ (2 มีนาคม 2485 -) อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายอานันท์ ปันยารชุน และอดีตเอกอัคราชทูตชาวไท.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และวิทย์ รายนานนท์
วินัย สะมะอุน
วินัย สะมะอุน มีชื่อมุสลิมว่ามัรฺวาน (مروان) อิหม่ามมัสยิดกมาลุลอิสลาม นักวิชาการศาสนาอิสลามที่มีชื่อเสียงในประเทศไทย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตสมาชิวุฒิสภา อดีตรองประธานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย อดีตผู้ได้รับการเสนอชื่อให้เป็นจุฬาราชมนตรีหลังจากนายประเสริฐ มะหะหมัดถึงแก่อนิจกรรม และได้รับการเสนอชื่ออีกครั้งเมื่อนายสวาสดิ์ สุมาลยศักดิ์ถึงแก่อนิจกรรม.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และวินัย สะมะอุน
วีรชัย พลาศรัย
ร.วีรชัย พลาศรัย เอกอัครราชทูตวิสามัญ ผู้มีอำนาจเต็มประจำสหรัฐอเมริกา อดีตเอกอัครราชทูต คณะผู้แทนถาวรไทย ประจำสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ อดีตอธิบดีกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กระทรวงการต่างประเทศ อดีตเอกอัครราชทูตประจำกระทรวง (เจ้าหน้าที่การทูต ๑๐) สำนักงานปลัดกระทรวง มีชื่อเสียงในฐานะเป็นหัวหน้าคณะทนายกฎหมายระหว่างประเทศในคดีปราสาทพระวิหาร เขาได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ “The Order of the Orange - Nassau” ชั้นตรา “Knight Grand Cross” ซึ่งได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระราชาธิบดี วิลเลม - อเล็กซานเดอร์ แห่งราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และวีรชัย พลาศรัย
วีระศักดิ์ ฟูตระกูล
นายวีระศักดิ์ ฟูตระกูล เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศและอดีตกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี กระทรวงต่างประเทศ ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนักการทูตชาวไทย อดีตผู้ปฏิบัติงานในกองอำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (กอฉ.)ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 98/2552 ในเหตุการณ์ ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และวีระศักดิ์ ฟูตระกูล
วงศ์ พลนิกร
นายวงศ์ พลนิกร (1 พฤษภาคม พ.ศ. 2462 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2544) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย 2 สมั.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และวงศ์ พลนิกร
ศักดิชัย บำรุงพงศ์
ักดิชัย บำรุงพงศ์ (12 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 — 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557) นักการทูต นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ เจ้าของนามปากกา เสนีย์ เสาวพงศ์ ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และศักดิชัย บำรุงพงศ์
ศาสนาอิสลามในประเทศไทย
''มัสยิดกรือเซะ'' หรือ ''มัสยิดปิตูกรือบัน'' เป็นมัสยิดที่มีอายุกว่า 200 ปี ในจังหวัดปัตตานี ศาสนาอิสลาม เป็นชนกลุ่มน้อยทางศาสนาในประเทศไทย แต่มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว โดยสถิติระบุว่าประชากรมุสลิมมีระหว่าง 2.2 ล้านคนhttp://service.nso.go.th/nso/nsopublish/service/survey/cult48.pdf ถึง 7.4 ล้านคน ซึ่งมีความหลากหลายจากการอพยพเข้ามาจากทั่วโลก มุสลิมในไทยส่วนใหญ่เป็นนิกายซุนนี.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และศาสนาอิสลามในประเทศไทย
ศาสนาในประเทศไทย
กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรมให้ทางราชการรับรองศาสนาในประเทศไทยไว้ 5 ศาสนา ดังนี้ ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาซิก.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และศาสนาในประเทศไทย
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550
ูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ตั้งอยู่ที่ถนนแจ้งวัฒนะ เป็นสถานที่ที่รวมหน่วยงานราชการต่างๆไว้ในที่เดียวกัน รวมทั้งสิ้น 29 หน่วยงาน เช่น กระทรวงยุติธรรม กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงการต่างประเทศ และสำนักงานตำรวจแห่งชาติเป็นต้น โดยมีแนวคิดในการบริหารพื้นที่ราชพัสดุ และทรัพยากรของราชการร่วมกันเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคารศูนย์ราชการ ในวันอาทิตย์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2556.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550
ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น)
ูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) (Thai-Japan Bangkok Youth Center) หรือที่นิยมเรียกว่า สนามกีฬาไทย-ญี่ปุ่น ดินแดง อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกรุงเทพมหานคร ซึ่งก่อตั้งขึ้นจากความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลญี่ปุ่น เนื่องในโอกาสที่ประเทศไทยจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิด เมื่อเวลา 16:45 นาฬิกา ของวันเสาร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น)
สกุลชินวัตร
ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี สกุลชินวัตร เป็นสกุลที่ดำเนินกิจกรรมทางการเมืองและธุรกิจมากมายในปัจจุบัน โดยมีเส็ง แซ่คูเป็นต้นตระกูล ซึ่งอพยพย้ายถิ่นฐานมาจากสาธารณรัฐประชาชนจีน มายังจังหวัดจันทบุรี ประเทศไทย ต่อมาได้ย้ายไปตั้งรกรากที่จังหวัดเชียงใหม่ ในพ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และสกุลชินวัตร
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24
มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 500 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 375 คน และการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ 125 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24
สมคิด จาตุศรีพิทักษ์
รองศาสตราจารย์ สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ปัจจุบันเป็นรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ รองประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (เฉพาะกิจ) กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง อดีตรองนายกรัฐมนตรี ดูแลด้านเศรษฐกิจ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร และเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหลายสมัย และยังเป็นที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติและอดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 122/2557.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และสมคิด จาตุศรีพิทักษ์
สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม
มเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งชาวเบลเยียม หรือ พระเจ้าอัลเบิร์ตที่ 2 (Albert Félix Humbert Théodore Christian Eugène Marie, ดัตช์: Albert Felix Humbert Theodoor Christiaan Eugène Marie) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่หก และเป็นพระราชบิดาของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันของประเทศเบลเยียม ทรงครองราชย์ตั้งแต่ 9 สิงหาคม พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ
มหาอำมาตย์นายก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม ในรัชกาลที่ 4) ร่วมพระชนนีเดียวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี โดยเป็นพระเจ้าลูกเธอชั้นเล็ก ลำดับที่ 42 ในจำนวนทั้งหมด 82 พระอง.
สวนศิวาลัย
หมู่พระที่นั่งบริเวณสวนศิวาลัย (พระบรมหาราชวังจำลอง) สวนศิวาลัย หรือ สวนขวา เป็นสวนภายในพระบรมมหาราชวัง ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออก ในอดีตเคยเป็นที่ตั้งของพระอภิเนาว์นิเวศน์อันเป็นพระราชมณเฑียรที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชมณเฑียรดังกล่าวได้ชำรุดทรุดโทรมจำต้องรื้อถอนไปเกือบหมดสิ้น คงแก่อาคารสำคัญ เช่น พระพุทธรัตนสถาน พระที่นั่งมหิศรปราสาท และได้สร้างพระที่นั่งเพิ่มอีก 2 องค์ คือ พระที่นั่งบรมพิมาน และพระที่นั่งศิวาลัยมหาปราสาท และปรับเป็นสวน ปัจจุบัน เป็นเขตพระราชฐานส่วนพระองค์ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี โดยมีพระที่นั่งบรมพิมานเป็นที่ประทับเป็นการถาวรหลังจากทรงนิวัติประเทศไทย และอาคารรับรองด้านหลัง A และ B ใช้เป็นที่ทรงงานในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เพื่อเสด็จออกรับบุคคลที่ขอเข้าเฝ้า และใช้เป็นกองงานในพระองค์ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และสวนศิวาลัย
สัญญา ธรรมศักดิ์
ตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2450 — 6 มกราคม พ.ศ. 2545) เคยดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา, คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการข้าราชการพลเรือนผู้ทรงคุณวุฒิ,ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ปลัดกระทรวงยุติธรรมรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ, ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรม ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และสัญญา ธรรมศักดิ์
สามเหลี่ยมมรกต
มเหลี่ยมมรกต หรือ ช่องบก (Emerald Triangle) เป็นพื้นที่รอยต่อระหว่างชายแดนไทย ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา มีพื้นที่ประมาณ 12 ตารางกิโลเมตร สำหรับพื้นที่ส่วนที่อยู่ในประเทศไทยคือ พื้นที่ในอุทยานแห่งชาติภูจองนายอย อำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี พื้นที่ในเขตประเทศลาวคือเมืองมูลประโมกข์ แขวงจำปาศักดิ์ ส่วนพื้นที่ในประเทศกัมพูชาคือเมืองจอมกระสานต์ จังหวัดพระวิหาร สามเหลี่ยมมรกตตั้งชื่อเลียนแบบสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งเป็นพื้นที่รอยต่อของไทย ลาว และพม่า ในภาคเหนือ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และสามเหลี่ยมมรกต
สาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)
รณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในเอเชียตะวันออกตั้งแต่ปี..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และสาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)
สาโรจน์ ชวนะวิรัช
นายสาโรจน์ ชวนะวิรัช (เกิด 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2485) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช เป็นรัฐมนตรีที่มีระยะเวลาอยู่ในตำแหน่งสั้นที่สุด ก่อนจะพ้นจากตำแหน่งพร้อมกับคณะรัฐมนตรีทั้งคณะ ในอีก 2 วันถัดจากวันรับตำแหน่ง.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และสาโรจน์ ชวนะวิรัช
สุบิน ปิ่นขยัน
น ปิ่นขยัน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 3 สมัย อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ และทบวงมหาวิทยาลัย เป็นผู้ก่อตั้งและเป็นประธานกรรมการบริหารของ บม.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และสุบิน ปิ่นขยัน
สุภรณ์ อัตถาวงศ์
นายสุภรณ์ อัตถาวงศ์ หรือ สุภรณ์ อัตถาวงศ์ (แรมโบ้อีสาน) อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันเป็นแกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.).
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และสุภรณ์ อัตถาวงศ์
สุภา ศิริมานนท์
ริมานนท์ (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 — 15 มีนาคม พ.ศ. 2529) นามปากกา จิตติน ธรรมชาติ เป็นนักคิด นักประพันธ์ นักหนังสือพิมพ์และนักวารสารศาสตร์คนสำคัญของประเทศไทย และผู้สื่อข่าวสงครามคนแรกของประเทศไทย (ในสงครามจีนญี่ปุ่น) เคยเป็นบรรณาธิการ “นิกรวันอาทิตย์” และ “อักษรสาส์น” เข้าร่วมขบวนการเสรีไทย รับราชการในกระทรวงการต่างประเทศ เป็นเลขานุการฝ่ายหนังสือพิมพ์ประจำสถานทูตไทย ณ ประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป คือ สหภาพโซเวียต สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ และฝรั่งเศส เป็นผู้บริหารและฝ่ายวิชาการของบริษัทอาคเนย์ประกันภัย และเป็นอาจารย์พิเศษที่ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และสุภา ศิริมานนท์
สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์
ร้อยตำรวจเอกสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2473 - 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2551) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงคมนาคม อดีตรองหัวหน้าพรรคกิจสังคม ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ประธานกรรมการบริษัท โอสถสภา จำกัด กลุ่มบริษัทในเครือโอสถสภา และนายกสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัม.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์
สุรินทร์ พิศสุวรรณ
รรมศาสตราภิชาน สุรินทร์ พิศสุวรรณ (Surin Abdul Halim bin Ismail Pitsuwan, สุรินทร์ อับดุล ฮาลิม บิน อิสมาอิล พิศสุวรรณ; 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 – 30 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และสุรินทร์ พิศสุวรรณ
สุรเกียรติ์ เสถียรไทย
ตราจารย์พิเศษ สุรเกียรติ์ เสถียรไทย อดีตรองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคไทยรักไทย เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ สมัยรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังสมัยรัฐบาลบรรหาร ศิลปอาชา และที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เคยถูกเสนอชื่อเพื่อเป็น เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ในนามของ 10 ประเทศอาเซียนโดยการสนับสนุนของรัฐบาลทักษิณ รวมถึงได้รับการสนับสนุนจาก คปค.เช่นกัน แต่ก็ได้ถอนตัวในเดือนตุลาคม..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และสุรเกียรติ์ เสถียรไทย
สุธาวัลย์ เสถียรไทย
ท่านผู้หญิง สุธาวัลย์ เสถียรไทย (สกุลเดิม: ลดาวัลย์ ณ อยุธยา; 24 กันยายน พ.ศ. 2501 -) เป็นธิดาของหม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ อดีตองคมนตรี และท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ เป็นพระภาคิไนยในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เป็นพระภคินี (ลูกพี่ลูกน้อง) ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และเป็นภรรยาของศาสตราจารย์ ดร.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และสุธาวัลย์ เสถียรไทย
สถานการณ์ฉุกเฉิน
นการณ์ฉุกเฉิน (state of emergency) คือ สถานการณ์อันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งรัฐ หรืออันอาจทำให้รัฐตกอยู่ในภาวะคับขันหรือภาวะการรบหรือการสงคราม ซึ่งฝ่ายบริหารรัฐมีอำนาจประกาศว่าพื้นที่ใดกำลังตกอยู่ในสถานการณ์เช่นว่าโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายของรัฐนั้น ๆ ซึ่งให้อำนาจพิเศษในการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน และมักเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล อย่างไรก็ดี กฎหมายว่าด้วยสถานการณ์ฉุกเฉินเป็นกฎหมายที่ให้อำนาจพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ไม่เบ็ดเสร็จเท่ากฎอัยการศึกหรือกฎหมายที่ใช้ในสภาวะสงคราม การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินมักมีภายหลังจากการเกิดภัยธรรมชาติ การก่อความไม่สงบ หรือการประกาศสงคราม ซึ่งอาจมีผลให้เจ้าหน้าที่บางฝ่ายต้องหยุดการปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ลงชั่วคราว โดยอำนาจหน้าที่เช่นว่านั้นอาจรวมศูนย์ไปยังเจ้าหน้าที่อีกฝ่ายเพื่ออำนวยความสะดวกในการควบคุมสถานการณ์โดยไม่ชักช้า และอาจนำไปสู่การห้ามออกจากเคหสถาน (curfew) หรือการห้ามมั่วสุมชุมนุมกันเพื่อการใด ๆ ก็ดี ณ พื้นที่นั้นในระหว่างที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และสถานการณ์ฉุกเฉิน
หม่อมราชวงศ์บุษบา สธนพงศ์
ท่านผู้หญิงบุษบา ในอดีต ท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์บุษบา กิติยากร; 2 สิงหาคม พ.ศ. 2477) เป็นพระธิดาในพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ กับหม่อมหลวงบัว กิติยากร และเป็นพระขนิษฐาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีน.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และหม่อมราชวงศ์บุษบา สธนพงศ์
หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร
รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร (22 กันยายน 2495 -) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 15 อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร
หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล
หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล (15 กรกฎาคม 2490 -) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตประธานกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐอดีตประธานกรรมการนโยบายอวกาศแห่งชาติ และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไท.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และหม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล
หม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล
หม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล (หม่อมราชวงศ์เทพกมล เทวกุล) (12 เมษายน 2479 -) อดีตองคมนตรีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล เป็นบุตรของหม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุลและหม่อมเจ้าหญิงกมลปราโมทย์ กิติยากร สมรสกับคุณหญิงขวัญตา เทวกุล ณ อยุธยา สกุลเดิม ศิริวงศ์ บุตรีของ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และหม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล
หม่อมหลวงพีระพงศ์ เกษมศรี
หม่อมหลวงพีระพงศ์ เกษมศรี (24 กันยายน พ.ศ. 2475 - 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2543) อดีตเอกอัครราชทูตผู้แทนถาวรแห่งประเทศไทยประจำสหประชาชาติ เอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงโตเกียว และกรุงวอชิงตัน และอดีตราชเลขาธิการ ซึ่งได้ล้มป่วยด้วยโรคมะเร็งหลอดอาหาร และถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคหัวใจล้มเหลว เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และหม่อมหลวงพีระพงศ์ เกษมศรี
หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล
หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล (17 กันยายน พ.ศ. 2447 - 3 เมษายน พ.ศ. 2534) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ราชเลขาธิการ และองคมนตรีไทย หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ประสูติแต่หม่อมจันทน์ เมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และหม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล
หม่อมเจ้าสมรศรีโสภา เทวกุล
หม่อมเจ้าสมรศรีโสภา เทวกุล (19 เมษายน พ.ศ. 2444 -5 มิถุนายน พ.ศ. 2539) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ต้นราชสกุลเทวกุล อดีตเสนาบดีกระทรวงต่างประเทศ ประสูติแต่ หม่อมพุก เทวกุล ณ อยุธยา เมื่อวันศุกร์ที่ 19 เมษายน..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และหม่อมเจ้าสมรศรีโสภา เทวกุล
หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล
ลตรี หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล มีพระนามเล่นว่า อั๋น เป็นโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการกับหม่อมพุก ประสูติเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และหม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล
หม่อมเจ้านิกรเทวัญ เทวกุล
หม่อมเจ้านิกรเทวัญ เทวกุล (16 มกราคม พ.ศ. 2440 - 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2519) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการกับหม่อมพุก เทวกุล ณ อยุธยา และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และหม่อมเจ้านิกรเทวัญ เทวกุล
หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์
หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์ อดีตปลัดทูลฉลองกระทรวงพระคลังมหาสมบัติโคลง,ฉันท์,กาพย์,ร่าย: พระนิพนธ์หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์, 2478 และบิดาของเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และหม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์
หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)
ลตรี หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ, ชื่อเดิม กิมเหลียง วัฒนปฤดา 金良 แต่มิได้มีเชื้อจีนแต่ประการใด) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ นักคิด นักพูด นักเขียนคนสำคัญของไทย บุตรนายอิน และนางคล้าย เกิดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และหลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)
หนังสือเดินทางไทย
หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ประเภทธรรมดา หนังสือเดินทางไทย เป็นหนังสือเดินทางที่ออกให้เฉพาะประชาชนไทยเท่านั้นราชกิจจานุเบกษ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และหนังสือเดินทางไทย
อภินันท์ ปวนะฤทธิ์
อภินันท์ ปวนะฤทธิ์ (6 กุมภาพันธ์ 2489 -) อดีตรองปลัดกระทรวงการต่างประเทศ และ รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี จบการศึกษารัฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริก.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และอภินันท์ ปวนะฤทธิ์
อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นายกราชบัณฑิตยสถาน และ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นนายแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระบบประสาทและระบบสมองของไทย บิดาของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และนายกรัฐมนตรี คนที่ 27 ของประเทศไท.น.อรรถสิทธิ์ เกิดวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และอรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อัครบิดรคีริลล์แห่งมอสโก
อัครบิดรคีริลล์ (Патриарх кирилл ชื่อจริง:วลาดีมีร์ มีไคโลวิช กันดาเยฟ Владимир Михайлович Гундяев) หรือที่ชาวออร์ทอดอกซ์ในประเทศไทยเรียกว่าพระสังฆราชคีริลล์ และชาวโรมันคาทอลิกในประเทศไทยเรียกว่าพระอัยกาคิริลล์ เป็นประมุขสูงสุดของคริสตจักรรัสเซียออร์ทอดอกซ์ ทั้งในประเทศรัสเซียและนอกประเทศ ได้ดำรงตำแหน่งอัครบิดรแห่งมอสโกและรัสทั้งปวงตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพัน..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และอัครบิดรคีริลล์แห่งมอสโก
อาทิตย์ อุไรรัตน์
อาทิตย์ อุไรรัตน์ (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2481-) อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม อดีตเจ้าของโรงพยาบาลเอกชนในเครือพญาไท เขาได้รับฉายา "วีรบุรุษประชาธิปไตย" จากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ที่ได้เสนอชื่อ อานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรีแทน พล.อ.อ.สมบุญ ระหงษ์ ที่กล่าวกันว่าจะมารับช่วงต่อรัฐบาล รสช.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และอาทิตย์ อุไรรัตน์
อานันท์ ปันยารชุน
อานันท์ ปันยารชุน (เกิด 9 สิงหาคม พ.ศ. 2475 —) นายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 18 และปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เอกอัครราชทูตไทยประจำสหประชาชาติ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา และประเทศเยอรมนี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 2 สมัย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และอานันท์ ปันยารชุน
องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (สปอ. หรือ ซีโต้) (Southeast Asia Treaty Organization - SEATO) เป็นองค์การที่ก่อตั้งขึ้นตาม สนธิสัญญามะนิลา ลงนามเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และองค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
อนันต์ จินตกานนท์
อนันต์ จินตกานนท์ หนึ่งในสมาชิกขบวนการเสรีไทยสายสหรัฐอเมริกา โดยในช่วงของสงครามโลกครั้งที่ 2 นายอนันต์รับราชการในตำแหน่งเลขานุการตรีประจำสถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และอนันต์ จินตกานนท์
จรัส พั้วช่วย
รัส พั้วช่วย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และกระทรวงคมนาคม และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และจรัส พั้วช่วย
จักรพันธ์ ห้วยเพชร
ตรีทบอลสะท้านฟ้า จักรพันธ์ ห้วยเพชร เป็นนักเขียนการ์ตูนชาวไทย และมีผลงานสร้างชื่ออย่าง "สตรีทบอลสะท้านฟ้า" (Super Dunker) ที่ทำให้เขาได้รับรางวัลชนะเลิศโกลด์อะวอร์ด จากอินเตอร์เนชั่นแนล มังงะอะวอร์ด ครั้งที่ 3 ที่จัดขึ้นโดยกระทรวงการต่างประเทศ ประเทศญี่ปุ่น ในพ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และจักรพันธ์ ห้วยเพชร
จักรภพ เพ็ญแข
ักรภพ เพ็ญแข อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลสมัคร สุนทรเวช โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร อดีตผู้บริหารสถานีโทรทัศน์พีทีวี อดีตผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ อดีตนักวิเคราะห์ข่าวต่างประเทศที่มีชื่อเสียง และเป็นผู้เปลี่ยนแปลงการบริหารงานสถานีโทรทัศน์แห่งชาติของสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จากเดิมคือ Television of Thailand (Channel 11) ไปสู่ National Broadcasting Services of Thailand.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และจักรภพ เพ็ญแข
จังหวัดนครราชสีมา
นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และจังหวัดนครราชสีมา
จิตติ สุจริตกุล
ตติ สุจริตกุล อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร และอดีตรองปลัดกระทรวงการต่างประเท.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และจิตติ สุจริตกุล
จิตติ ติงศภัทิย์
ตราจารย์พิเศษ จิตติ ติงศภัทิย์ (16 มีนาคม พ.ศ. 2451 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2538) เป็นนักกฎหมายชาวไทย รับตำแหน่งองคมนตรีตั้งแต่ปี 2527 ถึง 2538 และถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง จิตติประสิทธิ์ประสาทวิชากฎหมายมาเป็นเวลานานจนได้รับยกย่องเป็นปรมาจารย์แห่งวงการกฎหมายไทย และได้รับการกล่าวขานว่า ตั้งมั่นอยู่ในความบริสุทธิ์ยุติธรรม.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และจิตติ ติงศภัทิย์
ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
รรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ (Rome Statute of the International Criminal Court) หรือเรียกโดยย่อว่า ธรรมนูญกรุงโรม (Rome Statute) เป็นสนธิสัญญาซึ่งมีเนื้อหาสาระเป็นการจัดตั้งและจัดเขตอำนาจศาลอาญาระหว่างประเทศ ธรรมนูญนี้ได้รับความเห็นชอบจากรัฐต่าง ๆ ณ การประชุมทางการทูตที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2541 และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2545 โดยในเดือนกรกฎาคม..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
ธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่
วัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ (120px) หรือ เจ้าหนุ่ย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 5 สมัย อดีตรองหัวหน้าพรรคความหวังใหม่ และอดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ธวัชวงศ์ สืบทอดเชื้อสายราชตระกูล ณ เชียงใหม่ (เจ้าเจ็ดตน) สายของพระเจ้าช้างเผือกธรรมลังกา ซึ่งเป็นสายเดียวกันกับนางยินดี ชินวัตร มารดาของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่
ธีรนัยน์ ณ หนองคาย
ีรนัยน์ ณ หนองคาย (ชื่อเล่น: น้ำมนต์) เกิดวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519 เป็นนักร้องและนักแสดงหญิงชาวไทย สามารถร้องเพลงได้ในหลายรูปแบบ เช่น คลาสสิก ป๊อบ แจ๊ส ไทยลูกกรุง เพลงจากภาพยนตร์และละครเพลงต่าง ๆ ทั้งของไทยและต่างประเทศ เธอได้ร่วมร้องเพลงในงานดนตรีที่สำคัญของประเทศและได้แสดงต่อหน้าที่ประทับ เช่น เป็นนักร้องประจำในงานกาชาดคอนเสิร์ตร่วมกับวงดุริยางค์ราชนาวีตั้งแต่ปี..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และธีรนัยน์ ณ หนองคาย
ธงทอง จันทรางศุ
ตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ (8 มิถุนายน 2498 -) ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ภายใต้คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติและการสร้างความสามัคคีปรองดอง (ป.ย.ป.), กรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 8, กรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ, กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านนิติศาสตร์ในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ,ประธานกรรมการ บริษัท ท่าเรือราชาเฟอร์รี่ จำกัด (มหาชน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี, ไวยาวัจกร วัดโสมนัสวิหาร, อุปนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประธานอนุกรรมการเครือข่ายสถาบันการศึกษาในรัชกาลที่ 6, ประธานกรรมการพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สถาบันพระปกเกล้า, นายกสมาคมศิษย์เก่าสาธิตปทุมวัน, อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และธงทอง จันทรางศุ
ถนัด คอมันตร์
.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ ขณะกำลังให้สัมภาษณ์วิทยุบีบีซีภาคภาษาไทย พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2457 – 3 มีนาคม พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และถนัด คอมันตร์
ถนนพระรามที่ 6
นนพระรามที่ 6 (Thanon Rama VI) เป็นถนนสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร แยกจากถนนจรัสเมือง แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนพระรามที่ 1 ที่สี่แยกพงษ์พระราม บริเวณใกล้วัดชำนิหัตถการ (วัดสามง่าม) ข้ามคลองมหานาคเข้าสู่พื้นที่แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี ตัดกับถนนเพชรบุรี (สี่แยกอุรุพงษ์) และทางรถไฟสายตะวันออก เข้าสู่แขวงทุ่งพญาไท ตัดกับถนนศรีอยุธยา (สี่แยกศรีอยุธยา) ถนนราชวิถี (สี่แยกตึกชัย) ข้ามคลองสามเสน และเริ่มเลียบคลองประปาในพื้นที่แขวงพญาไท เขตพญาไท ตัดกับถนนนครไชยศรี (สามแยกโรงกรองน้ำ) ตัดกับซอยพระรามที่ 6 ซอย 34 และซอยพระรามที่ 6 ซอย 37 (สี่แยกพิบูลวัฒนา) ตัดกับถนนประดิพัทธ์ (สี่แยกประดิพัทธ์) จากนั้นไปทางทิศตะวันตก ตัดกับถนนกำแพงเพชร ทางรถไฟสายเหนือ และถนนเทอดดำริ เข้าสู่พื้นที่แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต จนถึงถนนเตชะวณิช (สามแยกวัดสะพานสูง) ถนนพระรามที่ 6 เดิมชื่อ "ถนนประทัดทอง" สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คำว่า "ประทัดทอง" นั้นจากชื่อเครื่องลายครามที่มีภาพต้นประทัดทอง ภายหลังเรียกเพี้ยนเป็นบรรทัดทอง ครั้นมาถึงในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อถนนประทัดทองตลอดทั้งสายเป็น "ถนนพระรามที่ 6" เพราะเป็นถนนที่โปรดเกล้าฯ ให้ปรับปรุงเป็นเส้นทางไปโรงกรองน้ำประปาสามเสน และต่อไปยังสะพานพระราม 6.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และถนนพระรามที่ 6
ถนนกัลยาณไมตรี
อาคารกระทรวงกลาโหม ด้านถนนกัลยาณไมตรี ถนนกัลยาณไมตรี (Thanon Kanlayanamaitri) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในแขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร เป็นถนนสายสั้น ๆ เชื่อมระหว่างถนนสนามไชยบริเวณแยกกัลยาณไมตรี กับถนนอัษฎางค์และถนนบำรุงเมือง ที่สะพานช้างโรงสีบริเวณแยกสะพานช้างโรงสี ถนนกัลยาณไมตรี เป็นถนนที่อยู่ระหว่างอาคารกระทรวงกลาโหม กับกรมแผนที่ทหาร ตั้งชื่อเป็นเป็นเกียรติแก่พระยากัลยาณไมตรี (ฟรานซิส บี.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และถนนกัลยาณไมตรี
ถนนศรีอยุธยา
นนศรีอยุธยาบริเวณหน้าโรงพยาบาลพญาไท 1 สนามเสือป่า โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร ถนนศรีอยุธยา (Thanon Si Ayutthaya) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีระยะทางเริ่มตั้งแต่ถนนราชปรารภ เขตราชเทวี ไปทางทิศตะวันตก ตัดกับถนนพญาไท (สี่แยกพญาไท) ถนนพระรามที่ 6 (สี่แยกศรีอยุธยา) ถนนกำแพงเพชร 5 และทางรถไฟสายเหนือ เข้าสู่ท้องที่เขตดุสิต จากนั้นตัดกับถนนสวรรคโลก (สี่แยกเสาวนี) ถนนพระรามที่ 5 (สี่แยกวัดเบญจฯ) ถนนราชดำเนินนอก (สี่แยกหน้าลานพระบรมรูปทรงม้า) ถนนนครราชสีมา (สี่แยกหอประชุมทหารบก) และถนนสามเสน (สี่แยกสี่เสาเทเวศร์) ไปสิ้นสุดที่ริมแม่น้ำเจ้าพร.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และถนนศรีอยุธยา
ถนนแจ้งวัฒนะ
นนแจ้งวัฒนะ ถนนแจ้งวัฒนะ (Thanon Chaeng Watthana) เป็นถนนสายหนึ่งในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เขตหลักสี่ และเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่นายชลอ แจ้งวัฒนะ อดีตนายช่างกำกับแขวงการทางกรุงเทพที่ 2 กรมทางหลวง ซึ่งเป็นนายช่างที่ควบคุมการก่อสร้างถนนสายนี้ - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และถนนแจ้งวัฒนะ
ทักษิณ ชินวัตร
ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และทักษิณ ชินวัตร
ขุนหลวงพระยาไกรสี (เปล่ง เวภาระ)
นหลวงพระยาไกรสี (เปล่ง เวภาระ) ขุนหลวงพระยาไกรสี สุภาวภักดี ศรีมนธาตุราช อำมาตยคณาการ (เปล่ง เวภาระ) เป็นนักกฎหมายชาวไทยคนแรกที่สำเร็จการศึกษาเป็นเนติบัณฑิตจากประเทศอังกฤษ อดีตอธิบดีกรมอัยการคนแรก อดีตผู้ดำรงตำแหน่งลูกขุน ณ ศาลหลวง และอดีตอธิบดีผู้พิพากษาศาลพระราชอาญา คำว่าขุนหลวงในที่นี้มีที่มาจากตำแหน่งลูกขุน ณ ศาลหลวง ซึ่งมีหน้าที่ด้านการรักษาตัวบทกฎหมายมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เดิมข้าราชการผู้ดำรงตำแหน่งนี้มีบรรดาศักดิ์ชั้นพระ ปรากฏนามในทำเนียบศักดินาว่า "ขุนหลวงพระไกรสี" ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้เลื่อนบรรดาศักดิ์ของข้าราชการตำแหน่งดังกล่าวจากชั้นพระเป็นพระยา จึงเรียกชื่อขุนนางตำแหน่งนี้ใหม่ว่า "ขุนหลวงพระยาไกรสี" ซึ่งขุนหลวงพระยาไกรสี (เปล่ง เวภาระ) เป็น 1 ใน 2 คนที่ปรากฏหลักฐานว่าได้ดำรงตำแหน่งลูกขุน ณ ศาลหลวง ในบรรดาศักดิ์ชั้นพร.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และขุนหลวงพระยาไกรสี (เปล่ง เวภาระ)
ข้าราชการไทย
้าราชการ คือ บุคคลซึ่งรับการบรรจุแต่งตั้งให้รับราชการปฏิบัติหน้าที่ และรับเงินเดือนในกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ของประเทศไทย ส่วนองค์กรที่บุคคลดังกล่าวปฏิบัติงานอยู่นั้นเรียก ส่วนราชการ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และข้าราชการไทย
ดอน ปรมัตถ์วินัย
นายดอน ปรมัตถ์วินัย (Don Pramudwinai; เกิด: 25 มกราคม พ.ศ. 2493) เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และเป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนักการทูตชาวไทย อดีตอธิบดีกรมสารนิเทศและโฆษกกระทรวงการต่างประเทศ อดีตเอกอัครราชทูตประจำสหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีน สหภาพยุโรป และในอีกหลายประเท.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และดอน ปรมัตถ์วินัย
ดิษพงศ์ วงศ์อร่าม
alt.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และดิษพงศ์ วงศ์อร่าม
ดิอาเซียนเวย์
"ดิอาเซียนเวย์" (The ASEAN Way) เป็นบทเพลงประจำสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) อย่างเป็นทางการ ประพันธ์ทำนองโดย กิตติคุณ สดประเสริฐ และสำเภา ไตรอุดม คำร้องโดย พยอม วลัยพัชรา จากประเทศไทย เพลงนี้ได้รับการคัดเลือกเป็นเพลงประจำสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และดิอาเซียนเวย์
ดิเรก ชัยนาม
นายดิเรก ชัยนาม ศาสตราจารย์ ดิเรก ชัยนาม (18 มกราคม พ.ศ. 2447 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2510) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงโตเกียว กรุงลอนดอน และกรุงบอนน์ รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เคยได้รับการเสนอชื่อจากนายปรีดี พนมยงค์ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ได้ปฏิเสธที่จะรับตำแหน่ง และเคยได้รับการเสนอชื่อจากรัฐบาลไทย ต่อองค์การยูเนสโกให้ประกาศเกียรติคุณเป็นบุคคลสำคัญแห่งโลก แต่ไม่ได้รับพิจารณาเนื่องจากข้อเสนอของรัฐบาลไทยไม่เข้าข่ายที่จะได้รับการพิจารณ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และดิเรก ชัยนาม
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย
วามสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย ปัจจุบันอยู่ภายใต้อำนาจจัดการของกระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย) ประเทศไทยเข้าไปมีส่วนร่วมทั้งในองค์การระหว่างประเทศและองค์การระดับภูมิภาค โดยได้พัฒนาความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น ๆ ซึ่งได้จัดการประชุมระดับรัฐมนตรีเศรษฐกิจและการต่างประเทศประจำปี ความร่วมมือในภูมิภาคกำลังก้าวไปข้างหน้าทั้งในด้านเศรษฐกิจ การค้า การธนาคาร การเมืองและวัฒนธรรม ในปี 2546 ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมเอเปก ศุภชัย พานิชภักดิ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรีของไทย ปัจจุบันรับตำแหน่งเลขาธิการใหญ่การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา (UNCTAD) ในปี 2548 ประเทศไทยเข้าร่วมการประชุมสุดยอดผู้นำเอเชียตะวันออกเป็นครั้งแรก เมื่อเร็ว ๆ นี้ ประเทศไทยได้เข้ามามีบทบาทเพิ่มขึ้นอย่างมากในเวทีระหว่างประเทศ เมื่อติมอร์-เลสเตได้รับเอกราชจากอินโดนีเซีย ประเทศไทย เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ได้ส่งกองกำลังเพื่อความพยายามรักษาสันติภาพนานาชาติ และเพื่อความพยายามในการเพิ่มความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ประเทศไทยจึงได้ยื่นมือออกไปยังองค์การระดับภูมิภาคอื่น ๆ อย่างเช่น องค์การนานารัฐอเมริกัน (OAS) และองค์การว่าด้วยความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป (OSCE) ประเทศไทยยังได้ส่งทหารเข้าร่วมในความพยายามฟื้นฟูประเทศอัฟกานิสถานและอิรักอีกด้ว.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย
ความสัมพันธ์เกาหลีใต้–ไทย
วามสัมพันธ์เกาหลีใต้–ไทย เป็นความสัมพันธ์ทวิภาคีระหว่างราชอาณาจักรไทยและสาธารณรัฐเกาหลี ทั้ง 2 ประเทศสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และความสัมพันธ์เกาหลีใต้–ไทย
ความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม
วามคิดและความเคลื่อนไหวที่จะเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของราชอาณาจักรสยาม จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นประชาธิปไตยนั้น มีมาตั้งแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อประมาณ ร..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ณะรัฐประหารในนามคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ. (National Council for Peace and Order (NCPO) เดิมใช้ชื่อ National Peace and Order Maintaining Council (NPOMC)) เป็นคณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง โดยรัฐประหารยึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 15
นายปรีดี พนมยงค์''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 7 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 15 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 15 ของไทย (24 มีนาคม พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 15
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3
ณะรัฐมนตรี คณะที่ 3 (1 เมษายน พ.ศ. 2476 - 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476) พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) เป็นนายกรัฐมนตรี ตามความในข้อ 2 แห่งพระราชกฤษฎีกาให้ปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรและตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ ๒๔๗๖ ซึ่งในประกาศนั้นบัญญัติให้รัฐมนตรีผู้ซึ่งว่าการกระทรวงต่าง ๆ อยู่ในเวลายุบสภาเป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรีใหม่โดยตำแหน่ง ส่วนรัฐมนตรีอื่น ๆ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งขึ้นโดยคำแนะนำของนายกรัฐมนตรี โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกฯ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย ในประกาศตั้งคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4
ณะรัฐมนตรีคณะที่ 4 (21 มิถุนายน พ.ศ. 2476 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476) นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 43
ลเอกเปรม ติณสูลานนท์''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 16 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 43 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 43 ของไทย (30 เมษายน พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 43
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 44
ณะรัฐมนตรี คณะที่ 44 ของไทย (5 สิงหาคม พ.ศ. 2529 - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2531) พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 44
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 47
ณะรัฐมนตรี คณะที่ 47 ของไทย (2 มีนาคม พ.ศ. 2534 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2535) นายอานันท์ ปันยารชุน เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 47
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 48
ลเอกสุจินดา คราประยูร''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 19 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 48 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 48 ของไทย (7 เมษายน พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 48
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 49
นายอานันท์ ปันยารชุน''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 18 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 49 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 49 (10 มิถุนายน 2535-23 กันยายน 2535) นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายอาทิตย์ อุไรรัตน์ ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 18 มิถุนายน 2535 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 49
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5
ณะรัฐมนตรีคณะที่ 5 (16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 22 กันยายน พ.ศ. 2477) นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 50
ณะรัฐมนตรี คณะที่ 50 ของไทย (23 กันยายน พ.ศ. 2535 - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538) ชวน หลีกภัย เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศนายมารุต บุนนาค ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 50
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53
นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีคนที่ 20 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 (14 พฤศจิกายน 2540 - 9 พฤศจิกายน 2543) นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2540 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55
ณะรัฐมนตรีคณะที่ 55 (11 มีนาคม พ.ศ. 2548 - 19 กันยายน พ.ศ. 2549) พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (ยศขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2548 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายโภคิน พลกุล ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 11 มีนาคม 2548 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56
รัฐบาลพลเรือน ที่ตั้งขึ้นภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร เมื่อวันที่ 19 กันยายน..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57
ณะรัฐมนตรีคณะที่ 57 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 - 18 กันยายน พ.ศ. 2551) นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายยงยุทธ ติยะไพรัช ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58
ณะรัฐมนตรีคณะที่ 58 (24 กันยายน พ.ศ. 2551 - 19 ธันวาคม พ.ศ. 2551) หรือที่รู้จักกันในชื่อ คณะรัฐมนตรีสมชาย (ครม.สมชาย 1) นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59
ณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59 (20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2554) มีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60
ณะรัฐมนตรีคณะที่ 60 (9 สิงหาคม พ.ศ. 2554 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557) เป็นคณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม ประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 9 สิงหาคม 2554 ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 และการแต่งตั้ง ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ตาม ประกาศแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 5 สิงหาคม 2554 โดยลำดับ คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลง เมื่อนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61
ณะรัฐมนตรีคณะที่ 61 (30 สิงหาคม พ.ศ. 2557 — ปัจจุบัน) คณะรัฐมนตรีไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม พระบรมราชโองการประกาศแต่งตั้งรัฐมนตรี ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2557 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/RKJ/announce/answer.jsp?id.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9
นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 9 หลวงพรหมโยธี คณะรัฐมนตรี คณะที่ 9 ของไทย (16 ธันวาคม พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9
คณะรัฐมนตรีเงา (พรรคประชาธิปัตย์)
ณะรัฐมนตรีเงา เริ่มมีการจัดตั้งในประเทศไทย เมื่อ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ผู้นำฝ่ายค้าน ได้ประกาศติดตามการทำงานของรัฐบาลผสมที่มีพรรคพลังประชาชนเป็นแกนนำ ในสมัยที่นายสมัคร สุนทรเวช และนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทย และได้มีการจัดตั้งคณะรัฐมนตรีเงาเป็นคณะที่ 2 ในช่วงรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐมนตรีเงา (พรรคประชาธิปัตย์)
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Faculty of Political Science, Thammasat University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ จัดเป็น 1 ใน 4 คณะวิชาก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเป็นคณะวิชาลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลั.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Political Science, Chulalongkorn University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ถือได้ว่าเป็นคณะวิชาที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ เป็นคณะรัฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดทำการเรียนการสอนทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก อีกทั้งยังเป็นคณะที่ได้รับการเลือกเข้าศึกษาจากผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดจากการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีด้วยระบบ Admission ถึง 4 ปีซ้อน (2553 - 2556).
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตราแผ่นดินของไทย
ตราแผ่นดินของไทย คือตราพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ เทพพาหนะของพระนารายณ์ ใช้เป็นสัญลักษณ์ของพระราชอำนาจแห่งพระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขของชาติและเป็นองค์อวตารของพระนารายณ์ตามแนวคิดสมมุติเทพ โดยเริ่มใช้มาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งแต่หลัง พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และตราแผ่นดินของไทย
ซียูไรเตอร์
ซียูไรเตอร์ (CU Writer) หรือเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า จุฬาเวิร์ด, เวิร์ดจุฬา หรือ CW เป็นโปรแกรมประมวลคำภาษาไทย ทำงานบนระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอส สร้างขึ้นโดยความร่วมมือจาก สถาบันบริการคอมพิวเตอร์ กับภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำโดยนายสำนวน หิรัญวงษ์ เมื่อต้นปี พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และซียูไรเตอร์
ประชา คุณะเกษม
ประชา คุณะเกษม 29 ธันวาคม พ.ศ. 2477—8 ตุลาคม พ.ศ. 2552 อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร พรรคไทยรักไท.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และประชา คุณะเกษม
ประวัติกระทรวงการคลังไทย
กระทรวงการคลัง คือหนึ่งใน 12 กระทรวงของประเทศไทย เป็นกระทรวงที่มีมาตั้งแต่โบราณ ในฐานะหนึ่งในจตุสดม.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และประวัติกระทรวงการคลังไทย
ประสงค์ สุ่นศิริ
นาวาอากาศตรี ประสงค์ สุ่นศิริ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (พลเอกเปรม ติณสูลานนท์) และผู้อำนวยการหนังสือพิมพ์แนวหน้.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และประสงค์ สุ่นศิริ
ประจวบ ไชยสาส์น
นายประจวบ ไชยสาส์น นายกสภามหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตหัวหน้าพรรคเสรีธรรม อดีตเลขาธิการพรรคชาติพัฒนา อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอื่นๆ อีกหลายกระทรวง และเป็นบิดาของนายต่อพงษ์ ไชยสาส์น และนายจักรพรรดิ ไชยสาส์น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอุดรธานี พรรคเพื่อไทย นายประจวบ ไชยสาส์น เป็นที่รู้จักกันในฉายา "อีดี้อีสาน".
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และประจวบ ไชยสาส์น
ประเทศมัลดีฟส์
มัลดีฟส์ (Maldives; ދިވެހިރާއްޖެ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมัลดีฟส์ (Republic of Maldives; ހިވެދި ގުޖޭއްރާ ޔާއްރިހޫމްޖު) เป็นประเทศที่มีพื้นที่ประกอบด้วยหมู่เกาะปะการังจำนวนมากในมหาสมุทรอินเดีย และตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดียและประเทศศรีลังก.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และประเทศมัลดีฟส์
ประเทศไทยใน พ.ศ. 2418
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2418 ในประเทศไท.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และประเทศไทยใน พ.ศ. 2418
ประเทศไทยใน พ.ศ. 2435
หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2435 ในประเทศไท.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และประเทศไทยใน พ.ศ. 2435
ปาล พนมยงค์
ปาล พนมยงค์ (12 ธันวาคม พ.ศ. 2474 - 9 กันยายน พ.ศ. 2524) เป็นนักกฎหมาย บุตรชายคนโตของ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส อดีตนายกรัฐมนตรีของไทย กับ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ (สกุลเดิม: ณ ป้อมเพชร์).
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และปาล พนมยงค์
นพดล ปัทมะ
นพดล ปัทมะ (เกิด 23 เมษายน พ.ศ. 2504 ที่อำเภอสีดา จังหวัดนครราชสีมา) ทนายความประจำตระกูลชินวัตร เป็นผู้แทนทางกฎหมายในประเทศไทยของ.ต.ท.ดร.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และนพดล ปัทมะ
นวน เจีย
นวน เจีย (2011) นวน เจีย (នួន ជា นวน ชา; เกิด 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1926) อาจรู้จักในชื่อ ลอง บุญรอด หรือ ฬง บุนรวต (ឡុង រិទ្ធិ ฬง ริทฺธิ; Long Bunruot) และมีชื่อภาษาไทยว่า รุ่งเลิศ เหล่าดี เป็นนักการเมืองสายคอมมิวนิสต์ของกัมพูชา เป็นผู้นำอันดับสองของเขมรแดงรองจากพล พต จนถูกเรียกกันว่า "พี่ชายหมายเลขสอง" หรือ "พี่รอง" เขาเป็นที่ต้องการตัวจากสหประชาชาติ เพื่อนำตัวไปดำเนินคดีข้อหาฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ที่ศาลพิเศษคดีอาชญากรสงคราม กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา พร้อมกับเอียง ซารี, เขียว สัมพัน และเอียง ธิริธ (เขียว ธิริธ) ภริยาของนายเอียง ซารี โดยวันที่ 7 สิงหาคม..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และนวน เจีย
นิสสัย เวชชาชีวะ
นายนิสสัย เวชชาชีวะ อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายสัญญา ธรรมศักดิ์ อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ และเป็นบิดาของนายสุรนันทน์ เวชชาชีว.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และนิสสัย เวชชาชีวะ
นิตย์ พิบูลสงคราม
นิตย์ พิบูลสงคราม (30 มิถุนายน พ.ศ. 2484 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2557) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ กรรมการมูลนิธิสถาบันการต่างประเทศสราญรมย์ บุตรชายคนสุดท้องของจอมพลแปลก พิบูลสงคราม อดีตนายกรัฐมนตรี กับท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และนิตย์ พิบูลสงคราม
แยกศรีอยุธยา
แยกศรีอยุธยา (Si Ayutthaya) เป็นสี่แยกในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดระหว่างถนนพระรามที่ 6 กับถนนศรีอ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และแยกศรีอยุธยา
โฟวซิโย ยูซุฟ ฮาจี เอเดน
ฟวซิโย ยูซุฟ ฮาจี เอเดน (Foosiya Yuusuf Xaaji Aadan, فوزية يوسف حاجي عدن) เป็นนักการเมืองชาวโซมาลี ตั้งแต่ 4 พฤศจิก..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และโฟวซิโย ยูซุฟ ฮาจี เอเดน
โกศล ปัทมะ
นายโกศล ปัทมะ (เกิด 29 มกราคม พ.ศ. 2510) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา เขต 5 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และโกศล ปัทมะ
โภคิน พลกุล
รองศาสตราจารย์ ดร.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และโภคิน พลกุล
โมฮัมเหม็ด อับดุลลาฮี โอมาร์
มฮัมเหม็ด อับดุลลาฮี โอมาร์ (Maxamed Cabdullahi Omaar, محمد عبدالله عمر) เป็นนักการเมืองและนักการทูตชาวโซมาเลีย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศโซมาเลี.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และโมฮัมเหม็ด อับดุลลาฮี โอมาร์
โมฮัมเหม็ด โมฮามุด อิบราฮิม
มฮัมเหม็ด โมฮามุด อิบราฮิม, CIA Factbook, August 2011 (Maxamed Maxamuud Ibrahiim, محمد محمود ابراهيم) (เกิด พ.ศ. 2489 หรือพ.ศ. 2490, BBC, 9 September 2011) เป็นนักการเมืองชาวโซมาเลี.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และโมฮัมเหม็ด โมฮามุด อิบราฮิม
โรงเรียนวัดสุทธิวราราม
รงเรียนวัดสุทธิวราราม (Wat Suthiwararam School) (อักษรย่อ: ส.ธ., ST) เป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ราษฎรสร้างขึ้นแล้วยกให้กระทรวงธรรมการ มีพระราชหัตถเลขาชมเชยให้การสร้างโรงเรียนวัดสุทธิวรารามเป็นแบบอย่างของการบำเพ็ญกุศลที่ต้องด้วยพระราชนิยมเป็นอย่างยิ่ง โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระองค์เสด็จพระราชดำเนินมาทรงทำพิธีเปิดเป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลวรชาติ มีชูบท, พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าแผ่นดินสยาม, สำนักพิมพ์ สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2552 เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวัดสุทธิวราราม
โรงเรียนวิสุทธรังษี
รงเรียนวิสุทธรังษี (Visuttharangsi School) (อักษรย่อ: ว.ส.) เป็นโรงเรียนรัฐบาลแห่งแรกของจังหวัดกาญจนบุรี เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษและเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดกาญจนบุรี สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 (ราชบุรี-กาญจนบุรี) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และโรงเรียนวิสุทธรังษี
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (อักษรย่อ: ส.ก./S.K.) เป็นโรงเรียนชายล้วนในระดับชั้น มัธยมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 88 ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 11 ไร่ 2 งาน 23 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารเรียน 7 หลัง ห้องเรียนทั้งหมด 78 ห้อง นอกจากนี้โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยยังโดดเด่นในเรื่องคุณภาพมาตรฐานของศิษย์เก่าที่จบไปโดยเฉพาะด้านวิชาการ ภาษา และความเป็นผู้นำ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็น 1 ในกลุ่มโรงเรียนจตุรมิตรสามัคคี ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย มีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมของทั้ง 4 โรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้าภาพในทุกๆ 2 ปี นอกจากการแข่งขันฟุตบอล ยังมี การแปรอักษร ของทั้ง 4 โรงเรียน ซึ่งเป็นอีกสัญลักษณ์สำคัญของงาน โดยกีฬาจตุรมิตรสามัคคีจะจัดขึ้นในทุกๆ 4 ปี ที่ สนามศุภชลาศัย นอกจากนี้ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ยังมีงานกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์ และงานชุมนุมลูกเสือสวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งจัดขึ้นร่วมกับโรงเรียนใน เครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นประจำทุกปี โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี
รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (Suankularb Wittayalai Nonthaburi School; อักษรย่อ: ส.ก.น., S.K.N.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา ในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย ลำดับที่สอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยกรมสามัญศึกษา (ปัจจุบัน: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ได้รับบริจาคที่ดิน จากนายผาสุก และนางเง็ก มณีจักร สองสามีภรรยา คหบดีชาวอำเภอปากเกร็ด ที่มีความประสงค์ให้สร้างโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย บนพื้นที่ดังกล่าว จึงเกิดการประสานงานจัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี
โรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย
รงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย ตั้งอยู่บนเลขที่ 76 ถนนสารสิทธิ์ฯ ตำบลบ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี เป็นโรงเรียนเอกชนขนาดใหญ่ประเภทสามัญศึกษาในเครือคณะซาเลเซียนของคุณพ่อบอสโก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ โดยได้รับใบอนุญาตจัดตั้งเมื่อ พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย
โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา มีประวัติการก่อตั้งโรงเรียนสืบเนื่องมาจาก "โรงเรียนมัธยมหอวังแห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย" ซึ่งเป็นโรงเรียนสาธิตสังกัดแผนกวิชาครุศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีวัตถุประสงค์เพื่อการฝึกหัดครู ชั้นประโยคครูมัธยม ครั้นต่อมาโรงเรียนมัธยมหอวังฯ ได้เปลี่ยนรูปงานเป็น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แผนกวิชาครุศาสตร์จึงไม่มีโรงเรียนสำหรับฝึกหัดครูเป็นระยะเวลานานประมาณ 15 ปี เมื่อแผนกวิชาครุศาสตร์ขยายงานเป็น คณะครุศาสตร์ โดยมีศาสตราจารย์ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา เป็นคณบดีคนแรก ท่านได้เล็งเห็นความจำเป็นในการจัดตั้งโรงเรียนสาธิต เพื่อการฝึกหัดครูขั้นปริญญาขึ้นแทนโรงเรียนมัธยมหอวังฯ จึงได้ดำเนินการจัดตั้งโรงเรียนขึ้นโดยให้ชื่อว่า "โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" และทำพิธีเปิดป้ายชื่อโรงเรียนเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Triam Udom Suksa School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
โรงเรียนเซนต์คาเบรียล
รงเรียนเซนต์คาเบรียล (St.) เป็นโรงเรียนเอกชนโรงเรียนชายล้วนขนาดใหญ่ ในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ซึ่งเป็นคณะนักบวชคาทอลิก ตั้งอยู่บนถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เปิดสอนนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 คำว่า "เซนต์คาเบรียล" ในชื่อโรงเรียนนั้น จึงมาจากชื่อคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ผู้ก่อตั้งโรงเรียน โรงเรียนเซนต์คาเบรียลเป็นโรงเรียนที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงแห่งหนึ่งในประเทศ เป็นที่ยอมรับในด้านคุณภาพการศีกษาโดยเฉพาะภาษาอังกฤษ และคุณภาพของนักเรียนและศิษย์เก่าที่จบไป โรงเรียนเซนต์คาเบรียล เป็นหนึ่งในสองของโรงเรียนในเครือฯที่ใช้สีประจำสถาบันคือ น้ำเงินขาว (อีกโรงเรียนหนึ่งที่ใช้สีน้ำเงินขาวคือโรงเรียนอัสสัมชัญลำปาง) และมีเพียงวิทยาเขตเดียว เช่นเดียวกับ โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัยและโรงเรียนเซนต์หลุยส์ ที่ไม่ได้ชื่อโรงเรียนว่า "อัสสัมชัญ" นำหน้า ปัจจุบันโรงเรียนเซนต์คาเบรียลมีอายุได้ ปี เป็นหนึ่งในโรงเรียนที่เก่าแก่ที่สุดในย่านดุสิต.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และโรงเรียนเซนต์คาเบรียล
โผน อินทรทัต
.ต.โผน อินทรทัต พันตรีโผน อินทรทัต อดีตรองผู้อำนวยการโรงงานยาสูบ และเสรีไทยสายสหรัฐอเมริกา รุ่นที่ 1 เกิดเมื่อ..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และโผน อินทรทัต
โตเกียว
ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และโตเกียว
ไทยเชื้อสายจีน
วไทยเชื้อสายจีน คือ ชาวจีนที่เกิดในประเทศไทยและเป็นเชื้อสายของผู้อพยพชาวจีน หรือชาวจีนโพ้นทะเล คนไทยเชื้อสายจีน มีประมาณ 9.4 ล้านคนในประเทศไทย หรือร้อยละ 14 ของประชากรทั้งประเทศ และยังมีอีกจำนวนมากไม่สามารถนับได้ เพราะที่กลมกลืนกับคนไทยไปแล้วโดยการแต่งงานข้ามเชื้อชาติ ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากบรรพบุรษจะมาจากจังหวัดแต้จิ๋ว ในมณฑลกวางตุ้ง ทางตอนใต้ของจีน พูดภาษาแต้จิ๋ว ซึ่งเป็นภาษากลุ่มหมิ่นหนาน รองลงมาคือมาจาก แคะ ฮกเกี้ยน และไหหลำ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และไทยเชื้อสายจีน
เล็ก นานา
นายเล็ก นานา (18 มีนาคม พ.ศ. 2468 - 1 เมษายน พ.ศ. 2553) เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ คนที่ 9 อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร หลายสมั.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และเล็ก นานา
เศรษฐกิจพอเพียง
รษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และเศรษฐกิจพอเพียง
เหตุการณ์พายุหมุนนาร์กิส พ.ศ. 2551
หตุการณ์พายุหมุนนาร์ก..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และเหตุการณ์พายุหมุนนาร์กิส พ.ศ. 2551
เหตุการณ์ก๊อด'ส อาร์มี่บุกยึดสถานทูตพม่า พ.ศ. 2542 และโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี พ.ศ. 2543
นายเบดาห์หรือปรีดา ผู้นำการก่อการร้ายที่ ร.พ.ศูนย์ราชบุรี จอห์นนี่ (ซ้าย) และ ลูเธอร์ ทู (ขวา) ผู้นำก๊อด'ส อาร์มี่ เหตุการณ์ก๊อด'ส อาร์มี่บุกยึดสถานทูตพม..
เจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์
้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ (พระนามเต็ม โฮกุน มักนุส, ประสูติ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1973 ณ กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์) พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ กับสมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ พระองค์มีพระเชษฐภคินีคือ เจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์
เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)
มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)
เจ้าพระยาอภัยราชาสยามานุกูลกิจ (โรลังยัคมินส์)
้าพระยาอภัยราชาสยามานุกูลกิจ (31 มกราคม พ.ศ. 2378 – 9 มกราคม พ.ศ. 2445) หรือชื่อจริงว่า กุสตาฟว์ อ็องรี อ็องฌ์ อีปอลิต รอแล็ง-ฌักแม็ง (Gustave Henri Ange Hippolyte Rolin-Jacquemyns) หรือนิยมเรียกว่า โรลังยัคมินส์ เป็นนักการทูตและนักการเมืองชาวเบลเยี่ยม ได้เข้ารับราชการในราชอาณาจักรสยามสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจ้าอยู่หัว และนับเป็นผู้มีคุณูปการต่อการพัฒนาระบบศาลยุติธรรมของสยาม.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และเจ้าพระยาอภัยราชาสยามานุกูลกิจ (โรลังยัคมินส์)
เจ้าหญิงมาเดอลีน ดัชเชสแห่งเฮลซิงลันด์และเยสตริคลันด์
้าหญิงมาเดอลีนแห่งสวีเดน ดัชเชสแห่งเฮลซิงลันด์และเยสตริคลันด์ (พระนามเต็ม เมดเดลีน เธแรส อาเมลี โจเซฟีน);() 10 มิถุนายน พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และเจ้าหญิงมาเดอลีน ดัชเชสแห่งเฮลซิงลันด์และเยสตริคลันด์
เจ้าหญิงลัลลา ซัลมา
้าหญิงลัลลา ซัลมา (الأميرة للا سلمى; เบอร์เบอร์: ⵍⴰⵍⵍⴰ ⵙⵍⵎⴰ) หรือพระนามเดิมว่า ซัลมา เบนนานี (سلمى بنّاني; ประสูติ: 10 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และเจ้าหญิงลัลลา ซัลมา
เจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน
้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน (Her Royal Highness Crown Princess Victoria of Sweden; Hennes Kungliga Höghet Kronprinsessan Victoria, Sveriges kronprinsessa; พระนามเต็ม วิกตอเรีย อิงกริด อลิซ เดซิเร; 14 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และเจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน
เจ้าอนุวงศ์
้าอนุวงศ์ หรือ เจ้าอนุ (ສົມເດັຈພຣະເຈົ້າອະນຸວົງສ໌) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์พระองค์ที่ ๕ หรือพระองค์สุดท้าย ทรงได้รับการยกย่องว่าเป็นพระมหาวีรกษัตริย์แห่งราชอาณาจักรล้านช้างและประเทศลาว นอกจากนี้ยังได้รับการยกย่องจากประชาชนชาวลาวว่า เป็นพระมหากษัตริย์ผู้พยายามกอบกู้เอกราชชาติลาวจากการเป็นประเทศราชของราชอาณาจักรสยาม ทรงปกครองราชอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ราว..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และเจ้าอนุวงศ์
เขตราชเทวี
ตราชเทวี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และเขตราชเทวี
เขตหลักสี่
ตหลักสี่ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และเขตหลักสี่
เต็มฟ้า กฤษณายุธ
ต็มฟ้า กฤษณายุธ เป็นนักร้อง นักแสดง นางแบบ และอดีตนักกีฬายิมนาสติกลีลาทีมชาติไทย เต็มฟ้าจบการศึกษาจาก คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักสูตรนานาชาติ (EBA Program) ด้วยเกียรตินิยมอันดับ 1 และเป็นลูกสาวของ แหวน ฐิติมา สุตสุนทร นักร้องในสังกัด จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ กับบรรเจิด กฤษณ.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และเต็มฟ้า กฤษณายุธ
เปรียว อวอร์ด
ปรียว อวอร์ด (Priew Awards) เป็นรางวัลที่นิตยสารเปรียว มอบให้แก่ 10 บุคคลคุณภาพแห่งปี ที่ประสบความสำเร็จสมควรได้รับยกย่อง เป็นแบบอย่างของสังคม โดยมีเกณฑ์พิจารณาต่างๆ เช่น เป็นผู้มีบุคลิกดี และมีความสามารถ มีจิตใจดี ภาพพจน์ในสังคมดี มนุษยสัมพันธ์ดี มีส่วนช่วยเหลือสังคม และประสบความสำเร็จอย่างโดดเด่นในแต่ละสาขาวิชาชีพ โดยเริ่มต้นมอบรางวัลครั้งแรกใน ปี..
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และเปรียว อวอร์ด
1 เมษายน
วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และ1 เมษายน
12 พฤศจิกายน
วันที่ 12 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 316 ของปี (วันที่ 317 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 49 วันในปีนั้น.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และ12 พฤศจิกายน
14 เมษายน
วันที่ 14 เมษายน เป็นวันที่ 104 ของปี (วันที่ 105 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 261 วันในปีนั้น.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และ14 เมษายน
28 ตุลาคม
วันที่ 28 ตุลาคม เป็นวันที่ 301 ของปี (วันที่ 302 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 64 วันในปีนั้น.
ดู กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)และ28 ตุลาคม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ กระทรวงการต่างประเทศกระทรวงการต่างประเทศของไทยกระทรวงต่างประเทศ
การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2552การประชุมสุดยอดอาเซียนการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองมหาวิทยาลัยศิลปากรมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมาริอินสกีบัลเลต์มานะ มหาสุวีระชัยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรัดเกล้า อามระดิษราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย)รายชื่อสกุลนักการเมืองไทยรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรางวัลครุฑทองคำรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายหมอชิต-ปากเกร็ดลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557ลี้ ต๊งวชิระมณฑ์ คุณะเกษมธนาวัฒน์วสุ แสงสิงแก้ววิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอช. นิทซ์วิทย์ รายนานนท์วินัย สะมะอุนวีรชัย พลาศรัยวีระศักดิ์ ฟูตระกูลวงศ์ พลนิกรศักดิชัย บำรุงพงศ์ศาสนาอิสลามในประเทศไทยศาสนาในประเทศไทยศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น)สกุลชินวัตรสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24สมคิด จาตุศรีพิทักษ์สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียมสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการสวนศิวาลัยสัญญา ธรรมศักดิ์สามเหลี่ยมมรกตสาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)สาโรจน์ ชวนะวิรัชสุบิน ปิ่นขยันสุภรณ์ อัตถาวงศ์สุภา ศิริมานนท์สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์สุรินทร์ พิศสุวรรณสุรเกียรติ์ เสถียรไทยสุธาวัลย์ เสถียรไทยสถานการณ์ฉุกเฉินหม่อมราชวงศ์บุษบา สธนพงศ์หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตรหม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุลหม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุลหม่อมหลวงพีระพงศ์ เกษมศรีหม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุลหม่อมเจ้าสมรศรีโสภา เทวกุลหม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลหม่อมเจ้านิกรเทวัญ เทวกุลหม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)หนังสือเดินทางไทยอภินันท์ ปวนะฤทธิ์อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะอัครบิดรคีริลล์แห่งมอสโกอาทิตย์ อุไรรัตน์อานันท์ ปันยารชุนองค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อนันต์ จินตกานนท์จรัส พั้วช่วยจักรพันธ์ ห้วยเพชรจักรภพ เพ็ญแขจังหวัดนครราชสีมาจิตติ สุจริตกุลจิตติ ติงศภัทิย์ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ธีรนัยน์ ณ หนองคายธงทอง จันทรางศุถนัด คอมันตร์ถนนพระรามที่ 6ถนนกัลยาณไมตรีถนนศรีอยุธยาถนนแจ้งวัฒนะทักษิณ ชินวัตรขุนหลวงพระยาไกรสี (เปล่ง เวภาระ)ข้าราชการไทยดอน ปรมัตถ์วินัยดิษพงศ์ วงศ์อร่ามดิอาเซียนเวย์ดิเรก ชัยนามความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทยความสัมพันธ์เกาหลีใต้–ไทยความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยามคณะรักษาความสงบแห่งชาติคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 15คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 43คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 44คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 47คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 48คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 49คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 50คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 60คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9คณะรัฐมนตรีเงา (พรรคประชาธิปัตย์)คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตราแผ่นดินของไทยซียูไรเตอร์ประชา คุณะเกษมประวัติกระทรวงการคลังไทยประสงค์ สุ่นศิริประจวบ ไชยสาส์นประเทศมัลดีฟส์ประเทศไทยใน พ.ศ. 2418ประเทศไทยใน พ.ศ. 2435ปาล พนมยงค์นพดล ปัทมะนวน เจียนิสสัย เวชชาชีวะนิตย์ พิบูลสงครามแยกศรีอยุธยาโฟวซิโย ยูซุฟ ฮาจี เอเดนโกศล ปัทมะโภคิน พลกุลโมฮัมเหม็ด อับดุลลาฮี โอมาร์โมฮัมเหม็ด โมฮามุด อิบราฮิมโรงเรียนวัดสุทธิวรารามโรงเรียนวิสุทธรังษีโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีโรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัยโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาโรงเรียนเซนต์คาเบรียลโผน อินทรทัตโตเกียวไทยเชื้อสายจีนเล็ก นานาเศรษฐกิจพอเพียงเหตุการณ์พายุหมุนนาร์กิส พ.ศ. 2551เหตุการณ์ก๊อด'ส อาร์มี่บุกยึดสถานทูตพม่า พ.ศ. 2542 และโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี พ.ศ. 2543เจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เจ้าพระยาอภัยราชาสยามานุกูลกิจ (โรลังยัคมินส์)เจ้าหญิงมาเดอลีน ดัชเชสแห่งเฮลซิงลันด์และเยสตริคลันด์เจ้าหญิงลัลลา ซัลมาเจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดนเจ้าอนุวงศ์เขตราชเทวีเขตหลักสี่เต็มฟ้า กฤษณายุธเปรียว อวอร์ด1 เมษายน12 พฤศจิกายน14 เมษายน28 ตุลาคม