โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กรมหลวงโยธาเทพ

ดัชนี กรมหลวงโยธาเทพ

กรมหลวงโยธาเทพ ภายหลังออกพระนามว่า สมเด็จพระรูปเจ้า มีพระนามเดิมว่า พระสุดาเทวี (คำให้การชาวกรุงเก่า)ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 94 หรือ เจ้าฟ้าสุดาวดี (พ.ศ. 2199—2278) เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งประสูติแต่พระมเหสีฝ่ายขวา พระองค์มีบทบาทด้านการค้าค่อนข้างสูงในรัชสมัยของพระราชบิดา และได้รับพระราชทานให้ดำรงพระอิสริยยศเป็น "กรมหลวงโยธาเทพ" และคงมีพระอำนาจสูงมาก โดยจดหมายเหตุลาลูแบร์กล่าวว่าพระองค์ "...ทรงพระเกียรติยศและเสด็จประทับ ณ พระมนทิราลัยเยี่ยงพระอัครมเหสี..."จดหมายเหตุ ลาลูแบร์ ราชอาณาจักรสยาม, หน้า 303 และบางครั้งชาวตะวันตกก็เรียกแทนพระองค์ว่าเป็น "ราชินี" พระองค์มีบทบาทอย่างสูงเนื่องจากทรงมีส่วนริเริ่มการปฏิวัติผลัดแผ่นดิน ทั้งยังมีความสัมพันธ์อันดีกับแพทย์หลวงชาวฝรั่งเศสที่ชื่อดาเนียล บรูชบูรด์ ผู้ที่ถูกกล่าวโทษว่าวางยาลอบปลงพระชนม์สมเด็จพระนารายณ์ แต่ท้ายที่สุดพระองค์ก็ตกเป็นเหยื่อของเหตุการณ์นี้เสียเองทั้งที่ไม่เต็มพระทัยนัก ด้วยการเป็นพระมเหสีฝ่ายซ้ายของสมเด็จพระเพทราชา แต่หลังสิ้นรัชกาลสมเด็จพระเพทราชา พระองค์และกรมหลวงโยธาทิพได้ถวายบังคมออกจากพระบรมมหาราชวังมาประทับและดำรงพระชนม์อย่างสงบด้วยการผนวชเป็นรูปชี แต่นั้นเป็นต้นมาชาววังได้ออกพระนามว่า "สมเด็จพระรูปเจ้า"ดร.

17 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2199พ.ศ. 2278พระปีย์พระเมรุมาศพันท้ายนรสิงห์ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2558)พิมพ์พรรณ ชลายนคุปต์กรมหลวงโยธาทิพกรมขุนเสนาบริรักษ์การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2231รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทยรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงศรีอยุธยาสมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระเพทราชาท้าวทองกีบม้า (มารี กีมาร์)ดัชเชสมาเรีย อันนา วิกตอเรียแห่งบาวาเรียตรัสน้อยเจ้าฟ้าน้อย

พ.ศ. 2199

ทธศักราช 2199 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: กรมหลวงโยธาเทพและพ.ศ. 2199 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2278

ทธศักราช 2278 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: กรมหลวงโยธาเทพและพ.ศ. 2278 · ดูเพิ่มเติม »

พระปีย์

ระปีย์ (Pra Py) หรือ ออกพระปีย์ (Ophra Py) หรือ หม่อมปีย์ (Monpit)สปอร์แดช มอร์แกน (เขียน) กรรณิกา จรรย์แสง (แปล).

ใหม่!!: กรมหลวงโยธาเทพและพระปีย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเมรุมาศ

ระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระเมรุมาศ และพระเมรุ คือ สถาปัตยกรรมชั่วคราว หรือสถาปัตยกรรมเฉพาะกิจที่สร้างขึ้น ณ ใจกลางเมือง เพื่อใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพหรือพระราชพิธีพระศพโดยเฉพาะ มีลักษณะเป็น "กุฎาคาร หรือ เรือนยอด" คือเรือนซึ่งหลังคาต่อเป็นยอดแหลม โดยในอดีตนิยมสร้างเป็นแบบ ยอดปรางค์ อาจมีพรหมพักตร์หรือไม่มีก็ได้ พระเมรุมาศ เป็นพระเมรุขนาดสูงใหญ่ ใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพ พระมหากษัตริย์ พระอัครมเหสี พระบรมราชินี พระราชชนนี พระบวรราชเจ้า พระยุพราช สำหรับการตายที่ใช้ราชาศัพท์ว่าสวรรคต ภายในพระเมรุมาศมี “พระเมรุทอง” ลักษณะของพระเมรุมาศที่ปรากฏการสร้างมี 2 รูปแบบคือพระเมรุมาศทรงปราสาท ที่สร้างมาแต่โบราณ มีขนาดใหญ่โตมโหฬาร และพระเมรุมาศทรงบุษบก ส่วนพระเมรุ เช่นเดียวกับพระเมรุมาศ แต่มีขนาดเล็กลง และไม่มีพระเมรุทองภายใน ใช้สำหรับราชวงศ์ที่ทรงฐานานุศักดิ์ใช้ราชาศัพท์ว่า “ทิวงคต” หรือ “สิ้นพระชนม์” การออกแบบสถาปัตยกรรมพระเมรุมาศ พระเมรุ ต้องอาศัยการสร้างสรรค์ออกแบบจากผู้รอบรู้เจนจบงานศิลปกรรมของชาติ ช่างที่ได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้จากครูบาอาจารย์ทั้งงานออกแบบรูปลักษณ์ ก่อสร้างอาคาร การคิดลวดลายขึ้นประดิษฐ์ตกแต่งทุกส่วนให้เข้ากับอาคาร โดยมีหลักเกณฑ์ที่คำนึงถึงว่าพระเมรุมาศของพระองค์ใด ที่แสดงลักษณะของพระองค์นั้น ภายหลังจากการถวายพระเพลิงแล้ว ชิ้นส่วนประกอบต่าง ๆ ของพระเมรุที่ถูกรื้อถอนบางส่วนจะนำไปถวายวัด เพื่อเป็นการกุศลแด่ผู้วายชนม.

ใหม่!!: กรมหลวงโยธาเทพและพระเมรุมาศ · ดูเพิ่มเติม »

พันท้ายนรสิงห์ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2558)

ันท้ายนรสิงห์ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2558 สร้างจากบทประพันธ์ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล ที่แต่งขึ้นจากเรื่องเกร็ดในพงศาวดารและประวัติศาสตร์สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย กำกับการแสดงโดย ม.จ. ชาตรีเฉลิม ยุคล อำนวยการสร้างโดย หม่อมกมลา ยุคล ณ อยุธยา นำแสดงโดย พันเอกวันชนะ สวัสดี, พงศกร เมตตาริกานนท์, พิมดาว พานิชสมัย, สรพงษ์ ชาตรี, นิรุตต์ ศิริจรร.

ใหม่!!: กรมหลวงโยธาเทพและพันท้ายนรสิงห์ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2558) · ดูเพิ่มเติม »

พิมพ์พรรณ ชลายนคุปต์

มพ์พรรณ ชลายนคุปต์ (ชื่อเล่น: พิม) เกิดเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521 เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย การศึกษา จบปริญญาตรี บริหารการเงิน มหาวิทยาลัยกรุงเทพเข้าสู่วงการจากการประกวด Miss Motor Show ปี 2543 โดยได้ตำแหน่งชนะเลิศ มีชื่อเสียงจากการแสดงภาพยนตร์เรื่องคืนบาป พรหมพิราม ซึ่งทำให้เธอได้รับรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รางวัลสุพรรณหงส์ ประจำปี..

ใหม่!!: กรมหลวงโยธาเทพและพิมพ์พรรณ ชลายนคุปต์ · ดูเพิ่มเติม »

กรมหลวงโยธาทิพ

กรมหลวงโยธาทิพ มีพระนามเดิมว่า เจ้าฟ้าศรีสุวรรณคำให้การขุนหลวงหาวัด (ฉบับหลวง), ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 413 บ้างออกพระนามว่า พระราชกัลยาณีพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 285พระบรมราชินีและเจ้าจอมมารดาแห่งราชสำนักสยาม, หน้า 23 (พ.ศ. 2181–2258) เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าปราสาททองและเป็นพระราชขนิษฐาในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ภายหลังได้เป็นที่พระอัครมเหสีฝ่ายขวาในสมเด็จพระเพทราชา ประสูติการพระราชโอรสพระองค์หนึ่งพระนามเจ้าพระขวัญ.

ใหม่!!: กรมหลวงโยธาเทพและกรมหลวงโยธาทิพ · ดูเพิ่มเติม »

กรมขุนเสนาบริรักษ์

มเด็จเจ้าฟ้าแก้ว กรมขุนเสนาบริรักษ์ พระโอรสของสมเด็จเจ้าฟ้าน้อย พระอนุชาธิราชของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ประสูติกับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ (แจ่ม) พระสนมเอกในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เนื่องจากถือว่าเป็น "ลูกชู้" จึงไม่ได้รับยกย่องให้เป็นพระราชนัดดาของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระองค์จึงมีพระยศเป็น "หม่อมแก้ว".

ใหม่!!: กรมหลวงโยธาเทพและกรมขุนเสนาบริรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2231

การปฏิวัติสยาม..

ใหม่!!: กรมหลวงโยธาเทพและการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2231 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไท.

ใหม่!!: กรมหลวงโยธาเทพและรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงศรีอยุธยา

รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงศรีอ.

ใหม่!!: กรมหลวงโยธาเทพและรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนารายณ์มหาราช

มเด็จพระนารายณ์มหาราช หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 (พ.ศ. 2174/2175 - 2231; ครองราชย์ พ.ศ. 2199-2231) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 27 ในสมัยกรุงศรีอ.

ใหม่!!: กรมหลวงโยธาเทพและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเพทราชา

มเด็จพระมหาบุรุษ หรือ สมเด็จพระเพทราชา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 28 ของอาณาจักรอยุธยา และเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์บ้านพลูหลวง ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: กรมหลวงโยธาเทพและสมเด็จพระเพทราชา · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวทองกีบม้า (มารี กีมาร์)

ท้าวทองกีบม้า มีชื่อตัวว่า มารีอา กูโยมาร์ เด ปิญญา (Maria Guyomar de Pinha) แต่มักเป็นที่รู้จักในชื่อ มารี กีมาร์ (Marie Guimarชื่อของเธอมีการสะกดได้หลายทาง ได้แก.

ใหม่!!: กรมหลวงโยธาเทพและท้าวทองกีบม้า (มารี กีมาร์) · ดูเพิ่มเติม »

ดัชเชสมาเรีย อันนา วิกตอเรียแห่งบาวาเรีย

ัชเชสมาเรีย อันนา วิกตอเรียแห่งบาวาเรีย, โดฟินแห่งฝรั่งเศส (ประสูติ 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1660 — สิ้นพระชนม์ 20 เมษายน ค.ศ. 1690) พระชายาในเจ้าชายหลุยส์ เลอกร็องโดฟิน รัชทายาทของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่ง.

ใหม่!!: กรมหลวงโยธาเทพและดัชเชสมาเรีย อันนา วิกตอเรียแห่งบาวาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ตรัสน้อย

มเด็จพระเจ้าลูกเธอตรัสน้อยพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), หน้า 341 (ช่วงปี พ.ศ. 2231 — ?) เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเพทราชา ประสูติแต่กรมหลวงโยธาเทพพระมเหสีฝ่ายซ้าย ซึ่งเป็นพระราชธิดาพระองค์เดียวของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ที่ประสูติแต่พระอัครมเหสี.

ใหม่!!: กรมหลวงโยธาเทพและตรัสน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าน้อย

มเด็จเจ้าฟ้าน้อย พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง แห่งราชวงศ์ปราสาททอง กับพระราชเทวีองค์ที่ 2 เป็นพระอนุชาร่วมพระมารดากับสมเด็จเจ้าฟ้าอภัยทศ และเป็นพระอนุชาต่างพระมารดาของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ภายหลังเจ้าฟ้าน้อยได้มีความสัมพันธ์ชู้สาวกับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ (แจ่ม) พระสนมเอกในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จนถูกลงโทษทัณฑ์จนพระวรกายบวม มีอาการอ่อนเปลี้ยที่พระเพลา และเป็นอัมพาตที่พระชิวห.

ใหม่!!: กรมหลวงโยธาเทพและเจ้าฟ้าน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสุดาวดี กรมหลวงโยธาเทพสมเด็จเจ้าฟ้าสุดาวดี กรมหลวงโยธาเทพสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงโยธาเทพเจ้าฟ้าสุดาวดี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »