โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล

ดัชนี กรมพระราชวังบวรสถานมงคล

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่เรียกกันเป็นสามัญว่าวังหน้า เป็นตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์สยามทรงสถาปนาขึ้นสำหรับพระมหาอุปราช และมีฐานะเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชสมบัติต่อไป ตำแหน่งพระมหาอุปราชปรากฏครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ต่อมาสมเด็จพระเพทราชาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" ภายหลังจากการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เลิกธรรมเนียมตั้งพระมหาอุปราช แล้วทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชแทน.

109 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2322พ.ศ. 2323พ.ศ. 2324พ.ศ. 2325พ.ศ. 2327พ.ศ. 2336พ.ศ. 2337พ.ศ. 2338พ.ศ. 2339พ.ศ. 2340พ.ศ. 2341พ.ศ. 2342พ.ศ. 2343พ.ศ. 2344พ.ศ. 2345พ.ศ. 2346พ.ศ. 2351พ.ศ. 2352พ.ศ. 2367พ.ศ. 2368พ.ศ. 2375พ.ศ. 2395พ.ศ. 2396พ.ศ. 2397พ.ศ. 2398พ.ศ. 2399พ.ศ. 2400พ.ศ. 2401พ.ศ. 2407พ.ศ. 2408พ.ศ. 2411พระบรมดิลกพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระมหามณเฑียรพระมหาอุปราชพระราชพิธีสถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมารพระราชพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน ฉบับตัวเขียนพระราชวังบวรสถานมงคลพระสัมพันธวงศ์เธอพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชี กรมขุนรามินทรสุดาพระอภิเนาว์นิเวศน์พระอินทรรักษา (เสม)พระที่นั่งสนามจันทร์พระที่นั่งคชกรรมประเวศพระตำหนักแดงพระโกศทองใหญ่...พระเมรุมาศพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารองทรง กรมหมื่นสิทธิสุขุมการพิชัยสงครามพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขกรมหมื่นพิทักษ์ภูเบศร์กรมหลวงพิพิธมนตรีกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์กองทัพเรือไทยมหาอุปราช (จัน)ราชวงศ์จักรีราชสกุลรายชื่อสงครามในประเทศไทยรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงศรีอยุธยาลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยวัดบวรสถานสุทธาวาสวัดชนะสงครามราชวรมหาวิหารวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหารวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารวังหน้าวิกฤตการณ์วังหน้าสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมารสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์สมเด็จพระเพทราชาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสา กรมพระยาเทพสุดาวดีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)สยามมกุฎราชกุมารสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้หมู่พระวิมาน (พระราชวังบวรสถานมงคล)หม่อมลำดวนหม่อมอินทปัตหลวงลิขิตปรีชา (ปลอบ โรจนกุล)หอพระนากอุปราชจหมื่นศรีสรรักษ์ (วังหน้า)จันทรเกษมฉัตรป้อมผีเสื้อสมุทรนครเชียงใหม่เจ้าฟ้าสุทัศน์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)เจ้าพระขวัญเจ้าศรีอโนชาเจ้าสามกรมเจ้าจอมมารดาปิ่น ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์เจ้าจอมมารดานุ้ยใหญ่ ในรัชกาลที่ 125 พฤศจิกายน ขยายดัชนี (59 มากกว่า) »

พ.ศ. 2322

ทธศักราช 2322 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2322 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2323

ทธศักราช 2323 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2323 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2324

ทธศักราช 2324 ตรงกับคริสต์ศักราช 1781 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2324 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2325

ทธศักราช 2325 ตรงกับคริสต์ศักราช 1782 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2325 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2327

ทธศักราช 2327 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2327 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2336

ทธศักราช 2336 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 1793.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2336 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2337

ทธศักราช 2337 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2337 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2338

ทธศักราช 2338 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2338 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2339

ทธศักราช 2339 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1796 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2339 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2340

ทธศักราช 2340 ตรงกับคริสต์ศักราช 1797 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2340 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2341

ทธศักราช 2341 ตรงกับคริสต์ศักราช 1798 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2341 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2342

ทธศักราช 2342 ตรงกับคริสต์ศักราช 1779 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2342 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2343

ทธศักราช 2343 ตรงกับคริสต์ศักราช 1800 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2343 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2344

ทธศักราช 2344 ตรงกับคริสต์ศักราช 1801 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2344 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2345

ทธศักราช 2345 ตรงกับคริสต์ศักราช 1802 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2345 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2346

ทธศักราช 2346 ตรงกับคริสต์ศักราช 1803 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2346 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2351

ทธศักราช 2351 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2351 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2352

ทธศักราช 2352 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2352 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2367

ทธศักราช 2367 ตรงกับคริสต์ศักราช 1824 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2367 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2368

ทธศักราช 2368 ตรงกับคริสต์ศักราช 1825 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2368 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2375

ทธศักราช 2375 ตรงกับคริสต์ศักราช 1832 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2375 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2395

ทธศักราช 2395 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1852.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2395 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2396

ทธศักราช 2396 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1853.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2396 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2397

ทธศักราช 2397 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1854.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2397 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2398

ทธศักราช 2398 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1855.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2398 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2399

ทธศักราช 2399 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1856.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2399 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2400

ทธศักราช 2400 ตรงกั.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2400 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2401

ทธศักราช 2401 ตรงกับคริสต์ศักราช 1858 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2401 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2407

ทธศักราช 2407 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1864.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2407 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2408

ทธศักราช 2408 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1865.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2408 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2411

ทธศักราช 2411 ตรงกั.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพ.ศ. 2411 · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมดิลก

ระบรมดิลก เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิกับสมเด็จพระศรีสุริโยทัย สิ้นพระชนม์ชีพพร้อมพระราชมารดาในสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระบรมดิลก · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 - สวรรคต 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ครองราชย์ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า ฉิม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) พระราชสมภพเมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน เวลาเช้า 5 ยาม ซึ่งตรงกับวันที่ 24 กุมภาพัน..

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศมหิศเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระอนุชาธิราชในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงได้รับพระบวรราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 รองจากพระบรมเชษฐา สูงศักดิ์กว่า "วังหน้า" กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (พระมหาอุปราช)พระองค์ใดในอดีต เมื่อวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2394 เมื่อมีพระชนมายุได้ 43 พรรษ.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (31 มีนาคม พ.ศ. 2330 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระองค์แรกที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเรียม (ภายหลังได้รับสถาปนา เป็นสมเด็จพระศรีสุลาไลย) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม เวลาค่ำ 10.30 น. (สี่ทุ่มครึ่ง) ตรงกับวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2330 เสวยราชสมบัติเมื่อวันอาทิตย์ เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปีวอก ซึ่งตรงกับวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 สิริดำรงราชสมบัติได้ 27 ปี ทรงมีเจ้าจอมมารดาและเจ้าจอม 56 ท่าน มีพระราชโอรสธิดาทั้งสิ้น 51 พระองค์ เสด็จสวรรคตเมื่อวันพุธ เดือน 5 ขึ้น 1 ค่ำ ปีกุน โทศก จุลศักราช 1212 เวลา 7 ทุ่ม 5 บาท ตรงกับวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2394 สิริพระชนมายุ 64 พรรษ.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระมหามณเฑียร

ระมหามณเฑียร เป็นหมู่พระที่นั่งภายในพระบรมมหาราชวังโดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2325 เพื่อทรงใช้เป็นที่ประทับและเป็นพระราชพิธีมณฑลในพระราชพิธีปราบดาภิเษก เดิมเป็นพระที่นั่งขนาดใหญ่เชื่อมต่อกัน 3 องค์ ชื่อว่า "พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานนามพระที่นั่งใหม่สำหรับแต่ละองค์โดยเป็นนามที่คล้องจองกัน ได่แก่ พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน พระที่นั่งไพศาลทักษิณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหสูรยพิมาน ปัจจุบัน พระมหามณเฑียรได้ใช้เป็นพระราชพิธีมณฑลสำหรับประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกและพระราชพิธีสำคัญอื่น ๆ ในพระมหากษัตริย์ทุกรัชกาลในราชวงศ์จักรีสืบเนื่องกันม.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระมหามณเฑียร · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาอุปราช

ระมหาอุปราช เป็นตำแหน่งรัชทายาท พบในประเทศพม่า ล้านนา ลาว และสยาม.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระมหาอุปราช · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีสถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร

ทความนี้รวบรวมการประกอบ พระราชพิธีสถาปนาเฉลิมพระนามาภิไธย สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พระองค์ต่าง.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระราชพิธีสถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน ฉบับตัวเขียน

ระราชพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน ฉบับตัวเขียน เป็นพงศาวดารสยาม เนื้อหาเริ่มตั้งแต่พระเจ้าเชียงรายและชาวเมืองอพยพมาสร้างกรุงศรีอยุธยา จนถึงนายบุญเรืองเผาตัวในปี..

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระราชพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน ฉบับตัวเขียน · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังบวรสถานมงคล

ระราชวังบวรสถานมงคล หรือ พระบวรราชวัง ตั้งอยู่ที่เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นพระราชวังที่ประทับของกรมพระราชวังบวรสถานมงคลหรือวังหน้า สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทซึ่งทรงดำรงพระอิสริยยศกรมพระราชวังบวรสถานมงคลพระองค์แรกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์โปรดให้สร้างขึ้น โดยเริ่มสร้างพร้อม ๆ กับพระบรมมหาราชวังใน พ.ศ. 2325 การก่อสร้างพระราชวังแห่งนี้ใช้พื้นที่ตั้งแต่ทิศเหนือของวัดสลัก (ปัจจุบันคือวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร) ขึ้นไปจรดคลองคูเมืองเดิม และได้ทำผาติกรรมที่ดินส่วนหนึ่งทางด้านเหนือของวัดสลัก เข้ามาเป็นเขตพระราชวังบวรสถานมงคลด้วย อาณาเขตของพระราชวังบวรสถานมงคลเดิมกว้างขวางมาก แต่ปัจจุบันได้ดัดแปลงส่วนหนึ่งเป็นสนามหลวง และถนน และเป็นที่ตั้งของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ โรงละครแห่งชาติ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระราชวังบวรสถานมงคล · ดูเพิ่มเติม »

พระสัมพันธวงศ์เธอ

ระสัมพันธวงศ์เธอ คำนำพระนามพระโอรส พระธิดา ในกรมพระราชวังบวรสถานภิมุข และ ในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ รัชกาลที่ 1 พระโอรส พระธิดา ในกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข หรือที่เรียกกันว่า กรมพระราชวังหลัง และพระราชโอรส พระราชธิดาสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอในรัชกาลที่ 1 นั้น แต่เดิมในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกยังทรงครองราชย์อยู่ ก็ใช้คำนำพระนามว่า “สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ” หรือ “พระเจ้าหลานเธอ” ตามพระเกียรติยศเช่นเดียวกับพระโอรส พระธิดา ในกรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่ในรัชกาลที่ 2 และที่ 3 ไม่ปรากฏว่ามีการใช้คำนำหน้าพระนามพระราชวงศ์ชั้นนี้ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ได้ทรงบัญญัติให้ใช้คำว่า "สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ" และ “พระสัมพันธวงศ์เธอ” ให้เป็นคำนำพระนาม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงบัญญัติคำว่า "พระประพันธวงศ์เธอ" สำหรับพระโอรสธิดาในกรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ ซึ่งเป็นพระอนุชาและพระขนิษฐภคินีในสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ภายหลังเมื่อพระโอรสธิดาในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอในรัชกาลที่ 1 และพระโอรสธิดาในกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขสิ้นพระชนม์ทุกพระองค์แล้ว จึงโปรดให้นำคำนำพระนาม "พระสัมพันธวงศ์เธอ" มาใช้กับพระโอรสธิดาในกรมหมื่นมาตยาพิทักษ์แทน "พระประพันธวงศ์เธอ" เมื่อ..

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระสัมพันธวงศ์เธอ · ดูเพิ่มเติม »

พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชี กรมขุนรามินทรสุดา

ระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชี กรมขุนรามินทรสุดา หรือ เจ้าครอกชี เป็นพระธิดาองค์เดียวของ สมเด็จพระเจ้าขุนรามณรงค์ ซึ่งเป็นพระเชษฐาของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รองลงมาจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสา กรมพระยาเทพสุดาวดี.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชี กรมขุนรามินทรสุดา · ดูเพิ่มเติม »

พระอภิเนาว์นิเวศน์

ระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉายภาพ ณ พระอภิเนาว์นิเวศน์ พระอภิเนาว์นิเวศน์ เป็นพระราชมนเทียร (เรือนหลวง) ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นภายในพระบรมมหาราชวัง โดยทรงเลือกบริเวณที่เรียกว่า "สวนขวา" เป็นที่จัดสร้างพระราชมนเทียรขึ้นใหม่ สร้างในรูปแบบสถาปัตยกรรมของชาติตะวันตก ทั้งนี้เพื่อจะใช้เป็นที่ต้อนรับแขกบ้านแขกเมื่อและเป็นที่แสดงเครื่องบรรณาการที่ประเทศแถบยุโรปส่งมาถวาย และเป็นพระเกียรติยศของพระองค์อีกประการหนึ่ง พระราชมนเทียรแห่งนี้เป็นสถานที่สำคัญในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากใช้เป็นที่ประทับ ออกว่าราชการ และต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองของพระองค์ ประกอบด้วย พระที่นั่ง 8 องค์ และหอ 3 หอ รวมทั้งหมด 11 หลัง แต่การตั้งนามพระที่นั่งและอาคารต่าง ๆ นั้น ได้รวมเอานามพระที่นั่งสุทไธสวรรย์ปราสาทและพระที่นั่งไชยชุมพลเข้ามาเป็นหมู่พระที่นั่งเดียวกันด้วย เมื่อสิ้นรัชกาลแล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็มิได้ประทับ ณ หมู่พระอภิเนาว์นิเวศน์ ประกอบกับพระราชมนเทียรแห่งนี้สร้างด้วยเครื่องไม้ประกอบอิฐ ปูนเป็นหลัก เมื่อเวลาผ่านไปจึงผุกร่อนจนต้องรื้อลงเกือบทั้งหมดและปรับพื้นที่เป็นสวนดังเช่นปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม นามของพระที่นั่งภายในพระอภิเนาว์นิเวศน์บางองค์ก็นำไปใช้เป็นนามพระที่นั่งองค์ต่าง ๆ ในภายหลัง เช่น พระที่นั่งอนันตสมาคม ภายในพระราชวังดุสิต, พระที่นั่งบรมพิมาน ภายในพระบรมมหาราชวัง เป็นต้น.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระอภิเนาว์นิเวศน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระอินทรรักษา (เสม)

ระอินทรรักษา (เสม) พระภัสดา (สามี) ในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ กรมพระยาเทพสุดาวดี (พระพี่นางของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก) มีนามเดิมว่า เสม เป็นบุตรชายคนโตของ พระยากลาโหมราชเสนา (สาย) อธิบดีกรมกลาโหมฝ่ายกรมพระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า) ของเจ้าฟ้าเพชร พระราชโอรสองค์ใหญ่ของพระเจ้าเสือ แห่งกรุงศรีอยุธยา พระอินทรรักษา ได้รับราชการเป็นเจ้ากรมตำรวจใหญ่ซ้าย ขุนนางในกรมพระราชวังบวรมหาเสนาพิทักษ์ของเจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์ (เจ้าฟ้ากุ้ง) พระราชโอรสองค์ใหญ่ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโก.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระอินทรรักษา (เสม) · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งสนามจันทร์

ระที่นั่งสนามจันทร์ พระที่นั่งสนามจันทร์ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน รัชกาลที่ 2 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเป็นที่ประทับสำราญพระอริยาบถ ทรงงานช่างตามที่โปรดปรานเป็นนิจ บางครั้งเป็นที่เสด็จออกขุนนาง แทนการเสด็จออกที่พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหสูรยพิมาน เป็นสถานที่สำหรับกรมพระราชวังบวรสถานมงคล หรือวังหน้าประทับพักก่อนเข้าเฝ้าฯ ในห้องพระโรง เนื่องจากพระที่นั่งสนามจันทร์ ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของหอพระธาตุมณเฑียร อันเป็นที่ประดิษฐานพระโกศพระบรมอัฐิ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งเครื่องนมัสการ สำหรับถวายบังคมพระบรมอัฐิในการพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา ณ พระที่นั่งสนามจันทร์อีกแห่งหนึ่งด้วย รัชกาลที่ 4 ทรงนับถือว่าพระที่นั่งองค์นี้ เสมือนพระแท่นราชบัลลังก์ในพระชนกนาถ จึงห้ามไม่ให้ผู้ที่ไม่มีกิจหน้าที่ขึ้นไปบนพระที่นั่งองค์นี้ ลักษณะเป็นพระที่นั่งพลับพลาโถงไม้ขนาดเล็ก ตั้งลอยอยู่กับพื้นที่ เคลื่อนย้ายได้ หลังคามุงกระเบื้องดินเผาเคลือบสี ประัดับช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ลงรักปิดทองประดับกระจก ในประธานขององค์พระที่นั่งยกพื้นสูง มีชานไม้รอบพื้นประธาน ไม้ที่ทำพื้นประธานขององค์พระที่นั่งเป็นไม้สักขนาดกว้างแผ่นเดียว มีสัดส่วนงดงาม ยักย้ายต่อกันไปทุกช่อง เฉพาะลายเพดานเขียนลายทอง เป็นลายดอกพุดตาลลก้านแย่งแบบต่างๆ กล่าวกันมาว่าเป็นฝีพระหัตถ์ของรัชกาลที่ 2 ด้านหลังพระที่นั่งสนามจันทร์ รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างแอ่งแก้วเอาไว้.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระที่นั่งสนามจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งคชกรรมประเวศ

ระที่นั่งคชกรรมประเวศก่อนรื้อ ฐานพระที่นั่งและที่เกยช้างของพระที่นั่งคชกรรมประเวศบริเวณหน้าพระที่นั่งพุทธไธสวรรย์ในปัจจุบัน พระที่นั่งคชกรรมประเวศ เป็นพระที่นั่งภายในพระบวรราชวัง สร้างขึ้นโดยพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีพระเกียรติยศเสมอด้วยพระเจ้าแผ่นดิน พระที่นั่งแห่งนี้ถูกรื้อถอนเนื่องจากเกิดการผุผังตามกาลเวลา ปัจจุบัน คงเหลือเพียงแต่ฐานและที่เกยช้างให้เห็น.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระที่นั่งคชกรรมประเวศ · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักแดง

ระตำหนักแดงภายในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พระนคร พระตำหนักแดง สร้างขึ้นภายในพระบรมมหาราชวังในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก เพื่อพระราชทานเป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ พระพี่นางพระองค์น้อยในพระองค์ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงรื้อพระตำหนักฝ่ายในภายในเขตพระราชฐานชั้นในเพื่อเปลี่ยนเป็นตำหนักตึกทั้งหมด ดังนั้น จึงโปรดให้รื้อตำหนักแดงไปปลูกที่พระราชวังเดิม เพื่อเป็นที่ประทับของสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีและสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์ โดยตำหนักแบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกนั้นเป็นที่ประทับสมเด็จพระศรีสุริเยนทรา ปัจจุบัน ตำหนักส่วนนี้ได้ถูกรื้อไปปลูกเป็นกุฏิเจ้าอาวาสวัดเขมาภิรตาราม จังหวัดนนทบุรี ส่วนที่สองเป็นที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจุบัน ตั้งอยู่ภายในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระตำหนักแดง · ดูเพิ่มเติม »

พระโกศทองใหญ่

ระโกศทองใหญ่ รัชกาลที่ 5 ในงานพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระโกศทองใหญ่ ทรงพระศพสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ขณะประดิษฐานบนพระมหาพิชัยราชรถในพระราชพิธีเชิญพระโกศทรงพระศพออกพระเมรุ พระโกศทองใหญ่ หรือ พระลองทองใหญ่ เป็นพระโกศสำหรับทรงพระบรมศพของพระมหากษัตริย์และพระศพของพระบรมวงศ์ชั้นสูง สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช นับเป็นพระโกศที่มีลำดับยศสูงที่สุด โดยได้ใช้ทรงพระศพของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงศรีสุนทรเทพเป็นพระองค์แรก (แต่ในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ 1 ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ฉบับตัวเขียน ระบุว่าพระศพสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงศรีสุนทรเทพนั้น ใช้พระโกศไม้สิบสอง และเมื่อเสร็จการพระศพจึงลอกทองที่หุ้มพระโกศไม้สิบสองมาหุ้มทำพระโกศทองใหญ่และทรงพระบรมศพของรัชกาลที่ 1 เป็นพระองค์แรก) พระโกศทองใหญ่ใช้ทรงพระศพของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีเป็นพระองค์ล่าสุด นอกจากนี้ พระโกศทองใหญ่ยังใช้เป็นเครื่องประกอบพระอิสริยยศพระศพสำหรับพระบรมวงศานุวงศ์ที่บรรจุพระบรมศพและพระศพลงในหีบพระศพแทนการลงพระโกศ เช่น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระโกศทองใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

พระเมรุมาศ

ระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระเมรุมาศ และพระเมรุ คือ สถาปัตยกรรมชั่วคราว หรือสถาปัตยกรรมเฉพาะกิจที่สร้างขึ้น ณ ใจกลางเมือง เพื่อใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพหรือพระราชพิธีพระศพโดยเฉพาะ มีลักษณะเป็น "กุฎาคาร หรือ เรือนยอด" คือเรือนซึ่งหลังคาต่อเป็นยอดแหลม โดยในอดีตนิยมสร้างเป็นแบบ ยอดปรางค์ อาจมีพรหมพักตร์หรือไม่มีก็ได้ พระเมรุมาศ เป็นพระเมรุขนาดสูงใหญ่ ใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพ พระมหากษัตริย์ พระอัครมเหสี พระบรมราชินี พระราชชนนี พระบวรราชเจ้า พระยุพราช สำหรับการตายที่ใช้ราชาศัพท์ว่าสวรรคต ภายในพระเมรุมาศมี “พระเมรุทอง” ลักษณะของพระเมรุมาศที่ปรากฏการสร้างมี 2 รูปแบบคือพระเมรุมาศทรงปราสาท ที่สร้างมาแต่โบราณ มีขนาดใหญ่โตมโหฬาร และพระเมรุมาศทรงบุษบก ส่วนพระเมรุ เช่นเดียวกับพระเมรุมาศ แต่มีขนาดเล็กลง และไม่มีพระเมรุทองภายใน ใช้สำหรับราชวงศ์ที่ทรงฐานานุศักดิ์ใช้ราชาศัพท์ว่า “ทิวงคต” หรือ “สิ้นพระชนม์” การออกแบบสถาปัตยกรรมพระเมรุมาศ พระเมรุ ต้องอาศัยการสร้างสรรค์ออกแบบจากผู้รอบรู้เจนจบงานศิลปกรรมของชาติ ช่างที่ได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้จากครูบาอาจารย์ทั้งงานออกแบบรูปลักษณ์ ก่อสร้างอาคาร การคิดลวดลายขึ้นประดิษฐ์ตกแต่งทุกส่วนให้เข้ากับอาคาร โดยมีหลักเกณฑ์ที่คำนึงถึงว่าพระเมรุมาศของพระองค์ใด ที่แสดงลักษณะของพระองค์นั้น ภายหลังจากการถวายพระเพลิงแล้ว ชิ้นส่วนประกอบต่าง ๆ ของพระเมรุที่ถูกรื้อถอนบางส่วนจะนำไปถวายวัด เพื่อเป็นการกุศลแด่ผู้วายชนม.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระเมรุมาศ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนวรจักรธรานุภาพ พระนามเดิม พระองค์เจ้าปราโมช เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและเจ้าจอมมารดาอัมพา ประสูติ เมื่อวันอังคาร แรม 9 ค่ำ เดือน 4 ปีชวด ตรงกับวันที่ 11 มีนาคม..

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารองทรง กรมหมื่นสิทธิสุขุมการ

ระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารองทรง กรมหมื่นสิทธิสุขุมการ (ปีชวด อัฐศก จ.ศ. 1174 พ.ศ. 2349- 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2419) เป็นพระบวรโอรสลำดับที่ 38 ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ กรมพระราชวังบวรสถานมงคลในรัชกาลที่ 2 กับเจ้าจอมมารดาภู่ (อิเหนา) พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลรองทรง.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารองทรง กรมหมื่นสิทธิสุขุมการ · ดูเพิ่มเติม »

พิชัยสงคราม

ตัวอย่างเนื้อหาของตำราพิชัยสงครามของไทย แสดงภาพการแปรขบวนทัพแบบมหิงสาพยุหะ หรือการตั้งทัพเป็นรูปควาย พิชัยสงคราม เป็นคำที่ใช้เรียกหนังสือหรือเอกสารที่มีการรวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับกลยุทธ ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธีการรบต่าง ๆ อาทิ การรุก การตั้งรับ การแปรขบวนทัพ การใช้อุบายทำลายข้าศึก เป็นต้น หนังสือจำพวกนี้ในบางแห่งมักจะมีการใส่เนื้อหาที่เป็นความเชื่อทางด้านโหราศาสตร์เข้ามาประกอบ เช่น การดูฤกษ์ยามในการเคลื่อนทัพ การทำพิธีข่มขวัญข้าศึกและบำรุงขวัญฝ่ายตน ฯลฯ รูปแบบเนื้อหานั้นอาจอยู่ในลักษณะของร้อยแก้วหรือร้อยกรองก็ได้ ในสารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้คำจำกัดความของตำราพิชัยสงครามไว้ว่า ตำราพิชัยสงครามที่นับว่ามีชื่อเสียงมากในระดับโลก คือ ตำราพิชัยสงครามของซุนวู ซึ่งแต่งขึ้นเมื่อประมาณ 600 ปีก่อนคริสตกาล อันอยู่ในช่วงยุครณรัฐของจีน ทั้งนี้ หนังสือพงศาวดารจีนบางเรื่องที่มีการกล่าวถึงการรบและการใช้อุบาย เช่น สามก๊ก ไซ่ฮั่น ก็อาจนับว่าเป็นตำราพิชัยสงครามได้เช่นกัน เนื้อหาและหลักในตำราพิชัยสงครามต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากตำราพิชัยสงครามของซุนวู ปัจจุบันได้มีการนำมาประยุกต์ใช้ในด้านการบริหารและด้านเศรษฐกิจขององค์กรต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพิชัยสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

ัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร เป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บริเวณพระราชวังบวรสถานมงคล หรือส่วนหนึ่งของที่ประทับวังหน้า ซึ่งก็คือพื้นที่พระราชวังของสมเด็จพระบวรราชเจ้าตั้งแต่รัชกาลที่ 1 เป็นต้นมา มีอาณาเขตตั้งแต่บริเวณมหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มณฑลพิธีท้องสนามหลวงตอนตะวันตก อนุสาวรีย์ทหารอาสา และโรงละครแห่งชาติในปัจจุบัน ภายในพิพิธภัณฑ์ประกอบด้วยหมู่พระที่นั่งต่าง ๆ ได้แก่ พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ พระที่นั่งอิศราวินิจฉัย หมู่พระวิมาน พระที่นั่งอิศเรศราชานุสรณ์ อาคารประพาสพิพิธภัณฑ์ และ อาคารมหาสุรสิงหนาท เดิมพิพิธภัณฑ์ตั้งอยู่ในพระบรมมหาราชวัง ที่หอคองคอเดีย (ศาลาสหทัยสมาคม ในปัจจุบัน) เรียกว่า "มิวเซียม" หรือ "พิพิธภัณฑสถานหอคองคอเดีย" โดยมีพิธีเปิดเมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร · ดูเพิ่มเติม »

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ (6 กันยายน พ.ศ. 2381 — 28 สิงหาคม พ.ศ. 2428) เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลพระองค์สุดท้ายในสมัยกรุงรัตนโกสินทร.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ · ดูเพิ่มเติม »

กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข

กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข หรือ กรมพระราชวังหลัง เป็นตำแหน่งรองลงมาจากกรมพระราชวังบวรสถานมงคลที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งขึ้น เกิดขึ้นครั้งแรกในสมัยอยุธยา โดยสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช ทรงสร้างวังขึ้นหลังพระราชวังหลวง พระราชทานให้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระเอกาทศรถ ดังนั้น จึงเกิดคำว่า "วังหลัง" ขึ้นมา ต่อมา ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โปรดให้พระไตรภูวนาถทิตยวงศ์ พระราชอนุชา ประทับที่วังหลังอีกพระองค์ อย่างไรก็ตาม ทั้งสมเด็จพระเอกาทศรถและพระไตรภูวนาถทิตยวงศ์เพียงแต่ประทับอยู่ในวังหลังเท่านั้น แต่ไม่ได้มีการเพิ่มยศศักดิ์แต่ประการใด ในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา เมื่อพระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์ ทรงแต่งตั้งหลวงสรศักดิ์ขึ้นเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล และได้แต่งตั้งให้นายจบคชประสิทธิ์ขึ้นเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข" ให้ทรงรับพระราชบัญชา ซึ่งถือเป็นกรมพระราชวังหลังพระองค์แรกในสมัยอยุธยา ต่อมา ในรัชสมัยสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 หรือ สมเด็จพระเจ้าเสือ พระองค์ทรงสถาปนา "เจ้าฟ้าเพชร" พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ที่กรมพระราชวังบวรสถานมงคล หรือ พระบัณฑูรใหญ่ และทรงสถาปนา "เจ้าฟ้าพร" พระราชโอรสพระองค์เล็กที่กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข แต่โปรดให้ออกพระนามกรมว่า "พระบัณฑูรน้อย" เนื่องจากพระองค์อาจจะทรงรังเกียจตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขเนื่องจากในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชาเมื่อทรงสถาปนานายจบคชประสิทธิขึ้นเป็นกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขได้ไม่นาน นายจบคชประสิทธิก็ถูกสำเร็จโทษ หรืออาจจะเป็นเพราะพระองค์ทรงต้องการยกย่องพระยศของเจ้าฟ้าพรให้เสมอกับกรมพระราชวังบวรสถานมงคลก็เป็นไปได้อย่างใดอย่างหนึ่ง เมื่อถึงสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงสถาปนาให้สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าทองอิน กรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์ ซึ่งทรงมีความดีความชอบรบทัพจับศึกมาแต่ครั้งกรุงธนบุรี ขึ้นดำรงตำแหน่ง "กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข" พระองค์แรกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ภายหลังการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขแล้ว ถือเป็นการสิ้นสุดของตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข เนื่องจากไม่มีการสถาปนากรมพระราชวังหลังขึ้นอีกเล.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข · ดูเพิ่มเติม »

กรมหมื่นพิทักษ์ภูเบศร์

กรมหมื่นพิทักษ์ภูเบศร์ พระนามเดิม เจ้าอาทิตย์ เป็นพระโอรสในเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรไชยเชษฐสุริยวงศ์ กรมขุนเสนาพิทักษ.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและกรมหมื่นพิทักษ์ภูเบศร์ · ดูเพิ่มเติม »

กรมหลวงพิพิธมนตรี

กรมพระเทพามาตุ มีพระอิสริยยศเดิมว่า กรมหลวงพิพิธมนตรี หรือ กรมหลวงพิจิตรมนตรี เป็นพระอัครมเหสีน้อยในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และเป็นสมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวงในสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและกรมหลวงพิพิธมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์

้าฟ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ หรือ เจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ มีพระนามเดิมว่า เจ้าฟ้านเรนทร เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 ที่ประสูติแต่สมเด็จพระอัครมเหสี พระองค์มีพระอนุชา 2 พระองค์ ได้แก่ เจ้าฟ้าอภัยและเจ้าฟ้าปรเมศร์ ก่อนสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 จะเสด็จสวรรคตนั้น พระองค์ได้แสดงพระราชประสงค์ที่จะให้พระราชโอรสของพระองค์สืบต่อราชสมบัติแห่งกรุงศรีอยุธยา ทั้ง ๆ ที่ในขณะนั้นเจ้าฟ้าพร พระอนุชาในพระองค์ทรงดำรงตำแหน่งที่กรมพระราชวังบวรสถานมงคลอยู่ ในขั้นแรกนั้นสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 มีพระราชประสงค์ที่จะให้เจ้าฟ้านเรนทรเสด็จขึ้นครองราชย์แต่เจ้าฟ้านเรนทรไม่ทรงเห็นชอบด้วยเนื่องจากพระมหาอุปราชก็ยังคงมีพระชนม์อยู่ เจ้าฟ้านเรนทรจึงทรงออกผนวช ดังนั้น สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 จึงทรงยกราชสมบัติให้เจ้าฟ้าอภัย (ราชบุตรองค์รอง) สืบราชสันตติวงศ์ต่อ เหตุการณ์ในครั้งนี้สร้างความไม่พอใจให้กับกรมพระราชวังบวรเป็นอย่างมาก จึงนำไปสู่ศึกกลางเมืองระหว่างวังหน้าและวังหลวงขึ้น โดยกรมพระราชวังบวรฯเป็นฝ่ายมีชัยและเสด็จขึ้นครองราชสมบัติทรงพระนามว่า สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 หรือสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ หลังจากนั้นพระองค์มีพระราชดำรัสให้นำตัวเจ้าฟ้าอภัยและเจ้าฟ้าปรเมศร์ไปสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ตามโบราณราชประเพณี ส่วนเจ้าฟ้านเรนทรนั้นดำรงเพศบรรพชิตตลอดมา โดยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทรงสถาปนาให้ทรงกรมที่ กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ เจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ทรงสนิทกับพระองค์เป็นอย่างยิ่ง จนทำให้เจ้าฟ้ากรมขุนเสนาพิทักษ์ เกิดความระแวงและลอบทำร้ายเจ้าฟ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์แต่ไม่ทรงได้รับบาดเจ็บ เหตุการณ์ในครั้งนั้นทำให้พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทรงกริ้วกรมขุนเสนาพิทักษ์มาก ได้มีพระบรมราชโองการให้จับตัวกรมขุนเสนาพิทักษ์มาให้ได้ แต่ในระหว่างกรมขุนเสนาพิทักษ์ได้เสด็จออกผนวชจึงทรงพ้นจากภัยในครั้งนี้ได้ ใน คำให้การชาวกรุงเก่า ระบุว่าเจ้าฟ้านเรนทรได้พระองค์เจ้าสมบุญคงเป็นพระชายา มีพระธิดาด้วยกันสามพระองค์คือ พระองค์เจ้าพราน (ปาน), พระองค์เจ้าบุตร และพระองค์เจ้าหงส์ เจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ไม่ปรากฏในพระราชพงศาวดารว่าสิ้นพระชนม์เมื่อใด แต่มีข้อสันนิษฐานว่าน่าจะก่อนที่พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศจะทรงสถาปนากรมขุนเสนาพิทักษ์ขึ้นเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลในปี..

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพเรือไทย

กองทัพเรือไทย หรือ ราชนาวีไทย (คำย่อ: ทร., Royal Thai Navy) เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อการปฏิบัติการทางทหารในทะเล ลำน้ำ และพื้นที่บริเวณชายฝั่งของประเทศไทย กองทัพเรือมีจำนวนกำลังพลประจำการเป็นลำดับ 2 (รองจากกองทัพบก) ซึ่งมีเรือปฏิบัติการด้วยเรือรบกว่า 74 ลำ อากาศยานกว่า 90 เครื่อง และกำลังรบทางบกอีก 2 กองพล นับเป็นกองทัพเรือที่มีความสำคัญในลำดับต้นของภูมิภาคเอเชีย กองทัพเรือมีผู้บัญชาการทหารเรือเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด โดยเป็นหน่วยงานในสังกัดของกองบัญชาการกองทัพไทย ที่มีผู้บัญชาการทหารสูงสุดเป็นผู้บังคับบัญชา และอยู่ในสังกัดของกระทรวงกลาโหม กองทัพเรือมีพื้นที่ปฏิบัติการหลักทั้งในอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ตามแนวเขตแดนระหว่างประเทศในทะเลความยาวกว่า 1,680 ไมล์ และตามแนวชายฝั่งความยาวกว่า 1,500 ไมล์ หน่วยต่างๆ ในสังกัดกองทัพเรือมีลักษณะการจัดโครงสร้างหน่วยที่คล้ายกับกองทัพเรือสหรัฐอเมริกามาก โดยเฉพาะในหน่วยกำลังรบ คือ กองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ (กบร. กร.) หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ กองเรือยุทธการ (นสร. กร.) และหน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน (นย.).

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและกองทัพเรือไทย · ดูเพิ่มเติม »

มหาอุปราช (จัน)

มหาอุปราช (จัน) เป็นพระมหาอุปราชในรัชกาลขุนวรวงศาธิราช ทรงได้รับการอุปราชาภิเษกได้เพียงไม่กี่วันก็ถูกลอบปลงพระชนม.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและมหาอุปราช (จัน) · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

ราชสกุล

ราชสกุล เป็นนามสกุลสำหรับผู้สืบเชื้อสายมาจากตระกูลวงศ์ในพระมหากษัตริย์ เกิดขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและราชสกุล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสงครามในประเทศไทย

รายชื่อสงครามในประเทศไทย มีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและรายชื่อสงครามในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

มื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนาพระอิสริยยศเจ้านายในพระราชวงศ์ ก็ทรงตั้งเป็นต่างกรมตามชั้นยศซึ่งบัญญัติมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา แต่มีผิดกันบ้างเล็กน้อย มีการสถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์เรื่อยมาในทุกรัชกาล โดยครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2548 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ได้โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์จักรี จำนวน 3 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงศรีอยุธยา

รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงศรีอ.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทย

ลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทย หรือ ธรรมเนียมที่พระบรมวงศานุวงศ์ทรงพระดำเนินเป็นลำดับกัน เป็นลำดับการเสด็จพระราชดำเนินหรือพระดำเนินก่อนหลังกันตามฐานะในพระราชวงศ์ คำว่า "โปเจียม" นั้น สันนิษฐานว่ามาจากภาษาจีน แปลว่า ลำดับก่อนหลังกัน.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทย · ดูเพิ่มเติม »

วัดบวรสถานสุทธาวาส

ระอุโบสถ วัดบวรสถานสุทธาวาส วัดบวรสถานสุทธาวาส หรือ วัดพระแก้ววังหน้า เป็นวัดในพระราชวังบวรสถานมงคล เช่นเดียวกับวัดพระศรีรัตนศาสดารามภายในพระบรมมหาราชวัง และด้วยเหตุที่เป็นวัดในวัง ดังนั้น จึงไม่มีพระภิกษุจำพรรษา สร้างขึ้นโดยสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ ซึ่งเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่การยังไม่แล้วเสร็จพระองค์เสด็จทิวงคตเสียก่อน การก่อสร้างวัดพระแก้ววังหน้าจึงมาก่อสร้างแล้วเสร็จในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและได้รับพระราชทานนามว่า วัดบวรสถานสุทธาวาส ปัจจุบัน วัดบวรสถานสุทธาวาสตั้งอยู่ในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป เป็นวัดที่ไม่มีการประกอบสังฆกรรมใด ๆ และถูกใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีไหว้ครู พิธีครอบครู และพิธีมงคลต่าง ๆ ของบรรดานาฏศิลปิน ดุริยางคศิลปินและกรมศิลปากร.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและวัดบวรสถานสุทธาวาส · ดูเพิ่มเติม »

วัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร

วัดชนะสงคราม เป็นวัดโบราณสร้างในสมัยอยุธยา ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้าง เดิมเรียกว่าวัดกลางนา ต่อมาถูกยกสถานะเป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและวัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร

วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร เดิมเป็นวัดราษฎร์ชื่อวัดสลัก สร้างในสมัยอยุธยา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี และทรงสร้างพระบรมมหาราชวังเป็นที่ประทับและสร้างพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นที่ประทับสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล นั้น วัดสลักเป็นวัดที่อยู่กึ่งกลางระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวรสถานมงคล สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทโปรดให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดสลักเมื่อ พ.ศ. 2326 พร้อมกับการก่อสร้างพระราชวังบวรสถานมงคล จากนั้นทรงเปลี่ยนชื่อวัดจากวัดสลักเป็นวัดนิพพานาราม เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้ใช้วัดนิพพานารามเป็นสถานที่ทำสังคายนาในปี พ.ศ. 2331 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดพระศรีสรรเพชญ” และใน พ.ศ. 2346 พระราชทานนามใหม่ว่าวัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรมหาวิหาร ตามชื่อวัดในกรุงศรีอยุธยาที่เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุและเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราช วัดมหาธาตุเป็นสถานที่ที่ใช้เป็นที่พระราชทานเพลิงพระบุพโพเจ้านายซึ่งดำรงพระเกียรติยศสูง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ใช้พื้นที่ของวัดเป็นที่สร้างเมรุพระราชทานเพลิงพระศพพระบรมวงศ์ชั้นสูง ในปลาย พ.ศ. 2432 โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งบาลีวิทยาลัยที่วัดมหาธาตุ เรียกว่ามหาธาตุวิทยาลัย และย้ายการบอกพระปริยัติธรรมมาจากวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ต่อมา ใน พ.ศ. 2437 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างอาคารถาวรวัตถุ เรียกว่า สังฆิกเสนาสน์ราชวิทยาลัย เพื่อใช้ในงานพระศพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร หลังจากนั้น จะทรงอุทิศถวายแก่มหาธาตุวิทยาลัย เพื่อเป็นที่เรียนพระปริยัติธรรมชั้นสูง ซึ่งจะได้พระราชทานนามว่า “มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” แต่อาคารหลังนี้มาสร้างเสร็จในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และงานพระศพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงจัดที่วัดบวรสถานสุทธาวาส ใน พ.ศ. 2439 โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ในการบูรณะวัดมหาธาตุและพระราชทานนามว่า “วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์”.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร

วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อใด เดิมชื่อ วัดแหลม หรือ วัดไทรทอง ภายหลังได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวใหม่ว่า วัดเบญจบพิตร ซึ่งหมายถึง วัดของเจ้านาย ๕ พระองค์ที่ทรงร่วมกันปฏิสังขรณ์วัดแห่งนี้ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างสวนดุสิตขึ้นพระองค์ทรงทำผาติกรรมสถาปนาวัดขึ้นใหม่และพระราชทานามว่า วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม อันหมายถึง วัดของพระเจ้าแผ่นดินรัชกาลที่ ๕.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วังหน้า

วังหน้า อาจหมายถึง.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและวังหน้า · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์วังหน้า

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ในช่วงต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประมาณ..

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและวิกฤตการณ์วังหน้า · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร

นายร้อยโท สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร หรือ สมเด็จพระบรมราชปิตุลาธิบดี เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ (27 มิถุนายน พ.ศ. 2421 – 4 มกราคม พ.ศ. 2437 นับแบบปัจจุบันตรงกับ พ.ศ. 2438) เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี พระองค์ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นสยามมกุฎราชกุมารพระองค์แรกของประเทศไทย แต่หลังจากดำรงตำแหน่งสยามกุฎราชกุมารได้เพียง 8 ปี ก็เสด็จสวรรคต ขณะมีพระชนมายุ 15 พรรษ.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ

มเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ (21 ตุลาคม พ.ศ. 2328 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2375) เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท

มเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท หรือ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท พระนามเดิม บุญมา เป็นพระราชอนุชาร่วมพระราชชนกชนนีกับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 5 ในสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (ทองดี) และพระอัครชายา (หยก) ประสูติในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ สมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อวันพฤหัสบดีขึ้น 1 ค่ำ เดือน 11 ปีกุน..

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์

มเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ พระนามเดิม จุ้ย (29 มีนาคม พ.ศ. 2316 - 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2360) เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลั.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

มหาอำมาตย์ตรี พันเอกพิเศษ จอมพลเรือ นายกองเอกเสือป่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (1 มกราคม พ.ศ. 2435 – 24 กันยายน พ.ศ. 2472) เป็นพระบรมราชชนกในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระอัยกาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า มีพระเชษฐาและพระเชษฐภคินีที่ประสูติร่วมพระราชมารดา 7 พระองค์ พระองค์มีคุณูปการแก่กิจการแพทย์แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขของประเทศไทยประชาชนโดยทั่วไปคุ้นเคยกับพระนามว่า "กรมหลวงสงขลานครินทร์" หรือ "พระราชบิดา" และบางครั้งก็ปรากฏพระนามว่า "เจ้าฟ้าทหารเรือ" และ "พระประทีปแห่งการอนุรักษ์สัตว์น้ำของไทย" ส่วนชาวต่างประเทศเรียกพระนามว่า "เจ้าฟ้ามหิดล" หลังพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พระองค์ทรงพระประชวรต้องประทับในพระตำหนักวังสระปทุม และสวรรคตเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 เวลา 16.45 น. ด้วยพระโรคฝีบิดในพระยกนะ(ตับ) โดยมีโรคแทรกซ้อนคือพระปัปผาสะบวมน้ำและพระหทัยวาย พระชนมายุได้ 37 พรรษา 8 เดือน 23 วัน.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8

มเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 หรือคำให้การชาวกรุงเก่าว่า สมเด็จพระสุริเยนทราธิบดี เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 29 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่สองแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา ทรงครองร..

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9

มเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 หรือ สมเด็จพระที่นั่งท้ายสระพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), หน้า 347 หรือ พระเจ้าท้ายสระนามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 165 หรือ พระเจ้าภูมินทราชา หรือ พระเจ้าบรรยงก์รัตนาสน์ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 30 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่สามแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์

มเด็จพระบรมราชา (ที่ 3) หรือ สมเด็จพระเจ้าเอกทัศ หรือ สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 33 และเป็นรัชกาลสุดท้ายแห่งอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเพทราชา

มเด็จพระมหาบุรุษ หรือ สมเด็จพระเพทราชา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 28 ของอาณาจักรอยุธยา และเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์บ้านพลูหลวง ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและสมเด็จพระเพทราชา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสา กรมพระยาเทพสุดาวดี

มเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าสา กรมพระยาเทพสุดาวดี (พ.ศ. 2272 - 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2342) พระนามเดิมว่า สา เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ประสูติจากพระอัครชายา (หยก) ในสมัยอาณาจักรอยุธยา และเป็นสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จึงทำให้นับเป็นพระกุลเชษฐ์พระองค์แรกในราชวงศ์จักรี เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงปราบดาภิเษกเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ทรงสถาปนาท่านขึ้นเป็นสมเด็จเจ้าฟ้าหญิง กรมพระเทพสุดาวดี แต่เจ้ากรมมีบรรดาศักดิ์เป็นพระยาเทพสุดาวดีเป็นกรณีพิเศษ จึงนิยมออกพระนามว่ากรมพระยาเทพสุดาวดี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี เสกสมรสกับหม่อมเสม ที่พระอินทรรักษา เจ้ากรมพระตำรวจฝ่ายกรมพระราชวังบวรสถานมงคลสมัยกรุงศรีอยุธยา มีพระโอรส-ธิดา คือ.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสา กรมพระยาเทพสุดาวดี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ หรือ พระมหาธรรมราชา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 31 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่ 4 ในราชวงศ์บ้านพลูหลวง.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร

มเด็จพระเจ้าอุทุมพร (พระราชพงศาวดารพม่าเรียก สุรประทุมราชา) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 32 แห่งอาณาจักรอยุธยา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และมีพระสมัญญานามว่า ขุนหลวงหาวั.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและสมเด็จพระเจ้าอุทุมพร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)

มเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ นามเดิม ช่วง บุนนาค (พ.ศ. 2351 – พ.ศ. 2425) เป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่ของสยามในสมัยรัตนโกสินทร์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการเมืองการปกครองของสยาม โดยเริ่มเข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งนับเป็นผู้ที่ดำรงตำแหน่ง "สมเด็จเจ้าพระยา" เป็นคนสุดท้าย นอกจากนี้ ท่านยังมีบทบาทในการอัญเชิญพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นครองสิริราชสมบัติและได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2416 ด้วย นอกจากด้านการปกครองแล้ว ท่านยังมีบทบาทสำคัญในด้านวรรณกรรม การละคร และดนตรี รวมถึงเป็นแม่กองในการก่อสร้าง บูรณะ ซ่อมแซม สถานที่ต่าง ๆ มากมาย เช่น พระนครคีรี พระอภิเนาว์นิเวศน์ คลองผดุงกรุงเกษม เป็นต้น สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์มีชีวิตยืนยาวถึง 5 รัชกาล ตั้งแต่เกิดในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และถึงแก่พิราลัยด้วยโรคลมขณะที่กำลังเดินทางกลับจากราชบุรี เมื่อ พ.ศ. 2425 ในสมัยต้นรัชกาลที่ 5 โดยมีอายุยืนยาวถึง 74 ปี.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

สยามมกุฎราชกุมาร

มมกุฎราชกุมาร เป็นพระอิสริยยศมกุฎราชกุมารของประเทศไทย ซึ่งเป็นพระอิสริยยศของผู้ที่จะสืบราชสมบัติต่อจากพระมหากษัตริย์ไทย โดยสยามมกุฎราชกุมารจะดำรงพระยศนี้ไปจนกว่าพระมหากษัตริย์จะสวรรคตหรือสละราชสมบัติ พระอิสริยยศนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นผู้ทรงกำหนดขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและสยามมกุฎราชกุมาร · ดูเพิ่มเติม »

สงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้

งครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ หรือ สงครามคราวเสียสมเด็จพระสุริโยทัยดนั.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่พระวิมาน (พระราชวังบวรสถานมงคล)

หมู่พระวิมาน เป็นหมู่พระที่นั่งภายในพระราชวังบวรสถานมงคล พระราชวังบวรสถานมงคล เรียกว่า หมู่พระวิมาน, พระบรมมหาราชวัง เรียกว่า หมู่พระมหามณเฑียร สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล พระองค์แรกในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นสมเด็จพระราชอนุชาร่วมพระชนกพระชนนีกับ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก หมู่พระวิมานเป็นหมู่พระที่นั่งหลายองค์ประกอบกัน และมีการซ่อมแซมและปรับปรุงครั้งใหญ่ในสมัยสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ ปัจจุบัน เป็นอาคารหลักของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ใช้เป็นสถานที่ที่จัดแสดงนิทรรศการ วัตถุสิ่งของต่าง ๆ ปัจจุบัน หมู่พระวิมาน ได้รับการบูรณะใหม่ทั้งหมด คงเหลือไว้แต่เพียงพระที่นั่งอิศราวินิจฉัย ซึ่งเป็นสถานที่จัดนิทรรศการ.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและหมู่พระวิมาน (พระราชวังบวรสถานมงคล) · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมลำดวน

หม่อมลำดวน หรือ พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลำดวน (พ.ศ. 2322 — พ.ศ. 2346) พระราชโอรสพระองค์ที่ 2 ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ประสูติแต่เจ้าจอมมาร.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและหม่อมลำดวน · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมอินทปัต

หม่อมอินทปัต หรือ พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทปัต (พ.ศ. 2323 — พ.ศ. 2346) พระราชโอรสพระองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาตัน.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและหม่อมอินทปัต · ดูเพิ่มเติม »

หลวงลิขิตปรีชา (ปลอบ โรจนกุล)

หลวงลิขิตปรีชา (พ.ศ. 23?? - พ.ศ. 2418) เดิมชื่อ ปลอบ เป็นข้าหลวงปลัดกรมกองรายงานหนังสือไปมา ตำแหน่งเจ้ากรมพระอาลักษณ์ ฝ่ายวังหน้า (เทียบเท่ากับออกญาศรีภูริยปรีชาราชเสนาบดีศรีสารลักษณ์ วังหลวง) และราชเลขานุการในพระองค์ และเป็นนักกวีในสมัยรัชกาลที่ 2 - รัชกาลที่ 3 ถือศักดินา 1,500 (บางตำราก็ว่าถือศักดินา 1,800) ปรากฏในทำเนียบตำแหน่งข้าราชการ ฝ่ายพระราชวังบวรสถานมงคล ซึ่งเป็นทำเนียบในสมัยพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว บิดาชื่อนายพันโท หลวงพิสณฑ์ยุทธการ (ปึก โรจนกุล) ถือศักดินา 2000 สืบสกุล "โรจนกุล" ต้นสกุลคือ เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง).

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและหลวงลิขิตปรีชา (ปลอบ โรจนกุล) · ดูเพิ่มเติม »

หอพระนาก

หอพระนาก หอพระนาก ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของพระอุโบสถ ใกล้กับพระวิหารยอดตรงกันข้ามกับ หอพระมณเฑียรธรรม พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้นในระยะที่ 2 ของการสร้างวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อขยายเขตพระระเบียงออกไปทางด้านทิศเหนือ เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปหล่อและแผลงด้วยนาก ซึ่งอัญเชิญมาจากพระนครศรีอยุธยา และถือพระนากเป็นพระประธานในการ “เปตพลี” (การอุทิศกุศลแก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว) ลักษณะของหอพระนากในรัชกาลนี้ ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีรูปร่างอย่างไร ในสมัยรัชกาลที่ 3 หอพระนากคงจะชำรุดทรุดโทรมจึงโปรดเกล้า ฯ ให้ซ่อมแปลงหอพระนาก แล้วประดิษฐานพระพุทธรูปต่าง ๆ หลายสิบองค์ มีทั้งหุ้มทองบ้าง หุ้มเงินบ้าง หุ้มนากบ้าง รวมทั้งรูปพระเชษฐบิดร คือรูปสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ซึ่งสร้างกรุงศรีอยุธยา ที่แปลงเป็นพระพุทธรูปแล้วนั้นก็ประดิษฐานอยู่ด้วย ส่วนพระอัฐิเจ้านายนั้นเก็บอยู่ในตู้ผนังด้านหลังพระวิหาร ในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 100 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เมื่อครั้งดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นเทวะวงศ์วโรปการปฏิสังขรณ์หอพระนาก ซ่อมแซมช่อฟ้า ใบระกา และหลังคา รวมทั้งลงรักปิดทองซุ้มประตูหน้าต่างภายนอกทั้งหมด ตลอดจนเขียนผนังเพดาน ทำตู้ ปูพื้น และทำพระโกศทรงพระอัฐิในหอพระนากทั้งหมด ส่วนพระพุทธรูปทั้งหมดที่ประดิษฐานอยู่ในหอพระนาก โปรดเกล้า ฯ ให้อัญเชิญไปประดิษฐานไว้บนพระวิหารยอด อย่างไรก็ตามด้วยความเคยชินที่เคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปแผลงด้วยนากเช่นนี้ จึงยังคงเรียกว่า "หอพระนาก" มาตราบจนทุกวันนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 7 เมื่อเตรียมงานสมโภชพระนครครบ 150 ปี โปรดเกล้า ฯ ให้ปฏิสังขรณ์ทั้งภายนอกและภายในทั้งหลัง เขียนลายผนังด้านในใหม่เป็นลายพุ่มข้าวบิณฑ์อย่างเดิม แล้วทำพระโกศทรงพระอัฐิเจ้านายที่ยังไม่มีพระโกศที่บรรจุทั้งหมด สิ่งที่เพิ่มเติมคือ เจาะผนังด้านทิศตะวันตกให้เป็นช่องสร้างเป็นพระวิมานประดิษฐานพระบวรอัฐิ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบวชราชเจ้า กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ในรัชกาลที่ 1, 2 และ 3 เบื้องหน้าพระวิมานสร้างเป็นซุ้มคูหาตั้งพระเบญจาแบบย่อเก็จด้านหน้า ด้านหลังติดผนังสำหรับเป็นที่ประดิษฐานพระโอศทรงพระอัฐิเจ้านายในพระบรมราชจักรีวงศ์ ระหว่างการบูรณะหอพระนากได้อัญเชิญพระบวรอัฐิและพระอัฐิ ไปพักไว้ท้ายจรนำปราสาทพระเทพบิดรเป็นการชั่วคราว เมื่อการบูรณะสำเร็จแล้ว ใน..

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและหอพระนาก · ดูเพิ่มเติม »

อุปราช

หลุยส์ เมานต์แบ็ทแตน อุปราชแห่งอินเดียคนสุดท้าย อุปราช หรือ "ไวซรอย" (Viceroy) เป็นตำแหน่งที่แต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์เพื่อให้ปกครองเขต แว่นแคว้น หรืออาณาจักร เป็นผู้สำเร็จราชการในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ มาจากภาษาละติน "vice-" แปลว่า ผู้แทน กับภาษาฝรั่งเศส "roi" แปลว่าพระมหากษัตริย์ หากอุปราชเป็นสตรี จะเรียกว่า "ไวซแรน" ซึ่งใช้เรียกพระชายาของอุปราชด้วย ในยุโรป โดยเฉพาะก่อนช่วงศตวรรษที่ 18 พระมหากษัตริย์สเปนได้แต่งตั้งอุปราชประจำแคว้นอารากอง บาเลนเซีย คาตาโลเนีย นาวารร์ ซาร์ดีเนีย ซิซิลี เนเปิลส์ และโปรตุเกส (ช่วงปี ค.ศ. 1580-1640) โดยภายหลังการเถลิงอำนาจของราชวงศ์บูร์บงของสเปน เขตการปกครองของอุปราช ได้ถูกเปลี่ยนไปอยู่ในรูปของ Captaincies General แทน ต่อมาในภายหลังสงครามสืบราชบัลลังก์สเปน แคว้นเหล่านี้ที่อยู่ในอิตาลีได้แยกตัวเองเป็นอิสระ โดยยังใช้ระบบอุปราชเพื่อปกครองอยู่ เช่นแคว้นซาร์ดีเนียยังมีตำแหน่งอุปราชอยู่จนถึงปี..1848 ตำแหน่งอุปราชในไทยเรียกว่ากรมพระราชวังบวรสถานมงคล.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและอุปราช · ดูเพิ่มเติม »

จหมื่นศรีสรรักษ์ (วังหน้า)

หมื่นศรีสรรักษ์ ผู้ซึ่งดำรงตำแหน่งวังหน้าในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมนั้น ไม่ปรากฏว่ามีพระนามเดิมว่าอย่างไร แต่ปรากฏพระประวัติครั้งแรกในแผ่นดินพระศรีเสาวภาคย์ จหมื่นศรีสรรักษ์ได้ถวายตัวเป็นบุตรบุญธรรมของสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมเมื่อครั้งยังผนวชมีสมณศักดิ์เป็นพระพิมลธรรมอนันตปรีชา และได้ร่วมสมคบคิดในการชิงพระราชบัลลังก์ของพระศรีเสาวภาคย์โดยได้ร่วมมือกับผู้เลื่อมใสในพระพิมลธรรมอนันตปรีชานำกำลังเข้าสู่พระราชวัง และจับตัวพระศรีเสาวภาคย์นำไปสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ หลังจากนั้น จึงได้เชิญพระพิมลธรรมอนันตปรีชาขึ้นเสวยราชสมบัติแห่งกรุงศรีอยุธยา โดยมีพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม โดยพระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาจหมื่นศรีสรรักษ์ดำรงตำแหน่งพระมหาอุปราช จหมื่นศรีสรรักษ์ดำรงตำแหน่งที่พระมหาอุปราชได้ 7 วัน เกิดประชวรลง และอีก 3 วันจึงเสด็จสวรรคต สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แต่งการพระราชทานเพลิงตามอย่างพระมหาอุปร.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและจหมื่นศรีสรรักษ์ (วังหน้า) · ดูเพิ่มเติม »

จันทรเกษม

ันทรเกษม อาจหมายถึง.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและจันทรเกษม · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตร

ระนพปฎลมหาเศวตฉัตร ประดิษฐานเหนือพระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์ ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหสูรยพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง ฉัตร เป็นเครื่องสูงสำหรับแขวน ปัก ตั้ง หรือเชิญเข้ากระบวนแห่เพื่อเป็นเกียรติยศ ฉัตรมีรูปร่างคล้ายร่มที่ซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ฉัตรถือเป็นของสูง เปรียบเสมือนสวรรค์ซึ่งเป็นศูนย์รวมจักรวาล.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและฉัตร · ดูเพิ่มเติม »

ป้อมผีเสื้อสมุทร

ป้อมผีเสื้อสมุทร ตั้งอยู่บนเกาะแม่น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา ด้านใต้พระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2362 ซึ่งอยู่ในระหว่างทางเดินเรือ 2 ทาง แต่การสร้างป้อมในครั้งนั้นไม่แล้วเสร็จ ต่อมาในปี พ.ศ. 2365 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ทรงดำเนินการแก้ไขป้อมผีเสื้อสมุทรให้ดียิ่งขึ้น จนกระทั่ง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้กรมพระราชวังบวรสถานมงคลเสด็จไปทรงแก้ไขอีกครั้งหนึ่ง ตัวป้อมมีลักษณะเหมือนผีเสื้อ ใช้ด้านหางผีเสื้อเป็นทางเข้า ต่อมาทางเดินเรือด้านตะวันตกตื้นเขินจนเรือใหญ่ไม่สามารถแล่นผ่านได้ ที่ตั้งป้อมจึงดูชิดติดกับฝั่งธนบุรี ในสมัยสร้างป้อมขึ้นครั้งแรก อาวุธประจำป้อมใช้ปืนบรรจุลูกดินทางปากกระบอก และได้เริ่มใช้ปืนใหญ่บรรจุลูกทางท้ายแทน เมื่อปี พ.ศ. 2435 เป็นปืนชนิดหลุม ขนาด 6 นิ้ว รวม 3 กระบอก โดยสั่งซื้อจากบริษัท วิกเกอร์ อาร์มสตรอง ประเทศอังกฤษ และนายพลเรือโท พระยาวิจิตรนาวี (วิลเลียม บุณยะกลิน) เป็นนายช่างกลทำการติดตั้งปืนนี้ ต่อจากการติดตั้งปืนใหญ่ชนิดเดียวกันกับที่ป้อมพระจุลจอมเกล้า ป้อมผีเสื้อสมุทรแห่งนี้เคยทำการยิงต่อสู้กับหมู่เรือรบฝรั่งเศส 2 ลำ ที่ล่วงล้ำเข้ามาในแม่น้ำเจ้าพระยา เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2436 ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่สำคัญยิ่งเหตุการณ์หนึ่งในประวัติศาสตร์ชาติไท.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและป้อมผีเสื้อสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

นครเชียงใหม่

รัตนติงสาอภินวปุรีสรีคุรุรัฎฐพระนครเชียงใหม่ (200px) หรือ นครเชียงใหม่ เป็นประเทศราชในหัวเมืองเหนือของสยามตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและนครเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าสุทัศน์

้าฟ้าสุทัศน์ เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระเอกาทศรถที่ประสูติแต่สมเด็จพระอัครมเหสี พระองค์มีพระอนุชาร่วมพระมารดา 1 พระองค์ คือ เจ้าฟ้าศรีเสาวภาคย์ สมเด็จพระเอกาทศรถทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นพระมหาอุปราช หลังจากนั้น เจ้าฟ้าสุทัศน์กราบบังคมทูลสมเด็จพระเอกาทศรถว่า ขอพิจารณาคนออก สมเด็จพระเอกาทศรสจึงตรัสว่า "จะเป็นขบถหรือ" เป็นเหตุให้เจ้าฟ้าสุทัศน์เกิดความเกรงพระราชอาญาจากสมเด็จพระราชบิดา เมื่อพระองค์ออกจากที่เฝ้าและเสด็จมายังพระราชวังบวรสถานมงคลแล้ว พระองค์ได้เสวยยาพิษและเสด็จสวรรคตลง ความทราบถึงสมเด็จพระเอกาทศรถทำให้พระองค์ทรงพระโทมนัสเป็นอันมากและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานพระราชทานเพลิงพระศพตามพระอิสริยยศพระมหาอุปราช ซึ่งพระองค์ทรงตั้งพระทัยบำเพ็ญทานกุศลเป็นอเนกประการ.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและเจ้าฟ้าสุทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ซึ่งมีพระนามเดิมว่า เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ หรือพระนามที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า เจ้าฟ้ากุ้ง เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและกรมหลวงอภัยนุชิต พระองค์มีพระปรีชาสามารถหลายด้าน โดยเฉพาะด้านวรรณกรรมนั้น ทรงพระนิพนธ์วรรณกรรมไว้หลายเรื่อง เช่น กาพย์เห่เรือ นันโทปนันทสูตรคำหลวง พระมาลัยคำหลวง เนื่องจากพระองค์ลักลอบเป็นชู้กับพระสนมของพระราชบิดาจึงต้องพระอาญาให้เฆี่ยน เป็นเหตุให้พระองค์เสด็จสวรรคตในที.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและเจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)

้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค) (พ.ศ. 2281 - พ.ศ. 2348) ที่สมุหพระกลาโหมในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก บิดาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) และสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติ (ทัด บุนนาค) เป็นต้นสกุลบุนนาค เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา มีนามเดิมว่า นายบุนนาค เกิดเมื่อ พ.ศ. 2281 เป็นบุตรของเจ้าพระยามหาเสนา (เสน) (บุตรชายของเจ้าพระยาเพ็ชร์พิไชย (ใจ) กับท่านแฉ่ง) กับท่านบุญศรี รับราชการในตำแหน่งทนายหน้าหอ รับใช้พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกขณะดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าพระยาจักรี ต่อมา จึงได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น พระยาอุทัยธรรม พระยายมราช เจ้าพระยายมราช และเจ้าพระยาอรรคมหาเสนาที่สมุหพระกลาโหม ตามลำดับ เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา มีภรรยาคนแรกชื่อ คุณลิ้ม ซึ่งได้เสียชีวิตลงในขณะที่ทั้งสองกลับจากการเดินทางไปขนทรัพย์สมบัติที่ซ่อนไว้ก่อนกรุงศรีอยุธยาจะแตก แต่ถูกคนร้ายดักปล้นที่ปากคลองบางหลวง และคุณลิ้มถูกทำร้ายร่างกายจนเสียชีวิต หลังจากเจ้าพระยาอรรคมหาเสนาตกเป็นพ่อหม้าย ท่านผู้หญิงนาก (ภายหลังได้รับการสถาปนาที่สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี พระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก) ได้ยก คือ คุณนวล (เจ้าคุณพระราชพันธุ์นวล) ให้เป็นภรรยา นอกจากนี้ ท่านยังมีอนุภรรยาอีก 7 ท่าน เจ้าพระยาอรรคมหาเสนาถึงแก่อสัญกรรมในรัชกาลที่ 1 เมื่อปีฉลู..

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและเจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระขวัญ

้าพระขวัญ หรือ พระขวัญ เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระเพทราชาและสมเด็จเจ้าฟ้าศรีสุวรรณ กรมหลวงโยธาทิพ พระองค์มีผู้คนนับถือเป็นอันมากเพราะเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ภายหลังพระองค์ทรงโดนสมเด็จกรมพระราชวังบวรฯ (ภายหลัง คือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8) ลอบปลงพระชนม์อันเนื่องมาจากทรงเกรงว่าเจ้าพระขวัญอาจจะเป็นเป็นภัยต่อราชสมบัติของพระองค์ในภายภาคหน้.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและเจ้าพระขวัญ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าศรีอโนชา

้าศรีอโนชา หรือ เจ้ารจจาสรัสวดี อ๋องสกุล.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและเจ้าศรีอโนชา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าสามกรม

้าสามกรม เป็นคำเรียกพระราชโอรส 3 พระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศที่ประสูติแต่พระสนม ได้แก่ กรมหมื่นจิตรสุนทร กรมหมื่นสุนทรเทพ และ กรมหมื่นเสพภักดี พระองค์เจ้าทั้ง 3 พระองค์เป็นพระราชโอรสที่มีพระชันษาเป็นผู้ใหญ่และมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเสด็จสวรรคตของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ (เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร) ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เจ้าสามกรมถูกสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ทั้ง 3 พระอง.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและเจ้าสามกรม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาปิ่น ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์

้าจอมมารดาปิ่น เป็นพระสนมในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและเจ้าจอมมารดาปิ่น ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดานุ้ยใหญ่ ในรัชกาลที่ 1

้าจอมมารดานุ้ยใหญ่ เป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และเป็นพระชนนีในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ กรมพระราชวังบวรสถานมงคลในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและเจ้าจอมมารดานุ้ยใหญ่ ในรัชกาลที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

25 พฤศจิกายน

วันที่ 25 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 329 ของปี (วันที่ 330 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 36 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและ25 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

กรมพระราชวังบวรฯสมเด็จกรมพระราชวังบวรฯสมเด็จพระบวรราชเจ้าพระบัณฑูรพระบัณฑูรใหญ่

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »