โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กรดไฮโดรฟลูออริก

ดัชนี กรดไฮโดรฟลูออริก

กรดไฮโดรฟลูออริก เป็นสารละลายของไฮโดรเจนฟลูออไรด์ในน้ำ แม้ว่าจะมีฤทธิ์กัดกร่อนอย่างแรงและยากแก่การใช้งาน กรดนี้เป็นเพียงกรดอ่อนเท่านั้น กรดไฮโดรฟลูออริกใช้เป็นแหล่งของฟลูออรีนในการสังเคราะห์สารประกอบต่างๆ ทั้งยาและพอลิเมอร์ เช่น เทฟลอน คนทั่วไปรู้จักกรดไฮโดรฟลูออริกในฐานะกรดกัดแก้ว เพราะกรดชนิดนี้ทำปฏิกิริยากับซิลิกอนไดออกไซด์ได้.

23 ความสัมพันธ์: ฟลูออรีนกรดไฮโดรฟลูออริกกรดไฮโดรคลอริกกรดไฮโดรโบรมิกภูเขาไฟลาไครายชื่อสารประกอบอนินทรีย์สตรอนเชียมฟลูออไรด์อาร์กอนทฤษฎีการผลักกันของคู่อิเล็กตรอนวงเวเลนซ์ทฤษฎีออร์บิทัลเชิงโมเลกุลทังสเตนคาร์ไบด์ดาวศุกร์คาร์ล วิลเฮล์ม เชเลอซากดึกดำบรรพ์ทางเรณูวิทยาแคลเซียมฟลูออไรด์ไฮโดรเจนไฮโดรเจนคลอไรด์ไฮโดรเจนแอสทาไทด์ไฮโดรเจนโบรไมด์ไฮโดรเจนไอโอไดด์เมอร์คิวรีโมโนฟลูออไรด์ICD-10 บทที่ 19: การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอกPUREX

ฟลูออรีน

ฟลูออรีน (Fluorine) (จากภาษาละติน Fluere แปลว่า "ไหล") เป็นธาตุเคมีที่เป็นพิษและทำปฏิกิริยาได้มากที่สุด มีสัญลักษณ์ F และเลขอะตอม 9 เป็นธาตุแฮโลเจนที่เป็นเบาที่สุดและมีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีมากที่สุด มันปรากฎอยู่ในรูปของแก๊สสีเหลืองที่ภาวะอุณหภูมิและความดันมาตรฐาน ธาตุนี้ทำปฏิกิริยาได้เกือบทุกธาตุรวมทั้งแก๊สมีตระกูลบางตัว มีสมบัติเป็นอโลหะมากที่สุด (ถ้าไม่รวมแก๊สมีตระกูล).

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและฟลูออรีน · ดูเพิ่มเติม »

กรดไฮโดรฟลูออริก

กรดไฮโดรฟลูออริก เป็นสารละลายของไฮโดรเจนฟลูออไรด์ในน้ำ แม้ว่าจะมีฤทธิ์กัดกร่อนอย่างแรงและยากแก่การใช้งาน กรดนี้เป็นเพียงกรดอ่อนเท่านั้น กรดไฮโดรฟลูออริกใช้เป็นแหล่งของฟลูออรีนในการสังเคราะห์สารประกอบต่างๆ ทั้งยาและพอลิเมอร์ เช่น เทฟลอน คนทั่วไปรู้จักกรดไฮโดรฟลูออริกในฐานะกรดกัดแก้ว เพราะกรดชนิดนี้ทำปฏิกิริยากับซิลิกอนไดออกไซด์ได้.

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและกรดไฮโดรฟลูออริก · ดูเพิ่มเติม »

กรดไฮโดรคลอริก

รเจนคลอไรด์โอเวน กรดไฮโดรคลอริก หรือ กรดเกลือ (hydrochloric acid) เป็นสารประกอบเคมีประเภทกรดละลายในน้ำ โดยเป็นสารละลายของไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) เป็นกรดแก่, เป็นส่วนประกอบหลักของกรดกระเพาะ (gastric acid) และใช้กันอย่างกว้างในอุตสาหกรรมเป็นของเหลวที่มีพลังการกัดกร่อนสูง กรดไฮโดรคลอริก หรือ มูเรียติกแอซิด ถูกค้นพบโดย "จาเบียร์ เฮย์ยัน" (Jabir ibn Hayyan) ราวปี ค.ศ. 1800 ช่วงปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution) ถูกใช้อย่างกว้างขวางในการผลิตสารประกอบอินทรีย์ เช่น วีนิลคลอไรด์ สำหรับผลิต PVC พลาสติก และ MDI/TDI (Toluene Diisocyanate) สำหรับผลิต พอลิยูลิเทน, (polyurethane) และใช้ในการผลิตขนาดเล็กเช่น การผลิต เจนลาติน (gelatin) ใช้ปรุงอาหาร, และ ใช้ฟอกหนัง กำลังผลิตในปัจจุบันประมาณ 20 ล้านเมตริกตัน ต่อปี (20 Mt/a) ของก๊าซ HCl.

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและกรดไฮโดรคลอริก · ดูเพิ่มเติม »

กรดไฮโดรโบรมิก

กรดไฮโดรบอมิก (hydrobromic acid) เป็นสารละลายของแก๊สไฮโดรเจนโบรไมด์ ลักษณะของแก๊สโบรมีนคือ มีสีแดงแกมน้ำตาล ทำลายเยื่อบุตาและระบบทางเดินหายใจ กรดไฮโดรบอมิกเป็นกรดที่สามารถกัดกร่อนรุนแรง มีค่า pH ประมาณ 1 ลักษณะของกรดไฮโดรโบมิก เป็นกรดที่อยู่ในจำพวก ไฮโดร (กรดที่มีองค์ประกอบ 2 อย่างคือ อโลหะและของเหลว) สมการเกิดกรดไฮโดรบอมิก คือ.

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและกรดไฮโดรโบรมิก · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟลาไค

ูเขาไฟลาไค (Lakagígar) เป็นภูเขาไฟที่ปะทุตามรอยแยกที่ตั้งอยู่ระหว่างธารน้ำแข็งวาตนาเยอคูตล์และมีร์เดาเจียคุสต์ในพื้นที่รอยแยกที่แยกจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือไม่ไกลจากหุบผาชันเอนเกียวและหมู่บ้านเล็ก ๆ แห่งหนึงในเคิร์กยูแบยาร์กลุสทุสร์ในภาคใต้ของไอซ์แลนด์ ช่องของภูเขาไฟกว้างเพียงไม่กี่เมตรแต่อาจยาวได้หลายกิโลเมตร ลาไคเป็นชื่อของภูเขาธรรมดาที่ไม่ปะทุบนภูเขาแต่จะปะทุตามรอยแยกด้านข้างของมัน ภูเขาไฟลาไคเป็นส่วนหนึ่งของระบบภูเขาไฟกริมสวอทน์และธอห์ดอร์ฮีร์นะ ภูเขาไฟลาไคและกริมสวอทน์ได้ปะทุอย่างรุนแรงเป็นระยะเวลา 8 เดือนตั้งแต่มิถุนายน..

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและภูเขาไฟลาไค · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสารประกอบอนินทรีย์

รประกอบอนินทรีย์ (อังกฤษ:inorganic compound) คือสารประกอบที่มีในโลกที่ไม่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจน.

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและรายชื่อสารประกอบอนินทรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

สตรอนเชียมฟลูออไรด์

ตรอนเชียมฟลูออไรด์ (strontium fluoride) เป็นสารประกอบอนินทรีย์ที่มีสูตรเคมีคือ SrF2 เป็นของแข็งผลึกสีขาว พบในแร่สตรอนชิโอฟลูออไรต์ สามารถเตรียมได้จากการทำปฏิกิริยาระหว่างสตรอนเชียมคลอไรด์กับแก๊สฟลูออรีน หรือสตรอนเชียมคาร์บอเนตกับกรดไฮโดรฟลูออริก สตรอนเชียมฟลูออไรด์มีคุณสมบัติเป็นสภาพนำไอออนยวดยิ่งเช่นเดียวกับแคลเซียมฟลูออไรด์และแบเรียมฟลูออไรด์ สตรอนเชียมฟลูออไรด์ใช้ในอุตสาหกรรมกระจกและเลนส์ และใช้ในเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเทอร์โมอิเล็กทริกไอโซโทปรังสี สตรอนเชียมฟลูออไรด์ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อดวงตา ผิวหนังและระบบทางเดินหายใจจึงควรใช้อย่างระมัดระวัง.

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและสตรอนเชียมฟลูออไรด์ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์กอน

อาร์กอน (Argon) เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ Ar และเลขอะตอม 18 เป็นก๊าซมีตระกูล ตัวที่ 3 อยู่ในกลุ่ม 18 ก๊าซอาร์กอนประกอบเป็น 1% ของบรรยากาศของโลก ชื่ออาร์กอน มาจากภาษากรีกจากคำว่า αργον แปลว่า ไม่ว่องไว (inactive) ในขณะที่มีการอ้างอิงถึงความจริงที่ว่าองค์ประกอบเกือบจะไม่มีปฏิกิริยาทางเคมี ออคเต็ต สมบูรณ์ (ครบ8อิเล็กตรอน) ในเปลือกนอกทำให้อะตอมอาร์กอนที่มีความเสถียรภาพและความทนทานต่อพันธะกับองค์ประกอบอื่นๆที่อุณหภูมิสามจุดเท่ากับ 83.8058K เป็นจุดคงที่ที่กำหนดในอุณหภูมิระดับนานาชาติปี1990 อาร์กอนที่ผลิตโดยอุตสาหกรรมการกลั่นลำดับส่วนของอากาศและของเหลว อาร์กอนส่วนใหญ่จะใช้เป็นก๊าซเฉื่อยในการเชื่อมและกระบวนการทางอุตสาหกรรมที่อุณหภูมิสูงมีสารอื่นๆที่ปกติจะไม่ทำปฏิกิริยากลายเป็นทำปฏิกิริยา ตัวอย่างเช่น ชั้นบรรยากาศอาร์กอนนอกจากนี้ยังมีการปลดปล่อยก๊าซหลอด อาร์กอนทำให้ก๊าซสีเขียว-สีฟ้า โดเด่นด้วยแสงเลเซอร์ นอกจากนั่นอาร์กอนยังใช้ในการริเริ่มการเรืองแสงอีกด้ว.

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและอาร์กอน · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีการผลักกันของคู่อิเล็กตรอนวงเวเลนซ์

ทฤษฎีการผลักของคู่อิเล็กตรอน (Valence Shell Electron Pair Repulsion (VSEPR) Theory) เสนอขึ้นโดย โรนัลด์ กิลเลสพาย และ เซอร์โรนัลด์ ซิดนีย์ ไนโฮล์ม ในปี พ.ศ. 2500 เพื่อใช้เป็นแบบจำลองเพื่อทำนายรูปร่างของโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ ซึ่งศึกษาโดยใช้คุณสมบัติทางไฟฟ้าของอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะและอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวโดยใช้จำนวนกลุ่มอิเล็กตรอนรอบอะตอมกลาง (Stearic number) ซึ่งประกอบด้วยอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว ทฤษฎีนี้จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ทฤษฎีกิลเลสพาย-ไนโฮล์ม หรือในบางครั้งก็เรีกกันว่า "เวสเปอร์" เพื่อความสะดวกในการเรียก ซึ่งโครงสร้างในการพิจารณานั้นก็มาจากสูตรโครงสร้างของลิวอิสแล้วมาจำลองให้เป็นรูปแบบสามมิติ โดยที่ต้องให้อิเล็กตรอนรอบอะตอมกลางผลักกันให้ไกลที่สุดเท่าที่จะทำได้.

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและทฤษฎีการผลักกันของคู่อิเล็กตรอนวงเวเลนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีออร์บิทัลเชิงโมเลกุล

ทฤษฎีออร์บิทัลเชิงโมเลกุล (molecular orbital (MO) theory) เป็นทฤษฎีที่อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างอิเล็กทรอนิกของโมเลกุลโดยไม่ได้พิจารณาว่าอิเล็กตรอนจะอยู่เฉพาะในพันธะระหว่างอะตอมเท่านั้น แต่พิจารณาว่าอิเล็กตรอนมีการเคลื่อนที่ไปทั่วโมเลกุลภายใต้อิทธิพลของนิวเคลียสทั้งหมดที่มีในโมเลกุลโดยตัวทฤษฎีใช้ความรู้เกี่ยวกับกลศาสตร์ควอนตัมในการอธิบายพฤติกรรมของอิเล็กตรอน เมื่อเรากล่าวถึงออร์บิทัลเชิงอะตอม (atomic orbitals; AOs) เราจะพิจารณาว่าออร์บิทัลประกอบด้วยอิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆอะตอมหนึ่งๆนั้น ออร์บิทัลเชิงโมเลกุล (molecular orbitals; MOs) จะพิจารณาว่าประกอบด้วยเวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอมต่างๆที่ประกอบกันเป็นโมเลกุลนั่นเอง โดยทฤษฎีออร์บิทัลเชิงโมเลกุลถูกเสนอขึ้นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 จากการศึกษาการเกิดพันธะเคมีโดยการประมาณตำแหน่งของอิเล็กตรอนที่เกิดพันธะหรือออร์บิทัลเชิงโมเลกุลเป็นการรวมกันเชิงเส้นตรงของออร์บิทัลเชิงอะตอม (Linear Combinations of Atomic Orbitals; LCAO) ซึ่งการประมาณนี้ในปัจจุบันจะประยุกต์ใช้ทฤษฎีฟังก์ชันนัลความหนาแน่น (Density Functional Theory; DFT) หรือ แบบจำลองฮาร์ทรี-ฟอกก์ (Hartree–Fock (HF) models) กับสมการชเรอดิงเงอร.

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและทฤษฎีออร์บิทัลเชิงโมเลกุล · ดูเพิ่มเติม »

ทังสเตนคาร์ไบด์

ทังสเตนคาร์ไบด์ (tungsten carbide) มีสูตรเคมีคือ WC ในรูปพื้นฐานจะมีลักษณะเป็นผงสีเทาละเอียด มี 2 โครงสร้างคือแบบหกเหลี่ยม (α-WC) และแบบลูกบาศก์ (β-WC) ทังสเตนคาร์ไบด์เตรียมได้จากการทำปฏิกิริยาระหว่างทังสเตนกับคาร์บอนที่อุณหภูมิ 1400–2000 °C หรือให้ความร้อนกับทังสเตนไตรออกไซด์และแกรไฟต์โดยตรงที่ 900 °C หรือในแก๊สไฮโดรเจนที่ 670 °C ตามด้วยการคาร์บิวไรเซชันในแก๊สอาร์กอนที่ 1000 °C หรือใช้วิธีการเคลือบด้วยไอเคมี เช่น.

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและทังสเตนคาร์ไบด์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวศุกร์

วศุกร์ (Venus) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 2 ดาวศุกร์มีเส้นผ่านศูนย์กลางเป็น 3 เท่าของดวงจันทร์ และ มีขนาดใหญ่กว่าดาวพุธและดาวอังคาร 2 เท่าตัว ชื่อละตินของดาวศุกร์ (Venus) มาจากเทพีแห่งความรักของโรมัน ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์หิน มีขนาดใกล้เคียงกับโลก บางครั้งเรียกว่า "น้องสาว" ของโลก แม้ว่าวงโคจรของดาวเคราะห์ทุกดวงจะเป็นวงรี วงโคจรของดาวศุกร์จัดว่าเกือบเป็นวงกลม มีความเยื้องศูนย์กลาง (ความรี) น้อยที่สุด สำหรับวัตถุในธรรมชาติ ดาวศุกร์เป็นวัตถุท้องฟ้าที่สว่างที่สุดเป็นลำดับที่ 3 รองจากดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ เนื่องจากดาวศุกร์มีวงโคจรใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าโลก จึงมีมุมห่างจากดวงอาทิตย์ไม่เกิน 47.8° มองเห็นได้เฉพาะในเวลาเช้ามืดหรือหัวค่ำเท่านั้น ขณะปรากฏในท้องฟ้าเวลาหัวค่ำทางทิศตะวันตก เรียกว่า "ดาวประจำเมือง" และเมื่อปรากฏในท้องฟ้าเวลาเช้ามืดทางทิศตะวันออก เรียกว่า "ดาวประกายพรึก" หรือ "ดาวรุ่ง" ชาวบาบิโลนโบราณรู้จักดาวศุกร์มาตั้งแต่ราว 1,600 ปีก่อนคริสตกาล แต่เชื่อว่าด้วยความสว่างสุกใสของดาวศุกร์ น่าจะเป็นที่รู้จักมาก่อนหน้านั้นนานแล้วนับตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ สัญลักษณ์แทนดาวศุกร์ คือ ♀.

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและดาวศุกร์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล วิลเฮล์ม เชเลอ

ร์ล วิลเฮล์ม เชเลอ (Carl Wilhelm Scheele; 9 ธันวาคม ค.ศ. 1742 – 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1786) เป็นนักเคมีและเภสัชกรชาวเยอรมัน-สวีเดน ผู้ได้รับฉายา "เชเลอผู้อาภัพ" จากนักเขียน ไอแซค อสิมอฟ จากการค้นพบทางเคมีหลายอย่างแต่ไม่ได้รับการยกย่องในช่วงชีวิตของเขา เชเลอเป็นผู้ค้นพบธาตุออกซิเจน, คลอรีน, ทังสเตนและสารประกอบอินทรีย์อื่น ๆ เช่น กรดยูริก, กรดแล็กติก, กรดออกซาลิก คาร์ล วิลเฮล์ม เชเลอ เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและคาร์ล วิลเฮล์ม เชเลอ · ดูเพิ่มเติม »

ซากดึกดำบรรพ์ทางเรณูวิทยา

ซากดึกดำบรรพ์ทางเรณูวิทยา (Sporopollen fossil) คือซากของพืชขนาดจุลภาค เรียกว่า ซากดึกดำบรรพ์เรณูสัณฐาน (fossil palynomorph หรือ fossil sporomorph) เป็นแขนงหนึ่งของวิชาบรรพชีวินวิทยา(Palyontology) ที่เกี่ยวข้องกับซากดึกดำบรรพ์ของสิ่งมีชีวิตขนาดจุลภาค และส่วนประกอบขนาดจุลภาคของสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่ ประกอบด้วย ซากดึกดำบรรพ์ละอองเรณู ซากดึกดำบรรพ์สปอร์ ไดโนแฟลกเจลเลตซีสต์ อาคริทาร์ช ชิตินโนซวน และวัตถุขนาดจุลภาคของซากดึกดำบรรพ์สาหร่าย และซากดึกดำบรรพ์ฟังไจ ซากดึกดำบรรพ์เรณูสัณฐาน จะมีโครงสร้างประกอบด้วยสารเซลลูโลสจำพวกสปอโรพอลเลนิน ซึ่งเป็นสารอินทรีย์ที่มีคุณสมบัติทนทานต่อการกัดกร่อนของกรดแม้ว่าจะเป็นกรดเข้มข้นหรือที่อุณหภูมิน้ำเดือดก็ตาม ดังนั้นในการสกัดซากดึกดำบรรพ์เรณูสัณฐานออกจากเนื้อหินจึงต้องอาศัยการละลายตัวอย่างหินด้วยกรดชนิดต่างๆ เช่น กรดเกลือ และกรดกัดแก้ว จะทำการกัดกร่อนแร่ประกอบหิน เช่น สารประกอบในหินปูน และ สารประกอบหินประเภทซิลิกา ให้ละลายออกไป ท้ายที่สุดก็จะเหลืออนุภาคสารอินทรีย์ที่อาจเป็นเศษสารอินทรีย์ทั่วไปและอินทรีย์วัตถุของซากดึกดำบรรพ์เรณูสัณฐาน จากนั้นจะทำการแยกซากดึกดำบรรพ์เรณูสัณฐานออกจากอินทรีย์วัตถุอื่นๆด้วยสารเคมีบางตัว เช่น ซิงค์โบไมด์ หรือ ซิงค์คลอไรด์ เป็นต้น การศึกษาซากดึกดำบรรพ์เรณูสัณฐาน จะทำการศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ทั้งกล้องจุลทรรศน์แสงและกล้องจุลทรรศน์อิเลกตรอนแบบส่องกราด เพื่อทำให้ทราบถึงขนาด รูปร่าง ผนังเซลล์ และลวดลายต่างๆบนพื้นผิว เป็นต้น รูปด้านขวามือเป็นภาพของเรณูสัณฐานละอองเรณูของกระจับโบราณ (สปอโรทราปออิดิทีส เมดิอุส หรือ Sporotrapoidites medius) จากชั้นหินอายุประมาณสมัยโอลิโกซีน-ไมโอซีน ของเหมืองนาฮ่อง ตำบลบ้านนาจร อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ภาพด้านบนได้จากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด เป็นภาพด้านขั้วของเรณูสัณฐานซึ่งหากเรณูสัณฐานไม่ถูกกดทับทำให้แบน เรณูสัณฐานนี้จะมีรูปทรงกรม มีสันนูน 3 สันโยงมาบรรจบกันเห็นเป็นสามแฉกบนพื้นที่ขั้วนี้ โดยพื้นที่ขั้วด้านตรงข้ามก็มีลักษณะเช่นเดียวกัน ที่สามารถสังเกตได้อย่างชัดเจนจากภาพที่ถ่ายภายใต้กล้องจุลทรรศน์แสงเนื่องจากเรณูสัณฐานมีคุณสมบัติโปร่งแสง การประยุกต์ใช้กล้องจุลทรรศน์ทั้ง 2 ชนิดนี้ร่วมกัน จะช่วยให้การบรรยายรูปลักษณ์สัณฐานของเรณูสัณฐานได้ละเอียดถูกต้องแม่นยำมากยิ่งขึ้น หมวดหมู่:ซากดึกดำบรรพ์.

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและซากดึกดำบรรพ์ทางเรณูวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

แคลเซียมฟลูออไรด์

แคลเซียมฟลูออไรด์ (calcium fluoride) เป็นสารประกอบอนินทรีย์ที่มีสูตรเคมีคือ CaF2 ลักษณะเป็นของแข็งผลึกสีขาว ไม่มีกลิ่น ได้จากแร่ฟลูออไรต์ แคลเซียมฟลูออไรด์บริสุทธิ์ได้จากการทำปฏิกิริยาระหว่างแคลเซียมคาร์บอเนตกับกรดไฮโดรฟลูออริก ตามสมการ: แคลเซียมฟลูออไรด์ใช้ในอุตสาหกรรมกระจกและเลนส์ และเป็นแหล่งสำคัญของไฮโดรเจนฟลูออไรด์ ซึ่งใช้ในอุตสาหกรรมโลหะ การกลั่นน้ำมันและตัวทำความเย็น แคลเซียมฟลูออไรด์ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อดวงตา ผิวหนังและระบบทางเดินหายใจ หากทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริกจะได้กรดไฮโดรฟลูออริกซึ่งเป็นพิษ จึงควรใช้อย่างระมัดระวัง.

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและแคลเซียมฟลูออไรด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรเจน

รเจน (Hydrogen; hydrogenium ไฮโดรเจเนียม) เป็นธาตุเคมีที่มีเลขอะตอม 1 สัญลักษณ์ธาตุคือ H มีน้ำหนักอะตอมเฉลี่ย 1.00794 u (1.007825 u สำหรับไฮโดรเจน-1) ไฮโดรเจนเป็นธาตุที่เบาที่สุดและพบมากที่สุดในเอกภพ ซึ่งคิดเป็นมวลธาตุเคมีประมาณร้อยละ 75 ของเอกภพ ดาวฤกษ์ในลำดับหลักส่วนใหญ่ประกอบด้วยไฮโดรเจนในสถานะพลาสมา ธาตุไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหาได้ค่อนข้างยากบนโลก ไอโซโทปที่พบมากที่สุดของไฮโดรเจน คือ โปรเทียม (ชื่อพบใช้น้อย สัญลักษณ์ 1H) ซึ่งมีโปรตอนหนึ่งตัวแต่ไม่มีนิวตรอน ในสารประกอบไอออนิก โปรเทียมสามารถรับประจุลบ (แอนไอออนซึ่งมีชื่อว่า ไฮไดรด์ และเขียนสัญลักษณ์ได้เป็น H-) หรือกลายเป็นสปีซีประจุบวก H+ ก็ได้ แคตไอออนหลังนี้เสมือนว่ามีเพียงโปรตอนหนึ่งตัวเท่านั้น แต่ในความเป็นจริง แคตไอออนไฮโดรเจนในสารประกอบไอออนิกเกิดขึ้นเป็นสปีซีที่ซับซ้อนกว่าเสมอ ไฮโดรเจนเกิดเป็นสารประกอบกับธาตุส่วนใหญ่และพบในน้ำและสารประกอบอินทรีย์ส่วนมาก ไฮโดรเจนเป็นส่วนสำคัญในการศึกษาเคมีกรด-เบส โดยมีหลายปฏิกิริยาแลกเปลี่ยนโปรตอนระหว่างโมเลกุลละลายได้ เพราะเป็นอะตอมที่เรียบง่ายที่สุดเท่าที่ทราบ อะตอมไฮโดรเจนจึงได้ใช้ในทางทฤษฎี ตัวอย่างเช่น เนื่องจากเป็นอะตอมที่เป็นกลางทางไฟฟ้าเพียงชนิดเดียวที่มีผลเฉลยเชิงวิเคราะห์ของสมการชเรอดิงเงอร์ การศึกษาการพลังงานและพันธะของอะตอมไฮโดรเจนได้มีบทบาทสำคัญในการพัฒนากลศาสตร์ควอนตัม มีการสังเคราะห์แก๊สไฮโดรเจนขึ้นเป็นครั้งแรกในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 โดยการผสมโลหะกับกรดแก่ ระหว่าง..

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและไฮโดรเจน · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรเจนคลอไรด์

Submit to get this template or go to:Template:Chembox.

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและไฮโดรเจนคลอไรด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรเจนแอสทาไทด์

รเจนแอสทาไทด์ (hydrogen astatide) หรือ แอสทาเทน (astatane) มีสูตรทางเคมีว่า HAt เป็นสารประกอบอนินทรีย์ที่เกิดจากอะตอมของธาตุแอสทาทีนเชื่อมกับอะตอมไฮโดรเจนด้วยพันธะโคเวเลนต์ สารประกอบชนิดนี้จัดอยู่ในประเภทไฮโดรเจนแฮไลด์ (hydrogen halide) ซึ่งประกอบด้วยสาร 5 ชนิดที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกัน โดยไฮโดรเจนแอสทาไทด์มีสภาพเป็นกรดสูงสุดในกลุ่มดังกล่าว แต่สารชนิดนี้ยังใช้ประโยชน์ได้ในวงจำกัด เนื่องจากสามารถสลายตัวออกเป็นไฮโดรเจนกับแอสทาทีนได้อย่างรวดเร็ว เช่นเดียวกับไอโซโทปของแอสทาทีนที่มีครึ่งชีวิตสั้น สาเหตุที่สลายตัวเร็วเนื่องจากทั้งไฮโดรเจนและแอสทาทีนมีค่าอิเล็กโตรเนกาทิวิตีเกือบเท่ากัน ปฏิกิริยาการสลายตัวของไฮโดรเจนแอสทาไทด์อาจเกิดได้ตามสมการดังต่อไปนี้ โดยผลิตภัณฑ์ที่ได้คือ แก๊สไฮโดรเจนและตะกอนแอสทาทีน เนื่องจากธาตุแอสทาทีนไม่มีไอโซโทปใดเลยที่เสถียร โดยโอโซโทปที่เสถียรที่สุดคือ แอสทาทีน-210 ซึ่งมีครึ่งชีวิตเพียงประมาณ 8.1 ชั่วโมง ทำให้ยากต่อการศึกษาในเรื่องสารประกอบที่เกิดจากแอสทาทีน ธาตุชนิดนี้จะสลายตัวได้อย่างรวดเร็วกลายเป็นธาตุชนิดอื่นแทน.

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและไฮโดรเจนแอสทาไทด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรเจนโบรไมด์

รเจนโบรไมด์ (hydrogen bromide) มีสูตรเคมีว่า HBr เป็นสารประกอบอนินทรีย์ชนิดหนึ่ง ซึ่งโมเลกุลประกอบขึ้นจากธาตุสองตัว ได้แก่ ไฮโดรเจน และโบรมีน ไฮโดรเจนโบรไมด์มีสถานะเป็นแก๊สที่ภาวะมาตรฐาน และเมื่อนำไปผสมน้ำจะได้เป็นกรดไฮโดรโบรมิก ในทางกลับกันเราสามารถสกัดเอาไฮโดรเจนโบรไมด์ออกจากสารละลายดังกล่าวได้ โดยการเติมตัวดูดความชื้น (dehydration agent) เพื่อไล่น้ำออก แต่ไม่สามารถแยกได้โดยการกลั่น ถือได้ว่าไฮโดรเจนโบรไมด์และกรดไฮโดรโบมิกมีความสัมพันธ์กัน แต่ไม่ใช่สารชนิดเดียวกัน ซึ่งในบางครั้งนักเคมีอาจใช้สูตร "HBr" แทนกรดไฮโดรโบมิก พร้อมทั้งเป็นที่เข้าใจกันในหมู่นักเคมีส่วนใหญ่ แต่อาจทำให้บุคคลทั่วไปเกิดความเข้าใจผิดหรือสับสนระหว่างสารสองชนิดนี้ได้.

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและไฮโดรเจนโบรไมด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรเจนไอโอไดด์

รเจนไอโอไดด์ (HI) เป็นสารประกอบขนาดสองอะตอม สารละลายของ HI เรียกว่ากรดไอโอไฮโดรอิก (iohydroic acid) หรือ กรดไฮโดรไอโอดิก (hydroiodic acid) มีฤทธิ์เป็นกรดแก่ อย่างไรก็ตามไฮโดรเจนไอโอไดด์นั้นมีสถาะเป็นก๊าซที่สภาวะมาตรฐานแต่กรดไอโอไฮโดรอิกเป็นสารละลาย HI ใช้ในการสังเคราะห์สารอินทรีย์และอนินทรีย์โดยเป็นแหล่งของไอโอดีนและใช้ในการทำปฏิกิริยารีดักชัน.

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและไฮโดรเจนไอโอไดด์ · ดูเพิ่มเติม »

เมอร์คิวรีโมโนฟลูออไรด์

มอร์คิวรีโมโนฟลูออไรด์ (Mercury monofluoride) เป็นสารประกอบเคมีที่ประกอบด้วยปรอท และฟลูออรีน ที่มีสูตร Hg2F2 ประกอบด้วยลูกบาศก์ผลึกสีเหลืองขนาดเล็กที่เปลี่ยนเป็นสีดำเมื่อสัมผัสกับแสง.

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและเมอร์คิวรีโมโนฟลูออไรด์ · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 19: การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอก

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและICD-10 บทที่ 19: การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอก · ดูเพิ่มเติม »

PUREX

PUREX ย่อมาจาก Plutonium - URanium EXtraction — de facto คือกระบวนการคืนสภาพยูเรเนียมและพลูโทเนียมจากเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ที่ใช้แล้วกลับมาผลิตเป็นเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ใหม่ โดยใช้หลักการสกัดของเหลวด้วยของเหลวด้วยการแลกเปลี่ยนปร.

ใหม่!!: กรดไฮโดรฟลูออริกและPUREX · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Hydrofluoric acidHydrogen fluorideกรดกัดแก้วไฮโดรเจนฟลูออไรด์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »