เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

กปปส.

ดัชนี กปปส.

กปป. มีชื่อเต็มว่า คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงปฏิรูปประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์แบบอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ ชื่อเดิม คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (ภาษาอังกฤษใช้ชื่อว่า People's Democratic Reform Committee, แปลตามตัวอักษร คณะกรรมการประชาชนปฏิรูปประชาธิปไตย, ย่อ: PDRC) เป็นกลุ่มผลประโยชน์ในประเทศไทย โดยมุ่งหมายขจัดอิทธิพลของพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี จากการเมืองไทย และการจัดตั้งสภาประชาชนที่มิได้มาจากการเลือกตั้งเพื่อควบคุมการปฏิรูปการเมือง กลุ่มดังกล่าวมีบทบาทสูงในวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ.

สารบัญ

  1. 69 ความสัมพันธ์: ชัชชัย สุขขาวดีชัย ราชวัตรชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ชินวรณ์ บุณยเกียรติชุมพล จุลใสพรรคพลังธรรมพรรคทางเลือกใหม่ (พ.ศ. 2561)พรรคประชาธิปัตย์พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์กรณ์ จาติกวณิชกฤษฎา บุญราชกลุ่มประชาชนเพื่อพิทักษ์ชาติ ศาสน์ กษัตริย์การเลือกตั้งทั่วไปในประเทศไทยครั้งถัดไปยุทธศักดิ์ ศศิประภารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557รถไฟฟ้าบีทีเอสรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทยลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557วรชัย เหมะวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557วิทยา แก้วภราดัยศิริวรรณ ปราศจากศัตรูศุภชัย ศรีหล้าศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น)ศตวรรษ เศรษฐกรสกลธี ภัททิยกุลสภาปฏิรูปแห่งชาติสมบัติ ธำรงธัญวงศ์สมศักดิ์ โกศัยสุขสมณะโพธิรักษ์สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์สาธิต เซกัลสาทิตย์ วงศ์หนองเตยสำราญ รอดเพชรสุริยะใส กตะศิลาสุวิทย์ ทองประเสริฐสุเทพ เทือกสุบรรณสถานีรถไฟสามเสนหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตรอัญชะลี ไพรีรักอิสสระ สมชัยองค์การพิทักษ์สยามจักรมณฑ์ ผาสุกวนิชจักษ์ พันธ์ชูเพชรจิตภัสร์ กฤดากรถาวร เสนเนียมถนอม อ่อนเกตุพลถนนบรรทัดทองทรงกลด ชื่นชูผลทฤษฎี สหวงษ์... ขยายดัชนี (19 มากกว่า) »

ชัชชัย สุขขาวดี

ัชชัย สุขขาวดี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อของ หรั่ง ร็อคเคสตร้า อดีตนักร้องนำ วงดนตรีร็อก ร็อคเคสตร้า ปัจจุบันเป็นนักร้องเดี่ยว มีความสามารถพิเศษวิธีการร้องมีระดับของบันไดเสียงที่กว้าง เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เรียกตามประสาชาวร็อคว่า แหบหลบใน.

ดู กปปส.และชัชชัย สุขขาวดี

ชัย ราชวัตร

การ์ตูนล้อการเมือง ชุด ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน ตีพิมพ์ในไทยรัฐ ผลงานที่สร้างชื่อให้แก่ชัย ราชวัตร ชัย ราชวัตร เป็นนามปากกาของ นักวาดการ์ตูนชาวไทย มีผลงานเป็นที่รู้จักกันคือ ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน โดย เป็นการ์ตูนรายวันตีพิมพ์ลงในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ มีบทบาทเป็นนักเขียนในช่วงเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516.

ดู กปปส.และชัย ราชวัตร

ชัยวุฒิ บรรณวัฒน์

นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์(ภาคเหนือ) และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก หลายสมั.

ดู กปปส.และชัยวุฒิ บรรณวัฒน์

ชินวรณ์ บุณยเกียรติ

นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เหรัญญิกพรรคประชาธิปัตย์ และอดีต..นครศรีธรรมราช 6 สมัย มีผลงานทั้งด้านการเมือง และนิติบัญญัติมากม.

ดู กปปส.และชินวรณ์ บุณยเกียรติ

ชุมพล จุลใส

นายชุมพล จุลใส สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชุมพร 2 สมั.

ดู กปปส.และชุมพล จุลใส

พรรคพลังธรรม

รรคพลังธรรม เป็นพรรคการเมืองขนาดกลาง หัวหน้าพรรคคนแรก คือ พล.ต.จำลอง ศรีเมือง ก่อตั้งในปี..

ดู กปปส.และพรรคพลังธรรม

พรรคทางเลือกใหม่ (พ.ศ. 2561)

รรคทางเลือกใหม่ (New Alternative Party, ชื่อย่อ: NEWA, ทลม.) พรรคการเมืองที่ยื่นจดแจ้งจัดตั้งพรรคการเมืองต่อ คณะกรรมการการเลือกตั้ง เป็นลำดับที่ 16/2561 เมื่อวันศุกร์ที่ 2 มีนาคม..

ดู กปปส.และพรรคทางเลือกใหม่ (พ.ศ. 2561)

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ดู กปปส.และพรรคประชาธิปัตย์

พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์

นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.

ดู กปปส.และพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์

กรณ์ จาติกวณิช

กรณ์ จาติกวณิช (เกิด: 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507) เป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เนื่องจากรูปร่างที่สูงถึง 193 เซนติเมตร ทำให้ได้สมญานามจากสื่อมวลชนว่า "หล่อโย่ง" ซึ่งตั้งให้เข้าชุดกับอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่มีสมญานาม "หล่อใหญ่" และสมาชิกพรรครุ่นใหม่คนอื่นๆ เช่น อภิรักษ์ โกษะโยธิน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่ได้รับสมญานามว่า "หล่อเล็ก" และหม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล ที่ได้รับสมญานามว่า "หล่อจิ๋ว" ต้นปี..

ดู กปปส.และกรณ์ จาติกวณิช

กฤษฎา บุญราช

นายกองเอก กฤษฎา บุญราช (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 -) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน กรรมการในคณะกรรมการกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกรเฉพาะกิจประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา กรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 ผอ.ศปป.2 กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ประธานกรรมการการไฟฟ้านครหลวง รองประธานกรรมการคนที่หนึ่ง ในคณะกรรมการกำกับการทวงถามหนี้ รองประธานกรรมการคนที่สอง ในคณะกรรมการจัดรูปที่ดินกลาง รองประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมกิจการฮัจย์ แห่งประเทศไทย กรรมการอื่นในคณะกรรมการธนาคารอาคารสงเคราะห์ กรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก กรรมการในคณะกรรมการนโยบายการบริหารจัดการ การทำงานของคนต่างด้าว กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการในคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 7/2560 และเป็นอดีตอธิบดีกรมการปกครอง อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา อดีตคณะกรรมการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้.

ดู กปปส.และกฤษฎา บุญราช

กลุ่มประชาชนเพื่อพิทักษ์ชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การชุมนุมของกลุ่มคนเสื้อหลากสี ที่ลานพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ที่วงเวียนใหญ่ เมื่อวันที่ 21 เมษายน กลุ่มประชาชนเพื่อพิทักษ์ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หรือ เครือข่ายพลเมืองอาสาปกป้องแผ่นดิน หรือที่นิยมเรียกกันว่า กลุ่มคนเสื้อหลากสี เป็นการรวมตัวของประชาชนเพื่อแสดงความไม่เห็นด้วยกับการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน พ.ศ.

ดู กปปส.และกลุ่มประชาชนเพื่อพิทักษ์ชาติ ศาสน์ กษัตริย์

การเลือกตั้งทั่วไปในประเทศไทยครั้งถัดไป

ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้า คณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ.

ดู กปปส.และการเลือกตั้งทั่วไปในประเทศไทยครั้งถัดไป

ยุทธศักดิ์ ศศิประภา

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ประธานสมาพันธ์กีฬาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ฝ่ายความมั่นคง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลทักษิณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคไทยรักไทย และอดีตปลัดกระทรวงกลาโหม โดยสื่อมวลชนมักเรียกว่า "บิ๊กอ็อด".

ดู กปปส.และยุทธศักดิ์ ศศิประภา

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

รัฐประหารในประเทศไท..

ดู กปปส.และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

รถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร และสัญญาว่าด้วยความเข้าใจกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.

ดู กปปส.และรถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย

รงการรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย (Thailand High-speed Rail Project) เป็นโครงการเมกะโปรเจกต์ของประเทศไทยในการก่อสร้างระบบรถไฟความเร็วสูง มีเป้าหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจ และเชื่อมโยงตลาดการค้า ระหว่างกลุ่มประเทศแถบลุ่มแม่น้ำโขง เนื่องจากประเทศไทยถือเป็นศูนย์กลางของอินโดจีน มีเป้าหมายในการก่อสร้าง 4 สาย ได้แก่ สายเหนือ, สายตะวันออก, สายตะวันออกเฉียงเหนือ และสายใต้.

ดู กปปส.และรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย

ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

ต่อไปนี้ คือลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไท..

ดู กปปส.และลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

วรชัย เหมะ

นายวรชัย เหมะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู กปปส.และวรชัย เหมะ

วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557

วิกฤตการณ์การเมืองไท..

ดู กปปส.และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557

วิทยา แก้วภราดัย

นายวิทยา แก้วภราดัย (5 มกราคม 2498 -; ชื่อเล่น: น้อย) อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตประธานวิปรัฐบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ แล..นครศรีธรรมราช หลายสมัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขานิติศาสตรบัณฑิต จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขณะเรียนปี 4 นายวิทยาเป็นหนึ่งในนิสิตที่เข้าร่วมการชุมนุมที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้รับบาดเจ็บถูกยิงที่ขาในเหตุการณ์ 6 ตุล..

ดู กปปส.และวิทยา แก้วภราดัย

ศิริวรรณ ปราศจากศัตรู

ริวรรณ ปราศจากศัตรู (สกุลเดิม ศุภศิริ) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ และแบบบัญชีรายชื่อหลายสมัย และเป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคเหนือ.

ดู กปปส.และศิริวรรณ ปราศจากศัตรู

ศุภชัย ศรีหล้า

ัย ศรีหล้า อดีตรองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียงหนึ่งในสี่คนของพรรค ที่ชนะการเลือกตั้งในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในการเลือกตั้ง พ.ศ.

ดู กปปส.และศุภชัย ศรีหล้า

ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น)

ูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) (Thai-Japan Bangkok Youth Center) หรือที่นิยมเรียกว่า สนามกีฬาไทย-ญี่ปุ่น ดินแดง อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกรุงเทพมหานคร ซึ่งก่อตั้งขึ้นจากความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลญี่ปุ่น เนื่องในโอกาสที่ประเทศไทยจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิด เมื่อเวลา 16:45 นาฬิกา ของวันเสาร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ.

ดู กปปส.และศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น)

ศตวรรษ เศรษฐกร

ตวรรษ เศรษฐกร ชื่อเล่น เต๊ะ นักร้องนักแสดงชาวไทยที่มีผลงานเป็นที่รู้จักทั้งในประเทศไทยและไต้หวัน และ ได้รับเชิญร่วมร้องเพลงงาน “GONG FU AO YUN” ที่ใช้ในพิธีเปิดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก 2008 ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน.

ดู กปปส.และศตวรรษ เศรษฐกร

สกลธี ภัททิยกุล

กลธี ภัททิยกุล รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 4 พรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ เป็นบุตรชายของพลเอกวินัย ภัททิยกุล อดีตเลขาธิการคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.).

ดู กปปส.และสกลธี ภัททิยกุล

สภาปฏิรูปแห่งชาติ

ปฏิรูปแห่งชาติ (6 ตุลาคม พ.ศ. 2557 – 6 กันยายน พ.ศ. 2558) หรือ สป.

ดู กปปส.และสภาปฏิรูปแห่งชาติ

สมบัติ ธำรงธัญวงศ์

ตราจารย์ สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ (17 เมษายน พ.ศ. 2494 -) เป็นนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์นายกสภามหาวิทยาลัย ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง อดีตอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย และอดีตเลขาธิการพรรคไท เมื่อปี พ.ศ.

ดู กปปส.และสมบัติ ธำรงธัญวงศ์

สมศักดิ์ โกศัยสุข

นายสมศักดิ์ โกศัยสุข เกิดเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2488 ที่ตำบลควนเกย อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นอดีตหนึ่งในแกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) และเป็นอดีตหัวหน้าพรรคการเมืองใหม่ (กมม.) เป็นผู้ที่รู้จักกันดีในฐานะเป็นผู้นำสมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ (สรส.) ปัจจุบันเป็นหัวหน้าพรรคพรรคสังคมประชาธิปไตยไท.

ดู กปปส.และสมศักดิ์ โกศัยสุข

สมณะโพธิรักษ์

มณะโพธิรักษ์ (รัก รักพงษ์) เป็นนักบวชผู้ก่อตั้งสำนักสันติอโศก ปัจจุบันเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณของชาวสันติอโศก.

ดู กปปส.และสมณะโพธิรักษ์

สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์

'''ผศ.สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์ หรือที่นิยมเรียกกันว่า อาจารย์สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์ เกิดเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ.

ดู กปปส.และสมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์

สาธิต เซกัล

นายสาธิต เซกัล (सतीश सहगल; Satish Sehgal; เกิด 14 เมษายน —) เป็นนักธุรกิจสิ่งพิมพ์ชาวอินเดีย ที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย เคยดำรงตำแหน่งประธานหอการค้าอินเดีย-ไทย หอการค้าไทย-อิสราเอล และประธานสมาคมนักธุรกิจอินเดีย-ไทย นายเซกัลเกิดที่เมืองเดลี ประเทศอินเดีย เข้ามาใช้ชีวิตอยู่ในประเทศไทยตั้งแต่อายุ 5 ปี ครอบครัวเป็นชาวไทยฮินดูเชื้อสายอินเดียจากรัฐปัญจาบและเคยใช้ชีวิตอยู่ที่จังหวัดอุบลราชธานีมาก่อน โดยสามารถพูดภาษาอีสานได้อย่างคล่องแคล่ว จบการศึกษาจากวิทยาลัย Hans Raj มหาวิทยาลัยเดลี เคยทำงานที่หนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ ก่อนจะมาเปิดธุรกิจนิตยสารภาษาอังกฤษเป็นของตัวเอง.

ดู กปปส.และสาธิต เซกัล

สาทิตย์ วงศ์หนองเตย

ทิตย์ วงศ์หนองเตย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรังหลายสมั.

ดู กปปส.และสาทิตย์ วงศ์หนองเตย

สำราญ รอดเพชร

นายสำราญ รอดเพชร (30 กันยายน พ.ศ. 2499; ที่อำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช; ชื่อเล่น: อ๊อด) สื่อมวลชนอิสระ, อดีตแกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) รุ่นที่ 2 และแนวร่วมกปปส.

ดู กปปส.และสำราญ รอดเพชร

สุริยะใส กตะศิลา

ริยะใส กตะศิลา เป็นรองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต, และเป็นผู้อำนวยการสถาบันปฏิรูปประเทศไทย ในระหว่างปี พ.ศ.

ดู กปปส.และสุริยะใส กตะศิลา

สุวิทย์ ทองประเสริฐ

วิทย์ ทองประเสริฐ หรือที่รู้จักในนามว่า อดีตพระพุทธะอิสระ หรือ อดีตหลวงปู่พุทธะอิสระ อดีตเจ้าอาวาสวัดอ้อน้อย อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม.

ดู กปปส.และสุวิทย์ ทองประเสริฐ

สุเทพ เทือกสุบรรณ

ทพ เทือกสุบรรณ เป็นประธานมูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย และ ผู้ก่อตั้งวิทยาลัยอาชีวศึกษาภาวนาโพธิคุณ เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานีหลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีช่วยว่าการหลายกระทรวง จนถึงปี 2554 เป็นเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เขาลาออกจากตำแหน่งในเดือนพฤศจิกายน 2556 เป็นเลขาธิการ กปปส.

ดู กปปส.และสุเทพ เทือกสุบรรณ

สถานีรถไฟสามเสน

การก่อสร้างที่ชานชลาสถานีรถไฟสามเสน ต้นปี พ.ศ. 2560 สถานีรถไฟสามเสน เป็นสถานีรถไฟที่สำคัญสถานีหนึ่ง เพราะอยู่ในย่านชุมชนใจกลางย่านที่อยู่อาศัยในกรุงเทพมหานคร ขบวนรถไฟที่วิ่งผ่านคือ รถไฟสายเหนือ สายตะวันออกเฉียงเหนือ สายใต้ และขบวนรถชานเมือง เดิมมีอาคารทรงดอกเห็ดที่เป็นเอกลักษณ์สวยงาม ได้รับการออกแบบโดยอภัย เผดิมชิต แต่ต่อมารื้อลงเนื่องจากต้องใช้พื้นที่ ในการวางตอม่อโครงการโฮปเวลล์ สถานีรถไฟสามเสนตั้งอยู่ริมถนนเทอดดำริ มีพื้นที่อยู่ในแขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต ในพื้นที่ชานชลาฝั่งไปสถานีชุมทางบางซื่อ (ตัวอาคารสถานี) และบางส่วนอยู่ในแขวงพญาไท เขตพญาไท ในพื้นที่ชานชลาฝั่งไปสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง).

ดู กปปส.และสถานีรถไฟสามเสน

หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร

รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร (22 กันยายน 2495 -) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 15 อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ดู กปปส.และหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร

อัญชะลี ไพรีรัก

อัญชะลี ไพรีรัก อัญชะลี ไพรีรัก เดิมชื่อ อัญชลี ไพรีรัก ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อตัวเป็น "อัญชะลี" เมื่อ..

ดู กปปส.และอัญชะลี ไพรีรัก

อิสสระ สมชัย

อิสสระ สมชัย (เกิด 16 ธันวาคม พ.ศ. 2489) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ (ดูแลพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานีและแบบบัญชีรายชื่อ หลายสมัย และมีบุตรสาวที่เป็นนักการเมืองคือ นางสาวบุญย์ธิดา สมชัย อดีต..อุบลราชธานี.

ดู กปปส.และอิสสระ สมชัย

องค์การพิทักษ์สยาม

ลเอก บุญเลิศ แก้วประสิทธิ์ ในการชุมนุมใหญ่ขององค์การพิทักษ์สยามครั้งแรกที่สนามม้านางเลิ้ง เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ.

ดู กปปส.และองค์การพิทักษ์สยาม

จักรมณฑ์ ผาสุกวนิช

ักรมณฑ์ ผาสุกวนิช กรรมการกฤษฎีกา เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และเป็นอดีตปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม อดีตประธานกรรมการธนาคารซีไอเอ็มบีไท.

ดู กปปส.และจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช

จักษ์ พันธ์ชูเพชร

รองศาสตราจารย์ จักษ์ พันธ์ชูเพชร ชื่อเดิม:ประจักษ์ พันธ์ชูเพชร ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการศึกษาต่อเนื่อง และรักษาการผู้อำนวยการสถานการศึกษาต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นอาจารย์ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยากรให้กับสถาบันพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ บริษัท ทุนมนุษย์ จำกัด อดีตวิทยากรคณะกรรมการการเลือกตั้ง วิทยากรคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน คณะกรรมการการอำนวยการการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับถาวร เป็นผู้ดำเนินรายการ "ชวนพี่น้องมองบ้านเมือง" และรายการ "เวทีประชาคมเพื่อชุมชุนเข้มแข็ง" ทางสถานีโทรทัศน์ NBT นักจัดรายการวิทยุ รายการ "คุยกัยอาจารย์จักษ์" ที่ FM 107.25 MHz.

ดู กปปส.และจักษ์ พันธ์ชูเพชร

จิตภัสร์ กฤดากร

ตภัสร์ กฤดากร ชื่อเล่นว่า ตั๊น ปัจจุบันเป็นรองโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ และกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการมูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย, อดีตแนวร่วมกลุ่ม กปปส., อดีตเลขานุการรัฐมนตรีจุติ ไกรฤกษ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.

ดู กปปส.และจิตภัสร์ กฤดากร

ถาวร เสนเนียม

วร เสนเนียม อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลาหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เกิดเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ.

ดู กปปส.และถาวร เสนเนียม

ถนอม อ่อนเกตุพล

นายถนอม อ่อนเกตุพล อดีตที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร และโฆษกกรุงเทพมหานคร อดีตที่ปรึกษาและโฆษก สมัยผู้ว่าฯ นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน อดีต ผู้อำนวยการสถานีวิทยุกรุงเทพมหานคร อดีตรองโฆษกกรุงเทพมหานคร อดีตเลขานุการรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี นายองอาจ คล้ามไพบูล.

ดู กปปส.และถนอม อ่อนเกตุพล

ถนนบรรทัดทอง

นาคารไทยพาณิชย์ สาขาถนนเพชรบุรี ซึ่งตั้งอยู่บนถนนเพชรบุรี ที่บริเวณแยกเพชรพระราม อันเป็นจุดสิ้นสุดของถนน (ภาพจากมุมมองของถนนบรรทัดทอง) ถนนบรรทัดทอง (Thanon Banthat Thong) เป็นถนนเส้นหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่ 2 เขตคือ เขตปทุมวันและเขตราชเทวี.

ดู กปปส.และถนนบรรทัดทอง

ทรงกลด ชื่นชูผล

ร้อยเอก ทรงกลด ชื่นชูผล อดีตนายทหารบกชาวไทย เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ ผู้กองปูเค็ม ซึ่งเป็นฉายาที่ผู้ติดตามความเคลื่อนไหวทางทวิตเตอร์ส่วนตัวตั้งให้ เนื่องจากมีธุรกิจทำปูเค็มขาย ซึ่งเป็นธุรกิจดั้งเดิมของครอบครัว.

ดู กปปส.และทรงกลด ชื่นชูผล

ทฤษฎี สหวงษ์

ทฤษฎี สหวงษ์ (23 มกราคม 2523 – 18 มกราคม 2559) ชื่อเล่น ปอ เป็นนักแสดงและนายแบบชาวไทย มีผลงานสร้างชื่อจากละครเรื่อง ผู้ใหญ่ลีกับนางมา ทฤษฎีสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม แล้วทำงานธนาคารก่อนเข้าวงการบันเทิงโดยเริ่มจากเป็นนายแบบ ได้แสดงละครเรื่อง ลิขสิทธิ์หัวใจ เป็นเรื่องแรก จากนั้นมีผลงานในวงการบันเทิงต่าง ๆ ด้านชีวิตส่วนตัว สมรสกับแวนดา มุททาสุวรรณในปี 2556 มีบุตรหนึ่งคน เดือนสิงหาคม 2558 ทฤษฎีรับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยเรื่องไข้เลือดออก แต่มีภาวะแทรกซ้อนมากมาย สุดท้ายเสียชีวิตเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2559 เนื่องจากการติดเชื้อในปอดลุกลาม.

ดู กปปส.และทฤษฎี สหวงษ์

ทวี สุรฤทธิกุล

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทวี สุรฤทธิกุล อาจารย์ประจำสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และอดีตเลขานุการของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี.

ดู กปปส.และทวี สุรฤทธิกุล

ณรงค์ สหเมธาพัฒน์

นายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารศูนย์คุณธรรม กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช อดีตปลัดกระทรวงสาธารณสุขอดีตประธานกรรมการคณะกรรมการสถานพยาบาล ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นกรรมการในศูนย์รักษาความสงบแห่งชาติ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็น ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของนายกรัฐมนตรี เพื่อปฏิบัติราชการเกี่ยวกับงานด้านการวิจัยและการพัฒนางานด้านการสุขภาพแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 11 มีนาคม..

ดู กปปส.และณรงค์ สหเมธาพัฒน์

ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ

นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ อดีตผู้อำนวยการพรรคประชาธิปัตย์ และ ประธานสโมสรทีมฟุตบอลบางกอกเอฟซี.

ดู กปปส.และณัฏฐพล ทีปสุวรรณ

คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

ณะรัฐประหารในนามคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ. (National Council for Peace and Order (NCPO) เดิมใช้ชื่อ National Peace and Order Maintaining Council (NPOMC)) เป็นคณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง โดยรัฐประหารยึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..

ดู กปปส.และคณะรักษาความสงบแห่งชาติ

คตินิยมเชื้อชาติในประเทศไทย

ตินิยมเชื้อชาติในประเทศไทย  เป็นเรื่องที่ไม่ค่อยถูกพูดถึงนัก.

ดู กปปส.และคตินิยมเชื้อชาติในประเทศไทย

ตุลย์ สิทธิสมวงศ์

ผศ.นพ.ตุลย์ สิทธิสมวงศ์ (ที่ 2 จากขวา) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ ตุลย์ สิทธิสมวงศ์ หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ หมอตุลย์ (เกิดวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.

ดู กปปส.และตุลย์ สิทธิสมวงศ์

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ดู กปปส.และประเทศไทย

ปรีชา เอี่ยมสุพรรณ

ล.อ.ปรีชา เอี่ยมสุพรรณ.

ดู กปปส.และปรีชา เอี่ยมสุพรรณ

นิติธร ล้ำเหลือ

นิติธร ล้ำเหลือ เป็นทนายความที่รับว่าความคดีเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน และการใช้อำนาจที่ไม่เป็นธรรมของหน่วยงานภาครัฐ ปัจจุบันเป็นกรรมการฝ่ายสิทธิมนุษยชนประจำสภาทนายความ.

ดู กปปส.และนิติธร ล้ำเหลือ

แยกปทุมวัน

แยกปทุมวัน (Pathum Wan Intersection) เป็นสี่แยกในพื้นที่แขวงวังใหม่และแขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดของถนนพระรามที่ 1 และถนนพญาไท.

ดู กปปส.และแยกปทุมวัน

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน มีฐานะเป็นภาควิชาโรงเรียนสาธิต มศว ปทุมวัน สังกัด คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนอังรีดูนังต์ แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 บนพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู กปปส.และโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

ไทยเชื้อสายอินเดีย

วไทยเชื้อสายอินเดีย คือชาวไทยที่สืบเชื้อสายมาจากชาวอินเดียที่อพยพเข้ามาอาศัยในประเทศไทย เดิมมี 2 กลุ่ม ได้แก่ ชาวซิกข์มีหลายนิกาย และชาวฮินดู.

ดู กปปส.และไทยเชื้อสายอินเดีย

เสรี วงษ์มณฑา

รองศาสตราจารย์ เสรี วงษ์มณฑา (เกิด: 14 มีนาคม พ.ศ. 2492 ที่: อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก) เป็นนักวิชาการด้านสื่อสารมวลชนและการตลาด เป็นหนึ่งในกลุ่มนักวิชาการที่ต่อต้าน.ต.ท.

ดู กปปส.และเสรี วงษ์มณฑา

เอกนัฏ พร้อมพันธุ์

นายเอกนัฏ พร้อมพันธุ์ กรรมการและเลขานุการ มูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย, อดีตโฆษก กปปส., อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์, เลขานุการส่วนตัวของนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.

ดู กปปส.และเอกนัฏ พร้อมพันธุ์

เจิมมาศ จึงเลิศศิริ

นางเจิมมาศ จึงเลิศศิริ รองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตสภากรุงเทพมหานคร.

ดู กปปส.และเจิมมาศ จึงเลิศศิริ

เดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ บนเวทีเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง อย่างเป็นทางการครั้งแรก ที่ลานคนเมือง ใกล้กับเสาชิงช้า และศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร เดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง เป็นกิจกรรมการปราศรัยของพรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) ในวันสุดสัปดาห์ ช่วงกลางปี พ.ศ.

ดู กปปส.และเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง

เครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย

รือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย (ตัวย่อ: คปท.) เป็นขบวนการทางการเมืองภาคประชาชน มีบทบาทในช่วงวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ.

ดู กปปส.และเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทย

เซ็นทรัล เอ็มบาสซี

ูนย์การค้าเซ็นทรัล เอ็มบาสซี (Central Embassy) เป็นศูนย์การค้าระดับบนแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร บริหารงานโดย กลุ่มธุรกิจบริหารสรรพสินค้า บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จำกัด และบริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำกัด ตั้งอยู่บนถนนเพลินจิต มีขนาดพื้นที่ประมาณ 9 ไร่ ซึ่งพื้นที่ซึ่งเคยส่วนหนึ่งของสถานเอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจำประเทศไทย โดยที่กลุ่มเซ็นทรัลชนะการประมูล ซึ่งติดกับห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล สาขาชิดลม โครงการดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของโครงการเพลินจิตซิตี้ ที่นำโครงการโดย บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด เจ้าของอาคารปาร์คเวนเจอร์ รวมทั้งโรงแรมโอคุระเพรสทีจ กรุงเทพฯ และโครงการเซ็นทรัลแบงค็อก ของกลุ่มเซ็นทรัล ที่เชื่อมต่อศูนย์การค้าเซ็นทรัล เอ็มบาสซี ห้างเซ็นทรัล ชิดลม และศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ เข้าเป็นพื้นที่เดียวกัน.

ดู กปปส.และเซ็นทรัล เอ็มบาสซี

13 มกราคม

วันที่ 13 มกราคม เป็นวันที่ 13 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 352 วันในปีนั้น (353 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู กปปส.และ13 มกราคม

ทวี สุรฤทธิกุลณรงค์ สหเมธาพัฒน์ณัฏฐพล ทีปสุวรรณคณะรักษาความสงบแห่งชาติคตินิยมเชื้อชาติในประเทศไทยตุลย์ สิทธิสมวงศ์ประเทศไทยปรีชา เอี่ยมสุพรรณนิติธร ล้ำเหลือแยกปทุมวันโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวันไทยเชื้อสายอินเดียเสรี วงษ์มณฑาเอกนัฏ พร้อมพันธุ์เจิมมาศ จึงเลิศศิริเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกงเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทยเซ็นทรัล เอ็มบาสซี13 มกราคม