สารบัญ
5 ความสัมพันธ์: รัฐบัญญัติสิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์รายการสาขาวิชาหลักระวังไว้ก่อนคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศจีน
รัฐบัญญัติสิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์
นกกระเรียนกู่ รัฐบัญญัติสิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์ (Endangered Species Act of 1973) (7 และ 16 et seq., ESA) คือรัฐบัญญัติที่เกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อมของสหรัฐอเมริกาหลายฉบับที่ได้รับการอนุมัติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐอเมริกาในคริสต์ศตวรรษที่ 1970 วัตถุประสงค์ของกฎหมายฉบับนี้เพื่อการพิทักษ์สิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์ให้พ้นจากการสูญพันธุ์โดยสิ้นเชิงซึ่งเป็น “ผลสะท้อนอันเกิดจากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาอันปราศจากความคำนึงอันพอเพียง และ การอนุรักษ์ของสถานที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต” สาระสำคัญของรัฐบัญญัติว่าด้วยการพิทักษ์สัตว์ที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์.
ดู กฎหมายสิ่งแวดล้อมและรัฐบัญญัติสิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์
รายการสาขาวิชา
รายชื่อสาขาวิชา หรือ สาขาการศึกษา (Field of study) หมายถึงสาขาความรู้ หรือ การวิจัยที่เปิดสอนในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย คำว่า สาขาวิชา ได้รับการนิยามและยอมรับโดย วารสารวิชาการที่ตีพิมพ์ผลงานวิจัย และโดยสมาคมผู้รู้ (learned societies) และโดยภาควิชาหรือคณะวิชาที่บุคคลผู้อยู่ในสาขาวิชานั้นๆ สังกัด โดยปกติ สาขาการศึกษาต่างๆ มักมีสาขาย่อยหรือแขนงวิชาแตกออกไป เส้นแบ่งระหว่างสาขาย่อยมักยังมีความคลุมเครือและมีกฎเกณฑ์ที่ไม่ชัดเจน ในยุโรปสมัยกลางซึ่งขณะนั้นยังมีการแบ่งคณะวิชาออกเป็น 4 คณะหรือสายวิชา ได้แก่เทววิทยา การแพทย์ ธรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ และศิลปะ โดยคณะวิชาหลังมีสถานะไม่สูงเท่า 3 สาขาแรก การแบ่งสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยสมัยนั้นมีรากสืบทอดมาจากขบวนการแยกอาณาจักรออกจากศาสนจักร (Secularization) ของมหาวิทยาลัยซึ่งเกิดขึ้นราวสมัยกลาง-ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณ พ.ศ.
ดู กฎหมายสิ่งแวดล้อมและรายการสาขาวิชา
หลักระวังไว้ก่อน
หลักระวังไว้ก่อน (precautionary principle) เป็นวิธีการจัดการความเสี่ยงที่มีหลักว่า ถ้าการกระทำหรือนโยบายมีข้อน่าสงสัยว่า จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อสาธารณประโยชน์หรือต่อสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ โดยไม่มีมติส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ว่า การกระทำหรือนโยบายนั้นจะไม่ทำความเสียหาย การพิสูจน์ว่าจะไม่ก่อความเสียหาย ตกเป็นหน้าที่ของบุคคลที่ต้องการทำการนั้น ๆ ผู้ออกนโยบายได้ใช้หลักนี้เป็นเหตุผลการตัดสินใจ ในสถานการณ์ที่อาจเกิดความเสียหายเพราะการตัดสินใจบางอย่าง (เช่นเพื่อจะทำการใดการหนึ่ง หรืออนุมัติให้ทำการใดการหนึ่ง) ในกรณีความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไม่ชัดเจน หลักนี้แสดงนัยว่า ผู้ออกนโยบายมีหน้าที่ทางสังคมที่จะป้องกันสาธารณชนจากการได้รับสิ่งที่มีอันตราย เมื่อการสืบสวนทางวิทยาศาสตร์ได้พบความเสี่ยงที่เป็นไปได้ และการป้องกันเช่นนี้จะสามารถเพลาลงได้ ก็ต่อเมื่อมีงานศึกษาทางวิทยาศาสตร์ที่แสดงหลักฐานที่ชัดเจนว่าจะไม่มีอันตรายเกิดขึ้น กฎหมายของเขตบางเขต เช่นในสหภาพยุโรป ได้บังคับใช้หลักนี้ในบางเรื่อง ส่วนในระดับสากล มีการยอมรับใช้หลักนี้เป็นครั้งแรกในปี 2525 เมื่อสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติตกลงใช้กฎบัตรเพื่อธรรมชาติแห่งโลก (World Charter for Nature) แล้วต่อมาจึงมีผลเป็นกฎหมายจริง ๆ ในปี 2530 ผ่านพิธีสารมอนทรีออล (Montreal Protocol) ต่อจากนั้นจึงมีการใช้หลักนี้ตามสนธิสัญญาที่มีผลทางกฎหมายต่าง ๆ เช่น ปฏิญญารีโอ (Rio Declaration) และพิธีสารเกียวโต.
ดู กฎหมายสิ่งแวดล้อมและหลักระวังไว้ก่อน
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะนิติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.
ดู กฎหมายสิ่งแวดล้อมและคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศจีน
มลพิษทางอากาศที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม ประเทศจีนมีปัญหาสิ่งแวดล้อมอยู่หลายด้าน ซึ่งส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมทางชีวกายภาพอย่างรุนแรงเช่นเดียวกับสุขภาพของมนุษย์ การทำให้เป็นอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็วตลอดจนการกำกับดูแลด้านสิ่งแวดล้อมที่หละหลวมได้ส่งผลให้เกิดปัญหา โดยโธมัส วี ฮาร์วูด ที่สาม ได้กล่าวว่า มี 16 เมืองที่มีมลพิษเป็นอย่างมาก จากที่มีอยู่ทั้งหมด 20 เมืองในประเทศจีน รัฐบาลจีนรับทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้นและทำการตอบสนองต่าง ๆ ส่งผลให้มีการปรับปรุงในบางส่วน แต่การตอบสนองดังกล่าวได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ว่าทำได้ไม่เพียงพอ ส่วนปี..
ดู กฎหมายสิ่งแวดล้อมและปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศจีน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ กฎหมายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม