โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ไชนาแอร์ไลน์และไชน่าแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 611

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ไชนาแอร์ไลน์และไชน่าแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 611

ไชนาแอร์ไลน์ vs. ไชน่าแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 611

CAL Park, China Airlines headquarters The former China Airlines headquarters in Taipei ไชน่าแอร์ไลน์ เป็นสายการบินแห่งชาติของสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถาหยวน และมีสำนักงานใหญ่ที่เขตต้าหยวน เทศมณฑลเถาหยวน ให้บริการจุดหมายปลายทางทั้งในทวีปเอเชีย ยุโรป อเมริกาเหนือ และโอเชียเนีย โดยเฉพาะการเปิดเส้นทางระหว่างไต้หวันกับจีนแผ่นดินใหญ่ซึ่งเริ่มให้บริการเมื่อเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2551 จุดหมายที่สำคัญคือเมืองเซี่ยงไฮ้ กวางโจว ปักกิ่ง และฮ่องกง คู่แข่งที่สำคัญของไชนาแอร์ไลน์ คือสายการบินอีวาแอร์ซึ่งเป็นสายการบินเอกชนของไต้หวัน ในเครื่อเอเวอร์กรีน. น่าแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 611 (CI611) เป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศในเส้นทางกรุงไทเป ประเทศไต้หวันสู่เขตการปกครองพิเศษฮ่องกง เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ไชนาแอร์ไลน์และไชน่าแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 611

ไชนาแอร์ไลน์และไชน่าแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 611 มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฮ่องกงท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียนประเทศไต้หวัน

ฮ่องกง

องกง (Hong Kong; 香港) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Hong Kong Special Administrative Region of the People's Republic of China) เป็นเขตปกครองตนเองริมฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ในทางภูมิศาสตร์มีสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและทะเลจีนใต้โอบรอบ ฮ่องกงเป็นที่รู้จักในสกายไลน์ (skyline) ขยายและท่าเรือธรรมชาติลึก มีเนื้อที่ 1,104 กม.

ฮ่องกงและไชนาแอร์ไลน์ · ฮ่องกงและไชน่าแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 611 · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง (จีน: 香港國際機場, จีนกลาง: Xiānggǎng Guójì Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: hoeng1 gong2 gwok3 zai3 gei1 coeng4) หรือเรียกโดยทั่วไปว่าสนามบินเช็กล้าบก็อก (จีน: 赤鱲角機場, จีนกลาง: Chìlièjiǎo Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: cek3 laap6 gok3 gei1 coeng4) เป็นท่าอากาศยานหลักของเขตบริหารพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน เปิดใช้เมื่อปีพ.ศ. 2541 แทนที่ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงเดิม ท่าอากาศยานแห่งนี้เปิดใช้งานเพื่อการพาณิชย์เมื่อปี พ.ศ. 2541 และเป็นจุดเปลี่ยนถ่ายผู้โดยสารที่สำคัญของสาธารณรัฐประชาชนจีน เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แม้ว่าจะมีประวัติความเป็นมาไม่ยาวนานนัก แต่ท่าอากาศยานแห่งนี้ก็ได้รับรางวัลท่าอากาศยานยอดเยี่ยมระดับนานาชาติมาหลายครั้งในช่วงปี..

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงและไชนาแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงและไชน่าแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 611 · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียน

ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียน (จีนตัวเต็ม: 台灣桃園國際機場 หรือ 臺灣桃園國際機場, ไต้หวันพินอิน: Táiwan Táoyuán Gúojì Jicháng, พินอิน: Táiwān Táoyuán Gúojì Jīcháng) เดิมคือท่าอากาศยานนานาชาติเจียงไคเช็ก (จีนตัวเต็ม: 中正國際機場, ไต้หวันพินอิน: Jhongjhèng Gúojì Jicháng, พินอิน: Zhōngzhèng Gúojì Jīcháng) ตั้งอยู่ที่เมืองเถา-ยฺเหวียน ในเขตไต้หวัน ประเทศสาธารณรัฐจีน เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดของสาธารณรัฐจีน และเป็นท่าอากาศยานหลักของไชน่าแอร์ไลน์ และอีวีเอแอร์ โดยอาคาร 1 รองรับผู้โดยสารได้ 15ล้านคน อาคาร 2 รองรับผู้โดยสารได้ 17ล้านคน รวมกันได้ 32ล้านคนต่อปี.

ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียนและไชนาแอร์ไลน์ · ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียนและไชน่าแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 611 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไต้หวัน

ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.

ประเทศไต้หวันและไชนาแอร์ไลน์ · ประเทศไต้หวันและไชน่าแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 611 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ไชนาแอร์ไลน์และไชน่าแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 611

ไชนาแอร์ไลน์ มี 24 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไชน่าแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 611 มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 12.12% = 4 / (24 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ไชนาแอร์ไลน์และไชน่าแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 611 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »