โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เด่นเก้าแสน เก้าวิชิตและโคเฮอิ โคโนะ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เด่นเก้าแสน เก้าวิชิตและโคเฮอิ โคโนะ

เด่นเก้าแสน เก้าวิชิต vs. โคเฮอิ โคโนะ

นเก้าแสน เก้าวิชิต (ชื่อจริง: สุเทพ หวังมุก; ชื่อเล่น: มะ) เป็นอดีตแชมป์โลกในรุ่นฟลายเวท ของสมาคมมวยโลก (WBA) นับเป็นนักมวยชาวไทยคนแรกที่มีโอกาสชิงแชมป์โลกถึง 3 ครั้งและประสบความสำเร็จ ซึ่งก่อนหน้านั้นมีนักมวยไทย 2 คนที่ได้ชิงแชมป์โลกถึง 3 ครั้ง แต่ไม่ประสบความสำเร็จ คือ จำเริญ ทรงกิตรัตน์ และ ถนอมศักดิ์ ศิษ. อิ โคโนะ (Kohei Kono; 河野公平; โรมะจิ: Kōno Kōhei) นักมวยสากลอาชีพชาวญี่ปุ่น เป็นอดีตแชมป์โลกในรุ่นซูเปอร์ฟลายเวต (115 ปอนด์) ของสมาคมมวยโลก (WBA) 2 สมัย โคโนะ ได้แชมป์โลกมาอย่างพลิกความคาดหมายในวัย 32 ปี เมื่อเป็นฝ่ายเอาชนะทีเคโอ เทพฤทธิ์ ก่อเกียรติเจนิฟู้ดยิม แชมป์โลกชาวไทยไปได้ในยกที่ 4 เมื่อวันสิ้นปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เด่นเก้าแสน เก้าวิชิตและโคเฮอิ โคโนะ

เด่นเก้าแสน เก้าวิชิตและโคเฮอิ โคโนะ มี 9 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชนะน็อกโดยเทคนิคสมาคมมวยโลกสหพันธ์มวยนานาชาติซูเปอร์ฟลายเวทโคระกุเอ็งฮอลโตเกียวโนะบุโอะ นะชิโระไดกิ คะเมะดะเทพฤทธิ์ สิงห์วังชา

ชนะน็อกโดยเทคนิค

นะน็อกโดยเทคนิค (Technical Knockout ย่อว่า T.K.O.) หมายถึง การชนะน็อกด้วยเท็คนิคหรือกติกา เช่น กรรมการยุติการชก, นักมวยหรือทีมงานของนักมวยขอยอมแพ้ หรือ แพทย์เห็นว่าไม่สมควรชกต่อไป อาจจะเกิดจากอุบัติเหตุหรือมีแผลแตกอย่างรุนแรง เป็นต้น หากเป็นในมวยสากลสมัครเล่นการชนะด้วยลักษณะนี้ จะถูกเรียกว่า อาร.เอ.ซี. (Referee Stopped Contest) หมายถึง กรรมการยุติการแข่งขัน แต่โดยรวมแล้วมักจะถูกเรียกสั้น ๆ ว่า น็อก หรือน็อกเอ้าท์ หมวดหมู่:มวยสากล หมวดหมู่:มวยไทย.

ชนะน็อกโดยเทคนิคและเด่นเก้าแสน เก้าวิชิต · ชนะน็อกโดยเทคนิคและโคเฮอิ โคโนะ · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมมวยโลก

ำหรับ WBA ความหมายอื่น ดูที่: สโมสรฟุตบอลเวสต์บรอมวิชอัลเบียน สัญลักษณ์สมาคมมวยโลก เข็มขัดแชมป์โลกสมาคมมวยโลก สมาคมมวยโลก (World Boxing Association, ตัวย่อ: WBA; Asociación Mundial de Boxeo, ตัวย่อ: AMB) สถาบันที่ดูแลและควบคุมการชกมวยสากลในระดับโลก สมาคมมวยโลกก่อตั้งขึ้นในวันที่ 23 สิงหาคม ค.ศ. 1962 โดยแยกตัวออกมาจากสถาบันสมาคมมวยแห่งชาติ (National Boxing Association - NBA) ของสหรัฐอเมริกา โดยกลุ่มผู้ร่วมก่อตั้งเป็นบุคคลในวงการมวยชาวอเมริกันและต่อมาจึงมีชาติในสมาชิกกลุ่มลาตินอเมริกาเข้าร่วมด้วยอีกหลายชาติ ปัจจุบัน สมาคมมวยโลก เป็นอีกหนึ่งสถาบันมวยสากลที่ได้รับการยอมรับว่ามีมาตรฐานและได้รับความนิยมเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก มี กิลแบร์โต เมนโดซา ชาวเวเนซุเอลาเป็นประธาน ที่ตั้งสถาบัน ตั้งอยู่ที่กรุงคารากัส ประเทศเวเนซุเอล.

สมาคมมวยโลกและเด่นเก้าแสน เก้าวิชิต · สมาคมมวยโลกและโคเฮอิ โคโนะ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์มวยนานาชาติ

ำหรับสหพันธ์แบดมินตันนานาชาติ (IBF) ดูที่ สหพันธ์แบดมินตันนานาชาติ เข็มขัดแชมป์โลกของ IBF สหพันธ์มวยนานาชาติ (International Boxing Federation, ตัวย่อ: IBF) สถาบันที่ดูแลและควบคุมการชกมวยสากลในระดับโลก สหพันธ์มวยนานาชาติได้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2526 โดย นายโรเบิร์ต ดับเบิลยู.

สหพันธ์มวยนานาชาติและเด่นเก้าแสน เก้าวิชิต · สหพันธ์มวยนานาชาติและโคเฮอิ โคโนะ · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์ฟลายเวท

ซูเปอร์ฟลายเวท (Super flyweight) ชื่อเรียกน้ำหนักรุ่นมวยระหว่างรุ่นฟลายเวทกับรุ่นแบนตั้มเวท โดยนักมวยที่จะชกในรุ่นนี้ต้องมีน้ำหนักมากกว่า 112 ปอนด์ (50.802 กิโลกรัม) และไม่เกิน 115 ปอนด์ (52.163 กิโลกรัม) โดยสถาบันที่เริ่มก่อตั้งรุ่นนี้คือ สภามวยโลก (WBC) ในปี ค.ศ. 1980 โดยเรียกรุ่นนี้ว่า ซูเปอร์ฟลายเวท และในสถาบันสมาคมมวยโลก (WBA) และสหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF) จะเรียกว่า จูเนียร์แบนตั้มเวท (Junior bantamweight) แชมป์โลกที่ป้องกันตำแหน่งแชมป์ในรุ่นนี้ไว้ได้มากที่สุดในโลก คือ เขาทราย แกแล็คซี่ โดยป้องกันไว้ได้ทั้งหมด 19 ครั้ง และเป็นสถิติที่มากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งของเอเชีย และได้รับการยกย่องให้เป็นแชมป์โลกตลอดกาลในรุ่นนี้ ของสมาคมมวยโลก (WBA) ด้วย สำหรับนักมวยไทยที่เคยครองแชมป์โลกในรุ่นนี้มีทั้งหมด 6 คน ได้แก่ พเยาว์ พูนธรัตน์, เขาทราย แกแล็คซี่, หยกไทย ศิษย์ อ., เทพฤทธิ์ สิงห์วังชา, สุริยัน ศ.รุ่งวิสัย, ศรีสะเกษ ศ.รุ่งวิสัย และเด่นเก้าแสน กระทิงแดงยิม (เป็นแค่แชมป์เฉพาะกาล) สำหรับนักมวยต่างชาติที่มีชื่อเสียงที่ชกในพิกัดนี้ อาทิ จิโร วาตานาเบ้, ราฟาเอล โอโรโน่, กิลเบอร์โต โรมัน, อิสราเอล คอนเทรรัส, เอลลี่ ปิกัล, มุน ซังกิล, จอห์นนี่ ทาเปีย, แดนนี่ โรเมโร่, โนบิโต โดแนร์ และไดกิ คาเมดะ เป็นต้น.

ซูเปอร์ฟลายเวทและเด่นเก้าแสน เก้าวิชิต · ซูเปอร์ฟลายเวทและโคเฮอิ โคโนะ · ดูเพิ่มเติม »

โคระกุเอ็งฮอล

้านหน้าโคระกุเอ็งฮอลในปี ค.ศ. 2007 โคระกุเอ็งฮอล (Kōrakuen Hall, 後楽園ホール, Kōrakuen Hōru?) สนามกีฬาในร่มในย่านบุงเคียว กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เป็นสนามสำหรับจัดการแข่งขันศิลปะการป้องกันตัวโดยเฉพาะ โคระกุเอ็งฮอลเป็นส่วนหนึ่งของโตเกียว โดม ซิตี้ ซึ่งเป็นสถานบันเทิงครบวงจรของกรุงโตเกียว เช่นเดียวกับกับอิมแพ็ค อารีน่า ภายในอิมแพ็ค เมืองทองธานี ในประเทศไทย เปิดดำเนินการวันแรกเมื่อวันที่ 16 เมษายน ค.ศ. 1962 ความจุ 1,800 คน เทียบเท่ากับเมดิสัน สแควร์ การ์เด็น ในนิวยอร์ก โคระกุเอ็งฮอลใช้สำหรับจัดการต่อสู้ในหลายประเภทกีฬา เช่น มวยสากล, มวยปล้ำ เป็นต้น โดยเฉพาะในส่วนของมวยสากลเป็นสถานที่จัดแข่งขันการพบกันระหว่างนักมวยญี่ปุ่นกับนักมวยต่างชาติหลายต่อหลายครั้ง เช่น พงษ์ศักดิ์เล็ก ศิษย์คนองศักดิ์ กับ ไนโตะ ไดสุเกะ สามครั้งหลังที่ชกที่ญี่ปุ่น รวมถึงการแข่งขันระหว่างนักมวยไทย ชูชัย ลูกปัญจมา กับคิกบ็อกเซอร์ ทาดาชิ ซาวามูระ ในปี ค.ศ. 2008 มีโครงการจะดำเนินการสร้าง โคระกุเอ็งฮอล2 ซึ่งสามารถจุคนได้มากกว่า โดยสามารถจุได้ 2,500 - 3,000 คน ปัจจุบัน โคระกุเอ็งฮอลอัตราตั๋วเข้าชมอยู่ที่ 5,250 เยน (รวมภาษีแล้ว).

เด่นเก้าแสน เก้าวิชิตและโคระกุเอ็งฮอล · โคระกุเอ็งฮอลและโคเฮอิ โคโนะ · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียว

ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2563.

เด่นเก้าแสน เก้าวิชิตและโตเกียว · โคเฮอิ โคโนะและโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

โนะบุโอะ นะชิโระ

นะบุโอะ นะชิโระ (名城 信男) นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น ซึ่งเคยครองแชมป์โลกรุ่น 115 ปอนด์ของสมาคมมวยโลก (WBA) ถึง 2 สมัย และเคยทำสถิติเป็นนักมวยญี่ปุ่นที่ชกน้อยครั้งสุดแล้วได้ครองแชมป์โลก (8 ครั้ง) เทียบเท่ากับโจอิชิโร ทัตสึโยชิ ก่อนจะถูกทำลายลงโดยคาซูโตะ อิโอก.

เด่นเก้าแสน เก้าวิชิตและโนะบุโอะ นะชิโระ · โคเฮอิ โคโนะและโนะบุโอะ นะชิโระ · ดูเพิ่มเติม »

ไดกิ คะเมะดะ

กิ คะเมะดะ (亀田 大毅, Kameda Daiki หรือ คะเมะดะ ไดกิ) เกิดเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2532 ที่โอซากา เป็นน้องชายคนที่ 2 ของตระกูลคะเมะดะ เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ โคกิ คะเมะดะ ไดกิ คะเมะดะ ก่อนขึ้นชิงแชมป์โลกครั้งแรกกับ ไดสุเกะ ไนโต แชมป์โลกรุ่นฟลายเวทของสภามวยโลก (WBC) ที่สามารถคว้าแชมป์ด้วยการเอาชนะ พงษ์ศักดิ์เล็ก กระทิงแดงยิม นักมวยชาวไทยไปได้ ในปี พ.ศ. 2550 นั้น คะเมะดะสามารถเอาชนะน็อก วันดี สิงห์วังชา นักมวยไทยอีกคนที่เป็นอดีตแชมป์โลก WBC 2 สมัยใน 2 รุ่นไปได้ในยกที่ 6 แต่การชกชิงแชมป์โลกกับไดสุเกะนั้น ปรากฏว่าคะเมะดะเป็นฝ่ายแพ้คะแนนไป โดยการชกในครั้งนี้ เป็นไปอย่างไม่โปร่งใส เพราะ ชิโร คะเมะดะ ผู้เป็นพ่อสอนคะเมะดะผู้เป็นลูกชายระหว่างพักยกที่มุมเวทีตลอดให้ใช้วิธีการชกที่ผิดกติกา เช่น ใช้ศีรษะชน เป็นต้น โดยกล้องที่ดำเนินการถ่ายทอดสามารถจับเสียงนี้ได้ชัดเจน ส่งผลให้คณะกรรมการมวยสากลอาชีพของญี่ปุ่น (JBC) ลงโทษห้ามยุ่งเกี่ยวกับมวยอีกเลยตลอดชีวิต ในส่วนของไดกิ คะเมะดะ เอง ก็ถูกลงโทษแบนห้ามขึ้นชกเป็นเวลา 2 ปี จากนั้นเมื่อพ้นโทษ 2 ปีออกมาแล้ว ไดกิ คะเมะดะ ได้มีโอกาสชิงแชมป์โลกอีกครั้งในรุ่นฟลายเวทของสมาคมมวยโลก (WBA) กับ เด่นเก้าแสน กระทิงแดงยิม ในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ที่ เซ็นทรัลยิม โอซะกะ ซึ่งตลอดระยะเวลาก่อนการชก คะเมะดะได้พยายามยียวนกวนประสาทเด่นเก้าแสนตลอด จนถูกสื่อมวลชนของญี่ปุ่นเองโห่ใส่ เนื่องจากถือเป็นการแสดงกิริยาที่ไม่มีมารยาท และในวันที่ขึ้นชก ก็มีแฟนมวยชาวญี่ปุ่นเข้ามาชมไม่เต็มความจุสนามด้วย ผลการชกก็ออกมาปรากฏว่า คะเมะดะ เป็นฝ่ายแพ้คะแนนไปอีกอย่างไม่เป็นเอกฉันท์ ด้วยคะแนน 114-114, 115-113, 115-113 คะเมะดะมาประสบความสำเร็จในการชิงแชมป์โลกครั้งที่ 3 เมื่อพบกับ เด่นเก้าแสน อีกครั้ง ในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ที่โกเบ ซึ่งก่อนการชกครั้งนี้ คะเมะดะได้ไปเก็บตัวที่ประเทศฟิลิปปินส์ แต่ไม่ได้ขึ้นชกกับใครอีก ตลอดการชกทั้ง 12 ยก คะเมะดะได้ใช้ลูกตุกติกด้วยการเข้ากอดและล้มลงอยู่หลายครั้ง จนกรรมการสั่งตัดคะแนนเด่นเก้าแสนไปถึง 2 ครั้ง ในที่สุดเมื่อครบ 12 ยก คะเมะดะเป็นฝ่ายชนะคะแนนไปอย่างเอกฉันท์ 110-116, 112-114, 110-116 และสร้างประวัติศาสตร์เป็นคู่พี่น้องที่เป็นแชมป์โลกพร้อมกันเป็นครั้งแรกของญี่ปุ่น ต่อมาในวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2554 ไดกิ คะเมะดะ ได้เลื่อนรุ่นขึ้นมาชิงแชมป์โลกในรุ่นซูเปอร์ฟลายเวทของสมาคมมวยโลก พบกับ เทพฤทธิ์ สิงห์วังชา นักมวยชาวไทย ที่โอซากา พรีเฟ็คเทอรัล ยิมเนเซี่ยม เมืองโอซากา ปรากฏว่าไดกิ คะเมะดะ เป็นฝ่ายแพ้คะแนนเมื่อครบ 12 ยกอย่างเป็นเอกฉันท์ ด้วยคะแนน 115-113, 116-112 และ 119-110 พร้อมด้วยสภาพร่างกายที่บอบช้ำและหน้าตาที่บวมปูดเพราะพิษหมัดของเทพฤทธิ์ ต่อมาได้ขึ้นชิงแชมป์ซูเปอร์ฟลายเวท ของสหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF) ที่ว่าง กับ ร็อดริโก เกอร์เรโร นักมวยชาวเม็กซิกัน ที่คะกะวะ เมื่อวันที่ 3 กันยายน..

เด่นเก้าแสน เก้าวิชิตและไดกิ คะเมะดะ · โคเฮอิ โคโนะและไดกิ คะเมะดะ · ดูเพิ่มเติม »

เทพฤทธิ์ สิงห์วังชา

ทพฤทธิ์ สิงห์วังชา เป็นนักมวยสากลอาชีพชาวไทย เป็นอดีตแชมเปี้ยนโลกในรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท (115 ปอนด์) ของสมาคมมวยโลก (WBA).

เด่นเก้าแสน เก้าวิชิตและเทพฤทธิ์ สิงห์วังชา · เทพฤทธิ์ สิงห์วังชาและโคเฮอิ โคโนะ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เด่นเก้าแสน เก้าวิชิตและโคเฮอิ โคโนะ

เด่นเก้าแสน เก้าวิชิต มี 112 ความสัมพันธ์ขณะที่ โคเฮอิ โคโนะ มี 18 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 9, ดัชนี Jaccard คือ 6.92% = 9 / (112 + 18)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เด่นเก้าแสน เก้าวิชิตและโคเฮอิ โคโนะ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »