โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

หอสมุดประชาชนนิวยอร์กและเดอะบร็องซ์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง หอสมุดประชาชนนิวยอร์กและเดอะบร็องซ์

หอสมุดประชาชนนิวยอร์ก vs. เดอะบร็องซ์

หอสมุดประชาชนนิวยอร์ก (New York Public Library (NYPL)) คือ หอสมุดสาธารณะในนครนิวยอร์ก ด้วยหนังสือเกือบ 53 ล้านเล่ม หอสมุดแห่งนี้มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของสหรัฐอเมริกา (และอันดับ 3 ของโลก) รองจากหอสมุดรัฐสภา หอสมุดมีการบริหารจัดการอย่างเป็นอิสระ และดำเนินการโดยไม่แสวงหาผลกำไร หอสมุดมีสาขาในเขต (Borough) แมนแฮตตัน, เดอะบร็องซ์ และเกาะสแตเทน โดยมีการเข้าร่วมกับหอสมุดทางวิชาการ (academic libraries) และวิชาชีพ (professional libraries) ในเขตรัฐนิวยอร์ก ส่วนเมืองอื่น ๆ ใน 2 เขตของนครนิวยอร์ก ได้แก่ บรุกลิน และควีนส์ มีการให้บริการโดยหอสมุดสาธารณะบรุกลินส์ และหอสมุดควีนส์ สาขาของหอสมุดประกอบด้วยหอสมุดวิจัย (research libraries) และหอสมุดที่ยืมหนังสือได้ (Lending libraries) หอสมุดดำเนินงานในศตวรรษที่ 19 และกลายเป็นศูนย์รวมหนังสือจากที่ต่าง ๆ รวมถึงเป็นแหล่งสังคมของผู้รักหนังสือ (bibliophiles) และผู้มั่งคั่ง โดยได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิและชาวอเมริกันที่ร่ำรวยในแต่ละยุคสมั. แผนที่นครนิวยอร์ก โดยสีเหลืองเป็นเดอะบร็องซ์ เดอะบร็องซ์ หรือเรียกย่อว่า บร็องซ์ (The Bronx) เป็นหนึ่งในเบอโรในนครนิวยอร์ก ตั้งอยู่ในเคาน์ตีบร็องซ์ โดยเดอะบร็องซ์ตั้งอยู่ทางเหนือสุดของเมือง และเป็นเบอโรเดียวของนครนิวยอร์กที่ไม่ได้อยู่บนเกาะ บร็องซ์มีประชากรประมาณ 1.35 ล้านคน ดนตรีฮิปฮอปถือกำเนิดขึ้นในส่วนทางใต้ของเดอะบร็องซ์ในช่วง คริสต์ทศวรรษ 1970 โดยคำว่า "ฮิปฮอป" จะมีชื่อเล่นว่า "เดอะบูกกีดาวน์บร็องซ์" ชื่อของเบอโรจะใช้ชื่อคำว่า "เดอะบร็องซ์" ในขณะที่ชื่อของเคาน์ตีจะใช้เพียงแค่ว่า "บร็องซ์" บร็องซ์คือที่ตั้งของ Yankees Stadium สนามของทีมเบสบอลที่ดังที่สุดในอเมริกาและเป็นเจ้าของหมวก NY ที่ดังไปทั่วโลก หมวดหมู่:นครนิวยอร์ก หมวดหมู่:เดอะบร็องซ์.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง หอสมุดประชาชนนิวยอร์กและเดอะบร็องซ์

หอสมุดประชาชนนิวยอร์กและเดอะบร็องซ์ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): นครนิวยอร์กเทศมณฑล

นครนิวยอร์ก

นครนิวยอร์ก หรือที่นิยมเรียกกันว่า นิวยอร์กซิตี (New York City; NYC) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก เป็นมหานครเอกของโลก จัดได้ว่าเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน วัฒนธรรม บันเทิง ที่สำคัญที่สุดของโลก เป็นเมืองที่มี ตึกระฟ้า ตึกสูงมาก ตลอดระยะเวลา 150 ปี และยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติ นิวยอร์กตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา ประกอบด้วย 5 เขตปกครองที่เรียกว่า โบโรฮ์ (Borough) คือ เดอะบรองซ์ บรูคลิน แมนแฮตตัน ควีนส์ และสแตตัน ไอส์แลนด์ ประชากรรวมทั้งหมดประมาณ 8,274,527 คน ภายในพื้นที่ 790 ตร.กม.

นครนิวยอร์กและหอสมุดประชาชนนิวยอร์ก · นครนิวยอร์กและเดอะบร็องซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑล

น์ตี (county) เป็นหน่วยย่อยของการปกครองในหลายประเทศ มีไว้เพื่อการบริหารท้องถิ่นตลอดจนการอื่นที่จำเป็นThe Chambers Dictionary, L. Brookes (ed.), 2005, Chambers Harrap Publishers Ltd, Edinburgh คำ เคาน์ตี มาจากภาษาฝรั่งเศสเก่า conté (กงเต) แปลว่าเขตการปกครองภายใต้เจ้าต่างกรมหรือขุนนางระดับเคานต์The Oxford Dictionary of English Etymology, C. W. Onions (Ed.), 1966, Oxford University Press เคาน์ตีในแต่ละประเทศมีฐานะการปกครองที่แตกต่างกันไม่เป็นแบบเดียวกันเสียทีเดียว จึงต้องพิจารณาถึงฐานะการปกครองเสียก่อนจึงเทียบให้เข้ากับระบบการปกครองของไทย ในสหรัฐอเมริกา เคาน์ตีมักเรียกว่า เทศมณฑล มีฐานะรองลงจากรัฐ (ซึ่งมีรัฐบาลอิสระจากรัฐบาลกลาง) แต่ใหญ่กว่าหมู่บ้านหรือเมือง แต่ในสหราชอาณาจักร เคาน์ตีมีฐานะเป็นจังหวัดที่มีผู้ว่าราชการจังหวัดประจำ รวมทั้งมีสภาจังหวัดและ/หรือสภาอำเภอ (กรมการอำเภอ) ปกครอง ในประเทศต่าง ๆ นอกจากนี้ คำ เคาน์ตี จะหมายถึงหน่วยการปกครองที่แตกต่างกันออกไป (โปรดดูรายละเอียดในบทความ).

หอสมุดประชาชนนิวยอร์กและเทศมณฑล · เดอะบร็องซ์และเทศมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง หอสมุดประชาชนนิวยอร์กและเดอะบร็องซ์

หอสมุดประชาชนนิวยอร์ก มี 15 ความสัมพันธ์ขณะที่ เดอะบร็องซ์ มี 3 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 11.11% = 2 / (15 + 3)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง หอสมุดประชาชนนิวยอร์กและเดอะบร็องซ์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »