โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554

ดัชนี ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

71 ความสัมพันธ์: ฟุกุชิมะพ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พายุฟ้าคะนองพายุหมุนนกเตนพายุหมุนเขตร้อนพายุโซนร้อนวาชิพายุไต้ฝุ่นหมาง้อนกรมอุตุนิยมวิทยากรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นกวมการแจ้งเตือนการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนกิโลเมตรกิโลเมตรต่อชั่วโมงมหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอนมหาสมุทรแปซิฟิกมะนิลามาเก๊ามาเลเซียตะวันตกมินดาเนามณฑลกวางตุ้งมณฑลฝูเจี้ยนมณฑลไหหลำรูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2553ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2555ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556ศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วมหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนาอ่าวตังเกี๋ยฮ่องกงจังหวัดชิซูโอกะจังหวัดกุมมะจังหวัดอิบารากิจังหวัดฮกไกโดจังหวัดโอกินาวะจังหวัดโทจิงิจังหวัดเอาโรราทะเลญี่ปุ่นทะเลจีนใต้ทิศตะวันออกทิศตะวันออกเฉียงเหนือทิศตะวันตกความกดอากาศคาบสมุทรเกาหลีประเทศฟิลิปปินส์ประเทศญี่ปุ่นประเทศมาเลเซียประเทศรัสเซีย...ประเทศลาวประเทศจีนประเทศปาเลาประเทศไมโครนีเซียประเทศไทยประเทศไต้หวันประเทศเกาหลีใต้ประเทศเกาหลีเหนือประเทศเวียดนามนครโฮจิมินห์แยปโคฟุไมล์ทะเลไต้ฝุ่นไซตะมะเกาะบอร์เนียวเกาะลูซอนเกาะเวกเอ็นเอชเค1 มกราคม1 เมษายน ขยายดัชนี (21 มากกว่า) »

ฟุกุชิมะ

ฟุกุชิมะ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และฟุกุชิมะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พายุฟ้าคะนอง

ฝนฟ้าคะนองตรงแบบเหนือทุ่ง พายุฝนฟ้าคะนอง เป็นพายุชนิดหนึ่งที่ถูกจัดลักษณะโดยปรากฏการณ์จากผลกระทบของ แสง และ เสียง บนบรรยากาศของโลก ที่รู้จักกันในชื่อ ฟ้าร้อง อุตุนิยมวิทยาได้กำหนดชนิดของ เมฆ ที่เกี่ยวข้องกับพายุฝนฟ้าคะนองว่าเป็นคิวมูโลนิมบัส ปกติแล้วพายุฝนฟ้าคะนองจะมาพร้อมกับลมแรง, ฝนตกหนัก และบางครั้งมี หิมะ ฝนหิมะ หรืออาจไม่ตกลงสู่พื้นดินเลยก็ได้ ทั้งหมดนั้นอาจเป็นสาเหตุให้เกิดลูกเห็บตกซึ่งเรียก พายุลูกเห็บ พายุฝนฟ้าคะนองอาจจะตกหนักเป็นหย่อม ๆ หรือตกหนักแบบกระจายตัวที่เรียก ซูเปอร์เซลล์ ก็ได้ พายุฝนฟ้าคะนองอย่างหนักหรือรุนแรงอาจเกิดการหมุนตัวซึ่งเรียกว่าซูปเปอร์เซลล์ ในขณะที่พายุฝนฟ้าคะนองส่วนใหญ่เคลื่อนที่ด้วยแรงลมปกติผ่านชั้นบรรยากาศโทรโพสเฟียร์ ที่มันสถิตย์อยู่ เมื่อเกิดแรงลมพัดเฉือนในแนวตั้งเกิดขึ้นจะก่อให้เกิดการหันเหเบี่ยงเบนในทิศทางที่ลมพัดเฉือนนั้นพัดมาเป็นสาเหตุให้พายุเคลื่อนตัว ผลของพายุฝนฟ้าคะนองที่เกิดจากการเคลื่อนตัวขึ้นลงอย่างรวดเร็วของอากาศที่อุ่นและชื้น มันก่อให้เกิดมวลอากาศที่อุ่นและชื้นขึ้นภายในและด้านหน้าของกลุ่มพายุฝนฟ้าคะนองนั้น ในขณะที่มวลอากาศอุ่นและชื้นเคลื่อนตัวขึ้นลงนั้น มันเกิดความเย็น,กลั่นตัวจนควบแน่นและก่อตัวเป็นกลุ่มก้อนเมฆที่แผ่ตัวต่ำปกคลุมทั่วท้องฟ้าจนมาถึงความสูงเกิน 20 กม.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และพายุฟ้าคะนอง · ดูเพิ่มเติม »

พายุหมุนนกเตน

หมุนเขตร้อนกำลังแรงนกเตน เป็นพายุหมุนเขตร้อนซึ่งสร้างความเสียหายแก่ตอนเหนือของประเทศฟิลิปปินส์ เป็นพายุลูกที่แปดที่ได้รับการตั้งชื่อและพายุหมุนเขตร้อนกำลังแรงลูกที่สี่ในฤดูไต้ฝุ่นแปซิฟิก 2554 นกเตน ตั้งตามชื่อนกชนิดหนึ่งที่พบในประเทศลาว ขึ้นฝั่งแล้ว 3 ครั้งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำให้มีผู้เสียชีวิตแล้วมากกว่า 55 คน และสร้างความเสียหายคิดเป็นมูลค่ากว่า 99 ล้านดอลล่าร์สหรั.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และพายุหมุนนกเตน · ดูเพิ่มเติม »

พายุหมุนเขตร้อน

รนแบนด์โดยรอบ, และลักษณะของพายุหมุนเขตร้อน ที่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนจากอวกาศ พายุหมุนเขตร้อน คือ ระบบพายุที่พัฒนามาจากศูนย์กลางของหย่อมความกดอากาศต่ำ, ลมแรง และการจัดเกลียวของพายุฝนฟ้าคะนอง ทั้งนี้ขึ้นกับสถานที่และความรุนแรง ซึ่งเกิดขึ้นบริเวณเขตร้อนของโลก ซึ่งมีชื่อเรียกต่างๆ กัน เช่น พายุเฮอร์ริเคน, พายุโซนร้อน, พายุไซโคลน, พายุดีเปรสชันเขตร้อน และพายุไซโคลนอย่างง่าย โดยทั่วไปรูปแบบพายุหมุนเขตร้อนจะมีขนาดใหญ่ขึ้นกับความสัมพันธ์กับน้ำอุ่น โดยพายุจะได้รับพลังงานผ่านการระเหยของน้ำบริเวณพื้นผิวมหาสมุทร ซึ่งในที่สุดน้ำเหล่านั้นจะควบแน่นอีกครั้งและเข้าไปอยู่ในกลุ่มเมฆและฝน เมื่ออากาศชื้นและความเย็นอิ่มตัว ซึ่งแหล่งพลังงานนี้จะแตกต่างกับพายุหมุนละติจูดกลาง ตัวอย่างเช่น นอร์อิสเทิร์น และพายุลมยุโรป ซึ่งได้รับพลังพลักดันหลักจากความแตกต่างของอุณหภูมิในแนวนอน โดยลมหมุนวนรอบอย่างรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อนนั้นเป็นผลมาจากการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม ซึ่งเกิดจากสภาวะการหมุนรอบตัวเองของโลก ขณะที่อากาศไหลเข้ามาสู่แกนกลางของการหมุน ผลที่ตามมา คือ พายุมักไม่ค่อยเกิดขึ้นภายใน 5° จากศูนย์สูตร พายุหมุนเขตร้อนโดยทั่วไปเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ที่ 100 - 4,000 กิโลเมตร คำว่า พายุหมุน (หรือไซโคลน) หมายถึง พายุหมุนตามธรรมชาติ ซึ่งลมจะพัดหมุนทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ และจะพัดหมุนตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้ ซึ่งทิศทางตรงข้ามการของการไหลเวียนลม เป็นผลมาจากคอริโอลิส ส่วนคำว่า เขตร้อน หมายถึง แหล่งกำเนิดของพายุทางภูมิศาสตร์ ซึ่งเป็นรูปแบบพิเศษของทะเลในเขตร้อน นอกจากลมแรงและฝนตก พายุหมุนเขตร้อนมีความสามารถในการสร้างคลื่นสูง และก่อให้เกิดความเสียหายจากน้ำขึ้นจากพายุ และทอร์นาโด ซึ่งมักจะลดลงอย่างรวดเร็วในช่วงที่พายุอยู่บนแผ่นดิน เนื่องจากถูกตัดขาดจากแหล่งพลังงานหลักของมัน จากเหตุผลนี้ ทำให้บริเวณชายฝั่งทะเล มักมีความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายจากพายุหมุนเขตร้อนมากกว่า เมื่อเทียบกับในแผ่นดิน อย่างไรก็ตามในแผ่นดินเองก็เกิดความเสียหายได้จากน้ำท่วมบนแผ่นดิน จากฝนตกหนัก และน้ำขึ้นจากพายุสามารถก่อให้เกิดน้ำท่วมบนแผ่นดินได้กว้างถึง 40 กิโลเมตร จากชายฝั่งทะเล แม้ว่าพายุหมุนเขตร้อนจะส่งผลกระทบต่อประชากรมนุษย์มหาศาล แต่พายุยังสามารถช่วยบรรเทาภาวะภัยแล้งได้ พวกมันยังพาพลังงานความร้อนออกไปจากเขตร้อน ข้ามผ่านไปยังละติจูดในเขตอบอุ่น ซึ่งอาจมีบทบาทสำคัญในการปรับเปลี่ยนสภาวะภูมิอากาศในระดับภูมิภาคและระดับโลก.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

พายุโซนร้อนวาชิ

ซนร้อนวาชิ เป็นพายุหมุนเขตร้อนมีพลังอยู่ใกล้กับประเทศฟิลิปปินส์ วาชิ ซึ่งหมายถึงกลุ่มดาวนกอินทรีในภาษาญี่ปุ่น ขึ้นฝั่งที่เกาะมินดาเนาของฟิลิปปินส์เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม หลังพัดผ่านมินดาเนา พายุโซนร้อนวาชิได้อ่อนกำลังลงเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำบริเวณอ่าวไทยตอนล่างและขึ้นฝั่งที่ประเทศมาเลเซีย จึงทำให้ภาคใต้ของประเทศไทยมีฝนตกหนักถึงหนักมาก ขณะนี้ยังไม่มีการพิจารณาขอบเขตความเสียหายทั้งหมดอันเกิดขึ้นจากวาชิ พายุวาชิเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิต 1,257 คน นับเป็นพายุหมุนที่คร่าชีวิตผู้คนไปมากที่สุดในรอบปี..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และพายุโซนร้อนวาชิ · ดูเพิ่มเติม »

พายุไต้ฝุ่นหมาง้อน

ต้ฝุ่นหมาง้อน เป็นพายุไต้ฝุ่นรุนแรงซึ่งสร้างความเสียหายแก่ตอนใต้ของญี่ปุ่น เป็นพายุลูกที่หกที่ได้รับการตั้งชื่อและพายุไต้ฝุ่นลูกที่สองในฤดูไต้ฝุ่นแปซิฟิก 2554.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และพายุไต้ฝุ่นหมาง้อน · ดูเพิ่มเติม »

กรมอุตุนิยมวิทยา

กรมอุตุนิยมวิทยาแห่งราชอาณาจักรไทย (Meteorological Department of Thailand) เป็นหน่วยงานของรัฐบาลไทย ระดับกรม สังกัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ทำหน้าที่ในการพยากรณ์อากาศ รายงานปรากฏการณ์ธรรมชาติต่างๆ เช่น แผ่นดินไหว ความสูงของคลื่น รายงานพยากรณ์อากาศประจำวันและพยากรณ์อากาศในช่วงเวลาที่กำลังจะมาถึง รวมทั้งออกประกาศเตือนต่าง.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และกรมอุตุนิยมวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น

กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น หรือ JMA เป็นหน่วยราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงที่ดินโครงสร้างพื้นฐานและคมนาคม ให้บริการด้านสภาพอากาศของรัฐบาลญี่ปุ่น มีหน้าที่รับผิดชอบในการรวบรวมและรายงานข้อมูลสภาพอากาศและพยากรณ์อากาศในญี่ปุ่น และยังรับผิดชอบในการสังเกตการณ์และเตือนภัยแผ่นดินไหว คลื่นสึนามิ และการปะทุของภูเขาไฟ มีที่ทำการกรมตั้งอยู่ในแขวงชิโยะดะ กรุงโตเกียว แบ่งการจัดการออกเป็น 6 สำนักงานส่วนภูมิภาค นอกจากนี้ JMA ยังได้ดำเนินการเป็นศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาคแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับไซโคลนเขตร้อนในพื้นที่ JMA มีจุดตรวจวัด 627 จุดทั่วประเทศ ทำหน้าที่ตรวจวัดความรุนแรงของแผ่นดินไหว.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

กวม

กวม (Guam; ชามอร์โร: Guåhån) หรือชื่อทางการว่า ดินแดนกวมของสหรัฐอเมริกา (U.S. Territory of Guam) เป็นเกาะหนึ่งในมหาสมุทรแปซิฟิก และเป็นดินแดนที่ยังไม่ได้ปกครองตนเองของสหรัฐอเมริกา ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวชามอร์โรซึ่งอพยพมาอยู่ที่เกาะเป็นครั้งแรกเมื่อ 3,500 ปีมาแล้ว กวมเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและอยู่ทางใต้สุดของหมู่เกาะมาเรียนา มีเมืองหลวงคือ ฮากัตญา (Hagåtña) เดิมเรียกว่า "อากาญา" (Agana) รายได้หลักของเกาะมาจากการท่องเที่ยว (โดยเฉพาะจากญี่ปุ่น) และจากการเป็นฐานทัพเรือสหรัฐอเมริกา สหประชาชาติจัดให้กวมอยู่ในรายชื่อดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองและมีประชากรทั้งเกาะประมาณ 173,000คน.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และกวม · ดูเพิ่มเติม »

การแจ้งเตือนการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน

200px การแจ้งเตือนการก่อตัวของพายุไซโคลนเขตร้อน (Tropical Cyclone Formation Alert (TCFA)) เป็นการแจ้งเตือนโดยกองทัพเรือสหรัฐอเมริกาโดยผ่านศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่นใน โฮโนลูลู, ฮาวาย หรือศูนย์พยากรณ์อากาศทางทะเลกองทัพเรือ (Naval Maritime Forecast Center)ในนอร์ฟอร์ก, เวอร์จิเนีย เตือนความเป็นไปได้ของพายุหมุนเขตร้อนที่ก่อตัวขึ้นบริเวณเขตร้อนหลังจากที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว การแจ้งเตือนดังกล่าวจะมีการออกมาอย่างเสมอเมื่อมั่นใจว่าเกิดพายุหมุนเขตร้อนขึ้นแล้ว โดยเฉพาะเมื่อพายุไซโคลนเกิดขึ้นอย่างฉับพลัน TCFA มีการตรวจสอบพายุหมุนเขตร้อนหลายรูปแบบโดยนักอุตุนิยมวิทยาตรวจสอบสภาพอากาศและสภาพแวดล้อม โดยหาก TCFA สามารถตรวจสอบได้อย่างแม่นยำแล้วก็จะรู้ถึงพื้นที่ได้รับผลกระท.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และการแจ้งเตือนการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

กิโลเมตร

กิโลเมตร อักษรย่อ กม. (mètre, km) เป็นหน่วยวัดความยาว มีขนาดเท่ากับ 1 × 103 เมตร.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และกิโลเมตร · ดูเพิ่มเติม »

กิโลเมตรต่อชั่วโมง

กิโลเมตรต่อชั่วโมง (Kilometre per hour) เป็นหน่วยวัดอัตราเร็ว (ปริมาณสเกลาร์) และความเร็ว (ปริมาณเวกเตอร์) ตามคำจำกัดความ วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 5 กิโลเมตรต่อชั่วโมง แปลว่าในเวลา 1 ชั่วโมง วัตถุนั้นจะเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 5 กิโลเมตร อักษรย่อสำหรับกิโลเมตรต่อชั่วโมงคือ กม./ชม. หรือ กม.·ชม.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และกิโลเมตรต่อชั่วโมง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน

University College London (UCL) เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยของรัฐ ตั้งอยู่ ณ​ กรุงลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร มหาวิทยาลัย UCL ยังเป็นสถาบันหนึ่งในสังกัดมหาวิทยาลัยกรุงลอนดอน UCL ถือได้ว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่ได้ถูกจัดอันดับอยู่ในระดับสูง และมีจำนวนนักเรียนในระดับบัณฑิตศึกษาที่ลงทะเบียนปัจจุบันมากที่สุดในสหราชอาณาจักร มหาวิทยาลัย UCL ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1826 ในฐานะมหาวิทยาลัยลอนดอน และ UCL ได้ถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในกรุงลอนดอน และมหาวิทยาลัยแห่งแรกในประเทศอังกฤษที่รับนักศึกษาเข้าเรียนโดยไม่คำนึงถึงศาสนา และเพศของผู้เข้าเรียน โดยให้สิทธิสตรีเทียบเท่ากับบุรุษ ในปี 1836 UCL ได้เปลี่ยนฐานะเป็นวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยลอนดอนซึ่งเกิดจากการรวมตัวของวิทยาลัยอื่นๆในกรุงลอนดอนเพื่อเป็นมหาวิทยาลัยเดียวกัน วิทยาเขตหลักของ UCL ตั้งอยู่ที่ Bloomsbury ในพื้นที่ลอนดอนส่วนกลาง Central London นอกจากนี้ยังมีสถาบันต่างๆ และโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ในที่ต่างๆ ทั่วกรุงลอนดอนที่เป็นของ UCL รวมไปถึงการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในวิทยาเขตใน Adelaide, ออสเตรเลีย และ Doha, กาต้าร์ UCL เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการแข่งขันสูงในการสมัครเข้าศึกษา และได้ถูกจัดอันดับอยู่ในระดับสูง ทั้งในระดับประเทศ และในระดับนานาชาติ ศิษย์เก่าของ UCL ที่เป็นบุคคลสำคัญ เช่น ผู้ประดิษฐ์โทรศัพท์ และผู้ร่วมค้นพบโครงสร้างของ DNA รวมไปถึงผู้ก่อตั้งกาน่า, ญี่ปุ่นสมัยใหม่ และไนจีเรีย ผู้ค้นพบแก๊สมีตระกูล ถึงปัจจุบัน UCL มีอาจารย์ ศาสตราจารย์ และนักวิจัย ผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบล รวมทั้งสิ้น 29 ท่าน.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และมหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแปซิฟิก

มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และมหาสมุทรแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

มะนิลา

มะนิลา (Manila; Maynila) เป็นเมืองหลวงของประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยุ่บนชายฝั่งตะวันออกของอ่าวมะนิลา (Manila Bay) บนเกาะลูซอนซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและตั้งอยู่ทางเหนือสุดของฟิลิปปินส์ บางส่วนของเมืองมีความยากจน อย่างไรก็ดี มะนิลาเป็นเมืองที่มีชนชาติรวมกันอยู่มากมาย และเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม การศึกษา และอุตสหากรรมของประเทศ มะนิลาคือศูนย์กลางของเขตมหานครที่มีประชากรมากกว่า 10 ล้านคน เขต เมโทรมะนิลา (Metro Manila) เป็นมหานครที่ใหญ่กว่า ประกอบด้วยเมืองและเทศบาล 17 แห่ง เฉพาะเมืองมะนิลาเองเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 2 มีประชากรประมาณ 1.5 ล้านคน เมืองเดียวที่มีประชากรมากกว่าคือเมืองเกซอนซิตี (Quezon City) ชานเมืองและอดีตเมืองหลวง มะนิลาตั้งอยูที่ 14°35' เหนือ 121°0' ตะวันออก.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และมะนิลา · ดูเพิ่มเติม »

มาเก๊า

ตบริหารพิเศษมาเก๊าแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Macao Special Administrative Region of the People's Republic of China, เรียกสั้น ๆ ว่า มาเก๊า ในภาษาอังกฤษเขียนเป็น Macau และ Macao, อ้าวเหมิน; 馬交 ก็เรียก) เป็นพื้นที่บนชายฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ปกครองโดยประเทศโปรตุเกสก่อนพ.ศ. 2542 เป็นอาณานิคมของยุโรปที่เก่าแก่ที่สุดในจีน ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 อำนาจอธิปไตยเหนือมาเก๊าได้ย้ายไปที่สาธารณรัฐประชาชนจีนในพ.ศ. 2542 กลายเป็นเขตปกครองพิเศษของจีน มาเก๊าได้มีบทบาทที่มีอิทธิพลต่อจีนและตะวันตกโดยเฉพาะระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ คริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้ที่อาศัยอยู่ในมาเก๊าส่วนใหญ่พูดภาษากวางตุ้งเป็นภาษาแม่ ภาษาแมนดาริน ภาษาโปรตุเกส และภาษาอังกฤษก็มีพูดด้วย โดยกว้าง ๆ ชาวมาเก๊า (Macanese) หมายถึงผู้ที่พำนักอาศัยถาวรอยู่ในมาเก๊า ส่วนในวงแคบ หมายถึง ชนพื้นเมืองในมาเก๊าที่สืบทอดมาจากชาวโปรตุเกส มักจะผสมกับชาวจีนและบรรพบุรุษชาติอื่น ๆ นอกจากสิ่งที่เหลือจากประวัติศาสตร์ยุคอาณานิคมแล้ว.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และมาเก๊า · ดูเพิ่มเติม »

มาเลเซียตะวันตก

มาเลเซียตะวันตก (Semenanjung Malaysia) เป็นภูมิภาคหนึ่งของมาเลเซีย ซึ่งตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายูโดยมีชายแดนติดต่อกับประเทศไทยทางเหนือ และติดต่อกับสิงคโปร์ทางใต้โดยมีช่องแคบยะโฮร์กั้นอยู่ ทางตะวันตกจรดกับช่องแคบมะละกาและทางตะวันออกจรดกับทะเลจีนใต้ มาเลเซียตะวันตกยังเป็นดินแดนส่วนแรกที่รวมตัวกันเป็นสหภาพมาลายา ก่อนที่มาเลเซียตะวันออกและสิงคโปร์จะเข้าร่วมและกลายเป็นสหพันธรัฐมาลายาในเวลาต่อมา (และภายหลังสิงคโปร์ก็แยกดินแดนออกไปตั้งรัฐของตนเอง).

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และมาเลเซียตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

มินดาเนา

มินดาเนา (Mindanao) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 2 และตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของประเทศฟิลิปปินส์ มีลักษณะภูมิประเทศที่มีรูปร่างคล้ายสามเหลี่ยม ชายฝั่งเว้าแหว่ง มีอ่าวขนาดใหญ่และเล็กจำนวนมาก มีเทือกเขาซึ่งมียอดเขาหลายแห่งที่มีความสูงมากกว่า 1,500 เมตร ยอดสูงสุดชื่อ อาโป สูง 2,954 เมตร มีระบบแม่น้ำหลัก 2 ระบบ คือ ระบบแม่น้ำอากูซันทางตะวันออก และระบบแม่น้ำมินดาเนาทางใต้และกลาง ผลิตผลสำคัญ ได้แก่ ข้าวโพด ข้าวเจ้า มะพร้าว ไม้ซุง กาแฟ ป่านอะบากา ศาสนาอิสลามได้เผยแผ่เข้าไปในเกาะ ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ซึ่งเดินเรือให้แก่กษัตริย์สเปนได้เดินทางมาถึงเกาะนี้ ใน..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และมินดาเนา · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลกวางตุ้ง

มณฑลกวางตุ้ง หรือ กว่างตง แบ่งการปกครองออกเป็น 21 เมืองใหญ่ 30 เมืองระดับอำเภอ 42 อำเภอและ 3 เขตปกครองตนเอง ตั้งอยู่ตอนใต้สุดของประเทศ ทางใต้ติดกับทะเลจีนใต้ ใกล้กับเกาะฮ่องกงและมาเก๊า เป็นประตูสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ มณฑลนี้นี่เองที่ประชากรส่วนมากได้อพยพไปตั้งถิ่นฐานในต่างประเทศ 100 กว่าปีที่แล้ว.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และมณฑลกวางตุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลฝูเจี้ยน

มณฑลฝูเจี้ยน หรือ มณฑลฮกเกี้ยน (จีน: 福建省 Fujian) เป็นมณฑลชายฝั่งทะเลที่อยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของจีน อาณาเขตทางภาคเหนือติดกับมณฑลเจ้อเจียง ภาคใต้ติดกับมณฑลกวางตุ้ง ภาคตะวันออกติดกับช่องแคบไต้หวัน ชื่อฝูเจี้ยนมาจากอักษรนำหน้าชื่อเมืองสองเมืองรวมกันคือฝูโจวและเจี้ยนโอว ชื่อนี้ได้รับการตั้งในสมัยราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และมณฑลฝูเจี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลไหหลำ

มณฑลไหหลำ หรือ ไห่หนาน (ภาษาจีน: 海南, พินอิน: Hǎinán) คือมณฑลของสาธารณรัฐประชาชนจีนที่มีขนาดเล็กที่สุด ตั้งอยู่ทางใต้สุดของประเทศ ประกอบด้วยเกาะหลายเกาะ โดยที่เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะไหหลำ เมื่อชาวจีนพูดเกี่ยวกับ "ไห่หนาน" ในภาษาจีน มักจะหมายถึงเฉพาะเกาะไหหลำ เมื่อพูดถึงมณฑลไหหลำจะใช้คำว่า "ไห่หนานเฉิ่ง" เมืองหลวงคือ เมืองไหโข่ว.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และมณฑลไหหลำ · ดูเพิ่มเติม »

รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ

รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ (portable document format (ย่อ: pdf)) คือ รูปแบบแฟ้มลักษณะหนึ่ง ที่พัฒนาโดยบริษัทอะโดบีซิสเต็มส์ สำหรับแสดงเอกสารที่สามารถใช้งานได้ในทุกระบบปฏิบัติการ และยังคงลักษณะเอกสารเหมือนต้นฉบับ เอกสารในรูปแบบนี้สามารถจัดเก็บ ตัวอักษร รูปภาพ รูปลายเส้น ในลักษณะเป็นหน้าหนังสือ ตั้งแต่ หนึ่งหน้า หรือหลายพันหน้าได้ในแฟ้มเดียวกัน รูปแบบเป็นมาตรฐานที่เปิดให้คนอื่นสามารถเขียนโปรแกรมมาทำงานร่วมกันได้ รูปแบบนี้ เหมาะสมสำหรับงานที่ต้องการให้แสดงผลลักษณะเดียวกับต้นฉบับ ซึ่งแตกต่างกับการใช้งานรูปแบบอื่น เช่น HTML เพราะการแสดงผลของ HTML จะขึ้นอยู่กับโปรแกรมเบราว์เซอร์และคอมพิวเตอร์ที่ใช้ และเพราะฉะนั้น จะแสดงผลต่างกัน ถ้าใช้ต่างกัน.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และรูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2553

ใน..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2555

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม

ูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center (JTWC)) เป็นศูนย์ใน กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา - กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา ทำงานที่ศูนย์พยากรณ์อากาศทางทะเลกองทัพเรือ (Naval Maritime Forecast Center) ในท่าเรือเพิร์ล, รัฐฮาวาย JTWC จะรับผิดชอบตรวจสอบพายุหมุนเขตร้อนและออกคำเตือนให้กับประเทศทางตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก, ทางใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย สำหรับกระทรวงกลาโหมแห่งสหรัฐอเมริกาจะรับผิดชอบสหรัฐอเมริกาและไมโครนีเซีย ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่นมีจุดประสงค์คือ ป้องกันกองทัพเรือและกองทัพอากาศของสหรัฐอเมริกาและติดต่อกับประเทศอื่นๆทั่วโลกด้วยJoint Typhoon Warning Center.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา

หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา (Northern Mariana Islands; ชามอร์โร: Islas Mariånas) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา (Commonwealth of the Northern Mariana Islands, CNMI; ชามอร์โร: Sankattan Siha Na Islas Mariånas) เป็นหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศสหรัฐอเมริกา หมู่เกาะนี้ประกอบด้วยเกาะ 14 เกาะ มีประชากรจำนวน 80,362 คน (พ.ศ. 2548).

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวตังเกี๋ย

อ่าวตังเกี๋ย (Gulf of Tonkin; Vịnh Bắc Bộ; จีนตัวเต็ม: 東京灣) เป็นอ่าวขนาด 480 x 240 กิโลเมตร อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของทะเลจีนใต้ ระหว่างประเทศเวียดนามกับประเทศจีน ทะเลในอ่าวมีความลึกน้อยกว่า 60 เมตร แม่น้ำสำคัญที่น้ำไหลลงสู่อ่าวตังเกี๋ย คือ แม่น้ำแดงในเวียดนาม ท่าเรือสำคัญอยู่ในเมืองไฮฟองของเวียดนาม และเป๋ย์ไห่ของจีน อ่าวตังเกี๋ยมีเกาะขนาดใหญ่ คือ เกาะไหหลำ (ไห่หนาน) ของจีน อ่าวตังเกี๋ยมีความสำคัญในประวัติศาสตร์ อุบัติการณ์อ่าวตังเกี๋ยเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964) นำไปสู่การมีส่วนร่วมอย่างเปิดเผยของสหรัฐอเมริกาในสงครามเวียดนาม ตังเกี๋ย หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในประเทศเวียดนาม หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในประเทศจีน หมวดหมู่:อ่าวตังเกี๋ย.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และอ่าวตังเกี๋ย · ดูเพิ่มเติม »

ฮ่องกง

องกง (Hong Kong; 香港) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Hong Kong Special Administrative Region of the People's Republic of China) เป็นเขตปกครองตนเองริมฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ในทางภูมิศาสตร์มีสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและทะเลจีนใต้โอบรอบ ฮ่องกงเป็นที่รู้จักในสกายไลน์ (skyline) ขยายและท่าเรือธรรมชาติลึก มีเนื้อที่ 1,104 กม.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชิซูโอกะ

ังหวัดชิซูโอกะ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในภูมิภาคชูบุ บนเกาะฮนชู เมืองหลักใช้ชื่อเดียวกันคือเมืองชิซูโอกะ (静岡市 Shizuoka-shi) จังหวัดนี้เป็นที่ตั้งของภูเขาฟูจิ (富士山 Fuji-san) และมีชื่อเสียงของการปลูกชาเขียวที่ดีที่สุดในญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และจังหวัดชิซูโอกะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกุมมะ

ังหวัดกุมมะ เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น อยู่ในเขตคันโต บนเกาะฮนชู มีเมืองหลวงชื่อมะเอ.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และจังหวัดกุมมะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอิบารากิ

ังหวัดอิบารากิ ตั้งอยู่บริเวณภาคคันโตของญี่ปุ่น มีเมืองหลวงอยู่ที่เมืองมิโต.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และจังหวัดอิบารากิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฮกไกโด

กไกโด (ไอนุ: アィヌ・モシリ อัยนูโมซีร์) เดิมเรียก เอะโซะ เป็นชื่อจังหวัดและเกาะที่ใหญ่เป็นอันดับสองในประเทศญี่ปุ่น รองจากเกาะฮนชู แต่มีอุโมงค์เซกังเชื่อมถึงกัน นอกจากนี้ฮกไกโดยังเป็นเขตการปกครอง ซึ่งประกอบไปด้วยหมู่เกาะ โดยมีเกาะฮกไกโดเป็นศูนย์กลาง และเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเขต คือ ซัปโปโระ ฮกไกโดเป็นเขตที่มีคนอาศัยอยู่เบาบาง มีประชากรทั้งเกาะประมาณ 5 ล้านคน คนส่วนใหญ่ย้ายมาจากเกาะฮนชูเมื่อราว 100 กว่าปีก่อน โดยเป็นแหล่งที่ซามูไรแพ้สงครามจึงต้องหนีมาอยู่ที่เกาะนี้ ความจริงแล้วที่เกาะนี้มีชนพื้นเมืองอาศัยอยู่มานานแล้ว คือ ชาวไอนุ แต่โดนกลืนชนชาติไป ปัจจุบันหลงเหลืออยู่น้อยมากและมีชีวิตเช่นชาวญี่ปุ่นทั่วไป ฮกไกโดเป็นเขตที่มีอากาศหนาวเย็น โดยเฉลี่ยจะมีหิมะท่วมอยู่ทั่วไปประมาณ 4-6 เดือน ในถดูหนาวจะมีอุณหภูมิ -20 ถึง 5 องศาเซลเซียส ในหน้าร้อนจะมีอุณหภูมิ 15 ถึง 30 องศาเซลเซียส ในด้านภูมิประเทศเป็นภูเขาเป็นส่วนใหญ่ ในบริเวณที่ราบลุ่มก็จะเป็นเมืองที่คนอาศัย โดยจะหนาแน่นในบริเวณเมืองซัปโปโระ ซึ่งมีอากาศอุ่นกว่าบริเวณต่าง ๆ ของเกาะ แต่ก็ยังหนาวกว่าเมืองอื่น ๆ ในเกาะฮนชู ฮกไกโดเป็นเกาะที่มีธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ มีทิวทัศน์ที่สวยงาม ชาวญี่ปุ่นจากส่วนอื่น ๆ ของประเทศจึงนิยมมาตากอากาศหรือย้ายมาอยู่อาศัยและทำงานเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และจังหวัดฮกไกโด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโอกินาวะ

ที่ตั้งของหมู่เกาะรีวกีว แผนที่จังหวัดโอกินาวะ จังหวัดโอกินาวะ (沖縄県 Okinawa-ken) เป็นจังหวัดใต้สุดของญี่ปุ่น พื้นที่ยาวกว่า 1,000 กิโลเมตร กินสองในสามของเกาะรีวกีวซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของคีวชูไปทางไต้หวัน เมืองเอกคือนาฮะซึ่งอยู่ภาคใต้ของเกาะโอกินาวะ แม้จังหวัดโอกินาวะจะเป็นพื้นที่เพียงร้อยละ 0.6 ของดินแดนญี่ปุ่นทั้งหมด แต่ร้อยละ 75 ของทหารสหรัฐที่ประจำในญี่ปุ่นก็ตั้งอยู่ในจังหวัดนี้ ปัจจุบัน มีกองกำลังสหรัฐราว 26,000 กองตั้งอยู่ในจังหวัดโอกินาว.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และจังหวัดโอกินาวะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโทจิงิ

จังหวัดโทจิงิ เป็นจังหวัดหนึ่งในภูมิภาคคันโตบนเกาะฮนชู ประเทศญี่ปุ่น มีเมืองหลักคือ อุตสึโนมิยะ ซึ่งมีชื่อเสียงในด้านร้านขายเกี๊ยวซ่าเลิศรส และยังมีศูนย์การค้าที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคคันโตทางตอนเหนือ มีชื่อว่า เบลล์มอลล์ เมืองนิกโกในจังหวัดโทจิงิ เป็นที่ตั้งของศาลเจ้าและวัดที่องค์การยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก เมืองนิกโกนี้ใช้เวลาเดินทางโดยรถไฟจากกรุงโตเกียวเพียง 1 ชั่วโมง แหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงอื่น ๆ ได้แก่ เมืองนะซุ ซึ่งมีชื่อเสียงในด้านรีสอร์ตน้ำพุร้อน รีสอร์ตสกี และแหล่งผลิตเหล้าสาเก เมืองนี้ยังเป็นที่ตั้งของตำหนักที่ประทับประจำราชวงศ์ มีสถานีรถไฟนะซุ-ชิโอะบะระเป็นสถานีใหญ่ที่รองรับขบวนรถด่วนชินคันเซน รีสอร์ตน้ำพุร้อนที่มีชื่อเสียงอีกแห่งหนึ่งอยู่ที่เมืองคินุงะวะ โทจิงิ.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และจังหวัดโทจิงิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเอาโรรา

ังหวัดเอาโรรา (Lalawigan ng Aurora; อีโลกาโน: Probinsia ti Aurora) เป็นจังหวัดในเขตกิตนางลูโซนของประเทศฟิลิปปินส์ อยู่ติดกับทะเลฟิลิปปิน เมืองหลักคือบาเลร์ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดเคโซน, บูลาคัน, นูเวบาเอซีฮา, นูเวบาบิซคายา, คีรีโน และอีซาเบลา ก่อนปี..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และจังหวัดเอาโรรา · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลญี่ปุ่น

ทะเลญี่ปุ่น เป็นทะเลชายอาณาเขตทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ระหว่างแผ่นดินใหญ่เอเชีย หมู่เกาะญี่ปุ่น และเกาะซาฮาลิน ล้อมรอบด้วยประเทศญี่ปุ่น เกาหลีใต้ เกาหลีเหนือ และรัสเซีย เป็นผืนน้ำที่ถูกปิดกั้นจากมหาสมุทรแปซิฟิกเกือบสมบูรณ์ ทำให้แทบไม่มีปรากฏการณ์น้ำขึ้นน้ำลง ซึ่งคล้ายกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และความโดดเดี่ยวเช่นนี้ยังทำให้จำนวนชนิดพันธุ์สัตว์และความเค็มของน้ำมีน้อยกว่าในมหาสมุทร ภายในพื้นที่ไม่มีเกาะ อ่าว หรือแหลมขนาดใหญ่ สมดุลของน้ำได้รับอิทธิพลอย่างมากจากกระแสน้ำที่ไหลเข้าและออกผ่านช่องแคบต่างๆ ที่เชื่อมต่อกับทะเลรอบข้างและมหาสมุทรแปซิฟิก ขณะที่แม่น้ำที่ไหลลงสู่ทะเลแห่งนี้มีจำนวนน้อย จึงมีผลต่อปริมาตรน้ำในทะเลเพียงไม่เกินร้อยละ 1 น้ำในทะเลญี่ปุ่นมีความเข้มข้นของออกซิเจนละลายอยู่สูง ส่งผลให้ความอุดมสมบูรณ์ทางชีวภาพ การประมงจึงมีความสำคัญทางเศรษฐกิจในภูมิภาคนี้ และการขนส่งทางเรือในทะเลญี่ปุนกำลังเติบโตขึ้นเรื่อยๆ ตามการเติบโตทางเศรษฐกิจของภูมิภาคเอเชียตะวันออก แม้ว่าในอดีตจะไม่คับคั่งนักเนื่องด้วยประเด็นปัญหาทางการเมือง ขณะที่ชื่อของผืนน้ำแห่งนี้ยังคงเป็นประเด็นขัดแย้ง เนื่องจากเกาหลีใต้พยายามเรียกร้องให้ใช้ชื่อว่า ทะเลตะวันออก.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และทะเลญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลจีนใต้

แผนที่ทะเลจีนใต้ ทะเลจีนใต้ (South China Sea) เป็นทะเลปิดที่เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิก ครอบคลุมอาณาบริเวณตั้งแต่ประเทศสิงคโปร์ไปจนถึงช่องแคบไต้หวัน รวมทั้งอ่าวตังเกี๋ยและอ่าวไทย มีเนื้อที่ประมาณ 3,500,000 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ดังกล่าวมีความสำคัญเพราะมีเส้นทางขนส่งทางเรือผ่านคิดเป็นหนึ่งในสามของโลก นอกจากนี้ยังเชื่อกันว่า ใต้พื้นทะเลมีน้ำมันและแก๊สธรรมชาติสำรองขนาดใหญ่ด้วย อาณาเขตของทะเลจีนใต้ อยู่ทางใต้ของจีนแผ่นดินใหญ่และเกาะไต้หวัน, ตะวันตกของฟิลิปปินส์, ตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐซาบะฮ์และรัฐซาราวะก์ของมาเลเซียและบรูไน, เหนือของอินโดนีเซีย, ตะวันออกเฉียงเหนือของคาบสมุทรมลายูและสิงคโปร์ และตะวันออกของเวียดนาม หมู่เกาะทะเลจีนใต้ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเกาะ มีจำนวนหลายร้อยเกาะ ทะเลและเกาะที่ไม่มีผู้คนอยู่อาศัยส่วนใหญ่นี้เป็นหัวข้อพิพาทอธิปไตยโดยหลายประเทศ ข้อพิพาทเหล่านี้ยังได้สะท้อนในชื่ออันหลากหลายที่ตั้งให้เกาะและทะเล.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และทะเลจีนใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ทิศตะวันออก

วงกลมแสดงทิศ (compass rose) ระบุทิศหลักและทิศรองไว้มากมาย โดยทิศตะวันออก (E) อยู่ทางขวา ทิศตะวันออก หรือ ทิศบูรพา เป็นหนึ่งในทิศหลักทั้งสี่ อยู่ตรงข้ามกับทิศตะวันตก ขวามือของทิศเหนือ และซ้ายมือของทิศใต้ โดยมากจะกำหนดให้ทิศตะวันออกอยู่ด้านขวามือของแผนที่ทางภูมิศาสตร์ แต่อยู่ทางซ้ายมือของแผนที่ดาว ทิศตะวันออกเป็นทิศที่โลกหมุนไป ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออกพอดีในวันวิษุวัต.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และทิศตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ

วงกลมแสดงทิศ ระบุทิศหลักและทิศรอง โดยทิศตะวันออกเฉียงเหนือแสดงโดยทิศตะวันออกเฉียงเหนือ (NE) ทางขวาเฉียงขึ้นไปด้านบน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ อีสาน เป็นหนึ่งในทิศรองทั้งสี่ อยู่ตรงข้ามกับทิศตะวันตกเฉียงใต้ ขวามือของทิศตะวันออกเฉียงเหนือ หมวดหมู่:การกำหนดทิศทาง.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และทิศตะวันออกเฉียงเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ทิศตะวันตก

วงกลมแสดงทิศ (compass rose) ระบุทิศหลักและทิศรองไว้มากมาย โดยทิศตะวันตก (W) อยู่ทางซ้าย ทิศตะวันตก หรือ ทิศประจิม หรือ ทิศปัจฉิม เป็นหนึ่งในทิศหลักทั้งสี่ อยู่ตรงข้ามกับทิศตะวันออก ขวามือของทิศใต้ และซ้ายมือของทิศเหนือ โดยมากจะกำหนดให้ทิศตะวันตกอยู่ด้านซ้ายของแผนที่ทางภูมิศาสตร์ แต่อยู่ด้านขวาของแผนที่ดาว ดวงอาทิตย์ตกทางทิศตะวันตกพอดีในวันวิษุวัต.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และทิศตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ความกดอากาศ

'ความดันบรรยากาศความกดอากาศ, ความดันอากาศหรือเป็น ความกดดันอยู่จุดใดหนึ่งของชั้นบรรยากาศของโลก โดยทั่วไปความกดอากาศจะประมาณเท่ากับความกดดันที่เกิดขึ้นย้อนน้ำหนักของอากาศอยู่บนจุดนั้น ๆ ซึ่งหมายความว่า จุดที่มีความกดอากาศต่ำจะมีอากาศที่มีมวลสารต่ำกว่าจะอยู่ข้างบนนั้น ด้วยเหตุผลแบบเดียวกัน ความกดอากาศจะต่ำลงเมื่อระดับความสูงเพิ่มขึ้น ความกดอากาศที่ความสูงระดับน้ำทะเล จะเท่ากับ 1 atm (หนึ่งหน่วยบรรยากาศ) นั่นก็คือ 760 mmHg (มิลลิเมตรปรอท)นั่นเอง.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และความกดอากาศ · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรเกาหลี

มุทรเกาหลี (Korean Peninsula) เป็นคาบสมุทรทางตะวันออกของทวีปเอเชีย ทอดตัวลงไปทางทิศใต้สู่มหาสมุทรแปซิฟิก มีความยาวประมาณ 1,000 กิโลเมตร พื้นที่รวมกันได้ 220,847 ตร.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และคาบสมุทรเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และประเทศมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลาว

ลาว (ລາວ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ປປ.ລາວ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก กั้นด้วยแม่น้ำโขงเป็นบางช่วง.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปาเลา

ปาเลา (Palau; ปาเลา: Belau) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐปาเลา (Republic of Palau; ปาเลา: Beluu er a Belau) เป็นประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์ไปประมาณ 500 กิโลเมตร ได้รับเอกราชในปี พ.ศ. 2537 เป็นหนึ่งในชาติที่ใหม่ที่สุดและมีประชากรน้อยที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และประเทศปาเลา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไมโครนีเซีย

มโครนีเซีย (Micronesia) หรือ สหพันธรัฐไมโครนีเซีย (Federated States of Micronesia) เป็นรัฐบาลภายใต้รัฐธรรมนูญที่มีความสัมพันธ์เสรีกับสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศปาปัวนิวกินี ประเทศไมโครนีเซียจัดอยู่ในภูมิภาคไมโครนีเซีย ซึ่งประกอบด้วยเกาะเล็ก ๆ หลายร้อยเกาะ ครอบคลุมพื้นที่ 5 ประเทศกับ 2 ดินแดน คำว่า Micronesia มักจะนำมาใช้เรียกเป็นชื่อประเทศ อย่างไรก็ดี ไมโครนีเซียก็เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของภูมิภาคนี้ด้วยเช่นกัน ไมโครนีเซียในอดีตเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนในภาวะทรัสตีแห่งหมู่เกาะแปซิฟิก ซึ่งเป็นดินแดนภาวะพึ่งพิงขององค์การสหประชาชาติภายใต้การบริหารของสหรัฐอเมริกา ใน พ.ศ. 2522 ไมโครนีเซียได้นำรัฐธรรมนูญมาใช้ และในพ.ศ. 2529 ได้รับเอกราชภายใต้สัญญาความสัมพันธ์เสรี (Compact of Free Association) กับสหรัฐอเมริกา ปัญหาในปัจจุบันคือ อัตราการว่างงานสูง การประมงมากเกินไป และการพึ่งพาสหรัฐมากเกินไป.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และประเทศไมโครนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไต้หวัน

ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และประเทศไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้

รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีเหนือ

รณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (Democratic People's Republic of Korea: DPRK) หรือชื่อโดยทั่วไปว่า เกาหลีเหนือ (North Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก กินพื้นที่ครึ่งเหนือของคาบสมุทรเกาหลี เมืองหลวงและนครใหญ่สุดคือ เปียงยาง เขตปลอดทหารเกาหลีเป็นเขตกันชนระหว่างประเทศเกาหลีใต้กับเกาหลีเหนือ แม่น้ำอัมนกหรือยาลู่ และตูเมนเป็นพรมแดนระหว่างประเทศจีนกับเกาหลีเหนือ แม่น้ำตูเมนส่วนที่ห่างไปทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพรมแดนกับประเทศรัสเซีย คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิเกาหลีปกครองเรื่อยมากระทั่งถูกผนวกเข้ากับญี่ปุ่นหลังสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และประเทศเกาหลีเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

นครโฮจิมินห์

นครโฮจิมินห์ (Thành phố Hồ Chí Minh, ถั่ญโฟ้โห่จี๊มิญ) หรือชื่อเดิม ไซ่ง่อน (Sài Gòn ส่ายก่อน) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง นครโฮจิมินห์เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของเวียดนาม จากประชากรร้อยละ 7.5 ของประเทศ แต่มีจีดีพีถึงร้อยละ 20.2 และการลงทุนจากต่างประเทศมากถึงร้อยละ 34.9 ของทั้งประเท.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และนครโฮจิมินห์ · ดูเพิ่มเติม »

แยป

แยป หรือ ยาป (Yap) หรือ วาอับ (แยป: Waqab) เป็นหมู่เกาะในหมู่เกาะแคโรไลน์ ทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ในรัฐแยปของประเทศไมโครนีเซีย หมู่เกาะนี้ประกอบด้วยเกาะ 4 เกาะซึ่งอยู่ติด ๆ กัน มีเกาะแยปเป็นเกาะใหญ่ที่สุด จากข้อมูลปี..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และแยป · ดูเพิ่มเติม »

โคฟุ

ฟุ เป็นเมืองหลวงของจังหวัดยะมะนะชิ ประเทศญี่ปุ่น มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 212.41 ตารางกิโลเมตร มีจำนวนประชากรในปี..

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และโคฟุ · ดูเพิ่มเติม »

ไมล์ทะเล

ไมล์ทะเล (nautical mile) เป็นหน่วยของระยะทาง ที่เท่ากับระยะทางบนผิวโลก ประมาณ 1 ลิปดา บนเส้นเส้นเมริเดียนใด ๆ โดยเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป ว่า 1 ไมล์ทะเล เท่ากับ 1852 เมตร (หรือประมาณ 6076.12 ฟุต) หน่วยนี้ไม่ได้เป็นหน่วยเอสไอ แต่ใช้กันทั่วไปในวงการเดินเรือและอุตสาหกรรมการบิน และยังใช้เป็นหน่วยที่ใช้กับการกำหนดเขตแดนน่านน้ำในสนธิสัญญา และกฎหมายระหว่างประเทศอีกด้วย หมวดหมู่:หน่วยความยาว.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และไมล์ทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ไต้ฝุ่น

ต้ฝุ่นสามลูกขณะหมุนอยู่เหนือมหาสมุทรแปซิฟิกฝั่งตะวันตกเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2549 พายุไต้ฝุ่น เป็นพายุหมุนเขตร้อนความเร็วลมสูงสุด ซึ่งก่อตัวขึ้นทางตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิกระหว่าง 180° กับ 100° ตะวันออก ซึ่งภูมิภาคนี้ถูกตั้งชื่อว่า "แอ่งแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ" สำหรับจุดประสงค์เกี่ยวกับองค์กร มหาสมุทรแปซฟิกตอนเหนือถูกแบ่งออกเป็นสามเขต ได้แก่ ทางตะวันออก (ทวีปอเมริกาเหนือจนถึงลองติจูด 140° ตะวันตก) ตอนกลาง (140° ตะวันตกถึง 180°) และทางตะวันตก (180° ถึง 100° ตะวันออก) ปรากฏการณ์พายุแบบเดียวกันที่เกิดขึ้นในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือทางตะวันออกจะถูกเรียกว่า เฮอร์ริเคน และพายุหมุนเขตร้อนที่เคลื่อนที่ไปยังมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันตกจะถูกเรียกว่า ไต้ฝุ่น ศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาค (RSMC) ซึ่งมีหน้าที่พยากรณ์การเกิดพายุหมุนเขตร้อนตั้งอยู่ในประเทศญี่ปุ่น และศูนย์เตือนภัยพายุหมุนเขตร้อนอื่น ๆ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิกตั้งอยู่ในโฮโนลูลู (ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น) ฟิลิปปินส์และฮ่องกง ขณะที่ RSMC ตั้งชื่อในแต่ละระบบ ตัวรายชื่อหลักนั้นเป็นความร่วมมือกันระหว่าง 18 ประเทศ รวมทั้งสหรัฐอเมริกา ซึ่งประเทศเหล่านี้ได้รับผลกระทบจากพายุไต้ฝุ่นทุกปี ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ พายุไต้ฝุ่นไม่มีการกำหนดฤดูกาลอย่างเป็นทางการ เพราะพายุไต้ฝุ่นก่อตัวขึ้นตลอดทั้งปี เช่นเดียวกับพายุหมุนเขตร้อนทั่วไป ปัจจัยที่ทำให้พายุไต้ฝุ่นก่อตัวและมีความเร็วเพิ่มขึ้นนั้นมีหกประการ ได้แก่ อุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเลที่อุ่นเพียงพอ ความไม่แน่นอนของสภาพอากาศ ระดับความชื้นสัมพัทธ์สูงในชั้นโทรโพสเฟียร์ระดับล่างถึงกลาง แรงโคริโอลิสที่มากพอที่จะสร้างศูนย์ความดันอากาศต่ำ การรบกวนหรือจุดรวมระดับต่ำที่มีอยู่แล้ว และวินเชียร์แนวดิ่งต่ำ พายุไต้ฝุ่นส่วนมากก่อตัวขึ้นระหว่างเดือนมิถุนายนและเดือนพฤศจิกายน ขณะที่พายุหมุ่นเขตร้อนก่อตัวขึ้นอย่างน้อยก็ระหว่างเดือนธันวาคมและพฤษภาคม โดยเฉลี่ยแล้ว มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือเป็นบริเวณที่เกิดพายุหมุนเขตร้อนบ่อยครั้งที่สุดและรุนแรงที่สุดในโลก เช่นเดียวกับแอ่งอื่น ๆ พายุจะถูกนำทางโดยลิ่มความกดอากาศสูงเหนือเขตร้อนไปทางตะวันตกหรือตะวันตกเฉยงเหนือ โดยมีบางลูกที่ย้อนกลับมาใกล้ทางตะวันออกของญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากการขึ้นฝั่ง จีนและญี่ปุ่นได้รับผลกระทบน้อยกว่าบ้าง พายุไต้ฝุ่นที่สร้างความเสียหายมากที่สุดในประวัติศาสตร์ได้พัดเข้าถล่มจีน ทางตอนใต้ของจีนมีบันทึกผลกระทบของพายุไต้ฝุ่นที่ยาวนานที่สุด ซึ่งสามารถย้อนหลังไปได้นับพันปีผ่านเอกสารในหอจดหมายเหตุ ไต้หวันเคยประสบกับพายุไต้ฝุ่นที่เปียกที่สุดเท่าที่เคยบันทึกมาในแอ่งพายุหมุนเขตร้อนแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และไต้ฝุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ไซตะมะ

ซตามะ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และไซตะมะ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะบอร์เนียว

อร์เนียว (Borneo) หรือ กาลีมันตัน (Kalimantan) เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากเกาะกรีนแลนด์ (อันดับ 1) และเกาะนิวกินี (อันดับ 2) มีประเทศ 3 ประเทศอยู่ในเกาะบอร์เนียว คือ มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย อยู่บริเวณใจกลางกลุ่มเกาะมลายูและประเทศอินโดนีเซีย ในทางภูมิศาสตร์ เกาะบอร์เนียวเป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และเกาะบอร์เนียว · ดูเพิ่มเติม »

เกาะลูซอน

ลูซอน (Luzon) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและมีความสำคัญทางเศรษฐกิจและการเมืองมากที่สุดของประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นหนึ่งในกลุ่มเกาะทั้งสามกลุ่มของประเทศ (อีกสองกลุ่มได้แก่ วีซายันและมินดาเนา) โดยกลุ่มเกาะลูซอน ได้แก่ ตัวเกาะลูซอนเอง รวมทั้งหมู่เกาะบาตันและหมู่เกาะบาบูยันทางทิศเหนือ และเกาะต่าง ๆ ทางทิศใต้ ได้แก่ เกาะกาตันดัวเนส เกาะมารินดูเก เกาะมัสบาเต เกาะรอมบลอน และเกาะมินโดโร เกาะลูซอนปรากฏในประวัติศาสตร์จีนในชื่อว่า "จักรวรรดิซ้องน้อย" (Lesser Song Empire) หรือ Lusong Kok จากนั้นนักสำรวจชาวโปรตุเกสได้บันทึกเกาะนี้ไว้ในแผนที่ของพวกเขาในชื่อ "ลูโซเนีย" (Luçonia) หรือ "ลูซอน" (Luçon) ชาวสเปนเข้ามาถึงเกาะนี้และอ้างกรรมสิทธิ์เพื่อครอบครองในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ภายใต้การปกครองของสเปน ลูซอนยังมีชื่อเรียกว่า นวยบากัสตียา (Nueva Castilla) หรือ นิวคาสตีล (New Castile) อีกด้วย ต่อมาในช่วงการปฏิวัติฟิลิปปินส์ เอมีลีโอ อากีนัลโดได้ประกาศเอกราชจากสเปนและจัดตั้งสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 1 ที่เกาะแห่งนี้ แต่หลังจากนั้นทั้งหมู่เกาะก็ตกไปอยู่ในการปกครองของสหรัฐอเมริกา จนกระทั่งเกาะลูซอนและเกาะอื่น ๆ ได้เอกราชอย่างสมบูรณ์อีกครั้งในปี ค.ศ. 1946 ลูซอน.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และเกาะลูซอน · ดูเพิ่มเติม »

เกาะเวก

กาะเวก (Wake Island) เป็นอาณานิคมของสหรัฐอเมริกาในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ มีพื้นทีทั้งหมด 6.5 ตารางกิโลเมตร มีสภาพพื้นที่เป็นเกาะปะการัง ใต้น้ำมีภูเขาไฟอยู่ด้วยและมีแนวปะการังรอบเกาะ เกาะเวกมีเพียงแค่บุคคลในราชการทหารสหรัฐเท่านั้นที่อาศัยอยู่ เกาะเวกมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจทางด้านอาหาร มีระบบโทรศัพท์ดินแดนโพ้นทะเล (OTS) มีสถานีวิทยุแต่ไม่สถานีโทรทัศน์ เกาะเวกมีสนามบินอยู่หนึ่งแห่งบนเกาะเวกแต่ไม่มีท่าเรือ เกาะเวกต่างจากบรรดาดินแดนอาณานิคมของสหรัฐในแปซิฟิกเหนือบางดินแดนเนื่องจากมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ อีกทั้งยังเคยเป็นสมรภูมิในสงครามโลกครั้งที่ 2 อีกด้ว.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และเกาะเวก · ดูเพิ่มเติม »

เอ็นเอชเค

มาคมแพร่ภาพกระจายเสียงแห่งประเทศญี่ปุ่น หรือ NHK เป็นองค์กรแพร่ภาพกระจายเสียงสาธารณะของของรัฐบาลญี่ปุ่น มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจที่อาศัยรายได้จากค่าธรรมเนียมใบอนุญาตรับชมโทรทัศน์จากผู้ชม เอ็นเอชเคมีบริการโทรทัศน์ภาคพื้นดินสองช่อง (ช่องทั่วไปและช่องเพื่อการศึกษา), โทรทัศน์ดาวเทียมอีกสองช่อง (ช่อง BS-1 และ BS Premium) และเครือข่ายวิทยุกระจายเสียงอีก 3 สถานีในญี่ปุ่น นอกจากนี้ เอ็นเอ็ชเคยังมีโทรทัศน์ช่องสากลที่มีชื่อว่า NHK World ประกอบด้วย บริการโทรทัศน์จำนวน 2 ช่องรายการ และบริการวิทยุคลื่นสั้น 1 สถานี นอกจากนี้ ยังมีเว็บไซต์เอ็นเอชเค ที่ให้บริการข้อมูลข่าวสาร และรายการต่างๆ ซึ่งเป็นอีกบริการหนึ่งเช่นกัน.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และเอ็นเอชเค · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554และ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »