โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย vs. สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px. ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา มี 12 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2549พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยากระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครภาคีสมาชิกราชบัณฑิตยสภาภูมิสถาปัตยกรรมราชบัณฑิตสิปปนนท์ เกตุทัตหม่อมหลวงปิ่น มาลากุลนายกรัฐมนตรีนิเทศศาสตร์

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2549และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · พ.ศ. 2549และสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา

ตราจารย์ ท่านผู้หญิง พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ไกรยง) (12 ตุลาคม พ.ศ. 2453 - 23 ตุลาคม พ.ศ. 2558) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เกิดในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรีของนายฮันส์ ไกรเยอร์ นักธุรกิจชาวเยอรมันและนางเจียม ไกรยง ข้าหลวงในพระราชวังสวนสุนันทา ขณะอายุ 3 ปีครึ่ง บิดามารดาได้นำไปถวายตัวกับสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง ได้รับพระราชทานชื่อ “พูนทรัพย์” แต่เนื่องจากยังเล็กมาก จึงทรงฝากให้สมเด็จเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ทรงเลี้ยงดูไปก่อน โดยโปรดให้นอนหน้าพระแท่นบรรทม จากนั้นได้เจริญวัยอยู่ในพระราชวังพญาไท เป็นเวลานานถึง 20 ปี และด้วยการอุปการะเลี้ยงดูอย่างดี ทำให้ท่านเป็นผู้ที่มีกิริยาวาจา เรียบร้อย สง่างาม ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ มีแววเฉลียวฉลาดตั้งแต่วัยเด็ก สมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร จึงทรงสนับสนุนให้ได้เรียนที่โรงเรียนราชินี เมื่อจบการศึกษาแล้ว ได้เข้าเรียนต่อในคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยสำเร็จเป็นอักษรศาสตร์บัณฑิตรุ่นแรก และได้รับราชการในสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ต่อมาได้รับทุนบาเบอร์ประเทศสหรัฐอเมริกาไปศึกษาต่อด้านจิตวิทยาการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน แล้วจึงโอนมารับราชการเป็นอาจารย์ประจำที่ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นอกจากนี้แล้วยังเป็นผู้ก่อตั้งทุนธนชาต และธนาคารนครหลวงไท.

พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยาและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยาและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงวัฒนธรรม (Ministry of Culture) เป็นกระทรวงที่มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับวัฒนธรรม ภาษา ศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณีอื่น.

กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)และสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · กรุงเทพมหานครและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

ภาคีสมาชิกราชบัณฑิตยสภา

ีสมาชิกราชบัณฑิตยสภา ผู้ทรงคุณวุฒิมีความรู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งที่อยู่ในหน้าที่ของราชบัณฑิตยสภา โดยมีจำนวนจำกัดได้ไม่เกิน 160 คน แบ่งเป็นสำนักต่าง ๆ คือ สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง 40 คน สำนักวิทยาศาสตร์ 80 คน และสำนักศิลปกรรม 40 คน.

ภาคีสมาชิกราชบัณฑิตยสภาและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ภาคีสมาชิกราชบัณฑิตยสภาและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิสถาปัตยกรรม

วนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ ตัวอย่างงานภูมิสถาปัตยกรรมประเภทสวนสาธารณะส่วนที่เป็นสวนแบบ "รูปนัย" ภูมิสถาปัตยกรรม (landscape architecture) อ่านออกเสียงว่า "พู-มิ-สะ-ถา-ปัด-ตะ-ยะ-กัม" เป็นศิลปะและวิทยาศาสตร์ว่าด้วยการออกแบบวางแผน การอนุรักษ์และจัดการพื้นที่ใช้สอยภายนอกอาคาร รวมทั้งพื้นที่บางส่วนภายในหรือบนดาดฟ้าอาคารเพื่อความผาสุก สวัสดิภาพและความปลอดภัยของประชาชน.

ภูมิสถาปัตยกรรมและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ภูมิสถาปัตยกรรมและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

ราชบัณฑิต

ราชบัณฑิต คือ "นักปราชญ์หลวง" ที่เป็นสมาชิกขององค์การวิทยาการของรัฐคือ ราชบัณฑิตยสภาโดยต้องเป็นผู้ที่มีเกียรติประวัติดีงาม ได้รับการยอมรับและการยกย่องจากผู้รู้ในศาสตร์สาขาเดียวแห่งตนและจากคนทั่วไป มีสัญชาติไทย อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปี ได้รับการคัดเลือกจากสภาราชบัณฑิตว่าเป็นผู้รู้ในสาขาวิชาใดสาขาหนึ่งที่มีกำหนดไว้ในราชบัณฑิตยสถาน เมื่อได้รับการคัดเลือกแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นราชบัณฑิตและจะได้รับค่าสมนาคุณเป็นรายเดือน.

ราชบัณฑิตและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ราชบัณฑิตและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

สิปปนนท์ เกตุทัต

ตราจารย์กิตติคุณ สิปปนนท์ เกตุทัต (23 กุมภาพันธ์ 2474 — 16 กรกฎาคม 2549) ราชบัณฑิตกิตตมศักดิ์ เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ทีมีคุณูปการต่อวงการศึกษา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม และการพัฒนาประเทศไทยในภาพรวม ท่านเป็นผู้บุกเบิกหลายสิ่งในประเทศ ที่เป็นรากฐานทำให้เกิดองค์กรและโครงการที่ช่วยในการยกระดับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การศึกษา ของประเทศมาโดยลำดับ ท่านมีผลงานเขียน ที่จุดประกายให้เยาวชนไทย และผู้บริหารการพัฒนาประเทศได้ใช้นำทางจำนวนมาก และในวาระที่ท่านดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ท่านได้กราบทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเพื่อนำเอา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย และเป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 เวลา 13:08 น. ที่โรงพยาบาลศิริราช ด้วยโรคมะเร็งในกระดูก รวมอายุ 75 ปี.

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสิปปนนท์ เกตุทัต · สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและสิปปนนท์ เกตุทัต · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล

ตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน.

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล · สำนักงานราชบัณฑิตยสภาและหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

นายกรัฐมนตรีและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · นายกรัฐมนตรีและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

นิเทศศาสตร์

นิเทศศาสตร์ (อังกฤษ: Communication Arts) หมายถึง ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับศิลปะในการสื่อสาร โดยให้ความสำคัญกับการสื่อสาร จากองค์ประกอบของการสื่อสาร กล่าวคือ ผู้ส่งสาร สาร สื่อ และผู้รับสาร ซึ่งผู้ส่งสารอาจเป็นตัวบุคคล องค์กร หรือบริษัทก็ได้ ข่าวสารจะต้องเป็นเนื้อหาสาระที่ผู้ส่งต้องการที่จะกระจายให้ประชาชนได้รับทราบ สื่อหรือช่องทาง เป็นการหาวิธีการกระจายข่าวสารต่างๆ ไปสู่กลุ่มเป้าหมายให้ได้มาก และกว้างไกล ตามวัตถุประสงค์ของผู้ส่ง และผู้รับสาร หรือกลุ่มป้าหมาย จะต้องสามารถรับข่าวสารนั้นได้ โดยผู้ส่งสารจะต้องหาวิธีการทำให้ข่าวสารที่ส่งไป ถึงผู้รับสารได้มากที่สุด พลตรีพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ประทานความหมายของ "นิเทศศาสตร์" ไว้ว่า "เป็นวิชาสื่อสารไปยังมวลชนโดยทางใดก็ตาม ไม่จำเพาะทางหนังสือพิมพ์ เช่น การสื่อสารทางการละครก็เข้าไปอยู่ในนิเทศศาสตร์ การสื่อสารมวลชนทางอื่นนอกจากทางหนังสือพิมพ์ เช่น ทางวิทยุ ทางโทรทัศน์ ก็เข้าอยู่ในนิเทศศาสตร์".

นิเทศศาสตร์และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · นิเทศศาสตร์และสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี 957 ความสัมพันธ์ขณะที่ สำนักงานราชบัณฑิตยสภา มี 159 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 12, ดัชนี Jaccard คือ 1.08% = 12 / (957 + 159)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »