เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ดัชนี รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.

สารบัญ

  1. 854 ความสัมพันธ์: บรรจง ปิสัญธนะกูลบรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัยบรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่นชรินรัตน์ พุทธปวนชลิตา เฟื่องอารมย์บวรศักดิ์ อุวรรณโณชอุ่ม ประเสริฐสกุลชัชชาติ สิทธิพันธุ์ชัย มุกตพันธุ์ชัยชน โลว์เจริญกูลชัยพล จูเลี่ยน พูพาร์ตชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ชัยอนันต์ สมุทวณิชชัยเกษม นิติสิริบัณฑิต จุลาสัยชาญชัย กายสิทธิ์ชายบางกอกแอร์เวย์บางจาก คอร์ปอเรชันบุญช่วย ศรีสารคามบุญยอด สุขถิ่นไทยบุญรอด บิณฑสันต์บุญคลี ปลั่งศิริบุษกร หงษ์มานพชูการ์ อายส์ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุลบดี จุณณานนท์ชนาธิป ซ้อนขำชนิสาร์ บังคมเนตรช่อฟ้า เหล่าอารยะช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีช่องวันช่างภาพบ้านพิพิธภัณฑ์บ้านปูบ้านและสวนบ้านใร่กาแฟฟลัวร์ฟองสนาน จามรจันทร์พ.ศ. 2459พ.ศ. 2495พ.ศ. 2535พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พ.ศ. 2554พชร จิราธิวัฒน์พรรณชื่น รื่นศิริพรรคพลังคนกีฬาพรรคการเมืองพรรครักษ์สันติ... ขยายดัชนี (804 มากกว่า) »

  2. บุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  3. รายชื่อบุคคลแบ่งตามสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

บรรจง ปิสัญธนะกูล

รรจง ปิสัญธนะกูลหรือ โต้ง เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทยที่โด่งดังจากภาพยนตร์เรื่อง ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณที่เขาร่วมงานกับภาคภูมิ วงศ์ภูมิ ซึ่งเป็นผลงานที่แจ้งเกิดบรรจงในฐานะผู้กำกับภาพยนตร์สยองขวัญหน้าใหม่ของไทยเนื่องภาพยนตร์เรื่อง ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณทำรายได้มากถึง 120 ล้านบาท ทำให้บรรจงและภาคภูมิก้าวสู่วงการหนังสยองขวัญอย่างเต็มตัว หลังจากนั้นบรรจงได้มีภาพยนตร์สยองขัวญอีกมากมายที่เขาร่วมกำกับได้แก่ แฝด สี่แพร่งตอนคนกลาง ห้าแพร่งตอนคนกอง ซึ่งแต่ละเรื่องล้วนทำรายได้มากมายทั้งสิ้น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบรรจง ปิสัญธนะกูล

บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย

รองศาสตราจารย์ บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช อดีตหัวหน้าพรรคถิ่นไทย อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหญิง (ในสมัย ดร.พิจิตต รัตตกุล) และในสมัยนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน โดยเข้ารับตำแหน่งรองผู้ว่าฝ่ายโยธาครั้งที่สอง แทน ดร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย

บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น

ริษัท บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น จำกัด เป็นบริษัทผลิตรายการโทรทัศน์ โดยปัจจุบันผลิตรายการประเภทละครโทรทัศน์เป็นหลัก ก่อตั้งโดยคุณ อรุโณชา ภาณุพันธุ์ อดีตผู้กำกับรายการของสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เมื่อปลายปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น

ชรินรัตน์ พุทธปวน

รองศาสตราจารย์ ดร.ชรินรัตน์ พุทธปวน (21 สิงหาคม พ.ศ. 2496 -) เดิมชื่อ "สาคร พุทธปวน" เป็นบุตรของพ่อหลวงอินสนธิ์ กับแม่แปง พุทธปวน เป็นชาวจังหวัดลำพูนโดยกำเนิด เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคไทยรักไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชรินรัตน์ พุทธปวน

ชลิตา เฟื่องอารมย์

ลิตา เฟื่องอารมย์ เป็นนักแสดงและพิธีกรสาวชาวไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชลิตา เฟื่องอารมย์

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ

ตราจารย์กิตติคุณ บวรศักดิ์ อุวรรณโณ (19 ตุลาคม พ.ศ. 2497 —) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประธานกรรมการคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย ประธานคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบวรศักดิ์ อุวรรณโณ

ชอุ่ม ประเสริฐสกุล

ตราจารย์กิตติคุณ ชอุ่ม ประเสริฐสกุล เป็นอาจารย์ทางด้านการถ่ายภาพ และนักถ่ายภาพที่มีชื่อเสียงของไทย มีภูมิลำเนาเดิมอยู่จังหวัดจันทบุรี ท่านเคยเล่าให้ฟังว่าบ้านของท่านติดอยู่กับร้านถ่ายภาพของชาวญี่ปุ่นที่มาเปิดร้านถ่ายภาพในจังหวัดจันทบุรี (เมื่อญี่ปุ่นยกทัพผ่านไทย เจ้าของร้านถ่ายรูปกลายเป็นนายทหารญี่ปุ่น) ท่านได้รับความรู้เรื่องการถ่ายภาพและเห็นวิธีการทำงานส่วนต่าง ๆ ของการถ่ายภาพ จากร้านถ่ายภาพของชาวญี่ปุ่นนี้ เช่น วิธีการอัดรูปด้วยการใช้แสงแดด และสิ่งที่เห็นจากร้านถ่ายภาพนั้นเป็นแรงบันดาลใจให้ท่านสนใจศึกษาการ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชอุ่ม ประเสริฐสกุล

ชัชชาติ สิทธิพันธุ์

รองศาสตราจารย์ ชัชชาติ สิทธิพันธุ์ (ชื่อเล่น: ทริป; เกิด: 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2509) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการ บริษัท ควอลิตีเฮาส์ จำกัด (มหาชน) อดีตรัฐมนตรีว่าการ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตผู้ช่วยอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการ บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน).

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชัชชาติ สิทธิพันธุ์

ชัย มุกตพันธุ์

ตราจารย์ ชัย มุกตพันธุ์ (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2460-25 พฤษภาคม พ.ศ. 2530) เป็นนักวิชาการชาวไทยซึ่งได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งวิชาปฐพีกลศาสตร์แห่งประเทศไทย ในอดีตเป็นเลขาธิการราชบัณฑิตยสถาน อธิบดีกรมอาชีวศึกษา คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลงานสำคัญชิ้นหนึ่งคือ ร่วมเป็นผู้แทนของประเทศไทยในการก่อตั้ง บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร.ป.อ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชัย มุกตพันธุ์

ชัยชน โลว์เจริญกูล

รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ชัยชน โลว์เจริญกูล เป็นอดีตหัวหน้าสาขาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชัยชน โลว์เจริญกูล

ชัยพล จูเลี่ยน พูพาร์ต

ัยพล จูเลี่ยน พูพาร์ต เป็น นักแสดงชาวไทย ที่มีเชื้อสายไทย-เบลเยียม สังกัด สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชัยพล จูเลี่ยน พูพาร์ต

ชัยวุฒิ บรรณวัฒน์

นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์(ภาคเหนือ) และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก หลายสมั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชัยวุฒิ บรรณวัฒน์

ชัยอนันต์ สมุทวณิช

ตราจารย์ ชัยอนันต์ สมุทวณิช สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ อดีตประธานกรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เกิดวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชัยอนันต์ สมุทวณิช

ชัยเกษม นิติสิริ

ตราจารย์พิเศษ ชัยเกษม นิติสิริ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตอัยการสูงสุด อดีตอัยการอาวุโส (ที่ปรึกษาอัยการสูงสุด) สำนักงานอัยการสูงสุด ประธานกรรมการ คณะกรรมการกำกับตลาดหลักทรัพย์หลักประเทศไทย ประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารสถาบันเพื่อความยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) กรรมการและประธานกรรมการบริหารธนาคารอาคารสงเคราะห์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยเนชั่น กรรมการสภามหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น กรรมการสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)อดีตกรรมการการรถไฟแห่งประเทศไทย อดีตกรรมการบริษัทปตท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชัยเกษม นิติสิริ

บัณฑิต จุลาสัย

ตราจารย์ ดร.บัณฑิต จุลาสัย ศาสตราจารย์ ดร.บัณฑิต จุลาสัย เกิดเมื่อวันที่ 28 มีนาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบัณฑิต จุลาสัย

ชาญชัย กายสิทธิ์

ญชัย กายสิทธิ์ (ชื่อเล่น: โก้) เป็นผู้ดำเนินรายการ โชว์ข่าวเช้านี้ เวลา 05.30-08.00 ทุกวันจันทร์-ศุกร์ คู่กับ ปราย ธนาอัมพุช และเป็นอดีตผู้ดำเนินรายการข่าววันใหม่ ช่วงตระเวนข่าว วันจันทร์-วันศุกร์ และ ข่าววันใหม่สุดสัปดาห์วันเสาร์-วันอาทิตย์ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชาญชัย กายสิทธิ์

ชาย

อาจหมายถึง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชาย

บางกอกแอร์เวย์

การบินบางกอกแอร์เวย์ เป็นสายการบินเชิงพาณิชย์ ดำเนินงานโดย บริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด ซึ่งเริ่มดำเนินงานกิจการด้านการบินเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบางกอกแอร์เวย์

บางจาก คอร์ปอเรชัน

ริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) (Bangchak Corporation Public Company Limited ชื่อย่อ: บางจาก, BCP) (ชื่อเดิมคือ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) (Bangchak Petroleum Public Company Limited))เป็นบริษัทมหาชนในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบางจาก คอร์ปอเรชัน

บุญช่วย ศรีสารคาม

นายบุญช่วย ศรีสารคาม (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2474 - 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2553) อดีตอธิบดีกรมราชทัณฑ์ อดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทย และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดประจวบคีรีขันธ์,ขอนแก่น, อุบลราชธานี, ชลบุรี, และจันทบุรี.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบุญช่วย ศรีสารคาม

บุญยอด สุขถิ่นไทย

ญยอด สุขถิ่นไทย เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตผู้ประกาศข่าว และอดีตนักจัดรายการวิทยุชาวไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบุญยอด สุขถิ่นไทย

บุญรอด บิณฑสันต์

ตราจารย์ ร้อยเอก บุญรอด บิณฑสันต์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐคนแรกของประเทศไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ อดีตเลขาธิการสำนักงานพลังงานแห่งชาติ และเป็นอดีตประธานมูลนิธินิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบุญรอด บิณฑสันต์

บุญคลี ปลั่งศิริ

ญคลี ปลั่งศิริ อดีตประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บูญคลี ปลั่งศิริ อดีตประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เป็นผู้บริหารระดับสูง ที่ถูกยกย่องให้เป็นผู้บริหารที่อยู่แถวหน้าของไทย การวิเคราะห์แต่ละอย่างได้ลงในหนังสือพิมพ์อยู่บ่อยครั้ง เป็นผู้ที่ปรับเปลี่ยน บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ให้กลายมาเป็น Conglomerate รายใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ในช่วงการดูแลกิจการของ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ได้ขยายงานออกไปสายธุรกิจอื่น เช่น สถานีโทรทัศน์ไอทีวี, แอร์เอเชีย, Capital OK, Shinee.com และอื่น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบุญคลี ปลั่งศิริ

บุษกร หงษ์มานพ

ษกร หงษ์มานพ (สกุลเดิม: ตันติภนา; 7 ธันวาคม พ.ศ. 2531) ชื่อเล่น เอ้ก เป็นนักแสดง, นักร้อง, นางแบบ และพิธีกรรายการโทรทัศน์ประจำสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบุษกร หงษ์มานพ

ชูการ์ อายส์

ูการ์ อายส์ (Sugar Eyes) เป็นนักร้องกลุ่มหญิง กลุ่มแรกในสังกัด โซนี่ มิวสิก เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ คำว่า ชูการ์ อายส์ (Sugar Eyes) คือตัวอักษร S ย่อมาจากบุคลิกลักษณะของพวกเธอ แพรวา Smarty (สาวเท่) พิกเล็ท Stylish (สาวสไตล์ลิส) ดาร์ลิ่ง Sweety (สาวหวาน) นิต้า Street Chic (สาวเก๋) และ คุกกี้ Sporty (สาวสปอร์ต) ปัจจุบัน Sugar eyes ได้แยกวงต่างคนต่างมีผลงาน โดยนิต้า ผันตัวไปเป็นศิลปินเดี่ยว พิกเล็ต ได้ร่วมแสดงซีรีส์ทางช่อง จีเอ็มเอ็ม 25.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชูการ์ อายส์

ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล

ูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล (มะเดี่ยว) เกิดเมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2524 ที่จังหวัดเชียงใหม่ จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย ระดับอุดมศึกษาจาก คณะนิเทศศาสตร์ ภาควิชาภาพยนตร์และภาพนิ่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีผลงานกำกับภาพยนตร์เรื่อง “คน ผี ปีศาจ” “13 เกมสยอง” (13 Beloved) “รักแห่งสยาม” และ "Home ความรัก ความสุข ความทรงจำ".

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล

บดี จุณณานนท์

ี จุณณานนท์ (30 สิงหาคม พ.ศ. 2478 —) ประธานกรรมการบริหาร บริษัท พุทธธรรมประกันภัย จำกัด (มหาชน) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลของนายบรรหาร ศิลปอาชา และอดีตผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ กระทรวงการคลัง เป็นที่รู้จักในฐานะที่เป็นผู้อำนวยการสำนักงบประมาณที่ครองตำแหน่งอยู่นานที่สุด และยังเคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการคณะรัฐมนตรี.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบดี จุณณานนท์

ชนาธิป ซ้อนขำ

ร้อยตรีหญิง ชนาธิป ซ้อนขำ เกิดวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2534 เป็นนักเทควันโดหญิงชาวไทย ซึ่งเข้าร่วมแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 รุ่นน้ำหนักไม่เกิน 49 กิโลกรัม และได้รับเหรียญทองแดงจากการแข่งขันดังกล่าว โดยเป็นฝ่ายชนะนักเทควันโดจากประเทศกัวเตมาลาที่ 8-0 คะแนน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชนาธิป ซ้อนขำ

ชนิสาร์ บังคมเนตร

นิสาร์ บังคมเนตร เกิดเมื่อวันอังคารที่ 22 สิงหาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชนิสาร์ บังคมเนตร

ช่อฟ้า เหล่าอารยะ

อฟ้า เหล่าอารยะ (สกุลเดิม: เกตุเรืองโรจน์) หรือชื่อเล่นว่า ปูน เกิดเมื่อ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2529 ผู้ประกาศข่าวทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและช่อฟ้า เหล่าอารยะ

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

ช่องวัน

นีโทรทัศน์ช่องวัน 31 (One 31; ชื่อเดิม: จีเอ็มเอ็มวัน GMM One) เป็นช่องโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ภาพคมชัดสูง (HDTV) บริหารงานโดยบริษัท จีเอ็มเอ็มวัน ทีวี จำกัด และมีถกลเกียรติ วีรวรรณเป็นผู้อำนวยการ เป็นช่องโทรทัศน์ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เช่นเดียวกับจีเอ็มเอ็ม 25.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและช่องวัน

ช่างภาพ

งภาพ หรือ ช่างถ่ายภาพ คือบุคคลที่มีความชำนาญในการถ่ายภาพโดยใช้กล้อง อาจจัดได้ว่าเป็นศิลปิน เนื่องจากช่างภาพสามารถจัดวางองค์ประกอบ (composition) ที่จะปรากฏในรูปภาพก่อนลงมือถ่าย คล้ายกับวิธีของศิลปินวาดภาพทั่วไป ช่างภาพจำเป็นต้องเข้าใจแสงและองค์ประกอบจึงจะสามารถถ่ายภาพออกมาได้อย่างสมบูรณ์แบบและสวยงามได้ ซึ่งจะเกี่ยวกับทฤษฎีของแสงในฟิสิกส์โดยตรง แต่ช่างภาพนำคุณสมบัติของแสงมาประยุกต์ใช้ให้เป็นศิลปะได้ อาจมีวิธีในการนำเสนองานของตนที่แตกต่างกันไปตามความคิดและจินตนาการของตน ซึ่งผลงานนั้นอาจไม่ถูกต้องหรือสวยงามตามมุมมองของคนทั่วไป.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและช่างภาพ

บ้านพิพิธภัณฑ์

ตั้งอยู่ที่บ้านเลขที่ 170/17 หมู่ที่ 17 ซอยศาลาธรรมสพน์ 3 ถนนศาลาธรรมสพน์ (ถนนเล็ก ต่อจากปลายถนนพุทธมณฑลสาย 2 ด้านทางรถไฟ) เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10170 เป็นสถานที่รวบรวมและจัดแสดงข้าวของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันของชาวบ้านชาวเมืองราวยุค 2500 ในรูปแบบของเรือนร้านย่านตลาด กิจการบ้านพิพิธภัณฑ์เป็นกิจการเพื่อสาธารณประโยชน์ โดยได้รับความอนุเคราะห์สนับสนุนจากประชาชนและองค์กรต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ ที่ดินและอาคารหลักได้จากการบริจาค สิ่งของที่จัดแสดงส่วนใหญ่ได้ก็จากการบริจาค บ้านพิพิธภัณฑ์เปิดให้ประชาชนเข้าศึกษาเยี่ยมชมเป็นครั้งแรกเมื่อวันเสาร์ที่ 14 กรกฎาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบ้านพิพิธภัณฑ์

บ้านปู

ริษัท บ้านปู จำกัด (มหาชน) (BANPU PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:BANPU) เป็นผู้บุกเบิกด้านพลังงานชั้นแนวหน้าของเอเชีย ดำเนินธุรกิจถ่านหิน ธุรกิจไฟฟ้า และพลังงานที่เกี่ยวเนื่องอย่างครบวงจร ทั้งในและต่างประเทศมากว่า 30 ปี ในด้านการลงทุน สำรวจ พัฒนา และดำเนินการผลิตถ่านหินประเภทให้ความร้อน (Thermal Coal) ตลอดจนถ่านหินคุณภาพสูงสำหรับอุตสาหกรรมถลุงเหล็ก (Coking Coal) มีความเชี่ยวชาญทางด้านเหมืองถ่านหินแบบเปิดและเหมืองใต้ดิน อีกทั้งบริษัทฯ มีความเชี่ยวชาญในธุรกิจพลังงานในการสร้างการผลิตกระแสไฟฟ้าอย่างยั่งยืน ซึ่งรวมถึงการพัฒนา Smart Energy Solution เพื่อเสริมความมั่นคงทางด้านพลังงานในอนาคต ปัจจุบันบริษัทฯ มีฐานธุรกิจใน 9 ประเทศ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย จีน ออสเตรเลีย ลาว มองโกเลีย สิงคโปร์ ญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริก.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบ้านปู

บ้านและสวน

นิตยสารบ้านและสวน เป็นนิตยสารรายเดือนในเครือ บจม.อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง มีเนื้อหาเกี่ยวกับการตกแต่งบ้านและการจัดสวน ฉบับแรกได้วางจำหน่ายเมื่อเดือนกันยายน ปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบ้านและสวน

บ้านใร่กาแฟ

้านใร่กาแฟ เป็นร้านกาแฟที่เปิดตามสถานีบริการน้ำมัน เส้นทางสายต่างๆของ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคใต้ โดยเปิดครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบ้านใร่กาแฟ

ฟลัวร์

ฟลัวร์ (Flure) เป็นวงดนตรีแนวร็อก สังกัดค่ายเบเกอรี่มิวสิก ในเครือโซนี่มิวสิก ประเทศไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและฟลัวร์

ฟองสนาน จามรจันทร์

ฟองสนาน จามรจันทร์ ฟองสนาน จามรจันทร์ อดีตนักจัดรายการวิทยุของกรมประชาสัมพันธ์ สังกัดสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย (เอ็นบีที) จัดเป็นสื่อมวลชนฝีปากกล้าที่ถูกอำนาจรัฐคุกคาม ปัจจุบันเป็นนักจัดการวิทยุและสื่อมวลชนอิสระ รวมถึงเป็นนักโหราศาสตร์สมัครเล่นอีกด้วย ฟองสนาน เกิดเมื่อปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและฟองสนาน จามรจันทร์

พ.ศ. 2459

ทธศักราช 2459 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1916 เป็นปีอธิกสุรทินแรกของไทย ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2459

พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2495

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2535

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2549

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2550

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2554

พชร จิราธิวัฒน์

ร จิราธิวัฒน์ (เกิด 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2536) ชื่อเล่น พีช เป็นนักร้อง นักแสดง นายแบบ และ นักดนตรีชาวไทย มีชื่อเสียงมาจากบท คุ้ง และ เค ในภาพยนตร์เรื่อง ซักซี้ด ห่วยขั้นเทพ มีผลงานเพลงร่วมกับกลุ่มเพื่อนในนามวงรูฟท็อป โดยเขาอยู่ในตำแหน่งมือคีย์บอร์ดและกีต้าร์ ปัจจุบันเป็นนักร้องนำร่วมกับ บีม ภากร มุสิกบุญเลิศ ในนามของ วงไวท์โรส (WHITE ROSE) มีสไตล์เพลงแนวอิเลคทรอนิคร็อค สังกัดค่ายสไปซีดิสก์ (SPICY DISC).

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพชร จิราธิวัฒน์

พรรณชื่น รื่นศิริ

ณหญิง พรรณชื่น รื่นศิริ (7 เมษายน พ.ศ. 2472 — 4 ตุลาคม พ.ศ. 2551) อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) และประธานมูลนิธิคุณหญิงพรรณชื่น รื่นศิร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพรรณชื่น รื่นศิริ

พรรคพลังคนกีฬา

รรคพลังคนกีฬา (Sport Party of Thailand ตัวย่อ: S.P.O.T. พ.ก.) เป็นพรรคการเมืองไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2552 โดยมีนายวนัสธนา สัจจกุล เป็นหัวหน้าพรรค และนายวิรุณ เกิดชูกุล เป็นเลขาธิการพรรค โดยมีนโยบายหลักเพื่อพัฒนาวงการกีฬาและสร้างความสามัคคีของคนในชาต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพรรคพลังคนกีฬา

พรรคการเมือง

รรคการเมือง เรียกย่อว่า พรรค คือองค์กรทางการเมืองที่รวมบุคคลที่มีอุดมการณ์เดียวกัน นั่นคือมีแนวความคิดทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ แบบเดียวกันหรือคล้ายคลึงกัน เพื่อส่งบุคคลเข้ารับเลือกตั้ง เพื่อให้ได้เสียงข้างมากในรัฐสภาและจัดตั้งรัฐบาลเข้ามาบริหารประเทศตามแนวความคิดหรือนโยบายที่สอดคล้องกับอุดมการณ์ของกลุ่ม ลักษณะสำคัญที่สุดที่ทำให้พรรคการเมืองมีลักษณะแตกต่างจากกลุ่มทางการเมืองอื่น ๆ ก็คือ พรรคการเมืองจะต้องมีความปรารถนาหรือต้องการที่จะเป็นรัฐบาล เพื่อจะได้มีโอกาสนำนโยบายของพรรคไปปฏิบัติจริง ในระบอบรัฐสภา พรรคการเมืองส่วนใหญ่จะมีผู้นำ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วถ้าพรรคการเมืองนั้นได้รับเสียงข้างมาก จะรับหน้าที่เป็นผู้นำรัฐบาล ขณะที่ในระบอบประธานาธิบดี พรรคการเมืองอาจไม่มีผู้นำที่ชัดเจน โดยเฉพาะในระบบการเมืองที่มีการแยกอำนาจโดยสมบูรณ์ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย พรรคการเมืองจะเป็นสถาบันทางการเมืองที่มีความสำคัญมากและขาดไม่ได้ในกระบวนการปกครอง เพราะการปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นการปกครองที่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองและมีอิทธิพลเหนือรัฐบาล โดยผ่านทางสภาผู้แทนราษฎร ๑)ความหมายของพรรคการเมือง หมายถึง กลุ่มบุคคลที่มีความคิดและผลประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองที่คล้ายคลึงกัน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพรรคการเมือง

พรรครักษ์สันติ

รรครักษ์สันติ (Rak Santi Party) เป็นพรรคการเมืองไทยที่ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2554 โดยมีศาสตราจารย์ ร้อยตำรวจเอก ดร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพรรครักษ์สันติ

พรรคถิ่นไทย

รรคถิ่นไทย (Thai Motherland Party) เป็นพรรคการเมืองที่ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2543 โดยมีรองศาสตราจารย์ บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก และมีนายอัศวิน อภัยวงศ์ เป็นเลขาธิการพรรค ต่อมาเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพรรคถิ่นไทย

พรรคความหวังใหม่

ัญลักษณ์พรรคความหวังใหม่แบบเดิม พรรคความหวังใหม่ (New Aspiration Party; ย่อว่า ควม.) เป็นพรรคการเมืองหนึ่งในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับประเทศระหว่างปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพรรคความหวังใหม่

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพรรคประชาธิปัตย์

พรรคนำไทย

รรคนำไทย เป็นพรรคการเมืองไทยที่ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2537 โดย ดร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพรรคนำไทย

พรรคไทยรักไทย

รรคไทยรักไทย จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 เป็นพรรคการเมืองแรกที่ก่อตั้งขึ้นภายใต้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้ง 23 คน นำโดย ดร.ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันพรรคไทยรักไทย ถูกยุบตามคำวินิจฉัยใน คดียุบพรรค มีหัวหน้าพรรคคนสุดท้ายคือ จาตุรนต์ ฉายแสง พรรคไทยรักไทยมีสมาชิกพรรคที่แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมือง ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพรรคไทยรักไทย

พรรคเพื่อไทย

รรคเพื่อไทย (ย่อว่า: พท. Pheu Thai Party) จดทะเบียนจัดตั้ง เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550 โดยมี นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก และ นายโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก สำนักงานใหญ่ของพรรค ตั้งอยู่ที่ 1770 อาคารไอเอฟซีที ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10310 ซึ่งเป็นที่ทำการเดิมของพรรคไทยรักไทย และพรรคพลังประชาชน (ย้ายมาจากอาคารนวสร ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร และ 626 อาคาร บีบีดี บิลดิง ซอยจินดาถวิล ถนนพระรามที่ 4 แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500) และสำนักงานสาขาพรรคแห่งแรก ตั้งอยู่ที่จังหวัดพิจิตร ซึ่งเป็นสาขาพรรคพลังประชาชนเดิม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพรรคเพื่อไทย

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)

ตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน (14 ธันวาคม พ.ศ. 2431 - 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2512) นักปราชญ์และนักการศึกษาคนสำคัญของไทย ผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรมและเป็นหนึ่งในบุคคลสำคัญของโลกชาวไทย ประจำปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร

ตราจารย์พิเศษ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร (12 สิงหาคม พ.ศ. 2458 - 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2524) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล ประสูติเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์

ันโทหญิง พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์ (ประสูติ: 8 มกราคม พ.ศ. 2530) เป็นนักกีฬาขี่ม้า, นักออกแบบเสื้อ และอดีตนักกีฬาแบตมินตันทีมชาติชาวไทย เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ประสูติแต่สุจาริณี วิวัชรวงศ์ (หรือยุวธิดา ผลประเสริฐ) อดีตนักแสดง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์

พรปวีณ์ นีระสิงห์

รปวีณ์ นีระสิงห์ เป็นหนึ่งในสมาชิกของวง เฟย์ ฟาง แก้ว เกิร์ลกรุ๊ปค่ายกามิกาเซ่ ในเครืออาร์เอส เฟย์เป็นน้องสาวของ ฟาง-ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ ซึ่งเป็นสมาชิกวงเฟย์ ฟาง แก้ว เช่นเดียวกับเฟย์ เฟย์เกิดเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพรปวีณ์ นีระสิงห์

พฤกษา เรียลเอสเตท

ริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จำกัด (มหาชน) (PRUKSA REAL ESTATE PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:PS) เป็นบริษัทผู้ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นโดย ทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์ เมื่อวันที่ 20 เมษายน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพฤกษา เรียลเอสเตท

พลอย จินดาโชติ

ลอย จินดาโชติ (เกิด 1 ธันวาคม พ.ศ. 2525) เป็นนักแสดงและพิธีกรหญิงชาวไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพลอย จินดาโชติ

พลากร สุวรรณรัฐ

นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี เกิดเมื่อ พ.ศ. 2491 เป็นบุตรของนายพ่วง สุวรรณรัฐ อดีตปลัดและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และหม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ (ราชสกุลเดิมทองแถม บุตรีหม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม) สมรสกับท่านผู้หญิงทัศนียา สุวรรณรัฐ นายพลากร สุวรรณรัฐ มีพี่น้องร่วมบิดามารดา ดังนี้.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพลากร สุวรรณรัฐ

พัชรศรี เบญจมาศ

ัชรศรี เบญจมาศ (ชื่อเล่น: แมร์) หรือ กาละแมร์ เป็นทั้งพิธีกร ผู้ประกาศ และเป็นคอลัมนิสต์ให้กับนิตยสาร มติชนสุดสัปดาห์ Cleo และ chicmistry.com ในข้อ Good Girl Living in sin ก่อนหน้านั้นเธอเคยเขียนให้กับ เนชั่นสุดสัปดาห์ มาร์ ดีมานด์ ลิซ่า discazine และ i-mono อีกด้วย และยังได้เป็นนักแสดงแสดงภาพยนตร์เรื่อง แก๊งชะนีกับอีแอบ ร่วมกับเพื่อนพิธีกรรายการผู้หญิงถึงผู้หญิง และ ปุณยวีร์ สุขกุลวรเศรษฐ์ พัชรศรีเกิดที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพัชรศรี เบญจมาศ

พัณณิดา ภูมิวัฒน์

'''พัณณิดา ภูมิวัฒน์''' พัณณิดา ภูมิวัฒน์ เป็นนักเขียนไทย ซึ่งมีผลงานที่ได้รับความนิยมและการยอมรับในวงกว้างเป็นจำนวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่มักจะเป็นนวนิยายแนวแฟนตาซี และไซ-ไฟ โดยใช้นามปากกาทางอินเทอร์เน็ตว่า ลวิตร์(เคียว) ผลงานของเธอเรื่องหนึ่งที่รู้จักกันแพร่หลาย คือ ไมรอน เคยได้รับการส่งชื่อเข้าประกวดชิงรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน ประจำปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพัณณิดา ภูมิวัฒน์

พันธ์เลิศ ใบหยก

ันธ์เลิศ ใบหยก ประธานกรรมการเครือโรงแรมใบหยก เจ้าของตึกใบหยก 2 และอดีตรองเลขาธิการพรรคไทยรักไทยคนแรก (ชุดจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมือง).

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพันธ์เลิศ ใบหยก

พาราด็อกซ์

leftพาราด็อกซ์ (Paradox) เป็นวงดนตรีชาวไทย เริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ. 2537 โดยกลุ่มนิสิตจากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวงที่มีเอกลักษณ์ทางการแสดงสด โดยจะมีการแสดงประกอบการเล่นดนตรี เช่น พ่นไฟ, สาดน้ำ, โยนลูกโป่งใส่คนดู ซึ่งแสดงโดยฝ่ายในวงที่เรียกว่า "โจ๊กเกอร์-ว้ากเกอร์" รับเชิญหลายคน โดยโจ๊กเกอร์-ว้ากเกอร์หลักของทางวงคือ อ๊อฟและเก่ง จะทำหน้าที่ร้องประสานเสียงบนเวทีให้อีกด้ว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพาราด็อกซ์

พิชญทัฬห์ จันทร์พุฒ

ญทัฬห์ จันทร์พุฒ (พิดชะยะทัน จันพุด) (ชื่อเล่น: ไบรท์) เกิด 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2526) เป็นผู้ประกาศข่าว และ พิธีกร มีผลงานที่โดดเด่นจากการประกาศข่าว เรื่องเล่าเช้านี้ ทาง ช่อง 3 คู่กับ สรยุทธ สุทัศนะจินดา โดยรับหน้าที่นี้ต่อจาก กฤติกา ขอไพบูล.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพิชญทัฬห์ จันทร์พุฒ

พิชัย วาศนาส่ง

ัย วาศนาส่ง (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2472 — 8 เมษายน พ.ศ. 2555) เป็นอดีตสถาปนิก นักเขียน นักวิเคราะห์สถานการณ์ข่าวต่างประเทศ ผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรีคลาสสิก รวมถึงเป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภา และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพิชัย วาศนาส่ง

พิพัฒน์ วิทยาปัญญานนท์

ัฒน์ วิทยาปัญญานนท์ (เกิดวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2524) เป็นพิธีกรรายการเด็ก True Spark ในเคเบิลทีวี ยูบีซีคิดส์ นอกจากนี้ยังเป็นนักแสดง จากละครทางโทรทัศน์เรื่อง "โคกคูนตระกูลไข่" และ"กลรักเกมส์พยาบาท" เป็นดีเจ คลื่น Cool 93 Fahrenheit วันจันทร์-ศุกร์ 9 โมงเช้า ถึง เที่ยงตรง พิธีกรรายการสารคดี "ฉลาดล้ำโลก" ทางโทรทัศน์ช่องโมเดิร์นไนน์ทีวี และเจ้าของโรงเรียนสอนศิลปะเด็ก "อาร์ตมอนสเตอร์" (Artmonster) พิพัฒน์เป็นศิษย์เก่าจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จบการศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้วยเกียรตินิยมอันดับ 2.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพิพัฒน์ วิทยาปัญญานนท์

พิมพ์เพ็ญ เวชชาชีวะ

รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์หญิง พิมพ์เพ็ญ เวชชาชีวะ (สกุลเดิม: ศกุนตาภัย; เกิด: 5 สิงหาคม พ.ศ. 2507) อาจารย์ประจำภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภรรยาอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีคนที่ 27 ของประเทศไทย และหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพิมพ์เพ็ญ เวชชาชีวะ

พิมดาว พานิชสมัย

ร้อยโทหญิงพิมดาว พานิชสมัย หรือ มัดหมี่ เป็นนักแสดง นักร้องหญิงชาวไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพิมดาว พานิชสมัย

พิมประภา ตั้งประภาพร

มประภา ตั้งประภาพร ชื่อเล่น พิม เกิดเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2535 เป็นนักร้อง นักแสดง และนางแบบชาวไทย เริ่มเป็นที่รู้จักจากการเป็นนักร้องวง ชิลลี่ไวท์ช็อค และ สวีต ดี รวมทั้งเป็นที่รู้จักมากขึ้นจากผลงานละครเรื่อง กาลครั้งหนึ่งในหัวใ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพิมประภา ตั้งประภาพร

พิจิตต รัตตกุล

ตต รัตตกุล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 90/2557 อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดกรุงเทพมหานคร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยนวมินทราธิร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพิจิตต รัตตกุล

พุทธชาด พงศ์สุชาติ

ทธชาด พงศ์สุชาติ หรือ ตุ๊ยตุ่ย นักแสดง พิธีกร และดีเจ เป็นหญิงสาวที่มีความสามารถหลากหลาย บุคลิกเป็นคนเฮฮาร่าเริง พุทธชาดเกิดเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพุทธชาด พงศ์สุชาติ

พูนภิรมย์ ลิปตพัลลภ

ลโทหญิงพูนภิรมย์ ลิปตพัลลภ (25 กรกฎาคม พ.ศ. 2498 -) (Lieutenant General Poonpirom Liptapanlop) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช สมรสกับ นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีหลายกระทรวง มีบุตรด้วยกัน 2 คน คือ นายพสุ ลิปตพัลลภ และ น..พราวพุธ ลิปตพัลลภ พล.ท.หญิงพูนภิรมย์ มีชื่อเล่นว่า "ติ้ง" มักถูกเรียกขานจากสื่อมวลชนว่า "มาดามติ้ง" พล.ท.หญิงพูนภิรมย์ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเคมี จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และระดับปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาชีวเคมี จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พล.ท.หญิงพูนภิรมย์ เข้าสู่วงการเมืองครั้งแรกโดยลงสมัครรับเลือกตั้งเป็น สมาชิกวุฒิสภา ปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพูนภิรมย์ ลิปตพัลลภ

พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา

ตราจารย์ ท่านผู้หญิง พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ไกรยง) (12 ตุลาคม พ.ศ. 2453 - 23 ตุลาคม พ.ศ. 2558) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เกิดในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรีของนายฮันส์ ไกรเยอร์ นักธุรกิจชาวเยอรมันและนางเจียม ไกรยง ข้าหลวงในพระราชวังสวนสุนันทา ขณะอายุ 3 ปีครึ่ง บิดามารดาได้นำไปถวายตัวกับสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง ได้รับพระราชทานชื่อ “พูนทรัพย์” แต่เนื่องจากยังเล็กมาก จึงทรงฝากให้สมเด็จเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ทรงเลี้ยงดูไปก่อน โดยโปรดให้นอนหน้าพระแท่นบรรทม จากนั้นได้เจริญวัยอยู่ในพระราชวังพญาไท เป็นเวลานานถึง 20 ปี และด้วยการอุปการะเลี้ยงดูอย่างดี ทำให้ท่านเป็นผู้ที่มีกิริยาวาจา เรียบร้อย สง่างาม ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ มีแววเฉลียวฉลาดตั้งแต่วัยเด็ก สมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร จึงทรงสนับสนุนให้ได้เรียนที่โรงเรียนราชินี เมื่อจบการศึกษาแล้ว ได้เข้าเรียนต่อในคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยสำเร็จเป็นอักษรศาสตร์บัณฑิตรุ่นแรก และได้รับราชการในสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ต่อมาได้รับทุนบาเบอร์ประเทศสหรัฐอเมริกาไปศึกษาต่อด้านจิตวิทยาการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน แล้วจึงโอนมารับราชการเป็นอาจารย์ประจำที่ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นอกจากนี้แล้วยังเป็นผู้ก่อตั้งทุนธนชาต และธนาคารนครหลวงไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา

พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค

นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค

พีทีที โกลบอล เคมิคอล

ริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) (PTT Global Chemical Public Company Limited ชื่อย่อ:GC) เป็นบริษัทด้านปิโตรเคมี และเคมีภัณฑ์ เกิดจากการควบบริษัท ระหว่าง บริษัท ปตท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพีทีที โกลบอล เคมิคอล

พงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล

งษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล (เกิด: 16 กันยายน พ.ศ. 2493 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล

พนิช วิกิตเศรษฐ์

นิช วิกิตเศรษฐ์ (4 กันยายน 2506 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ (สำรอง) อดีตผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (นายกษิต ภิรมย์) และอดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในสมัยนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพนิช วิกิตเศรษฐ์

กรมการพัฒนาชุมชน

กรมการพัฒนาชุมชน เป็นหน่วยงานระดับกรม สังกัดกระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยงานที่ดำเนินการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ และการมี ส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากให้มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพโดยสนับสนุนให้มีการจัดทำและใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย จัดทำยุทธศาสตร์ชุมชน ตลอดจนการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการพั ฒนาชุมชน เพื่อให้เป็นชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรมการพัฒนาชุมชน

กรมการค้าภายใน

กรมการค้าภายใน (Department of Internal Trade of Thailand) ก่อตั้งวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2485 ซึ่งในขณะนั้นประเทศอยู่ระหว่างสงครามประเทศไทยไม่อาจหลีกเลี่ยงผลภัยจากสงครามได้ จึงมีความจำเป็นต้องพร้อมเตรียมรับปัญหาทุกด้าน และงานเศรษฐกิจสำคัญ เช่น การพาณิชย์ อุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์ ยังรวมอยู่ในการดูแลของกระทรวงเดียว จึงได้ยกฐานะกรมพาณิชย์ขึ้นเป็นกระทรวงพาณิชย์ และตั้งกรมการค้าภายในขึ้นในสังกัด ทำหน้าที่ดูแลงานการค้าภายในประเท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรมการค้าภายใน

กรมการปกครอง

กรมการปกครอง เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงมหาดไทย ดำเนินงานเกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายใน การบริหารการปกครองท้องที่ในระดับอำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน การดำเนินการและพัฒนาระบบงานทะเบียนราษฎร และการขออนุญาตต่าง ๆ ตามกฎหม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรมการปกครอง

กรมราชทัณฑ์

ทัณฑสถาน หญิงเชียงใหม่ กรมราชทัณฑ์ (Department of Corrections) เป็นหน่วยงานของกระทรวงยุติธรรม ทำหน้าที่ดูแลเรือนจำและนักโทษ จากคดีต่าง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรมราชทัณฑ์

กรมศิลปากร

กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งมีภารกิจคุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ จัดการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรมศิลปากร

กรมศุลกากร

"หอรัษฎากรพิพัฒน์" ในพระบรมมหาราชวัง ปัจจุบัันปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑ์ผ้า ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กรมศุลกากร (The Customs Department) เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงการคลัง ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรมศุลกากร

กรมสรรพากร

กรมสรรพากร (The Revenue Department) เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงการคลัง ที่เริ่มก่อตั้งในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรมสรรพากร

กรมธนารักษ์

กรมธนารักษ์ เป็นกรมในสังกัดของกระทรวงการคลัง มีหน้าที่เกี่ยวกับการทำเหรียญกษาปณ์ เหรียญที่ระลึก การดูแลที่ราชพัสดุตามอำนาจหน้าที่ การประเมินราคาทรัพย์สิน การรับจ่ายและรักษาพระราชทรัพย์ทั้งหมดในกรุงเทพมหานคร และการจัดการเงินในพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและเกี่ยวกับพระราชทรัพย์ของบรมวง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรมธนารักษ์

กรมทรัพยากรธรณี

กรมทรัพยากรธรณี เป็นหน่วยงานระดับกรม ในสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรมทรัพยากรธรณี

กรมที่ดิน

กรมที่ดิน เป็นหน่วยงานระดับกรม สังกัดกระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยงานที่ดำเนินงานออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้ราษฎรและให้บริการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับที่ดิน และอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น รวมถึงการจัดที่ทำกินให้ประชาชนตามประมวลกฎหมายที่ดิน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรมที่ดิน

กรมประชาสัมพันธ์

กรมประชาสัมพันธ์ เป็นหน่วยงานประชาสัมพันธ์ของรัฐบาลไทย ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เสริมสร้างความเข้าใจ ระหว่างหน่วยงานรัฐกับประชาชน และระหว่างประชาชนกับประชาชนด้วยกัน นอกจากนี้ ยังทำหน้าที่โน้มน้าวชักจูงประชาชน ให้ร่วมมือกับรัฐบาล และหน่วยงานราชการ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรมประชาสัมพันธ์

กรมปศุสัตว์

กรมปศุสัตว์ (Department of Livestock Development) เป็นหน่วยงานราชการไทย ประเภทกรม สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทำหน้าที่ดูแลและควบคุมการเลี้ยงสัตว์ ทั้งด้านสุขภาพ การบำบัดโรค การบำรุงพันธุ์ การควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ สถานพยาบาลสัตว์ โรคระบาดสัตว์ การปศุสัตว์ ไปจนถึงการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสัตว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรมปศุสัตว์

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (Department of Disaster Prevention and Mitigation) หรือชื่อย่อ "ป." เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงมหาดไทย ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

กรมเจ้าท่า

กรมเจ้าท่า (Marine Department; เคยใช้ชื่อ: กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี) มีหน้าที่ดูแลพื้นน้ำและการเดินทางทางน้ำ มีสำนักงานตั้งอยู่ที่ 1278 ถนนโยธา แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรมเจ้าท่า

กระมล ทองธรรมชาติ

ตราจารย์ กระมล ทองธรรมชาติ อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539 และอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เกิดเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระมล ทองธรรมชาติ

กระทรวงพลังงาน (ประเทศไทย)

กระทรวงพลังงาน เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่ในการส่งเสริมและกำกับดูแลให้เกิดความมั่นคงด้านพลังงานแก่ประเท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงพลังงาน (ประเทศไทย)

กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ (ประเทศไทย)

กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ เป็นหน่วยงานราชการระดับกระทรวงของไทย จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2506 ในสมัยรัฐบาลของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ในคณะรัฐมนตรีคณะที่ 29 ของไทย โดยมีหน้าที่ในการดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับ งานด้านพลังงาน การพัฒนาที่ดิน การทางหลวง สหกรณ์ และทรัพยากรธรณี ภายหลังหลังการรัฐประหารโดยจอมพลถนอม กิตติขจร ได้มีการยุบกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ (ประเทศไทย)

กระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)

กระทรวงพาณิชย์ (Ministry of Commerce) เป็นกระทรวงหนึ่งของประเทศไทยที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการค้า ธุรกิจบริการ ทรัพย์สินทางปัญญา และราชการอื่นๆ ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงพาณิชย์ หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์ตั้งอยู่ที่ 44/100 ถนนสนามบินน้ำ ตำบลบางกระสอ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย)

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (Ministry of Social Development and Human Security) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ทำหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนาสังคม การสร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาคในสังคม การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพและความมั่นคงในชีวิต สถาบันครอบครัวและชุมชน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย)

กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)

กระทรวงการคลัง (Ministry of Finance) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเงินของแผ่นดิน การภาษีอากร การรัษฎากร กิจการเกี่ยวกับที่ดินราชพัสดุ กิจการอันกฎหมายบัญญัติให้เป็นการผูกขาดของรัฐ กิจการหารายได้ซึ่งรัฐมีอำนาจดำเนินการได้แต่เพียงผู้ เดียวตามกฎหมายและไม่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรมอื่น และกิจการซึ่งจะเป็นสัญญาผูกพันต่อเมื่อรัฐบาลได้ให้อำนาจหรือสัตยาบัน รวมทั้งการค้ำประกันหนี้ของส่วนราชการและองค์การรัฐ สถาบันการเงินและรัฐวิสาหก.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)

กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)

กระทรวงการต่างประเทศ (Ministry of Foreign Affairs) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการต่างประเทศและราชการอื่น ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงการต่างประเทศ หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงการต่างประเท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)

กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงยุติธรรม (Ministry of Justice) เป็นกระทรวงหนึ่งในประเทศไทยก่อตั้งเมื่อ 25 มีนาคม พ.ศ. 2434 เดิมใช้ชื่อว่ากระทรวงยุตติธรรมและมีการเปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงยุติธรรมในวันที่ 12 มีนาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงวัฒนธรรม (Ministry of Culture) เป็นกระทรวงที่มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับวัฒนธรรม ภาษา ศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณีอื่น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Ministry of Science and Technology) มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการวางแผน ส่งเสริม และพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)

กระทรวงสาธารณสุข (Ministry of Public Health) เป็นหน่วยงานราชการไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพอนามัย การป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคภัย การฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชน และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุขหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขปัจจุบันตั้งอยู่ที่ ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)

กระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงอุตสาหกรรม (Ministry of Industry) เป็นส่วนราชการของรัฐบาลไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรม การพัฒนาผู้ประกอบการ และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงอุตสาหกรรม หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (Ministry of Digital Economy and Society) เป็นกระทรวงในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)

กระทรวงคมนาคม (Ministry of Transport) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ยกระดับการให้บริการประชาชน ของระบบโครงสร้างพื้นฐาน และบริการคมนาคมขนส่ง ให้มีความคุ้มค่าและทั่วถึง ทำให้ระบบคมนาคมขนส่ง มีความปลอดภัย มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย และส่งเสริมคุณภาพชีวิต ผสานและเชื่อมโยง โครงข่ายระบบขนส่งมวลชน ระบบขนส่งสาธารณะ ทั้งคนและสินค้า และขยายโอกาสการเดินทางสัญจร อย่างเสมอภาคโดยทั่วถึงกัน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)

กริช ทอมมัส

กริชเริ่มหัดเล่นดนตรีด้วยตนเองตั้งแต่วัยเยาว์ รวมทั้งได้เรียนภาคทฤษฎีจากอ.พนัสชัย ศุภมิตร(อ.โป๊บ)และภาคปฏิบัติทางดนตรี จนเริ่มเข้ามาเป็นนักดนตรีตามไนท์คลับ และนักดนตรีวงลูกทุ่งสมัยเรียนมหาวิทยาลัย กระทั่งปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกริช ทอมมัส

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรุงเทพมหานคร

กรุงเทพดุสิตเวชการ

ริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด(มหาชน) (BANGKOK DUSIT MEDICAL SERVICES PUBLIC COMPANY LIMITED. ชื่อย่อ:BDMS) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2512 ในนาม “บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด” โดยเริ่มเปิดดำเนินงาน “โรงพยาบาลกรุงเทพ” เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2515 และนำหุ้นเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2534.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรุงเทพดุสิตเวชการ

กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา

อาคารใหม่สวนอัมพร อาคารศูนย์การค้าริเวอร์ซิตี้ (ฟาสาดเดิม) อาคารสำนักงานใหญ่การบินไทย ถนนวิภาวดีรังสิต เอ็มบีเคเซ็นเตอร์ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา (9 มกราคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา

กฤษติกา คงสมพงษ์

รองศาสตราจารย์ กฤษติกา คงสมพงษ์ ที่ปรึกษาสมาคมแม่บ้านทหารบกสาขากองทัพภาคที่ 1, อาจารย์ประจำสาขาการตลาด สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อาจารย์พิเศษสาขาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, อดีตพิธีกรรายการกำจัดจุดอ่อนทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 และรายการลูกใครหว่า อีกทั้งได้รับเชิญไปเป็นวิทยากรอยู่บ่อยครั้ง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกฤษติกา คงสมพงษ์

กฤตยา ล่ำซำ

กฤตยา ล่ำซำ หรือ ปัด (2 กันยายน พ.ศ. 2506 — 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2557) ตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ บริษัท เมืองไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน).

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกฤตยา ล่ำซำ

กวี ตันจรารักษ์

กวี ตันจรารักษ์ มีชื่อเล่นว่า บีม เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย อดีตสมาชิกนักร้องกลุ่มวงดีทูบี ปัจจุบัน เป็นศิลปินอิสร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกวี ตันจรารักษ์

กษิต ภิรมย์

นายกษิต ภิรมย์ อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตรองนายกรัฐมนตรีเงา พรรคประชาธิปัตย์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยในหลายประเทศ เกิดวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกษิต ภิรมย์

กษิติ กมลนาวิน

กษิติ กมลนาวิน กษิติ กมลนาวิน ผู้ประกาศข่าว ผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (ช่อง 5) นักเขียน คอลัมนิสต์ นายแบบ พิธีกรดำเนินรายการภาษาไทย อังกฤษ ฝรั่งเศส วิทยากรบรรยายพิเศษ ผู้บรรยายกีฬา มัคคุเทศก.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกษิติ กมลนาวิน

กสท โทรคมนาคม

ริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) (CAT Telecom Public Company Limited) เป็นรัฐวิสาหกิจ ในสังกัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ในรูปบริษัทมหาชน ที่มาจากการแปรรูป ส่วนกิจการโทรคมนาคม ของการสื่อสารแห่งประเทศไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกสท โทรคมนาคม

กองทัพบก

กองทัพบก คือกองกำลังทหารที่ปฏิบัติการในภาคพื้นดินเป็นหลัก มีหน้าที่ป้องกันและปฏิบัติการรบในภาคพื้นดิน กองทัพบกนับเป็นกองกำลังทหารที่กำเนิดขึ้นเป็นประเภทแรก หน่วยรบหลักในกองทัพบกแบ่งออกเป็น 3 เหล่าคือ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกองทัพบก

กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ

กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) เป็นกองทุนที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ

กัลยา โสภณพนิช

ณหญิงกัลยา โสภณพนิช (21 กันยายน 2483 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดูแลพื้นที่ภาคอีสาน กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตประธานสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคประชาธิปัต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกัลยา โสภณพนิช

กันต์ กันตถาวร

กันต์ กันตถาวร เกิดเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกันต์ กันตถาวร

กั้ง

กั้ง (Mantis shrimps, Stomatopods) คือสัตว์น้ำจำพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ในทะเล ในไฟลัมครัสตาเซียน ในอันดับสโตมาโตโพดา (Stomatopoda) ซึ่งมีอยู่หลากหลายสกุลและหลากหลายชนิด กั้ง โดยทั่วไปมีรูปร่างคล้ายกุ้งผสมกับตั๊กแตนตำข้าว ลำตัวยาวคล้ายตะขาบ หายใจด้วยเหงือกเช่นเดียวกับกุ้ง ลำตัวมีรูปร่างแบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้อง ๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและอกคลุมมาถึงอกปล้องที่ 5 แต่ไม่ถึงปล้องที่ 8 กรีมีลักษณะแบนราบ มีขาทั้งหมด 3 คู่ เป็นสัตว์ที่ถือกำเนิดขึ้นมาบนโลกตั้งแต่ 400 ล้านปีก่อน มักอาศัยอยู่ในทะเลโคลน หรือ บริเวณปากแม่น้ำ หรือตามแนวปะการัง และพบได้ถึงระดับความลึกกว่า 1,500 เมตร กั้งเป็นสัตว์ที่ถือกำเนิดในโลกนี้มาก่อนกุ้ง มีจุดเด่น คือ มีดวงตาขนาดใหญ่ สามารถใช้สแกนมองภาพได้ดี โดยสามารถมองเห็นภาพชัดลึกได้ดี ตาแต่ละข้างของกั้งสามารถมองเห็นได้ 3 ตา และตาแต่ละดวงมองเห็นภาพได้ 3 ภาพ และสามารถกะระยะได้ดีมากเพื่อใช้ในการล่าเหยื่อ กั้งมีแก้วตาหลายพันชิ้น และสามารถมองเห็นสีได้ในระดับที่ซับซ้อน โดยถือว่าเป็นสัตว์จำพวกหนึ่งที่มีระบบการมองเห็นภาพดีที่สุดในอาณาจักรสัตว์โลก ไม่มีก้ามหนีบ แต่มีระยางค์ส่วนอกคู่ที่ 2 มีลักษณะเป็นก้ามสับขนาดใหญ่พับได้คล้ายมีดโกน และมีซี่ฟันแหลมคมเรียงกันเป็นแถวคล้ายหวี ใช้สำหรับฆ่าเหยื่อหรือป้องกันตัว ซึ่งสามารถใช้สับน้ำให้เกิดเป็นแรงขนาดมากได้ จนอาจถึงทำร้ายสัตว์ที่มีขนาดใหญ่กว่า เช่น มนุษย์ให้ได้รับบาดเจ็บได้ กั้งถูกค้นพบแล้วกว่า 450 ชนิด ในประเทศไทยมีรายงานพบแล้วอย่างน้อย 61 ชนิด กั้งนิยมนำมารับประทานเป็นอาหารเช่นเดียวกับกุ้ง โดยปกติแล้วจะมีราคาสูงกว่ากุ้งธรรมดาหรือปู ในบางชนิดนิยมนำมาแช่กับน้ำปลารับประทานกับข้าวต้ม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกั้ง

กาญจนา นาคสกุล

ตราจารย์กิตติคุณ ดร.กาญจนา นาคสกุล ศาสตราจารย์กิตติคุณ กาญจนา นาคสกุล ราชบัณฑิตสำนักศิลปกรรม ประเภทวรรณศิลป์ สาขาภาษาไทย เป็นผู้เชี่ยวชาญภาษาและวรรณคดีไทย รวมทั้งภาษาและวรรณคดีเขมรมากที่สุดคนหนึ่งของประเทศ มีผลงานด้านการเขียนเกี่ยวกับภาษาไทยและภาษาเขมรเป็นจำนวนมาก กาญจนาเป็นที่รู้จักกันมากยิ่งขึ้นเมื่อจัดรายการ "ภาษาไทยวันละคำ" โดยหยิบยกคำภาษาไทยที่คนไทยใช้กันผิดพลาดมากมาอธิบายเพื่อให้เกิดความเข้าใจและใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องยิ่งขึ้น ในปี 2555 กาญจนาได้เสนอแนวทางการปรับปรุงคำยืมจากภาษาอังกฤษ 176 คำ แต่ได้ถูกคัดค้าน และทางราชบัณฑิตยสถานได้ ประกาศว่าจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกาญจนา นาคสกุล

กามิกาเซ่

กามิกาเซ่ เป็นค่ายเพลงย่อยในสังกัดอาร์เอส ก่อตั้งใน พ.ศ. 2550 จากแนวคิดของสุทธิพงษ์ วัฒนจัง และณรงค์ศักดิ์ ศรีบรรฎาศักดิ์วัชรากรณ์ ที่ต้องการทำค่ายเพลงสำหรับกลุ่มประชากรวัยก่อนวัยรุ่นโดยเฉ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกามิกาเซ่

การบินไทย

ริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) (Thai Airways International Public Company Limited; ชื่อย่อ: ไทย, THAI) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ทำหน้าที่ดำเนินธุรกิจการบินพาณิชย์ ในฐานะสายการบินแห่งชาติของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการบินไทย

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย หรือ รฟม. (Mass Rapid Transit Authority of Thailand ย่อว่า MRTA) เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงคมนาคม มีภาระหน้าที่ในการจัดให้มี และให้บริการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ รฟม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

การุญ จันทรางศุ

รองศาสตราจารย์ การุญ จันทรางศุ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคไทยรักไทย (เลื่อนขึ้นมาแทนคนที่เป็นรัฐมนตรี ร.อ.สุชาติ เชาว์วิศิษฐ) เมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการุญ จันทรางศุ

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (ชื่อย่อ: กทพ.; EXAT) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ก่อตั้งขึ้นตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 290 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการทางพิเศษแห่งประเทศไทย

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (Tourism Authority of Thailand, ชื่อย่อ: ททท., TAT) เป็นรัฐวิสาหกิจภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา มีภารกิจในการส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

การท่าเรือแห่งประเทศไทย

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ในสังกัดกระทรวงคมนาคม จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2494 เพื่อดำเนินการกิจการท่าเรือของประเทศไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการท่าเรือแห่งประเทศไทย

การประปาส่วนภูมิภาค

การประปาส่วนภูมิภาค หรือ กป.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการประปาส่วนภูมิภาค

การประปานครหลวง

การประปานครหลวง เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่ผลิตและให้บริการเกี่ยวกับน้ำประปาในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลขององค์การอนามัยโลก.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการประปานครหลวง

การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (Industrial Estate Authority of Thailand ชื่อย่อ IEAT; กนอ.) เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม ก่อตั้งขึ้นตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๓๓๙ เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ตัวย่อ กฟผ. (Electricity Generating Authority of Thailand) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงพลังงาน มีหน้าที่ผลิตไฟฟ้าใช้ภายในประเทศไทย ในปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ กฟ. (Provincial Electricity Authority ตัวย่อ PEA) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่บริการจำหน่ายไฟฟ้าแก่ประชาชนในส่วนภูมิภาคทุกจังหวัดทั่วประเทศไทย ยกเว้นกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นเขตรับผิดชอบของการไฟฟ้านครหลวง สำนักงานใหญ่ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ตั้งอยู่ที่ 200 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร มีรายได้จากการจำหน่ายไฟฟ้า 465,044.54 ล้านบาท (พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

การไฟฟ้านครหลวง

การไฟฟ้านครหลวง เป็นรัฐวิสาหกิจที่รับผิดชอบการจำหน่ายไฟฟ้าให้กับประชาชน อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงมหาดไทย มีพื้นที่บริการในปัจจุบันได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ โดยแบ่งออกเป็น 18 เขต และ 14 สาขาย่อย ในอดีตเคยให้บริการจำหน่ายไฟฟ้าครอบคลุมถึงจังหวัดปทุมธานี ทว่าต่อมาโอนกิจการดังกล่าวให้กับการไฟฟ้าส่วนภูม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและการไฟฟ้านครหลวง

กำจร มนุญปิจุ

ตราจารย์เกียรติคุณ นาวาตรี กำจร มนุญปิจุ ร.น.ราชบัณฑิต เกิดวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2469 ที่ตำบลบางหลวง อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี เป็นบุตรของ ขุนกัลยาณวิทย์ (เกิด มนุญปิจุ) อดีตศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี และนางกิม มนุญปิจุ สมรสกับนางวิภาวรรณ มนุญปิจุ มีบุตรชาย 1 คน คือ นายณัฐเสกข์ (กวิช) มนุญป.น.ต.กำจร มนุญปิจุ เป็นนักวิทยาศาสตร์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาอินทรีย์เคมี เป็นผู้ริเริ่มดำเนินการให้เกิดความร่วมมือทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระหว่างประเทศไทยและประเทศออสเตรีย นับตั้งแต่ปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกำจร มนุญปิจุ

กำธน สินธวานนท์

ลอากาศเอกกำธน สินธวานนท์ อดีตองคมนตรี เกิดเมื่อวันที่ 20 มีนาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกำธน สินธวานนท์

กิจมาโนชญ์ โรจนทรัพย์

กิจมาโนชญ์ โรจนทรัพย์ หรือที่รู้จักกันดีและนิยมเรียกว่า ครูลิลลี่ เป็นครูสอนพิเศษวิชาภาษาไทยที่ "สถาบันกวดวิชาพินนาเคิล" (ภาษาไทย ครูลิลลี่) ซึ่งตั้งอยู่ที่สยามสแควร์ ซอย 5 ครูลิลลี่จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง จังหวัดระยอง จบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร แผนการเรียนภาษา-ฝรั่งเศส (ต.อ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกิจมาโนชญ์ โรจนทรัพย์

กิตติพัทธ์ ชลารักษ์

ท กิตติพัทธ์ ชลารักษ์ ชื่อเล่น กอล์ฟ เป็นนักแสดง พิธีกร ฝ่ายสร้างสรรค์รายการ (ครีเอทีฟ) จากรายการยอดฮิต เทยเที่ยวไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกิตติพัทธ์ ชลารักษ์

กิตติพงษ์ กิตยารักษ์

ตราจารย์พิเศษ ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ (13 กันยายน พ.ศ. 2501-) ผู้อำนวยการสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายข้าราชการประจำ (นักบริหารระดับสูง) สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สำนักนายกรัฐมนตรี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.)กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ฝ่ายข้าราชการประจำhttp://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกิตติพงษ์ กิตยารักษ์

กิตติรัตน์ ณ ระนอง

กิตติรัตน์ ณ ระนอง เป็นรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตประธานกรรมการในคณะกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยชินวัตร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกิตติรัตน์ ณ ระนอง

กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์

กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์ เกิดเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2535 เป็นศิลปิน และ นักแสดงชาวไทย อดีตศิลปินสังกัดกามิกาเซ่ มีน้องสาว 1 คน ชื่อ "ขนมหวาน" รัตนรวินท์ ลิมปวุฒิวรานนท์ ผู้เข้าประกวดเคพีเอ็นอวอร์ด ครั้งที่ 24 หมายเลข KPN 10 ขนมจีนออกอัลบั้มแรกในปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์

กุลธิดา เย็นประเสริฐ

กุลธิดา เย็นประเสริฐ (เหน่ง) มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์สคนแรกของไทย ประจำปี 2543 และยังได้รับรางวัลสาวเจ้าเสน่ห์ จากการประกวดมิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส ประจำปี 2543 อีก 1 รางวัล เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมประกวดนางงามจักรวาล 2000 ที่ประเทศไซปรัส และเคยผ่านการประกวดและได้รับรางวัลซุปเปอร์โมเดล จากรายการเลติ้ส คอนเนอร์ ช่อง 5 และเป็นทูตหัวใจไร้สาร ของสำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กุลธิดา สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกุลธิดา เย็นประเสริฐ

กุลนัดดา ปัจฉิมสวัสดิ์ แอนเดอร์สัน

กุลนัดดา ปัจฉิมสวัสดิ์ แอนเดอร์สัน (สกุลเดิม: ปัจฉิมสวัสดิ์; ชื่อเล่น นิน่า; เกิด: 30 ตุลาคม พ.ศ. 2515) เป็นพิธีกร, ผู้ประกาศข่าว และนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงจากการเป็นพิธีกรรายการ ผู้หญิงถึงผู้หญิง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกุลนัดดา ปัจฉิมสวัสดิ์ แอนเดอร์สัน

กุสุมา รักษมณี

ตราจารย์เกียรติคุณ กุสุมา รักษมณี เป็นนักภาษาและวรรณคดี ที่มีความเชี่ยวชาญทั้งภาษาและวรรณคดีสันสกฤต และภาษาและวรรณคดีไทย เคยสอนอยู่ที่ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ กรุงเทพฯ อาจารย์กุสุมามีบทบาทอย่างมากในการนำทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤตมาอธิบายวรรณคดีไทย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ กุสุมา รักษมณี หรือ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.กุสุมา รักษมณี เกิดเมื่อวันที่ ปัจจุบันเป็นข้าราชการบำนาญ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกุสุมา รักษมณี

กุหลาบ สายประดิษฐ์

กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือรู้จักกันดีในนามปากกาว่า ศรีบูรพา (31 มีนาคม พ.ศ. 2448 — 16 มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงชาวไทย เจ้าของวาทะ "ฉันรักธรรมศาสตร์ เพราะธรรมศาสตร์สอนให้ฉันรักประชาชน".

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกุหลาบ สายประดิษฐ์

กุ้ง

กุ้ง จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ชั้น Crustacea อันดับ Decapoda มีด้วยกันหลายวงศ์ กุ้งเป็นสัตว์น้ำ หายใจด้วยเหงือก ลำตัวยาว แบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้องๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและอกคลุมมาถึงอกปล้องที่ 8 ส่วนใหญ่กรีมีลักษณะแบนข้าง ก้ามและขาอยู่ที่ส่วนหัวและอก มี 10 ขา มีทั้งในน้ำจืดและน้ำเค็ม โดยปกติชอบหลบซ่อนตัวอยูเงียบ ๆ ตามพื้นน้ำหรือในซอกมืด ๆ จะออกหากินในเวลากลางคืน กุ้งกินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร เช่น กิน กุ้งด้วยกันเอง ลูกปลา ไส้เดือน สัตว์หน้าดินขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ ข้าว เนื้อมะพร้าวตลอดจนซากสัตว์ สามารถแบ่งออกได้หลายชนิด เช่น กุ้งกุลาดำ กุ้งก้ามกราม กุ้งนาง กุ้งหลวง กุ้งก้ามเกลี้ยง กุ้งตะกาด กุ้งตะเข็บ กุ้งฝอย กุ้งหัวแข็ง กุ้งหัวโขน กุ้งขาว กุ้งรู กุ้งหิน กุ้งดีดขัน กุ้งแชบ๊วย กุ้งเครย์ฟิช ส่วนประกอบของเปลือกกุ้งส่วนใหญ่เป็นไคติน รองลงมาก็เป็นจำพวกแร่ธาตุ โปรตีน ส่วนของไขมัน เป็นต้น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกุ้ง

กนก โตสุรัตน์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กนก โตสุรัตน์ (22 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 -) เป็นประธานคณะกรรมการจริยธรรมข้าราชการพลเรือนประจำจังหวัดศรีสะเกษที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ และอดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกนก โตสุรัตน์

ญาณี จงวิสุทธิ์

ญาณี จงวิสุทธิ์ มีชื่อเล่นว่า ตุ๊ก เป็นนักแสดง และพิธีกรชาวไทย เป็นรุ่นพี่คณะเดียวกันกับ ผอูน จันทรศิริ นักแสดง และผู้กำกับการแสดงทั้งละครโทรทัศน์ ละครเวที และภาพยนตร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและญาณี จงวิสุทธิ์

ญาณี ตราโมท

ญาณี ตราโมท ญาณี ตราโมท เกิดวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 เป็นบุตรของนายมนตรี ตราโมท ศิลปินแห่งชาติ สาขาดนตรีไทย จบมัธยมศึกษาจากโรงเรียนวัดบวรนิเวศ และปริญญาตรีจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังจบการศึกษา คุณญาณีได้เข้าทำงานที่ธนาคารไทยพาณิชย์ ในปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและญาณี ตราโมท

ฐานันดรศักดิ์ไทย

ในประเทศไทยมี "ฐานันดรศักดิ์" หลายประเภท ดังนี้.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและฐานันดรศักดิ์ไทย

ฐิติมา สุตสุนทร

ติมา สุตสุนทร (4 กันยายน พ.ศ. 2504 − 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2560) ชื่อเล่น แหวน เป็นนักร้องและนักแสดงหญิงชาวไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและฐิติมา สุตสุนทร

ภักดี โพธิศิริ

ัชกร ศาสตราจารย์(พิเศษ) ดร.ภักดี โพธิศิริ (เกิด 18 มิถุนายน พ.ศ. 2490) เป็น กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารในคณะกรรมการบริหารศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์อดีตกรรมการ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและอดีตเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภักดี โพธิศิริ

ภาวิช ทองโรจน์

ตราจารย์พิเศษ เภสัชกร ภาวิช ทองโรจน์ ศาสตราภิชานเกิดเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 เคยดำรงตำแหน่งอาทิ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิการบดีผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาวิทยาลัยนครพนม, มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ รักษาการอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ และนายกสภาเภสัชกรรม ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง นายกสภามหาวิทยาลัยนครพนม และภาคีสมาชิกแห่งราชบัณฑิตยสถาน สาขาเภสัชศาสตร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภาวิช ทองโรจน์

ภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา

ลตำรวจเอก ภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง)รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมือง อดีตที่ปรึกษาศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตว่าที่ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค5 อดีตกรรมการ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) อดีตที่ปรึกษาสัญญาบัตร 10 (สบ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา

ภาคีสมาชิกราชบัณฑิตยสภา

ีสมาชิกราชบัณฑิตยสภา ผู้ทรงคุณวุฒิมีความรู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งที่อยู่ในหน้าที่ของราชบัณฑิตยสภา โดยมีจำนวนจำกัดได้ไม่เกิน 160 คน แบ่งเป็นสำนักต่าง ๆ คือ สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง 40 คน สำนักวิทยาศาสตร์ 80 คน และสำนักศิลปกรรม 40 คน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภาคีสมาชิกราชบัณฑิตยสภา

ภิญโญ รู้ธรรม

ญโญ รู้ธรรม (ชื่อเล่น: โญ) เกิด 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500 เป็นนักแสดง โปรดิวเซอร์ ชาวไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภิญโญ รู้ธรรม

ภิญโญ สุวรรณคีรี

รองศาสตราจารย์ ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี (10 มีนาคม 2480 -) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี สถาปนิกสาขาสถาปัตยกรรมไทย นักการศึกษาสถาปัตยกรรมไทยประเพณี ศิลปินแห่งชาติและราชบัณฑิตสำนักศิลปกรรม ประเภทสถาปัตยศิลป์ เป็นบุตรของ นายซ้อน – นางรื่น สุวรรณคีรี สมรสกับ นางลาวัณย์ สุวรรณคีรี มีธิดา ๓ คน ได้แก่ นางสาวดลฤดี สุวรรณคีรี, นางสาวปิยนุช สุวรรณคีรี และนางสาวพุทธชาติ สุวรรณคีรี รองศาสตราจารย์ ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี เกิดเมื่อ 10 มีนาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภิญโญ สุวรรณคีรี

ภิรมย์ กมลรัตนกุล

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ ภิรมย์ กมลรัตนกุล นายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการอิสระ บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำกัด (มหาชน) กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์การแพท..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภิรมย์ กมลรัตนกุล

ภูมิสถาปัตยกรรม

วนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ ตัวอย่างงานภูมิสถาปัตยกรรมประเภทสวนสาธารณะส่วนที่เป็นสวนแบบ "รูปนัย" ภูมิสถาปัตยกรรม (landscape architecture) อ่านออกเสียงว่า "พู-มิ-สะ-ถา-ปัด-ตะ-ยะ-กัม" เป็นศิลปะและวิทยาศาสตร์ว่าด้วยการออกแบบวางแผน การอนุรักษ์และจัดการพื้นที่ใช้สอยภายนอกอาคาร รวมทั้งพื้นที่บางส่วนภายในหรือบนดาดฟ้าอาคารเพื่อความผาสุก สวัสดิภาพและความปลอดภัยของประชาชน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภูมิสถาปัตยกรรม

ภูมิสถาปนิก

ูมิสถาปนิก ถือว่าเป็นนักวิชาชีพผู้ประกอบวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรม ซึ่งเป็นหนึ่งในวิชาชีพควบคุมลักษณะเดียวกันกับแพทย์และนักกฎหมายเนื่องจากบุคคลเหล่านี้ จะต้องได้รับการศึกษาเป็นการพิเศษเฉพาะ และจะต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเช่นเดียวกับผู้ประกอบวิชาชีพอื่น เฟรเดอริก ลอว์ ออล์มสเตด ชาวสหรัฐฯ ผู้ได้รับการยกย่องเป็น "บิดาแห่งภูมิสถาปัตยกรรมสมัยใหม่" เป็นผู้ขนานนามผู้ประกอบวิชาชีพนี้ว่า Landscape architect เป็นครั้งแรก ในต่างประเทศ การเข้าสู่สายวิชาชีพจะต้องผ่านการศึกษาเล่าเรียนขั้นสูง ผ่านการฝึกหัดงานและผ่านการสอบรับใบอนุญาต เพื่อป้องกันความเสียหายจากสถาปนิกที่ไม่มีคุณภาพ หรือไม่มีจรรยาบรรณ ผู้ปฏิบัติวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมจะรวมตัวกันตั้งสมาคมวิชาชีพขึ้นเพื่อร่วมกันจรรโลงสาขาวิชาชีพแห่งตนให้เข้มแข็ง ในสหรัฐอเมริกาใช้ชื่อว่า สมาคมภูมิสถาปนิกอเมริกัน (American Society of Landscape Architects - ASLA) ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภูมิสถาปนิก

ภูริกูลกฤษฎ์ ชูศักดิ์สกุลวิบูล

ูริกูลกฤษฎ์ ชูศักดิ์สกุลวิบูล หรือ แอมป์ (ชื่อเดิม: สิริพงศ์) เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 เป็นนักร้องชาวไทย โดยเป็นที่รู้จักจากการแข่งขันรายการ เดอะสตาร์ 7.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภูริกูลกฤษฎ์ ชูศักดิ์สกุลวิบูล

ภูษณ ปรีย์มาโนช

ูษณ ปรีย์มาโนช นักธุรกิจโทรคมนาคมชาวไทย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภูษณ ปรีย์มาโนช

ภคมน บุณยะภูติ

มน บุณยะภูติ หรือ ลูกโป่ง AF4 เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงจากรายการทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 4 ใน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภคมน บุณยะภูติ

มหาวิทยาลัยชินวัตร

มหาวิทยาลัยชินวัตร (Shinawatra University; ตัวย่อ: SIU) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนขนาดเล็กและนักศึกษาค่อนข้างน้อย จัดการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติและหลักสูตรภาษาไทย โดยมหาวิทยาลัยชินวัตรก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยชินวัตร

มหาวิทยาลัยพะเยา

มหาวิทยาลัยพะเยา (University of Phayao; ชื่อย่อ: มพ / UP) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐบาล ตั้งอยู่ในจังหวัดพะเยา เดิมเป็นวิทยาเขตในสังกัดมหาวิทยาลัยนเรศวร ต่อมา มีการตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลั..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยพะเยา

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 1 ใน 5 แห่งแรกในประเทศไทยถูกสถาปนาขึ้นพร้อมกับ วิทยาลัยเกริก วิทยาลัยไทยสุริยะ วิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และวิทยาลัยพัฒนา เริ่มแรกนั้นได้รับการก่อตั้งในชื่อ “วิทยาลัยไทยเทคนิค” เมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยกรุงเทพ

มหาวิทยาลัยภาคกลาง

มหาวิทยาลัยภาคกลาง (อังกฤษ: The University of Central Thailand) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยภาคกลาง

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Mahasarakham University, อักษรย่อ: มมส - MSU) ตั้งอยู่ในจังหวัดมหาสารคาม ก่อกำเนิดจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยรังสิต

มหาวิทยาลัยรังสิต (Rangsit University; ชื่อย่อ: มรส. - RSU) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในประเทศไทย ถูกจัดอยู่ในลำดับที่ 20 มหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในประเทศ นอกจากนี้ยังถูกจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่ดีที่สุด ลำดับที่ 1 ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยรังสิต

มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต

มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต เดิมชื่อ วิทยาลัยรัตนบัณฑิต ก่อตั้งขึ้นโดยนายประชุม รัตนเพียร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (Phranakhon Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ในเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร เริ่มทำการสอนเมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Royal Patronage) เดิมคือ สถาบันราชภัฏเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ ตั้งอยู่ที่ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี เป็นมหาวิทยาลัยแห่งเดียวในประเทศไทยที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงรับไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระราชปิตุจฉาเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ทรงมีพระเมตตาต่อการศึกษา ของกลุสตรีไทย จึงประทานอาคารพร้อมที่ดินประมาณ 4 ไร่ ให้กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2475 ปัจจุบันคือ เลขที่ 153 ถนนเพชรบุรี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยย้ายนักเรียนฝึกหัดครูและนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.7-8) มาจากโรงเรียนเบญจมราชาลัย อาจารย์ใหญ่คนแรก คือ อาจารย์นิลรัตน์ บรรณสิทธิ์วรสาสน์ โรงเรียนใช้ชื่อย่อว่า พ เป็นสัญลักษณ์ และสีเขียว เป็นสีประจำโรงเรียน เนื่องจากเป็นสีประจำวันประสูติของพระองค์ สถานศึกษาแห่งนี้ได้ปฏิบัติภารกิจด้านการศึกษาทั้งแผนกฝึกหัดครู และแผนกสามัญด้วยดีตลอดมา และได้พัฒนาปรับเปลี่ยนสถานภาพและคำนำหน้าชื่อตามความเหมาะสม ดังนี้ 1 ตุลาคม 2513 เป็นวิทยาลัยครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดศรีสะเกษ โดยเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏในกลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษาในสาขาต่างๆ รวมทั้งดำเนินงานวิจัยและให้บริการทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ศิลปศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ เพื่อตอบสนองความต้องการของจังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดใกล้เคียง ตลอดจนประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นแผ่นดินใหญ่ โดยเฉพาะเขตอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Ramkhamhaeng University; ชื่อย่อ: ม.ร. - RU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยตลาดวิชาแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งรับบุคคลเข้าศึกษาโดยไม่สอบคัดเลือกและไม่จำกัดจำนวน ทำการเรียนการสอนแบบตลาดวิชา คือมีการเรียนการสอนในชั้นเรียนเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยปกติ แต่ไม่บังคับเข้าชั้นเรียน อันเป็นระบบเดียวกันกับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในอดีต มหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศไทย และมีชื่อเสียงในด้านนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์อย่างมาก.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยรามคำแหง

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ (Walailak University; อักษรย่อ:มวล.) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐ จัดตั้งตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม (Sripatum University) เดิมชื่อวิทยาลัยไทยสุริยะ ก่อนได้รับพระราชทานนามใหม่จากสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 1 ใน 5 แห่งแรกในประเทศไทยถูกสถาปนาขึ้นพร้อมกับ วิทยาลัยเกริก วิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และวิทยาลัยพัฒนา ปัจจุบันมหาวิทยาลัยศรีปทุมตั้งอยู่ที่เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร และมีวิทยาเขตที่จังหวัดชลบุรี และจังหวัดขอนแก่น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยศรีปทุม

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (Srinakharinwirot University; ชื่อย่อ: มศว - SWU) ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง" ซึ่งก่อตั้งเมื่อ..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

มหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยศิลปากร (Silpakorn University; ชื่อย่อ: มศก. – SU) เป็นมหาวิทยาลัยศิลปะแห่งแรกในประเทศไทย มีชื่อเสียงทางด้านศิลปะและการออกแบบ ปัจจุบันเปิดสอนครอบคลุมทุกสาขาวิชา ทั้งกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสากลอย่างสมบูรณ์ ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร" ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้พัฒนาขึ้นเป็นลำดับจนเป็น "โรงเรียนศิลปากร" และเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยสยาม

มหาวิทยาลัยสยาม (Siam University; ชื่อย่อ: มส. - SU (ชื่อย่อภาษาอังกฤษซ้ำกับ มหาวิทยาลัยศิลปากร)) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ที่ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ได้รับการริเริ่มขึ้นในปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยสยาม

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (ื่อย่อ: ม., STOU) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ "มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช" ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (อังกฤษ: Prince of Songkla University; อักษรย่อ: ม.อ.) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในภาคใต้ของประเทศไทย ตาม ก่อตั้งในปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด

ในมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford University อ่านว่า สแตนเฟิร์ด) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า มหาวิทยาลัยลีแลนด์สแตนฟอร์ดจูเนียร์ (Leland Stanford Junior University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ที่เมือง สแตนฟอร์ด รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา อยู่ห่างจากซานฟรานซิสโกประมาณ 60 กม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย โดยเป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่ไม่แสวงหาผลกำไร โดยมี "หอการค้าไทย" เป็นเจ้าของ และได้รับการยอมรับว่าเป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำด้านธุรกิจในประเทศไทย ประกอบด้วย 9 คณะ ได้แก่ คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะเศรษฐศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และประยุกต์ศิลป์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะนิเทศศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ และคณะการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมบริการ รวมถึง 2 วิทยาลัย ได้แก่ วิทยาลัยผู้ประกอบการ และวิทยาลัยนานาชาติ โดยเปิดสอนระดับปริญญาตรี โท และเอก รวมทั้งหลักสูตรนานาชาต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ (Huachiew Chalermprakiet University) ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2524 โดย มูลนิธิฮั้วเคี้ยวป่อเต็กเซี่ยงตึ๊ง ซึ่งเป็นองค์กรการกุศลจีนที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย โดยชื่อของมหาวิทยาลัย "หัวเฉียว" (華僑) หมายถึง ชาวจีนโพ้นทะเล และเป็นชื่อที่มูลนิธิใช้เป็นชื่อของโรงพยาบาลและวิทยาลัยของมูลนิธิอยู่แล้ว มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มีวิทยาเขต 1 แห่ง คือ วิทยาเขตยศเส ตั้งอยู่บริเวณถนนอนันตนาค แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นเมื่อปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (Assumption University) หรือ เอแบค (ABAC) จัดอยู่ในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียล มี 2 วิทยาเขตหลัก วิทยาเขตหัวหมาก ตั้งอยู่ที่ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร วิทยาเขตสุวรรณภูมิ ตั้งอยู่ที่ ตำบลบางเสาธง อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ และ 2 ศูนย์การศึกษา city campus ในห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ศูนย์การศึกษา ACC Campus มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทยที่มีระบบการสอนหลักสูตรนานาชาติ และยังเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่มีจำนวนศาสตราจารย์มากที่สุดในประเทศไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย

มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย (Eastern Asia University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ตำบลรังสิต อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง

อาคารสิรินธรารัตน์ (ตึกโดมแก้ว) มธ.ศูนย์ลำปาง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง แต่เดิมตั้งอยู่ที่ อาคารศาลากลางจังหวัดหลังเก่า ถ.บุญวาทย์ อ.เมืองลำปาง จังหวัดลำปาง เมื่อปีการศึกษา 2546 ได้ย้ายไปยังเลขที่ 248 หมู่ 2 ถนนลำปาง-เชียงใหม่ ตำบลปงยางคก อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง 52190 อยู่ห่างจากตัวเมืองลำปาง ประมาณ 15 กิโลเมตร ไปตามถนนซุปเปอร์ไฮเวย์สายลำปาง-เชียงใหม่ ซึ่งเป็นพื้นที่จากการบริจาคของนายบุญชู ตรีทอง มีพื้นที่ 364 ไร่ 3 งาน 79 ตารางวา เป็นที่ตั้งของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง มีอาคารเรียนรวมหลังแรกชื่อ "อาคารสิรินธรารัตน์" มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีปณิธานที่มุ่งจะจัดการศึกษาสำหรับประชาชนชาวไทยทุกหมู่เหล่า ทุกชนชั้น จึงได้เริ่มขยายโอกาสทางการศึกษาออกสู่ส่วนภูมิภาคในจังหวัดลำปาง ตั้งแต่ปีการศึกษา 2535 โดยคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมมือกับสถาบันราชภัฏลำปาง ได้ขยายการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาการเมืองการปกครอง มายังจังหวัดลำปางเป็นครั้งแรก ทำให้ทางมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เล็งเห็นถึงความพร้อม และความเหมาะสมของจังหวัดลำปางในฐานะที่จะเป็นศูนย์กลางการพัฒนาการศึกษาในเขตภาคเหนือได้ ต่อมาในปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 1 ใน 5 แห่งแรกในประเทศไทยถูกสถาปนาขึ้นพร้อมกับ วิทยาลัยเกริก วิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาลัยไทยสุริยะ และวิทยาลัยพัฒนา ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นในปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยขอนแก่น (อังกฤษ: Khon Kaen University; อักษรย่อ: มข.) เดิมชื่อมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู่ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น มีจุดประสงค์เพื่อให้การศึกษาชั้นสูงขยายออกไปถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงประกอบพิธีเปิดเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ (อังกฤษ: Princess of Naradhiwas University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 77 ในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาสก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

มหาวิทยาลัยนครพนม

มหาวิทยาลัยนครพนม เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 78 ในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนครพนม ที่เกิดจากการหลอมรวมสถานศึกษาในจังหวัดนครพนม ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนครพนม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยนครพนม

มหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ "มหาวิทยาลัยนเรศวร" นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน มหาวิทยาลัยนเรศวรได้รับการจัดอันดับในด้านการวิจัยให้เป็นมหาวิทยาลัยระดับดีเยี่ยมและเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 9 ของประเทศไทย จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาลตั้งอยู่ที่จังหวัดเชียงราย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 25 กันยายน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อังกฤษ: Chiang Mai University; อักษรย่อ: มช.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทยที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค ตามโครงการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วิทยาเขตสวนหลวง เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต (Kasem Bundit University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อังกฤษ: Kasetsart University; อักษรย่อ: มก.) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรทางด้านการเกษตร ก่อตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ เดิมเป็นโรงเรียนช่างไหมในปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น

มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น (ชื่อเดิม มหาวิทยาลัยณิวัฒนา) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ที่อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น

มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์

มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ (SAU) (อังกฤษ: South East Asia University) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา แรกก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี หรือ บางมด (อังกฤษ: King Mongkut's University of Technology Thonburi; อักษรย่อ: มจธ.) โดยเป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ และเป็น สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตามประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 115 ตอนที่ 11 ก ลงวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร (Mahanakorn University of Technology) เป็นสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (Rajamangala University of Technology) เป็นระบบมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปัจจุบันมีอยู่ 9 แห่งทั่วประเทศ ก่อตั้งในปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Phra Nakhon) เน้นการจัดการศึกษา เพื่อให้บัณฑิตมีคุณลักษณะที่มีทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ วิศวกรรมศาสตร์ อุตสาหกรรมสิ่งทอ เสื้อผ้า แฟชั่น อาหาร การบริหารจัดการ และทักษะด้านธุรกิจ สามารถปฏิบัติงานได้จริง มีความคิดสร้างสรรค์ที่ทำให้สามารถประกอบอาชีพได้หลายอาชี.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เน้นการจัดการศึกษาเพื่อให้บัณฑิต มีคุณลักษณะที่มีทักษะด้านอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ วิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรม การท่องเที่ยว โรงแรม ภาษา คหกรรม เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย บริหารธุรกิจและทักษะด้านธุรกิจรวมทั้งการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรนานาชาติ นักศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้จริงมีความคิดสร้างสรรค์ ที่ทำให้สามารถประกอบอาชีพได้หลายอาชีพ นอกจากนี้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ได้รับการจัดอันดับด้านการจัดการเรียนการสอนดีเด่น จาก.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (อังกฤษ: Suranaree University of Technology; อักษรย่อ: มทส.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา

มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา (Chalermkarnchana University) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนตั้งอยู่ที่จังหวัดศรีสะเกษ และถือเป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งแรกในจังหวัดศรีสะเกษ ได้รับอนุญาตให้เปิดทำการสอนระดับอุดมศึกษา เมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา

มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น

มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น (Saint John's University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2532 โดยอาจารย์สมัย ชินะผา ตั้งอยู่บริเวณห้าแยกลาดพร้าว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น

มหาวิทยาลัยเนชั่น

มหาวิทยาลัยเนชั่น (Nation University) เดิมชื่อ มหาวิทยาลัยโยนก เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ที่เปิดสอนในระดับปริญญาตรี และปริญญาโท ดำเนินการโดยบริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) เข้าร่วมทุนกับ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ เพื่อซื้อใบอนุญาตประกอบกิจการสถานศึกษาจากมหาวิทยาลัยโยนก ซึ่งเริ่มเปิดสอนเป็นรุ่นแรกในกรุงเทพมหานคร ที่ศูนย์เนชั่นทาวเวอร์ หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต ในปีการศึกษา 2554 มหาวิทยาลัยเนชั่น เปิดดำเนินการสอนใน 2 ที่ตั้งคือ มหาวิทยาลัยเนชั่น จังหวัดลำปาง ตั้งอยู่ที่บริเวณมหาวิทยาลัยโยนกเดิม และ ศูนย์เนชั่นทาวเวอร์ กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ที่เนชั่นทาวเวอร์ ถนนเทพรัตน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเนชั่น

มาดามมด

มาดามมด เป็นพิธีกรและนักแสดงสังกัดจีดีเอช ห้าห้าเก้า ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมาดามมด

มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ

นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าทีมเศรษฐกิจ พรรคพลังประชาชน อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) คนแรก และผู้อำนวยการองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย คนสุดท้.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ

มูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์

มูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์ (Rockefeller Foundation) เป็นองค์กรวิจัยเกี่ยวกับด้านวิทยาศาสตร์ตั้งอยู่ที่นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งโดย จอห์น ดี ร็อกกี้เฟลเลอร์ ในปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์

มูลนิธิอานันทมหิดล

ตราสัญลักษณ์ มูลนิธิอานันทมหิดล (Anandamahidol Foundation) เป็นมูลนิธิที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งขึ้น เพื่อมุ่งส่งเสริมสนับสนุนนักศึกษาและบัณฑิตชาวไทยที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการสาขาต่าง ๆ ให้ได้รับโอกาสไปศึกษาต่อเพิ่มเติม ณ ต่างประเทศ ในระดับที่สูงขึ้น เพื่อให้เป็นบุคคลชั้นนำของประเทศในสาขาวิชานั้น ๆ และนำความรู้ความเชี่ยวชาญกลับมารับใช้ประเทศชาติต่อไปหลังจากสำเร็จการศึกษาระดับสูงสุดแล้ว ในระยะแรก ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จัดตั้งทุนอานันทมหิดล และทรงเริ่มพระราชทานทุนในสาขาแพทยศาสตร์เป็นสาขาแรก ต่อมา ได้มีพระบรมราชวินิจฉัยให้เปลี่ยนสถานภาพจากทุนเป็นมูลนิธิ ชื่อ มูลนิธิอานันทมหิดล และได้ขยายขอบเขตการพระราชทานทุนเพิ่มขึ้นในหลายสาขา ครอบคลุมทั้งสาขาวิชาทางด้านวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ ชมรมผู้รับพระราชทานทุนอานันทมหิดล.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมูลนิธิอานันทมหิดล

มณฑล สงวนเสริมศรี

ตราจารย์(พิเศษ) เภสัชกร มณฑล สงวนเสริมศรี (29 ธันวาคม พ.ศ. 2490 -) ศาสตราจารย์พิเศษสาขาเภสัชศาสตร์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร 2 วาระ (พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมณฑล สงวนเสริมศรี

มติ ตั้งพานิช

มติ ตั้งพานิช สถาปนิกชาวไทยและราชบัณฑิตทางด้านสถาปัตยกรรมศาสตร์ นายมติ เกิดเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2484 ในครอบครัวชาวไทยเชื้อสายจีน จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาโทด้านสถาปัตยศาสตร์ จากสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (M.I.T.) ประเทศสหรัฐอเมริกา และหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 2 เคยทำงานเป็นสถาปนิกอยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกาอยู่พักหนึ่ง ก่อนจะกลับมาสู่ประเทศไทย ในปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมติ ตั้งพานิช

ยรรยง พวงราช

นายยรรยง พวงราช (14 เมษายนพ.ศ. 2495-) เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และเป็นอดีตปลัดกระทรวงพาณิชย์ อดีตอธิบดีกรมการค้าภายใน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและยรรยง พวงราช

ยรรยง โอฬาระชิน

รรยง โอฬาระชิน ยรรยง โอฬาระชิน (ศิลปินแห่งชาติ) เกิดปีพุทธศักราช 2481 สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัติวิชาชีพชั้นสูง จากแผนกวิชาการถ่ายภาพและภาพยนตร์ วิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ (ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ) เมื่อพุทธศักราช 2506 (ช่างภาพรุ่นที่ 6) เป็นศิษย์ที่เรียนจากอาจารย์ที่มีชื่อเสียงหลายท่าน เช่น อาจารย์ระบิล บุนนาค อาจารย์รัตน์ เปสตันยี ศาสตราจารย์พูน เกษจำรัส ศาสตราจารย์กิตติคุณ ชะอุ่ม ประเสริฐสกุล อาจารย์จำรัส เอี่ยมพินิจ และอาจารย์ชูศักดิ์ ดิษยนันท์ ยรรยง โอฬาระชิน ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ศิลปะภาพถ่าย) ปี 2550.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและยรรยง โอฬาระชิน

ยอดเยี่ยม เทพธรานนท์

อดเยี่ยม เทพธรานนท์ ยอดเยี่ยม เทพธรานนท์ (27 เมษายน 2496 -) เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นสถาปนิกที่มีชื่อเสียงผู้หนึ่งในประเทศไทย ปัจจุบันเป็นกรรมการอำนวยการของบริษัท Inter PAC ผู้ริเริ่มและพิธีกรปกิณกะทางโทรทัศน์ รายการ "หมอบ้าน" และรายการวิทยุ F.M.96.5 MHz รายการ "คุยกับหมอบ้าน" เป็นอาจารย์และนักเขียน เป็นครูอาสาสอนหนังสือหลากหลายสถาบัน และเขียนหนังสือทางวิชาการและปรัชญาไว้หลายเล่ม และเป็นนักกิจกรรมวิชาชีพที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วกัน เป็นน้องชายของ ศ.ดร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและยอดเยี่ยม เทพธรานนท์

ยอดเขาเอเวอเรสต์

อดเขาเอเวอเรสต์ (Mount Everest) เป็นยอดเขาหนึ่งในเทือกเขาหิมาลัย ซึ่งเกิดจากการชนกันของแผ่นเปลือกโลกยูเรเซียนและแผ่นเปลือกโลกอินเดีย ในทางภูมิรัฐศาสตร์ ยอดเขาเอเวอเรสต์ถือเป็นจุดแบ่งพรมแดนระหว่างประเทศเนปาลและทิเบต โดยชาวเนปาลเรียกยอดเขาเอเวอเรสต์ว่า สครมาตา (ภาษาสันสกฤต: सगरमाथा หมายถึง มารดาแห่งท้องสมุทร) ส่วนชาวทิเบตขนานนามยอดเขาแห่งนี้ว่า โชโมลังมา (จากภาษาทิเบต: จูมู่หลั่งหม่า (珠穆朗玛) หมายถึง มารดาแห่งสวรรค์) ชื่อยอดเขาเอเวอเรสต์นั้น ตั้งโดย เซอร์แอนดรูว์ วอ นักสำรวจประเทศอินเดียชาวอังกฤษ เพื่อเป็นเกียรติแก่ เซอร์จอร์จ อีฟเรสต์ นักสำรวจประเทศอินเดียรุ่นก่อนหน้า (คำว่า Everest นี้ คนส่วนมากอ่านออกเสียงเป็น เอเวอเรสต์ ขณะที่เซอร์จอร์จอ่านออกเสียงชื่อสกุลของตัวเองว่า อีฟเรสต์) ซึ่งก่อนหน้านั้นนักสำรวจเรียกยอดเขาแห่งนี้เพียงว่า ยอดที่สิบห้า (Peak XV) คนทั่วไปจดจำชื่อเอเวอเรสต์ได้ในฐานะยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก แต่สำหรับชาวเชอร์ปา (Sherpa) และนักปีนเขา (climber) บางคนแล้ว ยอดเขาเอเวอเรสต์ไม่ได้เป็นเพียงแค่จุดที่สูงที่สุดบนพื้นโลกเท่านั้น หากยังเป็นจุดหมายสูงสุดในชีวิตพวกเขาด้วย การไปให้ถึงยอดเขาเอเวอเรสต์เป็นเรื่องที่ยากลำบาก แต่เมื่อยอดเขาเอเวอเรสต์ถูกพิชิตได้ นั่นหมายความว่าขีดจำกัดของมนุษยชาติได้เพิ่มขึ้นอีกขั้นหนึ่งแล้ว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและยอดเขาเอเวอเรสต์

ยิ่งพันธ์ มนะสิการ

นายยิ่งพันธ์ มนะสิการ (23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480 - 22 ธันวาคม พ.ศ. 2546) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดพิษณุโลก และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและยิ่งพันธ์ มนะสิการ

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

งลักษณ์ ชินวัตร เกิดวันที่ 21 มิถุนายน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

ยุทธนา บุญอ้อม

ทธนา บุญอ้อม หรือเป็นที่รู้จักกันว่า ป๋าเต็ด เกิดวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2510 จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เข้าศึกษาที่คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แต่เรียนไม่จบเพราะมีปัญหาบางประการกับวิชาเอก ได้เข้าฝึกงานอยู่ที่แกรมมี่อยู่แผนกคอนเสิร์ต และเป็นจุดเริ่มต้นที่ได้ก้าวเข้าสู่นักจัดรายการวิทยุ หรือดีเจ เป็นนักจัดการรายการวิทยุคลื่น กรีนเวฟ และ ฮอตเวฟ เขาถือเป็นคนแรกที่คิดวิธียิงสปอตโฆษณาแบบใช้เกมสนุกๆ มาเล่นกับผู้ฟัง เป็นการโปรโมตสินค้าที่เจ้าของสปอนเซอร์นิยมชมชอบเป็นอย่างดี หลังจากนั้นออกจากค่ายแกรมมี่มาก่อตั้ง บริษัท คลิกเรดิโอ จำกัด มีคลื่นดังอย่าง แฟตเรดิโอ 104.5 นอกจากการบริหารคลื่นวิทยุ ยุทธนายังเคยทำหนังสือ DDT และเป็นหุ้นส่วนของโรงหนังเล็กๆ ชื่อ โรงภาพยนตร์เฮาส์ เคยเป็นกรรมการอำนวยการ บริษัท สนามหลวงการดนตรี จำกัด ในเครือ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ปัจจุบันเป็นดีเจ คลื่น 89 chill fm ของ เอไทม์ มีเดีย และเป็นผู้บริหารบริษัท เกเร จำกัด ที่รับจัดงานแสดงดนตรี งานสำคัญของบริษัทได้แก่ บิ๊ก เมาท์เทน มิวสิก เฟสติวัล ทางด้านชีวิตส่วนตัวแต่งงานแล้ว มีบุตรสาว 1 คน คือ นานา บุญอ้อม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและยุทธนา บุญอ้อม

ยุทธ์ ชัยประวิตร

ร.ยุทธ์ ชัยประวิตร (ชื่อเดิม: อายุทธ์ จิรชัยประวิตร) เกิดเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2510 จบการศึกษาระดับประถมกับมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มัธยมปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ปริญญาตรีเกียรตินิยมจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท จากมหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ ดร.ยุทธ์ เป็นอาจารย์พิเศษในระดับปริญญาโทของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ มีประสบการณ์ทำงานเป็น ประธานอนุกรรมการ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) เป็นผู้ช่วยเลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีผลงานทางด้านการตรวจสอบ วิจัยและเสนอแนะเกี่ยวกับกิจการโทรคมนาคมหลายเรื่อง ในการเลือกตั้งในปลายปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและยุทธ์ ชัยประวิตร

ยง ภู่วรวรรณ

ตราจารย์นายแพทย์ ยง ภู่วรวรรณ เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ราชบัณฑิตและหัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและยง ภู่วรวรรณ

ยงยุทธ วิชัยดิษฐ

งยุทธ วิชัยดิษฐ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ และอดีตหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตอธิบดีกรมที่ดิน อดีตประธานกรรมการการไฟฟ้านครหลวง อดีตประธานกรรมการการประปานครหลวง อดีตประธานกรรมการตรวจสอบของสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและยงยุทธ วิชัยดิษฐ

ยงยุทธ สัจจวาณิชย์

ตราจารย์ เรือโท นายแพทย์ ยงยุทธ สัจจวาณิชย์ ร.น. (8 มกราคม พ.ศ. 2471 -) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข 2 สมัย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อดีตผู้อำนวยการองค์การเภสัชกรรม และเป็นคณะแพทย์คณะแรกในโครงการหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ พอ.สว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและยงยุทธ สัจจวาณิชย์

ร.น.

ร.น. ย่อมาจาก ราชนาวี เป็นคำลงท้าย ใช้ประกอบชื่อ และยศทหารสัญญาบัตร สังกัดกองทัพเรือไทย ที่มียศตั้งแต่ เรือตรี ขึ้นไป (เว้นแต่การเขียนในราชการภายในกองทัพเรือ) เพื่อให้แตกต่าง และไม่ให้สับสนกับยศทหารสังกัดกองทัพอากาศไทย การใช้งาน ให้ใช้ ร.น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและร.น.

รองศาสตราจารย์

รองศาสตราจารย์ (associate professor) ใช้อักษรย่อว่า ร. เป็นตำแหน่งทางวิชาการ ต่อมาจากตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ก่อนจะเป็น ศาสตราจารย์ โดยต้องมีชั่วโมงสอน มีผลงานเอกสารคำสอนอย่างน้อย 1 รายวิชา คุณภาพดี และงานแต่ง เรียบเรียง แปลหนังสือ คุณภาพดี หรือผลงานวิจัย คุณภาพดี หรือ ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่เป็นที่ยอมรับ ตำแหน่งรองศาสตราจารย์แสดงถึงผู้มีความรู้ ความสามารถ และมีผลงานทางวิชาการ ตรงตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยมีหน้าที่หลักในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาชั้นสูง คือ มีชั่วโมงสอนประจำวิชาใดวิชาหนึ่งที่กำหนดไว้ในหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาและมีความชำนาญพิเศษในการสอนและ ทำการสอนโดยใช้เอกสารคำสอน ประกอบการสอนมาแล้ว ทำการวิจัย ทำประโยชน์แก่สาธารณะ อาจมีงานแต่ง เรียบเรียง ตำรา หรือหนังสือที่ใช้ประกอบการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ซึ่งมีคุณภาพดี และได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก..อ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรองศาสตราจารย์

ระวี ภาวิไล

ตราจารย์กิตติคุณ ระวี ภาวิไล (17 ตุลาคม พ.ศ. 2468 — 17 มีนาคม พ.ศ. 2560) เป็นราชบัณฑิต อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักวิชาการด้านดาราศาสตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของไทย นับเป็นบุคคลที่บุกเบิกการศึกษาด้านดาราศาสตร์รุ่นแรก ๆ ของไทย และมีส่วนให้สังคมไทย โดยเฉพาะเยาวชนให้ความสนใจการเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์มากขึ้น สำหรับบุคคลทั่วไป อาจเริ่มรู้จักท่านดีในช่วงการมาเยือนของดาวหางฮัลเลย์ เมื่อต้นปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและระวี ภาวิไล

รัชวิน วงศ์วิริยะ

รัชวิน วงศ์วิริยะ เกิดวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2527 เป็นนักแสดง ดีเจชาวไทย จบการศึกษาระดับอนุบาล-มัธยมศึกษาจาก โรงเรียนราชินีบน ระดับอุดมศึกษาจากคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีผลงานการแสดงภาพยนตร์สร้างชื่อเรื่อง รัก/สาม/เศร้า และยังแสดงละครโทรทัศน์ เรื่อง บ้านนี้มีรัก และ ดิน น้ำ ลม ไฟ ทางด้านผลงานโฆษณา เช่น โฆษณาออเร้นจ์, red bull extra, u - star, TOT, Scott, ทวิสตี้ และยังแสดงในมิวสิกวิดีโออีกหลายตัว นอกจากนี้เคยออกผลงานอัลบั้ม School Of Lucks เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัชวิน วงศ์วิริยะ

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีช่ว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่ว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย

รายนามเสนาบดีว่าการกรมพระคลังมหาสมบัติ, เสนาบดีว่าการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการของ กระทรวงมหาดไทย โดยตำแหน่งนี้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย

รายพระนาม รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ของไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ชื่อเดิม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร).

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย

รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของไทย

รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย

รายนามรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย

รัดเกล้า อามระดิษ

รัดเกล้า อามระดิษ (เกิด 16 ตุลาคม พ.ศ. 2512) เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย ด้านการร้องเพลง รัดเกล้าเป็นศิลปินหญิงสุดยอดคุณภาพระดับแนวหน้าของประเทศไทย และเป็น 1 ใน 3 นักร้องสมัครเล่นยอดเยี่ยมแห่งเอเซีย (อีกสองท่านคือ นันทิดา แก้วบัวสาย และมณีนุช เสมรสุต) มีผลงานเพลงเป็นที่รู้จัก เช่น "ลมหายใจ", "โปรดเถอะ" และ"บีบมือ" ด้านการแสดงรัดเกล้าได้รับรางวัลนาฏราชสาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากละครสุดแค้นแสนรักใน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรัดเกล้า อามระดิษ

ราชบัณฑิต

ราชบัณฑิต คือ "นักปราชญ์หลวง" ที่เป็นสมาชิกขององค์การวิทยาการของรัฐคือ ราชบัณฑิตยสภาโดยต้องเป็นผู้ที่มีเกียรติประวัติดีงาม ได้รับการยอมรับและการยกย่องจากผู้รู้ในศาสตร์สาขาเดียวแห่งตนและจากคนทั่วไป มีสัญชาติไทย อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปี ได้รับการคัดเลือกจากสภาราชบัณฑิตว่าเป็นผู้รู้ในสาขาวิชาใดสาขาหนึ่งที่มีกำหนดไว้ในราชบัณฑิตยสถาน เมื่อได้รับการคัดเลือกแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นราชบัณฑิตและจะได้รับค่าสมนาคุณเป็นรายเดือน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและราชบัณฑิต

ราชินีนาถ

ราชินีนาถ อาจหมายถึง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและราชินีนาถ

รายชื่อนิตยสารในประเทศไทย

นี่คือ รายชื่อนิตยสารในประเทศไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายชื่อนิตยสารในประเทศไทย

รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย

รองนายกรัฐมนตรี หมวดหมู่:รายนามบุคคล.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย

รายนามปลัดกระทรวงคมนาคมแห่งราชอาณาจักรไทย

รายนามปลัดกระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย).

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายนามปลัดกระทรวงคมนาคมแห่งราชอาณาจักรไทย

รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย

รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย

รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

รายนามเลขาธิการคณะรัฐมนตรีของไทย

ลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ระดับ 11 (ประเภทบริหาร ระดับสูง) สังกัดสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ทำหน้าที่ปฏิบัติงานในส่วนของการประชุม และให้บริการคณะรัฐมนตรีทั้งคณะ การนำมติคณะรัฐมนตรีที่ไม่อยู่ภายใต้กระทรวงใดไปปฏิบัติ เช่น การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ การเปิดและปิดสมัยประชุมสภา เป็นต้น ตำแหน่งเลขาธิการคณะรัฐมนตรีนี้มักสับสนกับตำแหน่งเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ซึ่งปฏิบัติงานเฉพาะในส่วนของนายกรัฐมนตรี และรองนายกรัฐมนตรีเท่านั้น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายนามเลขาธิการคณะรัฐมนตรีของไทย

รายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทย

ลขาธิการนายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งข้าราชการการเมือง สังกัดสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เริ่มแต่งตั้งเมื่อปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทย

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 23 ประจำปี พ.ศ. 2542

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 23 ประจำปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 23 ประจำปี พ.ศ. 2542

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2545

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 26 ประจำปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2545

รางวัลรามอน แมกไซไซ

รางวัลรามอน แมกไซไซ หรือ รางวัลแมกไซไซ (Ramon Magsaysay Award) เป็นรางวัลที่ก่อตั้งขึ้น เมื่อเดือนเมษายน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรางวัลรามอน แมกไซไซ

รางวัลศรีบูรพา

รางวัลศรีบูรพา เป็นรางวัลที่มอบสำหรับศิลปิน นักคิดนักเขียน และนักหนังสือพิมพ์ ผู้มีผลงานอันทรงคุณค่ามีชีวิตที่เป็นแบบอย่าง เป็นกิจกรรมหนึ่งของ "กองทุนศรีบูรพา" ที่ก่อตั้งขึ้นมาเพื่อรำลึกและเผยแพร่เกียรติประวัติของ กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือ ศรีบูรพา (31 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรางวัลศรีบูรพา

รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล

หรียญรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล เป็นรางวัลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัดตั้งขึ้นเพื่อถวายเป็นพระราชานุสรณ์แด่สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ผู้ทรงบำเพ็ญประโยชน์ต่อวงการแพทย์ การสาธารณสุข การพยาบาล การเภสัชกรรม ทันตศึกษา การประมง กองทัพเรือ และการศึกษาของประเทศ เป็นคุณูปการโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับการแพทย์ของประเทศไทย ทรงทำนุบำรุงโรงเรียนราชแพทยาลัย และโรงพยาบาลศิริราชให้ทันสมัย ทั้งทรงเป็นผู้แทนรัฐบาลไทย ในการเจรจากับมูลนิธิร็อกกี้เฟลเล่อร์ ให้มาช่วยเหลือปรับปรุงการแพทย์ของไทย เป็นการวางรากฐานให้การแพทย์ของไทย เจริญรุ่งเรืองทัดเทียมอารยประเทศในปัจจุบัน จนได้รับการถวายพระสมัญญานามว่า องค์บิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของไทย และองค์บิดาแห่งการสาธารณสุขของไทย เป็นการสนองพระมหากรุณาธิคุณให้พระเกียรติยืนยง อยู่ในแผ่นดินนี้และแผ่ขจรขจายไปทั่วโลก.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล

รางวัลซีไรต์

ัญลักษณ์ของรางวัลซีไรต์ รางวัลซีไรต์ (S.E.A. Write) มีชื่อเต็มว่า รางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (Southeast Asian Writers Award) เริ่มก่อตั้งเมื่อปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรางวัลซีไรต์

รางวัลนราธิป

รางวัลนราธิป เป็นรางวัลเกียรติคุณที่มอบให้กับนักเขียนและบรรณาธิการอาวุโส โดยมีหลักเกณฑ์ที่จะมอบรางวัลให้กับผู้ซึ่งมีอายุมากกว่า 80 ปี มีผลงานเป็นที่ยกย่องกว้างขวาง จัดโดยสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย เป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรางวัลนราธิป

รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่

มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ริเริ่มให้มี รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ มาตั้งแต่ปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น เป็นรางวัลเพื่อเชิดชูเกียรตินักวิทยาศาสตร์ไทยที่มีผลงานดีเด่น โดยจะประกาศรางวัลในต้นเดือนสิงหาคมของทุกปี และมอบรางวัลในวันที่ 18 สิงหาคม ซึ่งเป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" โดยถือเป็นที่ยอมรับในวงการวิชาการว่ารางวัลนี้เป็นรางวัลสูงสุดของประเทศสำหรับนักวิทยาศาสตร์พื้นฐานและนักวิทยาศาสตร์ประยุกต์ โดยมีรางวัลเป็นโล่พระราชทานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และเงินรางวัล 200,000-400,000 บาท พระราชทานโดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวันที่ 18 สิงหาคม ของทุกปี ซึ่งเป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" ที่งานมหกรรมวิทยาศาสตร์แห่งชาติพร้อมกันกับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ รางวัลนี้สนับสนุนโดย มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ สวท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย

รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น

มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ เริ่มโครงการรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น และรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ขึ้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2543 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรตินักเทคโนโลยีที่มีผลงานดีเด่น ไม่ว่าจะเป็นนักเทคโนโลยีของรัฐหรือภาคเอกชน เพื่อจูงใจให้มีนักวิชาการและนักพัฒนาเทคโนโลยีของไทยที่มีความสามารถสูงจำนวนมากขึ้น และหันมาช่วยกันพัฒนาเทคโนโลยีของไทยให้สามารถแข่งขันในเชิงอุตสาหกรรมและเชิงพาณิชย์ในโลกได้โดยเร็ว และหวังจะก่อให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีไทยในอนาคตในอัตราที่สูงขึ้น ซึ่งจะทำให้ประเทศไทยมีความจำเป็นน้อยลงที่จะต้องพึ่งพาและซื้อเทคโนโลยีจากต่างประเทศต่อไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้สร้างพระบรมรูปขณะทรงเรือใบซูเปอร์มดหล่อด้วยบรอนซ์ สำหรับมอบเป็นรางวัลแก่นักเทคโนโลยีดีเด่น และเหรียญรางวัลแก่นักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ในวันเทคโนโลยีแห่งชาติของทุกปี รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ รางวัลโทรทัศน์ทองคำ เป็นรางวัลผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ ซึ่งจัดโดยชมรมส่งเสริมโทรทัศน์ เริ่มครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ

รณชัย ถมยาปริวัฒน์

รณชัย ถมยาปริวัฒน์ หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ อ๊อด คีรีบูน เป็นนักร้อง นักดนตรี นักแสดงและนักแต่งเพลงชาวไทย อดีตนักร้องนำและหัวหน้า วงคีรีบูน แนวสตริงคอมโบ ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรณชัย ถมยาปริวัฒน์

ร้านภูฟ้า

120px ร้านภูฟ้า จัดตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ต่างๆของโครงการพัฒนาต่าง ๆ ซึ่งช่วยการส่งเสริมอาชีพประชาชนในถิ่นทุรกันดาร พัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร โดยใช้ตราสัญลักษณ์ "ภูฟ้า" เป็นเครื่องหมายการค้าสำหรับผลิตภัณฑ์ในโครงการส่งเสริมอาชีพ ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ห่างไกล ทุรกันดาร ซึ่งมีฐานะยากจน ให้มีอาชีพเสริมเพิ่มรายได้จากอาชีพเกษตรกรรม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและร้านภูฟ้า

ละอองฟอง

ละอองฟอง (La Ong Fong) เป็นวงดนตรีของไทยที่แนวเพลงได้รับอิทธิพลจากเพลงแนวสวีดิชป็อป มีจุดเด่นที่ดนตรีที่สดใสที่เป็นการผสมผสานระหว่าง แจ๊ส ป็อป และร็อก และเสียงร้องที่ใสของนักร้อง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและละอองฟอง

วรชาติ สิรวราภรณ์

ตราจารย์ ดร. วรชาติ สิรวราภรณ์ ศาสตราจารย์ วรชาติ สิรวราภรณ์ เกิดวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2498 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีความเชี่ยวชาญการวิจัยทางด้านชีวเคมีและอณูชีววิทยาของเชื้อมาลาเรีย โดยศึกษากลไกการเกิดโรค กลไกการทำงานของยาต้านมาลาเรีย และกลไกการดื้อยาในระดับยีน เป็นผู้หนึ่งที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย สาขาชีวสารสนเทศศาสตร์ (Bioinformatics) ของประเทศไทย โดยเป็นผู้ริเริ่มจัดตั้งศูนย์ชีวสารสนเทศและจีโนมประยุกต์ (Center for Bioinformatics and Applied Genomics - CBAG) ซึ่งเป็นหน่วยฝึกอบรมด้านชีวสารสนเทศศาสตร์ ประจำภูมิภาคเอเซีย ที่ได้รับการสนับสนุนจากองค์การอนามัยโลก.ดร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวรชาติ สิรวราภรณ์

วรรษพร วัฒนากุล

วรรษพร วัฒนากุล (13 ตุลาคม 2530 -) เป็นนักแสดง เข้าสู่วงการบันเทิงจากเวทีประกวดเส้นทางบันเทิง ค้นหาพิธีกรหน้าใหม่และการประกวด มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส 2010 ได้ตำแหน่งรองอันดับ 1 และตำแหน่ง Miss Earth-Water พร้อม Miss Photogenic จากการประกวด มิสเอิร์ธ 2010 ที่ประเทศ เวียดนาม และได้เซ็นสัญญาเป็นนักแสดงของช่อง 7 ผลงานที่ทำให้เธอมีชื่อเสียง คือ ละครเรื่อง ป่านางเสือ หลังจากที่ เอี๊ยม วรรษพร ได้เดินทางกลับจากการประกวด Miss Earth 2010.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวรรษพร วัฒนากุล

วรรณพร พรประภา

วรรณพร พรประภา หรือนามสกุลเดิม ล่ำซำ เป็นภูมิสถาปนิกและสถาปนิกเจ้าของสำนักงานออกแบบ โดยดำรงตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ บริษัท PLA (บริษัท พี แลนด์สเคป จำกัด) บุตรโพธิพงษ์ ล่ำซำ และน้องสาวนวลพรรณ ล่ำซำ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวรรณพร พรประภา

วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์

ตราจารย์ นายแพทย์วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์ (29 พฤษภาคมพ.ศ. 2512-) ผู้อำนวยการศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านเวชพันธุศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย,นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี ๒๕๕๕.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์

วรากรณ์ สามโกเศศ

รองศาสตราจารย์ วรากรณ์ สามโกเศศ กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ อธิการบดีกิตติคุณมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพอดีตประธานกรรมการ ในคณะกรรมการบริหารสำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์อดีตประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารสำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน)กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านการบริหารธุรกิจ ในคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการความลับทางการค้า ได้รับเลือกเป็นคณะกรรมการสรรหาเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวรากรณ์ สามโกเศศ

วราภรณ์ สมพงษ์

วราภรณ์ สมพงษ์ หรือ กระเต็น จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชีวิตส่วนตัวสมรสแล้ว เริ่มงานในตำแหน่งนักข่าวกับไอทีวี ต่อมาเข้าร่วมงานกับสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ในตำแหน่งผู้ประกาศข่าวในรายการเรื่องเด่นเย็นนี้ และดำเนินรายการเรียลลิตี้ ตัวจริง ตามด้วย "สามสิบยังแจ๋ว" และ ต่อมาเปลี่ยนชื่อรายการมาเป็น แจ๋ว วราภรณ์มีประสบการณ์ในการทำข่าวนอกสถานที่ เช่น ข่าวการเมือง ข่าวอาชญากรรม ต่อมาเป็นที่รู้จักกันมากขึ้น เมื่อได้มาดำเนินรายการ "สามสิบยังแจ๋ว" ช่วงเช้าที่ลาออกไปอย่างกะทันหัน เมื่อต้นเดือนพฤษภาคมปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวราภรณ์ สมพงษ์

วสุ แสงสิงแก้ว

ว่าที่ร้อยตรี วสุ แสงสิงแก้ว (ชื่อเล่น จี๊บ) หรือ จิ๊บ ร.. (29 ธันวาคม พ.ศ. 2510 —) เป็นพิธีกร นักร้อง นักแสดงชาวไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวสุ แสงสิงแก้ว

วัชรบูล ลี้สุวรรณ

วัชรบูล ลี้สุวรรณ (โน้ต) เกิดวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2524 เป็นนักแสดง และเคยเป็นวีเจทางเอ็มทีวีไทยแลน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวัชรบูล ลี้สุวรรณ

วัชระ พรรณเชษฐ์

วัชระ พรรณเชษฐ์ ​อดีตผู้แทนการค้าไทย อดีตเลขาธิการพรรคเพื่อแผ่นดิน และเป็นทายาทกลุ่มสิทธิผล ผู้จำหน่ายรถยนต์รายใหญ่ของไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวัชระ พรรณเชษฐ์

วัชระ ปานเอี่ยม

วัชระ ปานเอี่ยม เกิดเมื่อวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2503 เริ่มต้นเข้ารับการศึกษาในในโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และได้ศึกษาต่อชั้นอุดมศึกษาในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวัชระ ปานเอี่ยม

วัชระ แวววุฒินันท์

วัชระ แวววุฒินันท์ วัชระ แวววุฒินันท์ นักเขียน มีผลงาน คือ เรื่องสั้นชุดว้าวุ่น ในนามปากกาชื่อ ปิน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวัชระ แวววุฒินันท์

วัฒนา เมืองสุข

วัฒนา เมืองสุข (28 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวัฒนา เมืองสุข

วัดพระธรรมกาย

วัดพระธรรมกาย เป็นวัดในสังกัดมหานิกาย ก่อตั้งเมื่อ 20 กุมภาพัน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวัดพระธรรมกาย

วารินทร์ วงศ์หาญเชาว์

รองศาสตราจารย์ ดร.วารินทร์ วงษ์หาญเชาว์ รองศาสตราจารย์ วารินทร์ วงศ์หาญเชาว์ (15 มีนาคม พ.ศ. 2480 – 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวารินทร์ วงศ์หาญเชาว์

วาสนา วีระชาติพลี

ซูเอด ที่ทาวเวอร์เรคคอร์ด วาสนา วีระชาติพลี หรือ ป้าแต๋ว เกิดวันที่ 24 ตุลาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวาสนา วีระชาติพลี

วาทยกร

วาทยกร (conductor) หรือผู้อำนวยเพลง คือคนที่ตีความหมายของบทเพลง โดยเห็นภาพรวมทั้งหมดของวงดนตรี มีหน้าที่ดึงความสัมพันธ์ของเครื่องดนตรีแต่ละชิ้นออกมาเพื่อสอดผสานรวมเป็นหนึ่งเดียวกัน อาจกล่าวอีกนัยได้ว่า วาทยกรเป็นผู้ที่สื่อสารกับนักดนตรีด้วยภาษามือ เป็นเหมือนภาษาใบ้ที่ใช้กับดนตรี พร้อมกันนี้วาทยกรต้องมีความเป็นผู้นำที่สามารถให้ความเชื่อมั่นแก่นักดนตรีด้วย เสมือนผู้กำกับ วาทยกรควบคุมวงดนตรีโดยการใช้รหัสหรือสัญญาณมือ มักถือไม้บาตอง (Baton) ที่มือขวาสำหรับให้จังหวะ ส่วนมือซ้ายจะควบคุมในด้านอื่น เช่น ให้นักดนตรีเล่นเสียงดังหรือค่อย หรือเป็นการแสดงออกด้านอารมณ์อื่น ๆ ที่วาทยกรต้องการสื่อสารกับนักดนตรีในวง วาทยากรจะพบในการแสดงดนตรีที่ใช้นักดนตรีจำนวนมาก เช่นในวง ออร์เคสตร้า วงประสานเสียง ส่วนการบรรเลงดนตรีในวงดุริยางค์ของกองทัพ อาจเรียกว่า หัวหน้าวงดุริยางค์ วาทยกรผู้เป็นสมาชิกของวงออร์เคสตร้าจะเป็นคนที่กำหนดทิศทางของวง ซึ่งบางครั้งเรียกว่า ผู้กำกับดนตรี หรือเรียกว่า คาเปลไมสเตอร์ (Kapellmeister) ในภาษาเยอรมันซึ่งหมายความถึง หัวหน้าวาทยากรในวงออร์เคสตร้าเยอรมัน สำหรับวาทยกรของวงประสานเสียง จะเรียก ผู้ควบคุมวงประสานเสียง ส่วนวาทยากรอาวุโสจะเรียกว่า มาเอสโตร (maestro - นาย) ในภาษาอิตาเลียน แต่ความสำคัญของวาทยกรนั้น ไม่ได้อยู่แค่ที่การกำกับวงออกแสดงเท่านั้น กลับอยู่ที่การฝึกซ้อมนักดนตรีให้เล่นคีตนิพนธ์ต่าง ๆ ตามการตีความของวาทยกรแต่ละคน การนำวงดุริยางค์ออกแสดงเป็นแต่เพียงช่วงเวลาสั้น ๆ ของการเล่นและการตีความคีตนิพนธ์นั้น ๆ เพราะการฝึกซ้อมต้องใช้เวลาที่ยาวนานกว่าการออกแสดงแต่ละครั้ง ทั้งนี้วาทยกรยังต้องเป็นผู้ที่สามารถแนะนำหรือแก้ไขเทคนิคต่าง ๆ ให้แก่นักดนตรีได้ วาทยกรที่ดีจึงมักจะเป็นนักดนตรีที่ดีมาก่อนด้วย จึงจะสามารถเข้าใจปัญหาของวงได้เป็นอย่างดี และรู้ความสามารถและขีดจำกัดของเครื่องดนตรีแต่ละชนิด วาทยกรที่ดีเป็นแบบใดนั้น เป็นเรื่องที่ให้คำจำกัดความได้ยาก เพราะวาทยกรบางคนให้จังหวะแก่นักดนตรีได้อย่างแม่นยำ แต่วาทยกรบางคนก็ดูประหนึ่งว่าไม่ค่อยให้จังหวะแก่นักดนตรี หรือที่นักดนตรีเรียกว่า "ให้คิว" แต่กลับสื่อสารกับนักดนตรีได้อย่างสมบูรณ์แบบ ดังนั้น คุณค่าของวาทยกรจึงไม่ได้อยู่ที่ลีลาการกำกับวงเมื่อออกแสดง แต่อยู่ที่การฝึกซ้อมและการสื่อสารกับนักดนตรีให้เข้าใจ วาทยกรใหญ่หลายต่อหลายคนออกท่าทางน้อยมาก เช่น อิกอร์ มาร์เควิช (Igor Markevitch) หรือบางคนอาจดูเหมือนให้จังหวะที่สับสน เช่น วิลเฮ็ล์ม ฟวร์ตแวงเลอร์ (Wilhelm Furtwangler) แต่บทเพลงภายใต้การกำกับวงของเขาเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่าเต็มเปี่ยมไปด้วยความล้ำลึก คุณค่าของวาทยกรจึงมิได้วัดด้วยสายตา แต่ต้องวัดจากการฟังของผู้ฟัง หมวดหมู่:อาชีพ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวาทยกร

วาทิน ปิ่นเฉลียว

วาทิน ปิ่นเฉลียว หรือ ต่วย บรรณาธิการบริหารของ ต่วย’ตูน นิตยสารพ็อกเกตบุ๊กรายปักษ์ที่วางจำหน่ายตั้งแต่ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวาทิน ปิ่นเฉลียว

วิชชพัชร์ โกจิ๋ว

วิชชพัชร์ โกจิ๋ว (ชื่อเดิม: วิชชา; ชื่อเล่น: เดียว) ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย กลุ่ม 365 ฟิล์ม เกิดเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิชชพัชร์ โกจิ๋ว

วิชา มหาคุณ

ตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณ (เกิด 8 มีนาคม พ.ศ. 2489) คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต, อดีตกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) และอดีตประธานแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวในศาลฎีก.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิชา มหาคุณ

วิบูลย์ สงวนพงศ์

นายกองเอก วิบูลย์ สงวนพงศ์ กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีต ปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหลายจังหวัด และอดีตอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรรมการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ในรัฐบาล อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ระหว่างวันที่ 5 ตุลาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิบูลย์ สงวนพงศ์

วิบูลย์ คูหิรัญ

นายวิบูลย์ คูหิรัญ ที่ปรึกษามูลนิธิโครงการหลวง ประธานกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลโพธาราม เป็นอดีตผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และอดีตสมาชิกว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิบูลย์ คูหิรัญ

วิลาศ จันทร์พิทักษ์

ัชกร วิลาศ จันทร์พิทักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิลาศ จันทร์พิทักษ์

วิษณุ เครืองาม

ตราจารย์กิตติคุณ วิษณุ เครืองาม (15 กันยายน พ.ศ. 2494 -) ราชบัณฑิตและรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายกฎหมายในรัฐบาลปัจจุบัน หัวหน้าคณะร่างรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิษณุ เครืองาม

วิสุทธ์ บุษยกุล

ตราจารย์วิสุทธิ์ บุษยกุล ศาสตราจารย์วิสุทธิ์ บุษยกุล (เกิด: 8 พฤศจิกายน 2462, จังหวัดอุดรธานี; อนิจกรรม: 21 มกราคม 2554, กรุงเทพมหานคร) บิดาเป็นชาวจังหวัดอุดรธานี มารดาเป็นชาวสมุทรสงคราม เนื่องจากบิดารับราชการในแผนกคลังจังหวัด เด็กชายวิสุทธิ์จึงต้องติดตามบิดาไปอยู่จังหวัดนครพนมตั้แต่อายุประมาณ 2-3ขวบ และได้เริ่มเรียนหนังสือที่โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จึงได้ย้ายไปศึกษาต่อที่ โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิสุทธ์ บุษยกุล

วิจิตร ศรีสอ้าน

ตราจารย์พิเศษ วิจิตร ศรีสอ้าน (22 ธันวาคม พ.ศ. 2477 —) เกิดที่ตำบลสนามจันทร์ อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตปลัดทบวงมหาวิทยาลัย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อดีตรองประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ปัจจุบันศาสตราจารย์พิเศษ วิจิตร ศรีสอ้าน หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน ดำรงตำแหน่ง นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี นายกสภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และที่ปรึกษาสำนักงานรับรองมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา (สมศ.).

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิจิตร ศรีสอ้าน

วิทยา ทองอยู่ยง

วิทยา ทองอยู่ยง หรือ บอล ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย กลุ่ม 365 ฟิล์ม เกิดเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2516.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยา ทองอยู่ยง

วิทยา คุณปลื้ม

วิทยา คุณปลื้ม (ชื่อเล่น: ป๊อก) (27 มิถุนายน พ.ศ. 2508 —) นักการเมืองชาวไทย เกิดที่จังหวัดชลบุรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 5 สมัย ตั้งแต..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยา คุณปลื้ม

วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ

วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ (ํTSU-MDC).

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ

วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อาคารสถาบัน 3 ที่ตั้งของวิทยาลัย วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานประเภทวิทยาลัยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดสอนเฉพาะหลักสูตรนานาชาติเท่านั้น มุ่งเน้นในงานวิชาการและการบริการทางวิชาการด้านสาธารณสุขและวิทยาศาสตร์สาธารณสุข เป็นส่วนงานของมหาวิทยาลัยที่มีความร่วมมือกับองค์กรนานาชาติหลายแห่ง เช่น องค์การอนามัยโลกตั้งอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกับคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บริเวณด้านหลังสยามสแควร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นวิทยาลัยดนตรีมีฐานะเทียบเท่าคณะหนึ่ง ในกำกับของมหาวิทยาลัยมหิดล เปิดสอนวิชาเกี่ยวกับดนตรีโดยเฉพาะ ตั้งแต่ระดับเตรียมอุดมดนตรี (ม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกของประเทศ ที่เปิดสอนหลักสูตรประชากรศาสตร์ ระดับบัณฑิตศึกษา นอกจากนี้ ยังเปิด "ศูนย์สารสนเทศทางประชากรศาสตร์" เพื่อให้บริการด้านการเผยแพร่ความรู้ด้านวิชาการและข้อมูลต่าง ๆ ด้านประชากรศาสตร์ให้แก่ผู้สนใจด้ว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวิทยาลัยที่เปิดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา ในสาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ และสาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม โดยความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยจากประเทศสหรัฐอเมริกาและฝรั่ง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต

วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต (College of Social Innovation, Rangsit University) มีจุดประสงค์เพื่อให้การศึกษาแบบสหวิทยาการ เพื่อให้บัณฑิตมีความเข้าใจถึงเศรษฐกิจ สังคม อย่างเป็นองค์รวม และทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคมอย่างรวดเร็ว วิทยาลัยนวัตกรรมให้ความสนใจกับกระบวนการเรียนรู้มากกว่าตัวความรู้ เราจะสอนให้น้อยลง แต่จะให้นักศึกษาเรียนรู้ให้มากขึ้น เป้าหมายการเรียนรู้อยู่ที่การสร้างกระบวนทัศน์ใหม่ให้แก่นักศึกษาให้เป็นผู้นำที่ใฝ่เรียนรู้ตลอดเวลา ตลอดชีวิตและสามารถพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง การเรียนการสอนให้ความสำคัญกับ Problem Based Learning ซึ่งเป็นวิธีการเรียนแบบใหม่ที่ลดการบรรยายลง แต่เพิ่มการอภิปรายในชั้นเรียนให้มากขึ้น ฝึกฝนให้นักศึกษาสามารถแสดงความคิดเห็นและการวิพากษ์วิจารณ์ปัญหาร่วมกันได้ แทนที่จะเป็นการเรียนแบบท่องจำเหมือนในอดีต กระบวนการเรียนการสอนเน้นความสัมฤทธิ์ผลที่จะเกิดขึ้นกับตัวบัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิตทั้งทางด้านความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และการสร้างแรงบันดาลใจ (Aspiration) ในการเป็นผู้นำ โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต

วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา

วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา (Nakhon Ratchasima College of Dramatic Arts) เป็นวิทยาลัยนาฏศิลป สังกัดสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 2 มกราคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา

วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิตเป็นสถาบันแพทยศาสตร์ในมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งแรกของประเทศไทย ก่อตั้งเป็นสถาบันแพทยศาสตร์ลำดับที่ 9 ในจำนวนโรงเรียนแพทย์ทั่วประเทศ 21 สถาบัน ได้รับการรับรองจากแพทยสภาเปิดเป็นโรงเรียนแพทย์โดยสมบูรณ์ ด้วยปณิธานของมหาวิทยาลัยรังสิตที่จะผลิตผลิตบัณฑิตในสาขาที่ประเทศขาดแคลนต่อการพัฒนาประเทศ เพื่อเพิ่มจำนวนแพทย์ให้เพียงพอโดยการร่วมกันผลิตแพทย์ระหว่างภาครัฐคือกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข และเอกชน คือมหาวิทยาลัยรังสิต ในปัจจุบันวิทยาลัยนี้มีนักศึกษาจบไปแล้วทั้งสิ้น 19 รุ่น จำนวนกว่า 1200 คน (บัณฑิตแพทย์รุ่น 19 สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2555-56).

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า

วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า เป็นสถาบันผลิตแพทย์ทหารแห่งเดียวในประเทศไทย ก่อตั้งเป็นสถาบันแพทยศาสตร์ลำดับที่ 7 ของประเทศ จากกระแสพระบรมราโชวาทของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ โดยดำเนินงานร่วมกับโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า กรมแพทย์ทหารบก และดำรงสถานะสถาบันสมทบของ มหาวิทยาลัยมหิดล.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า

วิทยาลัยเชียงราย

วิทยาลัยเชียงราย (Chiangrai College) เดิมชื่อวิทยาลัยกรุงธนเชียงราย เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในจังหวัดเชียงราย ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยเชียงราย

วิทยุการบินแห่งประเทศไทย

ริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ในสังกัดกระทรวงคมนาคม มีหน้าที่รับผิดชอบด้านงานควบคุมจราจรทางอากาศในอาณาเขตประเทศไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยุการบินแห่งประเทศไทย

วิทย์ สิทธิเวคิน

ร.วิทย์ สิทธิเวคิน เกิดวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513เป็นชาวไทยเชื้อสายจีน (Wit Sittivaekin) โตในย่าน ท่าพระจันทร์ เขตพระนคร ศึกษา ชั้นประถมต้นถึงชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จาก โรงเรียนเซนต์คาเบรียล จบปริญญาตรี รัฐศาสตรบัณฑิต(การปกครอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) ปริญญาโท ด้านทฤษฎีการเมือง มหาวิทยาลัยลอนดอน (M.Sc.Political Theory,London School Of Economics) อุตสาหกรรมสัมพันธ์และการบริหารงานบุคคล (M.Sc.Industrial Relations and Personal Management, London School Of Economics) ปริญญาเอกด้านปรัชญาการเมือง มหาวิทยาลัย เซาแธมป์ตัน (Ph.D.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทย์ สิทธิเวคิน

วิทิต มันตาภรณ์

ตราจารย์กิตติคุณ วิทิต มันตาภรณ์ (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 - ปัจจุบัน) เป็นนักกฎหมายชาวไทย ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายระหว่างประเทศโดยเฉพาะเรื่องสิทธิมนุษยชน ศาสตราจารย์กิตติคุณคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศาสตราภิชานของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทิต มันตาภรณ์

วิทิตนันท์ โรจนพานิช

วิทิตนันท์ โรจนพานิช คนไทยคนแรกที่ปีนยอดเขาเอเวอร์เรสต์สำเร็จ มีอาชีพเป็นครีเอทีฟรายการโทรทัศน์ และผู้กำกับภาพยนตร์ นายวิทิตนันท์สามารถปีนยอดเขาเอเวอร์เรสต์สำเร็จพร้อมกับนักปีนเขาชาวเวียดนาม 3 คนแรก เมื่อ ปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทิตนันท์ โรจนพานิช

วินัย ดะห์ลัน

รองศาสตราจารย์ วินัย ดะห์ลัน เป็น กรรมการในคณะกรรมการสภาการศึกษา กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสังคม ใน รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้อำนวยการและผู้ก่อตั้งศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีกทั้งยังเป็นสมาชิกสภาปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษ..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวินัย ดะห์ลัน

วินิตา ดิถียนต์

รองศาสตราจารย์ คุณหญิง วินิตา ดิถียนต์ เป็นนักประพันธ์นวนิยายชาวไทย นามปากกาที่เป็นที่รู้จัก คือ แก้วเก้า, ว.วินิจฉัยกุล, รักร้อย, ปารมิตา, วัสสิกา, อักษรานีย์ และเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวินิตา ดิถียนต์

วินทร์ เลียววาริณ

วินทร์ เลียววาริณ (ชื่อเกิด สมชัย เลี้ยววาริณ) เกิดปี พ.ศ. 2499 ที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวินทร์ เลียววาริณ

วิเศษ จูภิบาล

นายวิเศษ จูภิบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ในรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตผู้ว่าการการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.).

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิเศษ จูภิบาล

วุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง กรรมการอิสระ บริษัท บางกอก โพสต์ จำกัด (มหาชน) อดีตรักษาการอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์

วุฒิสภา

วุฒิสภา เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาสูงในระบบสภาคู่ วุฒิสภาดั้งเดิมนั้นคือวุฒิสภาโรมัน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวุฒิสภา

วุฒิสภาไทย

วุฒิสภาไทย หรือเดิมมีชื่อว่า "พฤฒสภา" เป็นวุฒิสภาของประเทศไทย โดยเป็นสภาสูงในรัฐสภาไทยคู่กับสภาผู้แทนราษฎรไทยซึ่งเป็นสภาล่าง วุฒิสภาไทยเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวุฒิสภาไทย

วีรพงษ์ รามางกูร

วีรพงษ์ รามางกูร หรือ ดร.โกร่ง รองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) นอกจากนี้ยังเคยดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตที่ปรึกษาเศรษฐกิจในหลายรัฐบาล อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (กยอ.) ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวีรพงษ์ รามางกูร

วีระชัย วีระเมธีกุล

วีระชัย วีระเมธีกุล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวีระชัย วีระเมธีกุล

วีระศักดิ์ โควสุรัตน์

นายวีระศักดิ์ โควสุรัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา รองประธานกรรมการในคณะกรรมการนโยบายการกีฬาแห่งชาติประธานกรรมการในคณะกรรมการประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ประธานกรรมการคณะกรรมการส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนกรรมการมูลนิธิสุรเกียรติ์ - ท่านผู้หญิงสุธาวัลย์ เสถียรไทยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริมศิลปะร่วมสมัย สาขาภาพยนตร์ นักคิด นักยุทธศาสตร์ และนักวิชาการด้านกฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางทั้งในและต่างประเทศ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง เลขาธิการสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ ด้วยความที่เป็นนักวิชาการด้านการเมืองและนักพัฒนาสังคม จึงมีโอกาสได้ดำรงตำแหน่งที่สำคัญหลายตำแหน่ง อาทิ เลขานุการประธานรัฐสภา เลขานุการประธานตุลาการรัฐธรรมนูญ เลขานุการประธานคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายวุฒิสภา ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงวัฒนธรรม เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคชาติไทยอีกด้วย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา อดีตผู้อำนวยการสถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน) นอกเหนือจากทางการเมืองแล้ว ด้านงานวิชาการ ยังเป็นอาจารย์พิเศษ และผู้บรรยายพิเศษ ในมหาวิทยาลัยต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นมหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวีระศักดิ์ โควสุรัตน์

วนัสธนา สัจจกุล

นายวนัสธนา สัจจกุล (ชื่อเดิม ธวัชชัย สัจจกุล) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กหอย หัวหน้าพรรคพลังคนกีฬา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย และอดีตผู้จัดการทีมฟุตบอลทีมชาติไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวนัสธนา สัจจกุล

ศรัณยู วงษ์กระจ่าง

รัณยู วงศ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ตั้ว) มีชื่อจริงว่า นรัณยู วงษ์กระจ่าง (เปลี่ยนมาจาก ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศรัณยู วงษ์กระจ่าง

ศรีนาถ สุริยะ

ตราจารย์เกียรติคุณ ท่านผู้หญิงศรีนาถ สุริยะ ป.ม., ท..ว., ต.. (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2459 -- 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 อายุ 94 ปี) คุณข้าหลวงใหญ่ในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และเป็นพระอาจารย์ประจำพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และอดีตคณบดีคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศรีนาถ สุริยะ

ศศิกานต์ อภิชาตวรศิลป์

กานต์ อภิชาตวรศิลป์ (ชื่อเล่น: เอ๊ะ) เป็นนักแสดง พิธีกร นางแบบ และนักร้องหญิงชาวไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศศิกานต์ อภิชาตวรศิลป์

ศศิวรรณ์ เลิศวิริยะประภา

วรรณ์ เลิศวิริยะประภา ชื่อเล่น โอ๊ต ปัจจุบัน เป็นผู้ดำเนินรายการ คุยข่าวเช้า คู่กับ วราภรณ์ สมพงษ.-. เวลา 08.00 - 09.30 น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศศิวรรณ์ เลิศวิริยะประภา

ศักรินทร์ ภูมิรัตน

รองศาสตราจารย์ ศักรินทร์ ภูมิรัตน ประธานกรรมการคณะกรรมการบริหารศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์, กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ,ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 นักวิทยาศาสตร์ของประเทศไทยที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านไบโอแก๊ส, Transport Properties of Food Materials และ Algal Technology Research ปัจจุบันดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ร.ดร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน เป็นบุตรของศาสตราจารย์ อมร ภูมิรัตน และคุณหญิง ระเบียบ ภูมิรัตน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศักรินทร์ ภูมิรัตน

ศาลรัฐธรรมนูญ

ลรัฐธรรมนูญ (constitutional court) เป็นศาลสูงที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ โดยมีอำนาจหลักที่จะวินิจฉัยว่า กฎหมายใดมีปัญหาเรื่องความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่ เช่น ขัดกับสิทธิและเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้หรือไม่ ในหลาย ๆ ประเทศ ไม่จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญเป็นเอกเทศ และศาลยุติธรรมตามธรรมดาจะรับคดีดังกล่าวเอง นอกจากนี้ ในหลาย ๆ ประเทศก็ไม่เรียกองค์กรนี้ว่า "ศาลรัฐธรรมนูญ" และบางประเทศก็เรียกศาลยุติธรรมว่า ศาลรัฐธรรมนูญ เช่น ศาลสูงสุดแห่งสหรัฐอเมริกาได้ชื่อว่าเป็น "ศาลรัฐธรรมนูญที่เก่าแก่ที่สุดในโลก" เพราะเป็นศาลแรกในโลกที่วินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายต่าง ๆ (คดีระหว่างมาร์บิวรีกับเมดิสัน) แม้ว่าในประเทศสหรัฐอเมริกาจะไม่จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญเป็นการเฉพาะก็ตาม ส่วนประเทศที่สถาปนาศาลรัฐธรรมนูญอย่างเอกเทศเป็นแห่งแรกของโลกนั้น คือ ประเทศออสเตรีย ซึ่งดำเนินการใน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศาลรัฐธรรมนูญ

ศาลปกครอง (ประเทศไทย)

ตราสัญลักษณ์ศาลปกครอง http://www.admincourt.go.th/admincourt/site/01sign.html ตราสัญลักษณ์ศาลปกครอง ศาลปกครอง (Administrative Court) เป็นศาลที่จัดตั้งขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 276 และมีการจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศาลปกครอง (ประเทศไทย)

ศาสตราจารย์

ตราจารย์ (อักษรย่อ ศ.) คือผู้มีความเชี่ยวชาญในศิลปะวิทยาการเฉพาะด้าน หรือผู้สอนผู้มีความชำนาญระดับสูง ศาสตราจารย์อาจได้รับการคัดเลือกแล้วแต่งตั้งตามตำแหน่งทางวิชาการ หรือมีคุณวุฒิในระดับที่ควรแก่การยกย่อง มีคนในวงการอ้างถึงและยกผลงานให้เป็นทฤษฎี หรือมีผลงานวิจัยที่ส่งผลกระทบโดยกว้าง ความหมายของ ศาสตราจารย์ (professor) แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ สำหรับประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษในกลุ่มเครือจักรภพ (ยกเว้นแคนาดาและไอร์แลนด์) คำนี้หมายถึง อาจารย์อาวุโสที่ดำรงตำแหน่งระดับภาควิชา โดยเฉพาะหัวหน้าภาควิชา หรือหมายถึงตำแหน่งที่ได้รับเป็นการเฉพาะบุคคล สำหรับแคนาดาและสหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์เป็นตำแหน่งสำหรับอาจารย์อาวุโสในสถาบันอุดมศึกษาทั่วไป ตำแหน่งศาสตราจารย์ในอเมริกาและแคนาดาเปิดกว้างสำหรับอาจารย์จำนวนมากกว่าตำแหน่งในกลุ่มเครือจักรภพ หลายประเทศในทวีปยุโรป อาทิ เยอรมนี ฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย คำว่า ศาสตราจารย์ ใช้เป็นคำนำหน้าชื่อตามกฎหมาย ซึ่งมีจำนวนจำกัด เช่นเดียวกับกลุ่มประเทศในเครือจักรภพ สำหรับประเทศไทยคำว่า ศาสตราจารย์ สามารถใช้นำหน้าชื่อได้ตามที่บุคคลนั้นต้องการ ประเทศที่พูดภาษาสเปนในลาตินอเมริกา คำว่า ศาสตราจารย์ (profesor) ใช้แก่ผู้ที่ทำหน้าที่สอนในโรงเรียน สถาบัน โรงเรียนเทคนิค โรงเรียนอาชีวศึกษา วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย โดยไม่คำนึงถึงระดับของเนื้อหาวิชา หรือระดับชั้นหรืออายุของนักเรียนนักศึกษา ซึ่งรวมไปถึงระดับอนุบาล ประถม มัธยมด้วยเป็นต้น ถึงเช่นนั้นก็ตาม ศาสตราจารย์ที่สอนอยู่ในมหาวิทยาลัยจะระบุว่าเป็น ศาสตราจารย์มหาวิทยาลั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศาสตราจารย์

ศิริพิชยา วิสิฐไวทยากุล

ริพิชยา วิสิฐไวทยากุล (ชื่อเดิม: จณิสตา ชูช่วยสุวรรณ, คณุตรา ชูช่วยสุวรรณ) เป็นนักแสดงชาวไทย ปัจจุบันสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาจิตวิทยา การปรึกษาและแนะแนวการศึกษานอกระบบโรงเรียน เกียรตินิยมอันดับ 1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นรองอันดับที่ 1 และตำแหน่งขวัญใจช่างภาพสื่อมวลชน มิสทีนไทยแลนด์ 2005 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จาก โรงเรียนหอวัง เป็นนักกิจกรรม ความสามารถรอบด้าน และยังเป็นประธานคณะกรรมการนักเรียน โรงเรียนหอวัง รุ่นที่36.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศิริพิชยา วิสิฐไวทยากุล

ศิลปินแห่งชาติ

ลปินแห่งชาติ ของประเทศไทย หมายถึงศิลปินผู้มีความสามารถ มีผลงานสร้างสรรค์และพัฒนาเป็นที่ยอมรับของวงการ และมีผลงานเป็นประโยชน์ต่อสังคม นับตั้งแต่เริ่มโครงการศิลปินแห่งชาติ (พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศิลปินแห่งชาติ

ศุภชัย ศรีหล้า

ัย ศรีหล้า อดีตรองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียงหนึ่งในสี่คนของพรรค ที่ชนะการเลือกตั้งในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในการเลือกตั้ง พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศุภชัย ศรีหล้า

ศุภวัฒน์ ชุติวงศ์

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ ศุภวัฒน์ ชุติวงศ์ ประธานคณะกรรมการบริหารการศึกษาต่อเนื่องของแพทย์ แพทยสภา อดีตคณบดี คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศุภวัฒน์ ชุติวงศ์

ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เริ่มต้นโดย ดร.วินัย ดะห์ลัน ในเดือนมกราคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้

ูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (Southern Border Provinces Administration Centre) หรือเรียกโดยย่อว่า ศอ.บต. (SBPAC) เป็นองค์กรพิเศษที่รัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้

ศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน

ูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (Centre for Resolution of Emergency Situation) หรือเรียกโดยย่อว่า ศอฉ. (CRES) เป็นหน่วยงานพิเศษของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน

สภากาชาดไทย

กาชาดไทย เป็นสภากาชาดประจำประเทศไทย มีภารกิจปกป้องชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน ร..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสภากาชาดไทย

สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2539

ร่างรัฐธรรมนูญ..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2539

สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550

ร่างรัฐธรรมนูญ..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550

สภาวิศวกร

วิศวกร จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติวิศวกร..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสภาวิศวกร

สภาสถาปนิกไทย

ตราสัญลักษณ์สภาสถาปนิก ในประเทศไทย, สภาสถาปนิก (Architect Council of Thailand หรือชื่อเดิม Council Of Architects) คือองค์กรควบคุมวิชาชีพสถาปัตยกรรมที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาปนิก..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสภาสถาปนิกไทย

สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือตัวย่อ. (National Economic and Social Advisory Council, NESAC) เป็นสภาที่ปรึกษา ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรี ทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

สภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chulalongkorn University Faculty Senate) เป็นหน่วยงานอิสระภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีบทบาทสำคัญต่อมหาวิทยาลัย คือทำหน้าที่เป็น ตัวแทนคณาจารย์เพื่อให้คำแนะนำ และประสานงาน ด้วยความร่วมมืออันดี กับฝ่ายบริหาร คณาจารย์ นิสิต ตลอดจนหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความ เข้าใจอันดีในการ ที่จะมุ่งมั่นสร้างสรรค์ ประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัย โดยส่วนรวมอันจะ เป็นผลดีต่อสังคม และประเทศชาติ มีกำเนิดขึ้นจากพระปรีชาญาณของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก มีหน้าที่เป็น ที่ปรึกษาของอธิการบดี ในการที่จะบริหารงานของมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านวิชาการ มาตรฐานอาจารย์ กิจการนิสิต และเรื่องอื่น ๆ ตามแต่จะได้รับมอบหมาย เมื่อเริ่มเรียกว่า สภาศาสตราจารย์ และมีวิวัฒนาการเป็นลำดับ จนกระทั่งเป็นสภาคณาจารย์ สภาคณาจารย์มุ่งหวังที่จะมีบทบาทที่สำคัญต่อมหาวิทยาลัย โดยทำหน้าที่เป็นผู้แทนคณาจารย์ทั้งปวง เพื่อให้คำปรึกษา แนะนำ ตลอดจนประสานงาน ด้วยความร่วมมืออันดียิ่งกับฝ่ายบริหาร คณาจารย์ นิสิต ตลอดจนหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น สโมสรอาจารย์ และสมาคมนิสิตเก่าฯ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีในการที่จะมุ่งมั่น สร้างสรรค์ประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัย โดยส่วนรวม อันจะเป็นผลดีต่อสังคมและประเทศชาติในที่สุด นอกจากการให้คำปรึกษา และข้อเสนอแนะแก่อธิการบดีแล้ว มหาวิทยาลัยยังให้สภาคณาจารย์ส่งผู้แทนเข้าร่วมเป็นกรรมการในคณะกรรมการต่างๆ จนถึงระดับสภามหาวิทยาลัย ซึ่งพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้กำหนดให้ประธานสภาคณาจารย์เป็นกรรมการสภามหาวิทยาลัยโดยตำแหน่งด้วย พระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฉบับปัจจุบัน (พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549

นิติบัญญัติแห่งชาต..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549

สมพล ปิยะพงศ์สิริ

มพล ปิยะพงศ์สิริ ชื่อเล่น ไก่ เกิดเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2512 ในครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีนที่ย่านเยาวราช กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาระดับประถมจากโรงเรียนเผยอิง มัธยมจากโรงเรียนทวีธาภิเศก โดยเรียนสาขาภาษาเยอรมัน ระหว่างเรียนได้ทุนเรียนดีให้ไปศึกษาต่อที่ประเทศเยอรมนีอยู่ระยะหนึ่งด้วย จากนั้นจึงเข้าศึกษาต่อคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รุ่นเดียวกับ "ครูลิลลี่" กิจมาโนชญ์ โรจนทรัพย์ มีชื่อเสียงมาจากการเคยเล่นมิวสิกวีดีโอของ ธเนศ วรากุลนุเคราะห์ ในเพลง รักน้องคนเดียว และรวมทั้งเป็นดีเจในเครือของแกรมมี่ โดยมีบุคลิกเฮฮา เจ้าสำราญ มีมุกตลกชอบอำอยู่เสมอ ๆ จากนั้นจึงได้เป็นพิธีกรรายการเกมโชว์ในเครือของแกรมมี่อีกหลายรายการ เช่น เกมฮอตเพลงฮิต, เกมวัดดวง เซียนโอเกะ, คอซองเกม เป็นต้น นอกจากนั้นยังเคยออกอัลบั้มเพลงมา 2 ชุด ชื่อ เหล่าเจ๊กหงี กับ แมงยุ่ง และแสดงภาพยนตร์เรื่อง ยังไงก็รัก ในปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมพล ปิยะพงศ์สิริ

สมภพ ภิรมย์

ตราจารย์ พลเรือตรี สมภพ ภิรมย์ (26 กรกฎาคม 2459 -3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550) สถาปนิกสาขาสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมไทย ปูชนียบุคคลผู้อนุรักษ์มรดกด้านสถาปัตยกรรมไทย ปูชนียบุคคลด้านสถาปัตยกรรมไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) ประจำปี 2529 และราชบัณฑิตสำนักศิลปกรรม ประเภทสถาปัตยศิลป์ อดีตคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัยศรีปทุม อดีตอธิบดีกรมศิลปากร และอดีตนายกสมาคมสถาปนิกสยาม เป็นผู้มีผลงานทางด้านสถาปัตยกรรม และผลงานวิชาการงานเขียนมากมาย ผลงานชิ้นสำคัญ ได้แก่ “กุฎาคาร” “พระเมรุมาศ พระเมรุ และเมรุ สมัยรัตนโกสินทร์” และ “บ้านไทยภาคกลาง” โดยมักจะใช้คำนำหน้าหนังสือหรือบทความว่า “ปกิณกคดีหมายเลข 13” ศาสตราจารย์ พลเรือตรี สมภพ ภิรมย์ เกิดเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมภพ ภิรมย์

สมฤทัย พรหมจรรย์

มฤทัย พรหมจรรย์ (ชื่อเล่น พริ้ง) เกิดเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมฤทัย พรหมจรรย์

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

มาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย หรือ The Consulting Engineers Association of Thailand มีชื่อย่อว่า ว.ป.ท. หรือ C.E.A.T. ได้จดทะเบียนเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย

สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์

ัญลักษณ์สมาคมสถาปนิกสยาม สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage of His Majesty the King) หรือ อาษา (ASA) เป็นสมาคมของบุคคลในวิชาชีพสถาปนิกและผู้ที่สนใจในงานสถาปัตยกรรมของประเทศไทย โดยเป็นหนึ่งในสี่สมาคมวิชาชีพออกแบบสถาปัตยกรรม สมาคมสถาปนิกสยาม เป็นสมาคมที่มีลักษณะเป็นนิติบุคคล.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์

สมิทธิ์ อารยะสกุล

นายแพทย์สมิทธิ์ อารยะสกุล (โอ๊ค) เกิดเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2523 จบการศึกษาจากโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษาแล้วจึงเข้าศึกษาระดับอุดมศึกษาที่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เกียรตินิยมอันดับ 1 จากนั้นก็ศึกษาต่อปริญญาโท ทางด้านตจวิทยา (ผิวหนัง) ที่ศูนย์ผิวหนัง คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โอ๊คเริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงจากการเข้าประกวด Cleo Bachelor ปี 2004 จากนั้นก็เริ่มถ่ายแบบและโฆษณาให้กับสินค้าทั้งในประเทศ และต่างประเทศอีกมากมาย หลังจากที่ออกมาทักทายกัน ไม่ว่า จะตามแผงหนังสือ ถ่ายแบบ บทสัมภาษณ์ หรือ ออกรายการโทรทัศน์ต่างๆ รวมถึงการเป็นพิธีกร รายการ"รถโรงเรียน" ของ GRAMMY TELEVISION ล่าสุด กับการเป็นหนึ่งในนักร้องในอัลบั้ม VOICE MALE และส่งเพลง “ซื้อกุหลาบให้ตัวเอง” และ “วูบหนึ่งในคืนเหงา” ต่อมาได้ออกอัลบั้มเดี่ยวครั้งแรก “ฮาว อาร์ ยู” (HOW R U ?) ซึ่งก็มีเพลงที่กำลังโด่งดังอยู่ในขณะนั่นก็คือเพลง ความคิดถึงห้ามกันไม่ได้ และก็ได้นำเพลง ซื้อกุหลาบให้ตัวเอง จากอัลบั้ม VOICE MALE มาร้องใหม่ในสไตล์ตัวเอง เขายังเป็นลูกพี่ลูกน้องกับ แบงค์ พชร ปัญญายงค์ พิธีกร ผู้ประกาศข่าวโทรทัศน์ โอ๊ค ได้คบหากับ ปาณิสรา พิมพ์ปรุ หรือ โอปอล์ ดีเจชาวไทย โดยจัดพิธีหมั้นและจดทะเบียนสมรสเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2557 ที่บ้านของฝ่ายว่าที่เจ้าสาว และมีพิธีฉลองมงคลสมรสนั้นขึ้นเมื่อวันที่ 6 เมษายน 2557 ณ โรงแรมพลาซ่าแอททินี, ปัจจุบันทั้งคู่มีลูกฝาแฝดชาย-หญิง ชื่อว่าน้องอลิน-อรัญ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมิทธิ์ อารยะสกุล

สมเกียรติ อ่อนวิมล

ผ.สมเกียรติ อ่อนวิมล เป็นประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทยวิทัศน์ จำกัด, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำวิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, ผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท แปซิฟิก อินเตอร์คอมมิวนิเคชั่น จำกัด อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมเกียรติ อ่อนวิมล

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

มหาอำมาตย์ตรี พันเอกพิเศษ จอมพลเรือ นายกองเอกเสือป่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (1 มกราคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร

ลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร พระนามเดิม พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ (12 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2435 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2466) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 5 กรกฎาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (24 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

สยามมกุฎราชกุมาร

มมกุฎราชกุมาร เป็นพระอิสริยยศมกุฎราชกุมารของประเทศไทย ซึ่งเป็นพระอิสริยยศของผู้ที่จะสืบราชสมบัติต่อจากพระมหากษัตริย์ไทย โดยสยามมกุฎราชกุมารจะดำรงพระยศนี้ไปจนกว่าพระมหากษัตริย์จะสวรรคตหรือสละราชสมบัติ พระอิสริยยศนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นผู้ทรงกำหนดขึ้นเมื่อ..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสยามมกุฎราชกุมาร

สยามดิสคัฟเวอรี

มดิสคัฟเวอรี่เซ็นเตอร์ก่อนการปรับปรุงครั้งใหญ่ ศูนย์การค้าสยามดิสคัฟเวอรี (Siam Discovery) เป็นศูนย์การค้าแห่งหนึ่งในประเทศไทย บริการงานโดยสยามพิวรรธน์ เปิดตัวเมื่อเมษายน 2540 ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ ตั้งอยู่บริเวณสี่แยกปทุมวัน เป็นศูนย์การค้าภายใต้แนวคิด "Lifestyle shopping" ในแต่ละชั้นจะนำเสนอสินค้าประเภทเดียวหรือแนวคิดเดียว (One Floor One Concept) ซึ่งเป็นต้นแบบให้กับเอ็มโพเรียม และสยามพารากอน จากข้อมูลในปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสยามดิสคัฟเวอรี

สยามเซ็นเตอร์

มเซ็นเตอร์ หรือ ศูนย์การค้าสยาม เป็นศูนย์การค้าขนาดใหญ่แบบพิเศษเฉพาะ (Specially Shopping Center) ซึ่งไม่มีร้านแบ่งตามแผนก (Department Store) ตั้งอยู่ริมถนนพระรามที่ 1 ดำเนินงานโดย บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด เปิดบริการเมื่อปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสยามเซ็นเตอร์

สรรเสริญ สมะลาภา

รรเสริญ สมะลาภากรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เป็นหนึ่งในผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจ การเงิน การธนาคารของไทย ถือเป็นหนึ่งในทีมเศรษฐกิจของพรรคประชาธิปัตย์ ขณะเป็นพรรคฝ่ายค้าน ในสมัยรัฐบาล.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร สมัยแรก.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสรรเสริญ สมะลาภา

สรจักร ศิริบริรักษ์

ัชกร สรจักร ศิริบริรักษ์ หรือรู้จักกันในนาม สรจักร เป็นนักเขียนเรื่องสั้นแนวเขย่าขวัญ ได้รับฉายาว่าเป็น สตีเฟ่น คิง เมืองไทย จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยมหิดล นอกจากผลงานเรื่องสั้นแนวเขย่าขวัญแล้ว ยังเขียนหนังสือสารคดีเกี่ยวกับนิติเวชศาสตร์ และโภชนาการอีกด้วย นามปากกา สรจักร/สรจักร ศิริบริรักษ์/เภสัชกรสรจักร ศิริบริรักษ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสรจักร ศิริบริรักษ์

สัญญา คุณากร

ัญญา สมรสกับ อาทิตยา เลาหวัฒนะ เข้ารับน้ำสังข์พระราชทาน จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวัน พุธ ที่ 22 ตุลาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสัญญา คุณากร

สังศิต พิริยะรังสรรค์

รองศาสตราจารย์ สังศิต พิริยะรังสรรค์ คณบดีวิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต, สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ(สปท.), กรรมการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ, อดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ป.ป.ง.),อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ(สปช.),อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, อดีตรองประธานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ผู้อำนวยการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม และผู้อำนวยการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสังศิต พิริยะรังสรรค์

สายสวรรค์ ขยันยิ่ง

วรรค์ ขยันยิ่ง ชื่อเล่น: (หนิง) เป็นผู้ประกาศข่าวและพิธีกรรายการโทรทัศน์ ของสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี มานานกว่า 10 ปี และหลังจากสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวีปิดลงได้ไม่นาน เธอก็ได้มาเป็นผู้ประกาศข่าวเช้าในรายการจมูกมดของทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ในระยะหนึ่ง ปัจจุบัน เธอได้เซ็นสัญญาเป็นผู้ประกาศข่าว ของทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 สายสวรรค์ ศึกษาระดับประถมศึกษา โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม ระดับมัธยมศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ ระดับปริญญาตรี คณะนาฏศิลป์และดุริยางค์ ภาควิชา/สาขา นาฏศิลป์ไทย สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ระดับปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานาฏยศิลป์ไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เริ่มงานแรกเป็นครูสอนนาฏศิลป์ที่ จังหวัดนครศรีธรรมราช ต่อมาเป็นผู้ประกาศข่าวช่อง 11 (ท้องถิ่น) แล้วจึงทำงานเป็นผู้ประกาศข่าวทางไอทีวี เมื่อปี 2540 ต่อมาทำหน้าที่เป็นโปรดิวเซอร์และเป็นผู้ดำเนินรายการ เมืองไทยเช้านี้, วาไรตี้ข่าวภาคเช้า จนได้เป็นผู้ประกาศข่าวภาคเที่ยงและภาคค่ำ และเป็นผู้จัดการแผนกผู้ประกาศที่ไอทีวี และเป็นพิธีกรรายการ คืนนี้กับสายสวรรค์ เธอทำงานกับทางช่อง 3 มีผลงานคือรายการ Lightning Talk กับ สายสวรรค์ ขยันยิ่ง ที่ทำให้เธอได้รับรางวัลพิธีกรหญิงดีเด่น ประเภทพิธีกรหรือผู้ดำเนินรายการ จากงานประกาศรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 31 ประจำปี 2559 และเธอยังเป็นผู้ประกาศข่าวโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยเมื่อคราวพระราชพิธีสรงน้ำศพสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และเป็นผู้บรรยายถ่ายทอดสดงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ รัชกาลที่ 9 สายสวรรค์ได้รับรางวัลนาฏราช ครั้งที่ 4 สาขาผู้บรรยายรายการโทรทัศน์ยอดเยี่ยม จากรายการสารคดีเฉลิมพระเกียรติ 70 ปี รัชกาลที่ 9 ตอน "รอยยิ้มจากหยาดเหงื่อ" ช่อง 3.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสายสวรรค์ ขยันยิ่ง

สายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา

ทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา หรือ สายทิพย์ ประภาษานนท์ เกิดเมื่อ ลูกบุญธรรมพี่สาวหนึ่งคนของสุ่นชวดอิ้ง (มนตรีกุล) ดิษยบุตร มีลูกบุญธรรมน้องสาวหนึ่งคนชื่อวิศัลย์ศยา เป็นที่รู้จักในชื่อ ดีเจพี่ฉอด เป็นนักจัดรายการวิทยุและผู้บริหาร ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ประธานบริหารบริษัทแกรมมี่ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (สายธุรกิจสื่อ) (Chief Executive Officer (Media Business)) ของ บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน).

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา

สารคดี

ำหรับนิตยสาร ดู สารคดี (นิตยสาร) สารคดี เป็นงานเขียนหรือวรรณกรรมร้อยแก้วในลักษณะตรงข้ามกับกับบันเทิงคดี (Fiction) ที่มุ่งให้สาระความรู้แก่ผู้อ่านเป็นเบื้องต้น มีความเพลิดเพลินเป็นเบื้องหลัง ที่มุ่งแสดงความรู้ ความคิด ความจริง ความกระจ่างแจ้ง และเหตุผลเป็นสำคัญ อาจจะเขียนเชิงอธิบาย เชิงวิจารณ์เชิงแนะนำสั่งสอน เป็นต้น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสารคดี

สารคดี (นิตยสาร)

นิตยสารสารคดี เป็นนิตยสารของไทย ที่มุ่งเน้นบทความแนวสารคดีโดยเฉพาะ ครอบคลุมทั้งเรื่องธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ บุคคล ชีวิต ศิลปวัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยเริ่มวางแผงฉบับปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสารคดี (นิตยสาร)

สาคร สุขศรีวงศ์

. (พิเศษ) ดร.สาคร สุขศรีวงศ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัทเงินทุน กรุงเทพธนาทร จำกัด (มหาชน) ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสาคร สุขศรีวงศ์

สาโรช บัวศรี

ตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง ปัจจุบันคือ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสาโรช บัวศรี

สำนักหอสมุดแห่งชาติ

ำนักหอสมุดแห่งชาติ (ตัวย่อ: หสช.) ก่อตั้งเมื่อปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักหอสมุดแห่งชาติ

สำนักงบประมาณ

ำนักงบประมาณ (Bureau of the Budget) เป็นหน่วยงานราชการ มีฐานะเทียบเท่ากรม สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เป็นหน่วยกลางในการจัดทำงบประมาณแผ่นดิน เพื่อเสนอนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติ ก่อนที่รัฐบาลจะนำเสนอรัฐสภา เพื่อพิจารณาอนุมัติให้ประกาศใช้เป็น พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี สำหรับใช้จ่ายในปีต่อไป.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงบประมาณ

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช. หรือ NSTDA) เป็นองค์การมหาชนในกำกับของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีหน้าที่พัฒนาขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยดำเนินกิจกรรมด้านถ่ายทอดเทคโนโลยี การพัฒนาบุคลากร และการเสริมสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ก่อตั้งขึ้นตามมาตร 11 แห่งพระราชบัญญัติพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาต..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว. หรือ TRF) เป็นองค์การมหาชน ประเภทจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติเฉพาะ ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (State Audit Office of the Kingdom of Thailand) หรือ สตง. (SAO) เป็นองค์กรอิสระ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) มีหน้าที่ดำเนินการเกี่ยวกับ การบริหารงานบุคคล การงบประมาณ การปฏิบัติงาน และการดำเนินการอื่น ที่เกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิน ตรวจสอบการใช้งบประมาณของรัฐบาล โดยมี ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน (Auditor General) เป็นหัวหน้าสำนักงาน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือ. (Office of the National Economics and Social Development Board) หรือชื่อเดิมว่า สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ หรือ สภาพัฒน์ เป็นหน่วยงานราชการ ภายในส่วนสังกัดของสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เป็นส่วนราชการไทยประเภทกรม สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่ริเริ่ม ผลักดัน และเสนอแนะนโยบายต่อคณะรัฐมนตรีในเรื่องที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติราชการ และการพัฒนาระบบราชการ ผ่านกลไกต่าง ๆ (ก.พ.ร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Office of the Basic Education Commission: OBEC) เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าที่รับผิดชอบการจัดการศึกษาในระดับพื้นฐานตั้งแต่ระดับปฐมวัย จนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยแบ่งออกเป็น 3 ช่วงชั้น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)

ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา: สกอ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

ำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือ ก.ล.ต. เป็นองค์กรของรัฐที่ทำหน้าที่กำกับดูแลและพัฒนาตลาดทุนไทยให้เป็นแหล่งระดมทุนและแหล่งลงทุนที่มีประสิทธิภาพของทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชนทั่วไป.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ก่อตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติสภาวิจัยแห่งชาติ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

สำนักงานประกันสังคม

ำนักงานประกันสังคม (Social Security Office) จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติประกันสังคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานประกันสังคม

สำนักนายกรัฐมนตรี

ำนักนายกรัฐมนตรี (Prime Minister's Office) เป็นสำนักงานประจำสำหรับนายกรัฐมนตรีของแต่ละประเทศ เช่น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักนายกรัฐมนตรี

สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี

ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เป็นส่วนราชการ ระดับกรม ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มี ภารกิจเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการด้านการเมือง ด้านวิชาการ ด้านเลขานุการ ตลอดจนการบริหารราชการของนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รวมทั้งข้าราชการการเมืองในสำนักเพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี

สิริยากร พุกกะเวส

ริยากร พุกกะเวส (ชื่อเล่น: อุ้ม) เกิดเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2517 ที่จังหวัดสมุทรปราการ ศึกษาระดับอนุบาลที่โรงเรียนอนุบาลสุวิชชา ระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนศรีวิทยา ระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนสายน้ำผึ้ง และจบการศึกษาระดับอุดมศึกษาจากคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เอกด้านโฆษณา ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 2 เข้าสู่วงการบันเทิงโดยการชักนำของคุณมยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช มีผลงานชิ้นแรกคือโฆษณา แชมพูรีจอยส์ ต่อมาในปี 2538 เป็นที่รู้จักในละครโทรทัศน์เรื่องแรกคือเรื่อง "สามใบไม่เถา" ต่อมาในปี 2541 ทำธุรกิจร้านอาหาร “Take / A / Seat” สุขุมวิท 19 จนถึงปี 2544 และในปีเดียวกับทำรายการ บ้านอุ้มใน เนชั่น แชนแนล ส่วนทางด้านงานเขียน มีคอลัมน์ "แหงนหน้าเล่า" ในนิตยสารแพรว กับงานแปลเรื่องแรก "หญิงสาวกับต่างหูมุก" ของสำนักพิมพ์อิมเมจ และยังมีผลงานเขียนและงานแปลอีกหลายเล่ม ในปี 2546 มีรายออกหนังสือ พ็อกเกตบุ๊ก ชื่อ "บ้านอุ้ม vol.1 ฉบับขึ้นบ้านใหม่" ที่มีเนื้อหานำมาจากรายการ บ้านอุ้ม นอกจากนี้แล้วในปี 2551 ได้ช่วยหาเสียงให้กับ ดร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสิริยากร พุกกะเวส

สิทธิชัย โภไคยอุดม

ตราจารย์ สิทธิชัย โภไคยอุดม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ซึ่งเข้ารับตำแหน่งโดยการแต่งตั้งของคณะรัฐประหาร ตั้งแต่วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสิทธิชัย โภไคยอุดม

สิทธิมนุษยชน

ทธิมนุษยชน (human rights) เป็นหลักทางศีลธรรมหรือจารีตJames Nickel, with assistance from Thomas Pogge, M.B.E. Smith, and Leif Wenar, December 13, 2013, Stanford Encyclopedia of Philosophy,, Retrieved August 14, 2014ซึ่งอธิบายมาตรฐานตายตัวของพฤติกรรมมนุษย์ และได้รับการคุ้มครองสม่ำเสมอเป็นสิทธิทางกฎหมายในกฎหมายท้องถิ่นและกฎหมายระหว่างประเทศ ปกติเข้าใจว่าเป็นสิทธิพื้นฐานที่ไม่โอนให้กันได้ "ซึ่งบุคคลมีสิทธิในตัวเพียงเพราะผู้นั้นเป็นมนุษย์" และซึ่ง "มีอยู่ในมนุษย์ทุกคน"Burns H.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสิทธิมนุษยชน

สิปปนนท์ เกตุทัต

ตราจารย์กิตติคุณ สิปปนนท์ เกตุทัต (23 กุมภาพันธ์ 2474 — 16 กรกฎาคม 2549) ราชบัณฑิตกิตตมศักดิ์ เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ทีมีคุณูปการต่อวงการศึกษา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม และการพัฒนาประเทศไทยในภาพรวม ท่านเป็นผู้บุกเบิกหลายสิ่งในประเทศ ที่เป็นรากฐานทำให้เกิดองค์กรและโครงการที่ช่วยในการยกระดับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การศึกษา ของประเทศมาโดยลำดับ ท่านมีผลงานเขียน ที่จุดประกายให้เยาวชนไทย และผู้บริหารการพัฒนาประเทศได้ใช้นำทางจำนวนมาก และในวาระที่ท่านดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ท่านได้กราบทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเพื่อนำเอา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย และเป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสิปปนนท์ เกตุทัต

สืบแสง พรหมบุญ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สืบแสง พรหมบุญ อดีตนักวิชาการทางประวัติศาสตร์ นักการศึกษา และนักการเมืองชาวไทย ผ.ดร.สืบแสง เกิดเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสืบแสง พรหมบุญ

สุชาดา กีระนันทน์

ตราจารย์กิตติคุณ คุณหญิง สุชาดา กีระนันทน์ (15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 —) เป็นอดีตนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนายกสภาฯ หญิงคนแรกของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายกสมาคมสถิติแห่งประเทศไทย, และอดีตอธิการบดีและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยหญิงคนแรก.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุชาดา กีระนันทน์

สุพัตรา มาศดิตถ์

ณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในสมัยรัฐบาลนายชวน หลีกภัย เป็นบุตรสาวของนายสุรินทร์ มาศดิตถ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และเป็นน้องสาวของนายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ ผู้ช่วยเลขาธิการพรรคประชาธิปัต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุพัตรา มาศดิตถ์

สุพจน์ หารหนองบัว

.สุพจน์ หารหนองบัว หรือ.ดร.สุพจน์ หารหนองบัว นักวิทยาศาสตร์ชาวไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสภาการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการสื่อสาร และคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เกิดเมื่อวันที่ 13 เมษายน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุพจน์ หารหนองบัว

สุพจน์ ไข่มุกด์

น์ ไข่มุกด์ (เกิด 1 กันยายน พ.ศ. 2488) รองประธานกรรมการร่างรัฐธรรมนูญคนที่หนึ่ง อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการในคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ยกร่าง พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุพจน์ ไข่มุกด์

สุภา สิริสิงห

ริสิงห (13 สิงหาคม พ.ศ. 2488 -) นักเขียนชาวไทย เจ้าของนามปากกา "โบตั๋น" ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุภา สิริสิงห

สุภิญญา กลางณรงค์

ญญา กลางณรงค์ (เกิด พ.ศ. 2519 ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี) เป็นนักกิจกรรมสังคมด้านสื่อ เริ่มต้นทำงานที่ป่าใหญ่ครีเอชั่น ในฝ่ายผลิตและเขียนบทสารคดีโทรทัศน์ในปี 2537 จากนั้นร่วมงานเป็นฝ่ายสื่อและเผยแพร่ของมูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม และเป็นผู้ประสานงานคณะทำงานติดตามมาตรา 40 ของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุภิญญา กลางณรงค์

สุมาลี บำรุงสุข

มาลีที่ร้านนานมีบุ๊คส์ สุมาลี เกิดที่กรุงเทพฯ เมื่อ พ.ศ. 2498 เติบโตขึ้นมาในครอบครัวที่รักการอ่าน เป็นพี่น้องร่วมสายเลือดกับศาสตราจารย์ ดร.สุรชาติ บำรุงสุข และผ.ดร.สุกัญญา บำรุงสุข คุณสุมาลีเริ่มเขียนหนังสือสำหรับเด็กให้นิตยสาร สตรีสารภาคพิเศษ ตั้งแต่อายุ 15 ปี เมื่อจบจากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทำงานในกองบรรณาธิการวารสารสำหรับเด็กชื่อ สวิตา อยู่ระยะหนึ่ง ก่อนเบนเข็มไปทำงานวิชาการ แต่ยังคงเขียนและแปลหนังสือสำหรับเด็กเป็นงานอดิเรกอยู่เสมอ ปัจจุบันมีอาชีพเป็นนักเขียนอิสระ พำนักอยู่ที่แมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ ผลงานหนังสือเด็กที่พิมพ์เผยแพร่แล้ว นอกจากชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ซึ่งสุมาลีแปลแฮร์รี่ภาค1,2,5,6และ7 และเขียนเรื่อง เรื่องของม่าเหมี่ยว ม่าเหมี่ยวและเพื่อน นิทานเจ้าหญิง (แปลร่วมกับเพื่อนๆ) เรื่องเล่าก่อนเข้านอน และ ปริศนาหน้าร้อน นิยายสำหรับวัยรุ่นคือ ลวงรัก หลังจากเสร็จสิ้นงานแปล แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต เธอกำลังปรับปรุงต้นฉบับเรื่องเด็กล่าสุด ม็อกแมวมหัศจรรย์ หลังจากนั้นสุมาลียังได้แปลเรื่อง นิทานของบีเดิลยอดกวีซึ่งเป็นหนังสือประกอบของหนังสือชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์อีกด้ว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุมาลี บำรุงสุข

สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี

นายแพทย์สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 —) เป็นที่รู้จักในชื่อเล่นว่า "หมอเลี๊ยบ" อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เลขาธิการพรรคพลังประชาชน และหนึ่งในกลุ่มคนเดือนตุล.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุรพงษ์ สืบวงศ์ลี

สุรางค์ เปรมปรีดิ์

รางค์ เปรมปรีดิ์ ประธานกรรมการมูลนิธิเรวดี เทียนประภาส ผู้อำนวยการประกวดมิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ ประธานกรรมการมูลนิธิเรวดี เทียนประภาส อดีตกรรมการผู้จัดการ บริษัท กรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ จำกัด ซึ่งบริหาร สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 และอดีตผู้อำนวยการใหญ่ โรงเรียนเรวดี, ผู้อำนวยการนิตยสาร สตรีสาร และ ที่ปรึกษาให้บริษัทด้านสื่อโทรทัศน์, เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่หุ้นบริษัทด้านอสังหาริมทรัพย์, รวมถึงมีธุรกิจในเครืออีกบานตะไทที่ คุณสุรางค์ ร่วมถือหุ้นและร่วมบริหาร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุรางค์ เปรมปรีดิ์

สุริชัย หวันแก้ว

ตราจารย์ สุริชัย หวันแก้ว (7 พฤษภาคม พ.ศ. 2492 —) ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม และอาจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการพัฒนาสังคม คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการหลักสูตรการพัฒนาระหว่างประเทศ และปัจจุบันเป็นรองผู้อำนวยการฝ่ายวิจัย สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธาน Asian Rural Sociological Association (ARSA) ที่ปรึกษาโครงการแม่น้ำเพื่อชีวิต เคยเป็นหนึ่งในคณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันท์แห่งชาติ (กอส.) ดำรงตำแหน่งเลขานุการของกอ.ในการแก้ปัญหาเหตุการณ์ไม่สงบในภาคใต้ และเป็นอดีตประธานคณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.) ผู้เชี่ยวชาญประเด็นด้าน การพัฒนา คนชายขอบ และโลกาภิวัตน์ อาจารย์สุริชัยเป็นนักวิจัยทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะสังคมวิทยา และการมีส่วนร่วม เป็นอดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม (CUSRI)ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นบุคลากรขององค์กรประชาธิปไตย คนสำคัญของประเทศไทย ในปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุริชัย หวันแก้ว

สุริยา รัตนกุล

ตราจารย์เกียรติคุณ ดร. คุณหญิงสุริยา รัตนกุล ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.คุณหญิง สุริยา รัตนกุล จบการศึกษาระดับปริญญาตรีได้รับ เกียรตินิยมอันดับหนึ่งจากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมทั้งได้รับพระราชทานทุนอานันทมหิดล ในการศึกษาต่อระดับปริญญาเอกทางภาษาศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยปารีส(ซอร์บอน) ในระยะต่อมาหลังจากจบปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยปารีสแล้ว อาจารย์ท่านได้สอนที่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แล้วย้ายมามหาวิทยาลัยมหิดลก่อตั้งรวมถึงเป็นผู้อำนวยการโครงการศูนย์ศึกษาวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชียอาคเนย์ ซึ่งต่อมาพัฒนาโครงการนี้มาเป็นสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท พร้อมทั้งดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการคนแรก 2 วาระติดกัน ระหว่าง..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุริยา รัตนกุล

สุริโยไท

ริโยไท เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ เน้นถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตของตัวละครเอก คือ พระสุริโยไท พระมเหสีของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุริโยไท

สุรเกียรติ์ เสถียรไทย

ตราจารย์พิเศษ สุรเกียรติ์ เสถียรไทย อดีตรองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคไทยรักไทย เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ สมัยรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังสมัยรัฐบาลบรรหาร ศิลปอาชา และที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เคยถูกเสนอชื่อเพื่อเป็น เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ในนามของ 10 ประเทศอาเซียนโดยการสนับสนุนของรัฐบาลทักษิณ รวมถึงได้รับการสนับสนุนจาก คปค.เช่นกัน แต่ก็ได้ถอนตัวในเดือนตุลาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุรเกียรติ์ เสถียรไทย

สุวรรณ วลัยเสถียร

ร.สุวรรณ วลัยเสถียร เป็นนักกฎหมาย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตกรรมการบริหารชุดแรกของพรรคไทยรักไทย เป็นผู้ก่อตั้งชมรมคนออมเงิน และปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานชมรมฯ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุวรรณ วลัยเสถียร

สุวรรณ สุวรรณเวโช

ลตำรวจเอก สุวรรณ สุวรรณเวโช อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เกิดเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2484 ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่แต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุวรรณ สุวรรณเวโช

สุจิต บุญบงการ

ตราจารย์กิตติคุณ สุจิต บุญบงการ (9 ตุลาคม พ.ศ. 2485 -) อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ, อดีตรองอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ปรึกษาและกรรมการคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุจิต บุญบงการ

สุธรรม แสงประทุม

รรม แสงประทุม อดีตประธานกรรมการบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน), อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กับอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร สมัยที่ 1, ผู้ร่วมก่อตั้งพรรคไทยรักไทย และอดีตเลขาธิการศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุธรรม แสงประทุม

สุธาวัลย์ เสถียรไทย

ท่านผู้หญิง สุธาวัลย์ เสถียรไทย (สกุลเดิม: ลดาวัลย์ ณ อยุธยา; 24 กันยายน พ.ศ. 2501 -) เป็นธิดาของหม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ อดีตองคมนตรี และท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ เป็นพระภาคิไนยในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เป็นพระภคินี (ลูกพี่ลูกน้อง) ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และเป็นภรรยาของศาสตราจารย์ ดร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุธาวัลย์ เสถียรไทย

สุทัตตา อุดมศิลป์

ทัตตา อุดมศิลป์ (เกิด 5 มิถุนายน พ.ศ. 2540) ชื่อเล่น ปันปัน เป็นนักแสดงชาวไทย สุทัตตาเริ่มแสดงตั้งแต่อายุสิบปี เป็นที่รู้จักจากภาพยนตร์เรื่อง ลัดดาแลนด์ (2554) ฤดูร้อนนั้น ฉันตาย (2556) และ เมย์ไหน..ไฟแรงเฟร่อ (2558) ตลอดจนละครชุดเรื่อง ฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่น (2556) สุทัตตายังได้รับรางวัลมากมายในด้านการแสดง เช่น รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 21 และคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 9 สาขาผู้แสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ลัดดาแลนด์ รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 23 สาขาผู้แสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ฤดูร้อนนั้น ฉันตาย และรางวัลสมาคมผู้กำกับภาพยนตร์ไทย ครั้งที่ 6 สาขารองนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง เมย์ไหน..ไฟแรงเฟร่อ สุทัตตาเป็นข่าวอื้อฉาวเรื่องเสพยาไอซ์เมื่อกลางปี 2556 และปลายปีเดียวกัน มูลนิธิ 5 ธันวามหาราช มอบรางวัลผู้ทำคุณประโยชน์ให้สังคมแก่เธอมติชนออนไลน์, ต่อมาในปี 2558 สุทัตตาถูกพักงานหกเดือนเพราะประพฤติไม่เหมาะสมในประเทศญี่ปุ่น ครั้นปี 2559 สุทัตตาด่าทอเพื่อนนักแสดง จนถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักอีกครั้ง และตัดสินใจจะลาออกจากบริษัทตันสังกั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุทัตตา อุดมศิลป์

สุทธิชัย หยุ่น

ทธิชัย หยุ่น สุทธิชัย แซ่หยุ่น หรือที่รู้จักทั่วไปว่า สุทธิชัย หยุ่น เกิดเมื่อวันที่ เป็นกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาที่ปรึกษากองบรรณาธิการเครือเนชั่น อดีตประธานกรรมการ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน), บรรณาธิการอำนวยการ เครือเนชั่น, นักหนังสือพิมพ์, นักเขียน, ผู้ร่วมก่อตั้ง หนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น, กรุงเทพธุรกิจ, สถานีโทรทัศน์ไอทีวี, เนชั่นทีวี และประธานที่ปรึกษามหาวิทยาลัยเนชั่น มีผลงาน คอลัมน์ กาแฟดำ ในหน้า 2 หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ ทุกวันจันทร์ถึงวันศุกร์, รายการโทรทัศน์ ชีพจรโลก และ ชีพจรโลกวันนี้ ทางเนชั่นแชนแนล.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุทธิชัย หยุ่น

สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ นายกสภามหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์อดีตเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุทธิพร จิตต์มิตรภาพ

สุดสัปดาห์

ัปดาห์ เป็นนิตยสารรายปักษ์ ของบริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน) ซึ่งก่อตั้งโดย ชูเกียรติ อุทกะพันธุ์ เดิมชื่อ แพรวสุดสัปดาห์ วางตลาดเป็นฉบับปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุดสัปดาห์

สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์

ร.คุณหญิง สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ (1 พฤษภาคม 2504 -) เป็นนักการเมือง เคยร่วมประท้วงในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ อดีตรัฐมนตรีเคยดำรงตำแหน่งที่สำคัญในรัฐบาล พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันเป็นประธานมูลนิธิไทยพึ่งไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์

สุนัย จุลพงศธร

ร.สุนัย จุลพงศธร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีหลายกระทรวง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุนัย จุลพงศธร

สุนีย์ สินธุเดชะ

รองศาสตราจารย์ สุนีย์ สินธุเดชะ นายกสภามหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต อดีตอาจารย์ประจำสาขาวิชาการสอนภาษาไทย ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า "อาจารย์แม่" หรือที่นักเรียนในโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม และอนุบาลเรียกว่า "คุณยาย" และอดีตรองหัวหน้าพรรคถิ่นไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุนีย์ สินธุเดชะ

สุเนตร ชุตินธรานนท์

ตราจารย์ สุเนตร ชุตินธรานนท์ นักประวัติศาสตร์ และนักเขียนบทภาพยนตร์ชาวไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุเนตร ชุตินธรานนท์

สู่ขวัญ บูลกุล

ู่ขวัญ บูลกุล (ชื่อเล่น ขวัญ) เป็นอดีตพิธีกรรายการ เรื่องเล่าเช้านี้ คู่กับ สรยุทธ สุทัศนะจินดา นักธุรกิจ และนักแสดงชาวไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสู่ขวัญ บูลกุล

สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อาคารจามจุรี 10 และศศินทร์ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Sasin Graduate Institute of Business Administration of Chulalongkorn University) เป็นสถาบันที่เปิดทำการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา (นานาชาติ) ทางด้านบริหารธุรกิจ การตลาด การจัดการ และสาขาที่เกี่ยวข้อง โดยความร่วมมือกันระหว่าง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย The Kellogg School of Management ของมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์น และ Wharton School ของมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย นอกจากนี้ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ยังเป็นสถาบันแห่งแรกในไทยที่ได้รับการรับรองจากสมาคมเพื่อพัฒนาวิทยาลัยธุรกิจ (Association to Advance Collegiate Schools of Business) ด้ว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถาบันพระปกเกล้า

ันพระปกเกล้า (King Prajadhipok's Institute) เป็นนิติบุคคลอยู่ในกำกับดูแลของประธานรัฐสภา โดยมีสภาสถาบันพระปกเกล้าเป็นองค์กรบริหารสูงสุด ดำเนินงานเกี่ยวข้องกับงานด้านวิชาการ ซึ่งจะครอบคลุมถึงเรื่องของการวิจัย การจัดการศึกษา อบรม และเผยแพร่ให้ความรู้และข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการพัฒนาประชาธิปไตย และการเมืองการปกครอง รวมทั้งให้บริการคำแนะนำปรึกษาด้านการบริหารปกครองบ้านเมืองที่ดี ทั้งในระดับชาติและท้องถิ่น นอกจากนี้ ยังรับผิดชอบงานเกี่ยวกับพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งนี้ โดยประสานความร่วมมือกับหน่วยงานในประเทศและระหว่างประเทศ เพื่อให้เกิดการพัฒนาประชาธิปไตยอย่างยั่งยืน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันพระปกเกล้า

สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)

ันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) เป็นองค์การมหาชนของไทย ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)

สถาบันกันตนา

ันกันตนา (Kantana Institute) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย ได้รับการอนุญาตจัดตั้งเป็นสถาบันอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันกันตนา

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

ันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (Panyapiwat Institute of Management) เดิมชื่อสถาบันเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่ได้รับการสนับสนุนทุนในการก่อตั้งจากบริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) และได้รับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการ โดยคำแนะนำของคณะกรรมการการอุดมศึกษาเพื่อให้เปิดดำเนินการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันอิสระสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบัน เมื่อวันที่ 22 เมษายน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

ันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (The Thailand Development Research Institute) หรือ ทีดีอาร์ไอ (TDRI) เป็นมูลนิธิที่ไม่แสวงหากำไร ที่ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท. หรือ IPST) เป็นองค์การมหาชนในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าที่หลักในการพัฒนาขีดความสามารถในด้านการศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ของครู และเยาวชนไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันออกแบบนานาชาติชนาพัฒน์

ันออกแบบนานาชาติชนาพัฒน์ เป็นสถาบันการศึกษาที่ไม่แสวงหาผลกำไร มีศาสตราจารย์พิเศษ ดร.สาคร สุขศรีวงศ์ เป็นผู้อำนวยการ ชื่อ "ชนาพัฒน์" ประพันธ์โดย พระธรรมมงคลญาณ(หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร) ซึ่งหมายถึง พัฒนาประชาชน มีพันธกิจหลักคือ มุ่งพัฒนานักออกแบบไทยให้สามารถพัฒนาฝีมือการออกแบบให้มีความทัดเทียมและสามารถแข่งขันกับชาวต่างชาติได้ ปัจจุบันสถาบันเปิดทำการสอน 2 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรออกแบบแฟชั่น (Fashion Design) และ หลักสูตรออกแบบตกแต่งภายในและผลิตภัณฑ์ (Interior and Product Design)โดยมีความร่วมมือทางวิชาการกับ 2 สถาบันชั้นแนวหน้าของโลก คือ สถาบัน NABA ซึ่งเป็นเจ้าของ Domus Academy เมือง Milan ประเทศอิตาลี และ ความร่วมมือทางวิชาการกับInterior Design Program, Royal College of Art กรุง London ประเทศอังกฤษ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันออกแบบนานาชาติชนาพัฒน์

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน

ันอุดมศึกษาเอกชน คือ สถาบันอุดมศึกษาที่เปิดทำการเรียนการสอนภายใต้การบริหารของหน่วยงานเอกชน ในประเทศไทย สถาบันอุดมศึกษาเอกชนอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา การวิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรม โดยหลักสูตรที่ได้รับอนุญาตให้เปิดสอนนั้น หลังจากได้รับการรับรองจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาแล้ว จะส่งหลักสูตรดังกล่าวให้สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนพิจารณารับรองคุณวุฒิ เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถบรรจุเข้ารับราชการในอัตราเงินเดือนเทียบเท่ากับสถาบันอุดมศึกษาของรั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ก่อตั้งด้วยความช่วยเหลือของรัฐบาลญี่ปุ่น โดยเน้นการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งอยู่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

สถาบันเทคโนโลยีแห่งอโยธยา

ันเทคโนโลยีแห่งอโยธยา เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน เปิดทำการสอนในระดับปริญญาตรี จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2550 โดยจัดการเรียนการสอนในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การบริหารจัดการและศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ 109 หมู่ 5 ตำบลวัดตูม อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000 สถาบันเทคโนโลยีแห่งอโยธยา จัดตั้งขึ้นโดยใช้ชื่อ "อโยธยา" เพื่อเป็นการรำลึกถึงบรรพชนและความยิ่งใหญ่ของราชธานีในอดีต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันเทคโนโลยีแห่งอโยธยา

สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย

ันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (Asian Institute of Technology) หรือ เอไอที เป็นสถาบันการศึกษาที่มีสถานะเป็นองค์การระหว่างประเทศ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย

สถาปนิก

ร่างสถาปนิก กับงานออกแบบ สถาปนิก คือบุคคลผู้เกี่ยวข้องในการออกแบบ และ วางแผน ในการก่อสร้าง หรือที่เรียกว่างานสถาปัตยกรรม โดยสถาปนิก จะเป็นผู้ที่เข้าใจในมาตรฐานการก่อสร้างของอาคาร เข้าใจถึงหน้าที่ใช้สอยของอาคารนั้น รวมถึงวัสดุที่จะนำมาเป็นส่วนประกอบของสิ่งก่อสร้างนั้น สถาปนิกจำเป็นต้องได้รับการศึกษาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ และได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม ถึงจะสามารถทำงานในวิชาชีพสถาปนิกได้ ซึ่งคล้ายกับการทำงานในสาขาวิชาชีพอื่น สถาปก คำเก่าของคำว่าสถาปนิก ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เป็นศัพท์ภาษาสันสกฤต หมายถึง ผู้สร้าง, ผู้ก่อตั้ง ในเอกสารโบราณก่อนสมัยรัตนโกสินทร์เคยปรากฏคำ "สถาบก" หมายถึง การสร้าง หรือผู้สร้าง รางวัลที่น่ายกย่องของสถาปนิกที่รู้จักในฐานะผู้ก่อสร้างอาคารได้แก่ รางวัลพลิตซ์เกอร์ ซึ่งมักจะถูกเปรียบเทียบเหมือนกับ "รางวัลโนเบลในทางสถาปัตยกรรม".

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาปนิก

สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย

ตราสัญลักษณ์เดิมของ สวท. ใช้ครั้งสุดท้ายในปี 2548 สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ (ชื่อย่อ: สวท.) เป็นหน่วยงานสถานีวิทยุกระจายเสียงของรัฐบาล มีสถานะเป็นสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งชาติของประเทศไทย สังกัดกรมประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7

นีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 (Bangkok Broadcasting Television Channel 7) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินซึ่งออกอากาศด้วยระบบภาพสีแห่งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่ 3 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการภายใต้สัญญาสัมปทานกับกองทัพบก เริ่มแพร่ภาพเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7

สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

นีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (Thai PBS) เป็นสถานีโทรทัศน์สาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย และแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดำเนินการโดยองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.) ออกอากาศแทนสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ในวันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

สดศรี สัตยธรรม

นางสดศรี สัตยธรรม อดีตกรรมการการเลือกตั้ง รับผิดชอบงานด้านกิจการพรรคการเมือง อดีตผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา เกิดเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสดศรี สัตยธรรม

สดใส พันธุมโกมล

รองศาสตราจารย์ สดใส พันธุมโกมล (สกุลเดิม วานิชวัฒนา) เกิดเมื่อวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2476 ที่กรุงเทพมหานคร อาจารย์พิเศษคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยเข้าร่วมประกวดนางงามจักรวาล ปี 1959 ที่สหรัฐอเมริกาด้วย และคว้าตำแหน่งนางงามมิตรภาพ หรือ Miss Amity มาครองได้สำเร็จ รองศาสตราจารย์ สดใส พันธุมโกมล เป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาศิลปะการละคร ผู้ร่วมก่อตั้งชมรมดนตรีสากล สจม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสดใส พันธุมโกมล

สตางค์ มงคลสุข

ตราจารย์ สตางค์ มงคลสุข (15 กรกฎาคม 2462 - 6 กรกฎาคม 2514) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทยผู้เชี่ยวชาญการวิจัยทางด้านอินทรีย์เคมีและสมุนไพร และเป็นนักบริหารการศึกษาระดับสูงของชาติ โดยเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และได้ขยายจนเป็นคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ หรือ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารย์ สตางค์ มงคลสุข หรือ.ดร.สตางค์ มงคลสุข เป็นคณบดีคนแรกของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นกำลังสำคัญในการจัดตั้งมหาวิทยาลัยต่างๆของประเทศไทยในระยะเริ่มแรก ได้แก่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทั้งวิทยาเขตหาดใหญ่และปัตตานี.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสตางค์ มงคลสุข

สนามหลวงมิวสิก

นามหลวงมิวสิก (Sanamluang Music) ค่ายเพลงในเครือ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ปัจจุบันบริหารงานโดย “เปิ้ล - จิราภรณ์ สุมณศิริ” พร้อมการทำงานแนวทางใหม่  นั่นก็คือ นับจากนี้ สนามหลวงมิวสิกไม่ได้เป็นเพียงแค่ “ค่ายเพลง”  อีกต่อไป แต่เรียกตัวเองว่า “คอมมูนิตี้”  (Community) นั่นคือการเป็นพาร์ทเนอร์กันระหว่างศิลปินและต้นสังกัด   โดยศิลปินทำผลงาน  และทางสนามหลวงมิวสิกจะบริหารจัดการในเรื่องของมีเดียให้  เพื่อส่งผลงานเพลงไปถึงคนฟังให้ได้มากที่สุดและที่สำคัญคือการหารายได้ให้ศิลปินอยู่ได้ มีทุนที่จะทำงานเพลงที่มีคุณภาพต่อไป   เดิมทีค่ายสนามหลวงมิวสิกอยู่ภายใต้การบริหารของ คุณฟ้าใหม่ ดำรงชัยธรรม ผู้อำนวยการ และคุณ นรมน ชูชีพชัย ผู้จัดการค่าย http://www.siamdara.com/hotnews/130418_1761.html ค่ายเพลงสนามหลวงก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสนามหลวงมิวสิก

หญิง

หญิง อาจหมายถึง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหญิง

หม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรี

หม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรี (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2458 - 6 ธันวาคม พ.ศ. 2540) สถาปนิก ออกแบบสถาปัตยกรรมไทยมีความชำนาญในการออกแบบผูกลาย ได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) ประจำปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรี

หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร

รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร (22 กันยายน 2495 -) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 15 อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร

หม่อมราชวงศ์แน่งน้อย ศักดิ์ศรี

ตราจารย์กิตติคุณ หม่อมราชวงศ์แน่งน้อย ศักดิ์ศรี (เกษมศรี) (19 ธันวาคม 2476 - ปัจจุบัน) นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สถาปนิกดีเด่น ผู้บุกเบิกงานวิจัยสถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ ผู้ร่วมก่อตั้งสาขาสถาปัตยกรรมไทย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หม่อมราชวงศ์แน่งน้อย ศักดิ์ศรีได้รับพระราชทานปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) จาก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมราชวงศ์แน่งน้อย ศักดิ์ศรี

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ภาพนี้ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2487 ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 19 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่สหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล

หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล หรือที่นิยมเรียกกันว่า หม่อมน้อย (แท้จริงแล้วต้องเรียกว่า คุณน้อย) เกิดเมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล

หม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาค

ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค มีนามเดิมว่า หม่อมหลวงมณีรัตน์ สนิทวงศ์ ป.., ท..ว.,.ป.ร. 1 (23 มิถุนายน พ.ศ. 2465-23 เมษายน พ.ศ. 2543) เป็นน้องสาวร่วมบิดามารดาเพียงคนเดียวของหม่อมหลวงบัว กิติยากร พระชนนีในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ท่านมีผลงานที่สร้างชื่อเสียงมากมาย อาทิเช่น เป็นผู้ประพันธ์คำร้องภาษาไทยในเพลงพระราชนิพนธ์ ความฝันอันสูงสุด เพลินภูพิงค์ เกิดเป็นไทย ตายเพื่อไทย แผ่นดินของเรา เตือนใจ ไร้เดือน เกาะในฝัน มาร์ชราชนาวิกโยธิน หม่อมหลวงมณีรัตน์ สมรสกับนายสุรเทิน บุนนาค บุตรอำมาตย์ตรี พระพิศาลสุริยศักดิ์ (เทิน บุนนาค) และ นางผัน พิศาลสุริยศักดิ์ (สกุลเดิม สินธุสาร) มีบุตรชาย 2 คน คือ พลตรีกรีเมศร์ บุนนาค และพันโทสุรธัช บุนนาค หม่อมหลวงมณีรัตน์ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ จึงใช้คำนำหน้าท่านผู้หญิง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาค

หม่อมหลวงสราลี กิติยากร

หม่อมหลวงสราลี กิติยากร หรือ คุณน้ำผึ้ง (เกิด: 8 เมษายน พ.ศ. 2509) นักแสดง, พิธีกร คอลัมนิสต์ และนักธุรกิจชาวไทย เป็นธิดาคนเล็กในหม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร กับท่านผู้หญิงพันธุ์สวลี กิติยากร และเป็นพระขนิษฐาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมหลวงสราลี กิติยากร

หม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล

หม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล (30 เมษายน พ.ศ. 2521 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร รองโฆษกพรรคประชาธิปัต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล

หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์

ตราจารย์ ร้อยเอก หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2455 - 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) อดีตองคมนตรี,อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการและเป็นนักภาษาศาสตร์ชาวไทยเชี่ยวชาญด้านภาษาบาลีและสันสกฤต หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมายได้แก่องคมนตรี,อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ,ราชบัณฑิต สำนักศิลปกรรม แห่งราชบัณฑิตยสภา ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาบาลีและสันสกฤต คณบดีคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานคณะกรรมการแผนกอักษรศาสตร์ มูลนิธิอานันทมหิดล ระหว่างที่ศึกษาอยู่เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพา หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ไปทำงานเสรีไทย เป็นทหารในกองทัพบกอังกฤษ จนกระทั่งสงครามเสร็จสิ้นจึงปลดประจำการขณะมียศร้อยเอก.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์

หม่อมหลวงปิยาภัสร์ ภิรมย์ภักดี

หม่อมหลวงปิยาภัสร์ ภิรมย์ภักดี (ราชสกุลเดิม: กฤดากร; พ.ศ. 2505) นางสนองพระโอษฐ์และนักธุรกิจชาวไทย ที่เป็นผู้รับบทเป็นสมเด็จพระสุริโยไทย ในภาพยนตร์เรื่อง สุริโยไท ซึ่งกำกับโดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมหลวงปิยาภัสร์ ภิรมย์ภักดี

หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล

ตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล

หม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์

ตราจารย์ นายแพทย์ หม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์ (พ.ศ. 2452 - พ.ศ. 2538) สูตินรีแพทย์ชาวไทย, อดีตคณบดีคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเลขาธิการสภากาชาดไทย เป็นบุตรของเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) กับท่านผู้หญิง วงศานุประพัทธ์ (ตาด สิงหเสนี) เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อ..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์

หม่อมเจ้ารัชฎาภิเศก โสณกุล

ตราจารย์ หม่อมเจ้ารัชฎาภิเศก โสณกุล (16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2435 — 5 กันยายน พ.ศ. 2492) ประสูติเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2435 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดากับหม่อมเอม ในปีที่ประสูตินั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงฉลองสิริราชสมบัติครบ 25 ปีสัจธรรม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมเจ้ารัชฎาภิเศก โสณกุล

หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล

ตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล (23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 — 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) เป็นนักประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีชาวไทย ทรงเป็นบุคคลคนแรกที่พบทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ ปราสาทพนมรุ้ง อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ ในสถาบันศิลปะแห่งชิคาโก สหรัฐอเมริกา จนมีการทวงทับหลังชิ้นกลับคืนสู่ประเทศไทย ทรงเป็นหนึ่งในบุคคลไทยที่ทรงมีคุณูปการเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล

หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ

ตราจารย์ หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ (9 พฤศจิกายน 2443 - 27 สิงหาคม 2524) พระโอรสองค์ที่ 20 ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ และเป็นองค์ที่ 3 ของหม่อมบุญ วรรวรรณ ณ อยุธยา สถาปนิกกรมรถไฟ ผู้ร่วมก่อตั้งสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ อาจารย์พิเศษและต่อมาป็นอาจารย์ประจำและคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาปนิกรุ่นบุกเบิกผู้นำเอาเอกลักษณ์ไทยมาประยุกต์กับการออกแบบอาคารสมัยใหม่ ได้ทรงพัฒนาวัสดุก่อสร้างที่มีใช่ในท้องถิ่นให้เหมาะสม เช่นกระเบื้องปิดหัวจั่วกันผุ รวมทั้งการทดลองการใช้วัสดุพื้นถิ่นเช่นไม้ไผ่ ไม้ระแนงเสริมปูนฉาบซึ่งพบว่าใช้งานได้ดีในระดับเศรษฐกิจขณะนั้น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ

หยุด แสงอุทัย

ตราจารย์พิเศษ หยุด แสงอุทัย (8 เมษายน พ.ศ. 2451 — 30 ธันวาคม พ.ศ. 2522) อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาและอาจารย์คณะนิติศาสตร์ ซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็นปรมาจารย์ทางสาขาวิชานิติศาสตร์ท่านหนึ่งของประเทศไทย ศาสตราจารย์พิเศษ หยุด แสงอุทัย (นามเดิม สายหยุด แสงอุทัย) หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหยุด แสงอุทัย

ห้างสรรพสินค้า

ห้างสรรพสินค้าแห่งหนึ่งในฮ่องกง ห้างสรรพสินค้า (Department store) หรือเรียกสั้นๆ ว่า ห้าง คือร้านค้าขายปลีกขนาดใหญ่ซึ่งมีสินค้าหลากหลายประเภทแยกตามแผนก โดยไม่มีการขายผ่านตัวแทนจำหน่าย (ห้างเป็นผู้นำสินค้ามาขายเอง) ห้างสรรพสินค้ามักขายผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับเสื้อผ้า เครื่องเรือน เครื่องใช้ในบ้าน เครื่องใช้ไฟฟ้า รวมไปถึงสายผลิตภัณฑ์อื่นๆ อย่างเช่น ฮาร์ดแวร์ สุขภัณฑ์ เครื่องสำอาง เครื่องเพชรพลอย เครื่องเขียน ของเล่น อุปกรณ์กีฬา เป็นต้น ห้างสรรพสินค้าบางแห่งอาจขายเฉพาะสินค้าลดราคา และมีพื้นที่ชำระเงินเป็นศูนย์กลาง ซึ่งโดยทั่วไปจะอยู่บริเวณด้านหน้าของห้าง ซึ่งจะไม่มี ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ หรืออาหารสด ขายห้างสรรพสินค้ามักเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มของร้านค้าย่อยที่อยู่ภายใต้บริษัทเดียวกันกับพื้นที่ใกล้เคียง ห้างสร้างสรรพสินค้าแห่งแรกของประเทศไทย มีชื่อว่า "ห้างไนติงเกล" หรือชื่อเต็มคือ "ไนติงเกล โอลิมปิค" เป็นห้างที่มีอายุยาวนานมาเกือบ 80 ปี และในทุกวันนี้ก็ยังให้บริการอยู่ เริ่มแรกห้างดังกล่าวได้ตั้งขึ้นอยู่บริเวณแยกพาหุรัด เริ่มเปิดกิจการเมื่อปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและห้างสรรพสินค้า

อภิรักษ์ โกษะโยธิน

นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน (30 มีนาคม พ.ศ. 2504 —) เป็นรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์, อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี และอดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2 สมั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอภิรักษ์ โกษะโยธิน

อภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข

อภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข (ชื่อเล่นว่า แสตมป์ (Stamp) แสตมป์ อภิวัชร์ เกิดเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2525 เป็นนักร้อง นักดนตรี และนักแต่งเพลง แสตมป์ เป็นชาวกรุงเทพมหานคร สำเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษาจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เขาให้ความสนใจด้านดนตรีตั้งแต่วัยเยาว์ โดยเล่นคีย์บอร์ดและกีตาร์ ในระหว่างการเรียนในมหาวิทยาลัย เขาได้มีโอกาสประพันธ์เพลงประกอบละคอนถาปัดเรื่องเดชไอด้วนร่วมกับเพื่อนตั้งเป็นวงดนตรี ซึ่งเป็นละคอนปีที่มีเพลงประกอบเพราะๆมากมาย และส่งไปทางสถานีวิทยุคลื่น 104.5 (แฟตเรดิโอ) เขาจึงพลิกผันเข้าสู่วงการดนตรีนับแต่นั้น และได้ร่วมวงกล้วยไทยวงแนวนูเมทัลในตำแหน่งมือกีต้าร์ และต่อมาได้ย้ายไปอยู่วงเซเว่นธ์ซีนในฐานะนักร้องนำสังกัดค่ายเลิฟอีส และออกอัลบั้มแรกในชื่อเดียวกับวง ในปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข

อภิวัฒน์ มุทิรางกูร

ตราจารย์ นายแพทย์ อภิวัฒน์ มุทิรางกูร (Apiwat Mutirangura) อาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจำปี 2549 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย ประจำปี 2551 และเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอภิวัฒน์ มุทิรางกูร

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อมรา พงศาพิชญ์

ตราจารย์กิตติคุณ อมรา พงศาพิชญ์ (3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488 -) อดีตประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ อดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตประธานคณะอนุกรรมการตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ได้รับการเสนอชื่อเป็นผู้แทนกลุ่มและจัดทำบัญชีรายชื่อ สมัชชาแห่งชาติ คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย คณะกรรมการสรรหาสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนการวิจัยของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และคณะกรรมการวิชาการ/คณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการในหลายมหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์กิตติคุณ อมรา พงศาพิชญ์ เป็นนักวิชาการไทยที่มีผลงานวิชาการมากมายทั้งไทยและต่างประเทศในด้านรัฐศาสตร์ สังคมวิทยา และมานุษยวิท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอมรา พงศาพิชญ์

อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง

ริษัท อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทที่ประกอบธุรกิจทางด้านการรับจ้างพิมพ์งานสิ่งพิมพ์สอดสีให้แก่บริษัท ห้างร้าน หน่วยราชการ และสถาบันเอกชนต่าง ๆ ในรูปของหนังสือ แผ่นพับ แคตตาลอค ปฏิทิน โฟลเดอร์ โปสการ์ด เข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง

อรชุมา ยุทธวงศ์

รองศาสตราจารย์ อรชุมา ยุทธวงศ์ (นามเดิม อรชุมา สูตะบุตร) อดีตหัวหน้าภาควิชาศิลปะการละคร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่มีบทบาทสำคัญในฐานะผู้บุกเบิกการละครสำหรับเด็กในประเทศไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอรชุมา ยุทธวงศ์

อรพรรณ พานทอง

อรพรรณ พานทอง ชื่อเล่น นิด (13 สิงหาคม พ.ศ. 2510 -) นักแสดงหญิงที่มีชื่อเสียงจากการรับบทในภาพยนตร์รักวัยรุ่น ของศุภักษร ช่วงปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอรพรรณ พานทอง

อรรถนิติ ดิษฐอำนาจ

ตราจารย์พิเศษ อรรถนิติ ดิษฐอำนาจ (24 สิงหาคม พ.ศ. 2487 -) องคมนตรี อดีตประธานศาลฎีกา (1 ต.ค. 2545 - 30 ก.ย. 2547) ประธานสมาคมกฎหมายอาเซียน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอรรถนิติ ดิษฐอำนาจ

อรอนงค์ ปัญญาวงศ์

อรอนงค์ ปัญญาวงศ์ เป็นนางสาวไทยคนที่ 30 พ.ศ. 2535 ต่อมาได้เป็นนักแสดง มีผลงานทางด้านการแสดงอีกมากม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอรอนงค์ ปัญญาวงศ์

อรุณ ภาวิไล

อรุณ ภาวิไล บุตรชายคนสุดท้องของ ศาสตราจารย์ ดร.ระวี ภาวิไล มีชื่อเล่นว่า 'รุณ แต่หลายคนมักจะคิดว่าเขาชื่อเล่นชื่อ ตุ๋ย อันเนื่องมาจากตัวละครที่เขาแสดงชื่อเดียวกันในรายการ เพชรฆาตความเครียด ซึ่งออกอากาศระหว่างปี 2528-2529 ทาง ช่อง 9 เป็นนักแสดง และผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย ปัจจุบันนอกจากงานแสดงและพิธีกรแล้ว อรุณยังทำธุรกิจร้านอาหารฝรั่ง ชื่อร้าน Tui Restaurant & Pub ซอยปัญจมิตร ลาดพร้าว 94 อรุณ ภาวิไล สมรสกับจุไร ภาวิไลมีบุตร 2 คน คนที่ 2 ชื่อว่า อาภา ภาวิไล (แม็กกี้) ปัจจุบันได้กลายเป็นนักแสดงในสังกัดช่อง 7 แล้ว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอรุณ ภาวิไล

อวย เกตุสิงห์

ตราจารย์เกียรติคุณ เรือโท นายแพทย์ อวย เกตุสิงห์ เป็นแพทย์ชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2451 เป็นชาวจังหวัดพระนคร สำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง จาก คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แล้วได้ทุนไปศึกษาเพิ่มเติมที่มหาวิทยาลัยในประเทศเยอรมนี ก่อนจะกลับมาเป็นอาจารย์ที่ภาควิชาสรีรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล อวยได้รับการยกย่องว่าเป็นนายแพทย์ที่มีความรู้ทางพระพุทธศาสนาสูง รู้จักประยุกต์ใช้คำสอนของพระพุทธศาสนาเพื่อประโยชน์ทางการบำบัดผู้ป่วยกับวิชาแพทย์แผนใหม่รุ่นบุกเบิกของไทย ในขณะเดียวกัน ท่านยังเป็นนายแพทย์ผู้บุกเบิกเอาวิชาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และแพทยศาสตร์มาประยุกต์และได้รับสมญานามว่าเป็น บิดาแห่งแพทย์แผนไทยประยุกต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอวย เกตุสิงห์

อัญชลี วิวัธนชัย

อัญชลี วิวัธนชัย หรือที่รู้จักกันในนามปากกา อัญชัน (26 กันยายน พ.ศ. 2495 -) เกิดที่ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เดิมชื่อ อัญชลี สุธรรมพิทักษ์ สมรสกับ อนุสรณ์ วิวัธนชัย เมื่อ..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอัญชลี วิวัธนชัย

อัฐมา ชีวนิชพันธ์

อัฐมา ชีวนิชพันธ์ (ชื่อเล่น: โบวี่) เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2528 เป็นนักแสดงชาวไทย จบการศึกษาระดับประถมที่โรงเรียนถนอมพิศวิทยา ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 จากโรงเรียน นวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา และระดับปริญญาตรี คณะอักษรศาสตร์ ภาควิชาศิลปะการละคร เกียรตินิยมอันดับ 2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ก่อนหน้าอัฐมาเคยศึกษาในสาขาภาษาญี่ปุ่น คณะเดียวกัน).

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอัฐมา ชีวนิชพันธ์

อัษฎาวุธ เหลืองสุนทร

อัษฎาวุธ เหลืองสุนทร เกิดเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2515 ในจังหวัดพัทลุง เป็นนักแสดง ดีเจ และผู้กำกับละครชาวไทย จบการศึกษาระดับประถมจากโรงเรียนเทศบาลบ้านคูหาสวรรค์ ระดับมัธยมจากโรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์ และต่อในระดับอุดมศึกษาที่ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สาขาศิลปศึกษา) ได้รับตำแหน่ง หนุ่มแพรว 1992 และจากนั้นเข้าสู่อาชีพนายแบบ จากนั้นในปี 2535 เล่นโฆษณาคอฟฟี่เมทกับ ซอนย่า คูลิ่ง จากนั้นมีผลงานละครเรื่องแรกคือเรื่อง บัลลังก์เมฆในปี 2536 ปัจจุบันจัดรายการวิทยุอยู่ที่ 89 ชิล เอฟเอ็ม ทางด้านชีวิตส่วนตัว สมรสกับ ผาณิต เจียรวิบูลยานนท์ เมื่อ 2 มีนาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอัษฎาวุธ เหลืองสุนทร

อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ

อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ (ชื่อเล่น: จิ๊) ซึ่งเป็นที่รู้จัก และเรียกกันติดปากว่า ป้าจิ๊ เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย ได้รับรางวัลจากผลงานการแสดง ครบทั้ง 4 รางวัลหลักคือ รางวัลพระสุรัสวดี, รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์, รางวัลโทรทัศน์ทองคำ และรางวัลเมขลา มีน้องชายหนึ่งคน (ชื่อเล่น: โจ้)อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ, รักแม่ สุดหัวใจ, ลิปส์ พับลิชชิง,..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ

อาชว์ เตาลานนท์

ร.อาชว์ เตาลานนท์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ นักธุรกิจชาวไทย รองประธานกรรมการเครือเจริญโภคภัณฑ์ และ ทรูคอร์ปอเรชั่น อดีตประธานกรรมการหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย เป็นนักนิยมธรรมชาติ และนักดูนก ระดับแถวหน้าของเมืองไทย จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ปริญญาตรีจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโทจากมหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต และปริญญาเอกจากสถาบันเทคโนโลยีอิลลินอยส์ นอกจากนั้นยังเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี และนายกสภามหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กรรมการสภาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ประธานกรรมการหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ประธานกรรมการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กรรมการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ อดีตอุปนายกคนที่ 2 สภาวิศวกร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอาชว์ เตาลานนท์

อารักษ์ ชลธาร์นนท์

นายอารักษ์ ชลธาร์นนท์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร (ครม.ยิ่งลักษณ์ 2) และอดีตประธานเจ้าหน้าที่บริหารบริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน).

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอารักษ์ ชลธาร์นนท์

อารีย์ วงศ์อารยะ

อารีย์ วงศ์อารยะ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสตูล สระบุรี ปราจีนบุรี สุพรรณบุรี.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอารีย์ วงศ์อารยะ

อารดา อารยวุฒิ

อารดา อารยวุฒิ (ชื่อเล่น: ดาร์ลิ่ง) เกิดเมื่อ วันพุธ ที่ 3 กุมภาพันธ์ 2536 เป็นอดีตสมาชิกวงชูการ์ อายส์ สำเร็จการศึกษาที่ระดับมัธยมที่ Wells International School และระดับอุดมศึกษาที่ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักสูตรนานาชาต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอารดา อารยวุฒิ

อาร์เอส

ริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) (RS PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:RS) คือผู้นำในธุรกิจสื่อบันเทิงครบวงจร โดยธุรกิจในปัจจุบันของกลุ่มอาร์เอสประกอบด้วย 4 ธุรกิจหลัก ได้แก่ ธุรกิจเครื่องสำอาง ธุรกิจเพลงที่มีรายได้จาก 3 ช่องทางหลัก ทั้งการจำหน่าย Physical Product การจำหน่ายผ่านช่องทาง Digital และรายได้จากการจัดเก็บลิขสิทธิ์ ธุรกิจโชว์บิซ อันได้แก่ การจัดคอนเสิร์ตและอีเว้นท์ ให้กับทั้งภาครัฐและเอกชน รวมไปถึงรายได้จากการบริหารศิลปิน ธุรกิจสื่อ ได้แก่ สื่อวิทยุ และสื่อโทรทัศน์ โดยสื่อวิทยุ ได้แก่ COOLfahrenheit 93 และ สื่อโทรทัศน์ ประกอบด้วยฟรีทีวีคือช่อง 8 และ 3 ช่องโทรทัศน์ดาวเทียม ได้แก่ สบายดี ทีวี, YOU Channel และ ช่อง 2.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอาร์เอส

อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา

อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา (เกิด 8 ตุลาคม พ.ศ. 2483-) เป็นวิศวกรชาวไทย ผู้เคยเป็นลูกทีมจำลองแบบชิ้นส่วนระบบลงจอดของงานอวกาศในบริษัทคู่สัญญาของมาร์ติน มาเรียทต้า (ปัจจุบันได้ควบรวมกิจการกลายเป็นบริษัทล็อกฮีด มาร์ติน) ซึ่งเป็นผู้สร้างยานอวกาศไวกิ้งให้กับองค์การนาซาของสหรัฐอเมริกาเพื่อนำไปใช้ในภารกิจสำรวจดาวอังคาร เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคพลังธรรม และ เป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนสัตยาไสที่ดำเนินการตามแนวทางความเชื่อของตนเอง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา

อาทิวราห์ คงมาลัย

อาทิวราห์ คงมาลัย เกิดวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 ที่จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นนักร้องนำและนักแต่งเพลงของวงบอดี้สแลม อีกทั้งยังมีศักดิ์เป็นหลานของแอ๊ด คาราบาว และเป็นลูกพี่ลูกน้องกับ ตั๊ก บงกช อีกด้วย อาทิวราห์เข้าประกวดเวทีฮอตเวฟมิวสิคอวอร์ดครั้งที่ 1 เมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอาทิวราห์ คงมาลัย

อาคารใบหยก 2

ตึกใบหยก 2 (Baiyoke Tower II) เป็นตึกระฟ้าในกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเป็นตึกที่สูงเป็นลำดับที่ 4ของประเทศไทย และเคยเป็นตึกที่สูงที่สุดในประเทศไทยระหว่าง..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอาคารใบหยก 2

อำนวย วีรวรรณ

ตราจารย์พิเศษ อำนวย วีรวรรณ อดีตหัวหน้าพรรคนำไทย และพรรคมวลชน อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นบิดาของนายถกลเกียรติ วีรวรรณ เจ้าของธุรกิจทางด้านรายการโทรทัศน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอำนวย วีรวรรณ

อำเภอโนนไทย

นนไทย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครราชสีม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอำเภอโนนไทย

อิทธิพงศ์ กฤดากร ณ อยุธยา

อิทธิพงศ์ กฤดากร ณ อยุธยา หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ ต้า พาราด็อกซ์ เกิดเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2520 เป็นบุตรของหม่อมหลวง อิทธิกร กฤดากร กับนางอัจฉรา กฤดากร ณ อยุธยา เป็นนักร้อง/กีต้าร์ ผู้แต่งเนื้อร้องและทำนองเกือบทั้งหมด และเป็นหัวหน้าวงพาราด็อกซ์ ผู้จัดการ ออนไลน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอิทธิพงศ์ กฤดากร ณ อยุธยา

อิทธิสุนทร วิชัยลักษณ์

อิทธิสุนทร วิชัยลักษณ์ อิทธิสุนทร วิชัยลักษณ์ เกิดวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2505 จบการศึกษาระดับมัธยมปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และระดับปริญญาตรีจาก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการทำงานของคุณอิทธิสุนทรได้สร้างสรรค์ผลงานบันเทิงหลายชิ้นและเป็นที่ชื่นชอบของผู้ชมทั่วไปมาโดยตลอด เริ่มต้นจากการเป็นผู้เขียนบทและร่วมแสดงในรายการเพชฌฆาตความเครียด เป็นโปรดิวเซอร์และผู้กำกับ ที่บริษัทเจเอสแอล ทำรายการพลิกล็อก, วิก 07, รายการละคร และมินิซีรี่ย์หลายเรื่อง เขียนหนังสือรวมเรื่องสั้น ชุด”เพียงความทรงจำเอาไว้เลย” และเขียนเพลงให้กับหลายศิลปิน อาทิ ระวิวรรณ จินดา, แอนนา โรจน์รุ่งฤกษ์, อังศนา ช้างเศวต, ไฮร๊อค, โคโคแจ๊ส ฯลฯ รวมทั้งเพลงประกอบรายการโทรทัศน์ และเพลงโฆษณา เป็นผู้กำกับภาพยนตร์โฆษณา และภาพยนตร์ไทย ที่บริษัทกิมมิคไดเรคชั่น และบริษัทกิมมิคฟิล์ม โดยมีผลงานเขียนบทและกำกับภาพยนตร์เรื่อง “ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด” ละครโทรทัศน์เรื่อง “ปู่ครับ ผมรักพ่อ”, “พระจันทร์ลายกระต่าย” และประสบความสำเร็จอย่างสูงจากภาพยนตร์เรื่อง “โหมโรง” ด้วยผลงานภาพยนตร์ที่ประสบความสำเร็จหลายเรื่อง และเป็นอีกผู้หนึ่งที่สร้างชื่อเสียงให้วงการภาพยนตร์ไทยเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก ทำให้คุณอิทธิสุนทรได้รับรางวัลต่างๆ มากมาย อาทิ รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ผู้กำกับยอดเยี่ยม เขียนบทยอดเยี่ยม ชมรมวิจารณ์บันเทิง ปี 2536 จาก “ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด”, รางวัลภาพยนตร์ส่งเสริมเยาวชน ปี 2536 จาก “ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด”, รางวัลเมขลา ละครสร้างสรรค์ดีเด่น ปี 2542 จาก “พระจันทร์ลายกระต่าย”, รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ผู้กำกับยอดเยี่ยม จากงานภาพยนตร์แห่งชาติ(สุพรรณหงส์) และชมรมวิจารณ์บันเทิง ปี 2547 จาก “โหมโรง”, รางวัลAudience Awards จาก Miami International Film Festival (2005) และ MAINE International Film Festival (2005) จาก “โหมโรง”.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอิทธิสุนทร วิชัยลักษณ์

อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์

ริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) (ITALIAN-THAI DEVELOPMENT PUBLIC COMPANY ชื่อย่อ: ITD) ประกอบธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง ทั้งภายในและภายนอกประเทศ รับงานการก่อสร้างตั้งแต่โครงการอาคารขนาดกลาง ประเภท อาคารสำนักงาน โรงแรม จนถึงโครงการขนาดใหญ่ ประเภทศูนย์การค้า ท่าอากาศยาน นอกจากนี้ยังดำเนินการก่อสร้างโครงการสาธารณูปโภคต่าง ๆ ได้แก่ ถนน สะพาน ทางรถไฟ ระบบ ทางด่วน รวมถึงโครงการวางท่อขนส่งน้ำมันและก๊าซ งานสร้างเขื่อนและโรงไฟฟ้า ซึ่งต้องใช้ความชำนาญและเทคโนโลยีระดับสูง แบบรายงาน 56-1 อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) ประจำปี:2555.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์

อินทิรา แดงจำรูญ

อินทิรา แดงจำรูญ (ตุ๊กตา) เกิดเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2522 เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ที่โรงเรียนปานะพันธุ์, มัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ที่วิทยาลัยนาฏศิลป์ และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากศิลปกรรมศาสตร์ (เอกนาฏศิลป์ไทย) เกียรตินิยมอันดับ 1 (เหรียญทอง) คะแนนเกรดเฉลี่ย 3.61 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เริ่มเข้าวงการด้วยการแสดงละครเรื่อง ปูลม และเริ่มโด่งดังจากเรื่อง พระจันทร์ลายกระต่าย และบทร้าย จากละครเรื่อง อาญารัก โดยรับบทเป็น ทานตะวัน ต่อมาได้เป็นพิธีกรรายการน่ารักน่ารู้ และเป็นดีเจคลื่นวิทยุ 103.5 FM One.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอินทิรา แดงจำรูญ

อุกฤษ มงคลนาวิน

ตราจารย์พิเศษ อุกฤษ มงคลนาวิน อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตประธานวุฒิสภา อดีตประธานรัฐสภา ผู้ก่อตั้งสำนักงานทนายความอุกฤษ มงคลนาวิน ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการอิสระเพื่ออำนวยความยุติธรรม และเสริมสร้างสิทธิเสรีภาพในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (กอ.ยส.จชต.) และกรรมการสภากาชาดไทยนอกจากนั้นยังดำรงตำแหน่งประธานพีระยานุเคราะห์มูลนิธิ ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี อีกด้ว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอุกฤษ มงคลนาวิน

อุรัสยา เสปอร์บันด์

อุรัสยา เสปอร์บันด์ (เกิด 18 มีนาคม พ.ศ. 2536) ชื่อเล่น ญาญ่า เป็นนักแสดงและนางแบบลูกครึ่งไทย-นอร์เวย์ เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงในปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอุรัสยา เสปอร์บันด์

อธิการบดี

อธิการบดี เป็นตำแหน่งผู้บังคับบัญชาสูงสุดและรับผิดชอบงานทั้งปวงของมหาวิทยาลั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอธิการบดี

อดิสรณ์ พึ่งยา

อดิสรณ์ พึ่งยา (ซ้าย) กับ ปิยะพงษ์ ผิวอ่อน อดิสรณ์ พึ่งยา หรือที่รู้จักกันดีในนามปากกาว่า JACKIE (แจ๊คกี้) เกิดเมื่อวันที่ ที่โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพฯ ใช้ชีวิตจนถึง7ขวบจึงกลับไปอยู่ บ้านเกิดของบิดามารดาที่ บ้านโพธิ์ ต.บ้านกุ่ม อ.สองพี่น้อง.สุพรรณบุรี จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนสองพี่น้องวิทยา ปริญญาตรีจากคณะครุศาสตร์ (เอกพลศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอดิสรณ์ พึ่งยา

อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม

อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม หรือ ปิ๊ง ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย กลุ่ม 365 ฟิล์ม ค่าย จีทีเอช เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518 ด้านชีวิตสมรสกับ นนตรา คุ้มวง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอดิสรณ์ ตรีสิริเกษม

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน)

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน)

องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ

องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.หรือ NSM) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัด กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งอยู่ที่ เทคโนธานี ต.คลองห้า อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี บริเวณที่ตั้งนี้ประกอบด้วยอาคาร 3 หลัง ได้แก่ อาคารพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์มหาราชินี (อาคารรูปลูกบาศก์ซึ่งรู้จักทั่วไปในชื่อ ตึกลูกเต๋า) อาคารพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา กับอาคารพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีและสารสนเท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ

องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย

องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (Thai Public Broadcasting Service) หรือเรียกโดยย่อว่า "..ท." (TPBS) เป็นหน่วยงานของรัฐ มีสถานะเป็นนิติบุคคลมหาชน ซึ่งไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไท..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

งของยูเนสโก องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ ยูเนสโก (UNESCO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

องค์การสวนสัตว์

องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (อสส.) (The Zoological Park Organization under the Royal Patronage of His Majesty the King) หรือ องค์การสวนสัตว์ เป็นองค์การในพระบรมราชูปถัมภ์ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นรัฐวิสาหกิจ ประเภทสังคมและเทคโนโลยี สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องการจัดหารวบรวมสัตว์ป่านานาชนิด การให้การศึกษา การอนุรักษ์และขยายพันธุ์ การวิจัย และการจัดสวนสัตว์ให้เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชนทั่วไป นอกจากนี้ยังเป็นหน่วยงานซึ่งมีหน้าที่ประสานงานและดำเนินการด้านต่างๆ ให้สวนสัตว์ ปัจจุบันมีสวนสัตว์อยู่ภายใต้ความรับผิดชอบ 7 แห่ง และ 1 โครงการจัดตั้ง คือ สวนสัตว์ดุสิต, สวนสัตว์เปิดเขาเขียว, สวนสัตว์เชียงใหม่, สวนสัตว์นครราชสีมา, สวนสัตว์สงขลา, สวนสัตว์อุบลราชธานี, สวนสัตว์ขอนแก่น และ โครงการคชอาณาจักร จังหวัดสุรินทร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและองค์การสวนสัตว์

องค์การอนามัยโลก

องค์การอนามัยโลก (World Health Organization ตัวย่อ WHO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ซึ่งรับผิดชอบการประสานงานด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ ก่อตั้งเมื่อ 7 เมษายน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและองค์การอนามัยโลก

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ชื่อย่อ: ขสมก; Bangkok Mass Transit Authority, BMTA) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจประเภทสาธารณูปโภค สังกัดกระทรวงคมนาคม จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ พุทธศักราช 2519 (ประกาศใช้เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม) มีหน้าที่จัดบริการรถโดยสารประจำทางเพื่อรับส่งประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรปราการ รวม 108 เส้นทาง มีจำนวนรถประจำทาง (bus) ทั้งสิ้น 3,509 คัน (สถิติเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

องค์การเภสัชกรรม

องค์การเภสัชกรรม เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จัดตั้งเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2509 ตามพระราชบัญญัติองค์การเภสัชกรรม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและองค์การเภสัชกรรม

อนันต์ กรุแก้ว

ตราจารย์อนันต์ กรุแก้ว อดีตอธิการบดีวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา (พ.ศ. 2527 - พ.ศ. 2531).

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอนันต์ กรุแก้ว

อนันต์ อัศวโภคิน

อนันต์ อัศวโภคิน (21 มีนาคม พ.ศ. 2493 -) เป็นนักธุรกิจชาวไทย เป็นเจ้าของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ชื่อดังของไทย เป็นอดีตประธานและกรรมการผู้จัดการ บริษัทแลนด์แอนด์เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) เคยได้รับรางวัล Best CEO Of The Year และเคยได้ตำแหน่งเศรษฐีหุ้นที่มีมูลค่าสูงที่สุดในไทยหลายปีซ้อน อนันต์มีสินทรัพย์รวมทั้งสิ้น 840 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ราว 26,000 ล้านบาท) และได้รับการจัดอันดับโดยนิตยสารฟอร์บให้เป็น มหาเศรษฐีของไทยลำดับที่ 18 (ประจำปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอนันต์ อัศวโภคิน

อนุกรมวิธาน

อนุกรมวิธานวิทยา (อังกฤษ: Taxonomy) เป็นการจัดจำแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่ตามสายวิวัฒนาการ อนุกรมวิธานเป็นวิชาที่ว่าด้วยกฎเกณฑ์เกี่ยวกับ ในการศึกษาอนุกรมวิธานจะมีศัพท์ที่ใช้เรียกแตกต่างกันออกไป ถ้าหากการศึกษาเป็นไปในทางรวบรวมตัวอย่าง (specimen) บิดาแห่งอนุกรมวิธานวิทยา คือ คาโรลัส ลินเนียส นักพฤกษศาสตร์ชาวสวีเดน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอนุกรมวิธาน

อนุตตมา อมรวิวัฒน์

นางสาวอนุตตมา อมรวิวัฒน์ (ชื่อเล่น จิ๊บ) รักษาการรองโฆษกพรรคเพื่อไทย อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 7 และเป็นบุตรสาวของพลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์ (น้องชายของนายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์).

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอนุตตมา อมรวิวัฒน์

อเล็กซานเดอร์ เรนเดลล์

อเล็กซานเดอร์ ไซม่อน เรนเดลล์ หรือ นิรวิทย์ เรนเดลล์ (เกิด 9 มกราคม พ.ศ. 2533) ชื่อเล่น อเล็กซ์ เป็นนักแสดงและนักร้องลูกครึ่งไทย-อังกฤษ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอเล็กซานเดอร์ เรนเดลล์

ฮ่องกง

องกง (Hong Kong; 香港) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Hong Kong Special Administrative Region of the People's Republic of China) เป็นเขตปกครองตนเองริมฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ในทางภูมิศาสตร์มีสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและทะเลจีนใต้โอบรอบ ฮ่องกงเป็นที่รู้จักในสกายไลน์ (skyline) ขยายและท่าเรือธรรมชาติลึก มีเนื้อที่ 1,104 กม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและฮ่องกง

ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง

ริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) (Ratchaburi Electricity Generating Holding Public Co., Ltd.; ย่อ: RATCH) บริษัทดำเนินกิจการประกอบธุรกิจในรูปของบริษัทโฮลดิ้ง โดยบริษัทจะมุ่งลงทุนในธุรกิจผลิตไฟฟ้าและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง และบริษัทมีรายได้หลักจากเงินปันผลของบริษัทย่อยและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน แบบรายงาน56-1 ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) ประจำปี:2555.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง

ผอูน จันทรศิริ

ผอูน จันทรศิริ เป็นนักแสดง และผู้กำกับการแสดง มีผลงานกำกับทั้งละครโทรทัศน์ ละครเวที และภาพยนตร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผอูน จันทรศิริ

ผาสุก พงษ์ไพจิตร

ตราจารย์ ผาสุก พงษ์ไพจิตร เกิดเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 เป็นนักเศรษฐศาสตร์ชาวไทย เป็นอาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผาสุก พงษ์ไพจิตร

ผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศ

ผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 ประธานผู้ตรวจการแผ่นดินของประเทศไทย อดีตปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และอดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศ

ผุสชา โทณะวณิก

ผุสชา โทณะวณิก (ชื่อเล่น ตุ้ม) มีความสามารถหลากหลาย ทั้งงานเบื้องหน้าและเบื้องหลัง มีชื่อเสียงจากการเป็นพิธีกรโทรทัศน์รายการจันทร์กะพริบ และคอนเสิร์ตคอนเทสต์ เป็นนักร้องเสียงหวานที่มีผลงานมาแล้ว 4 อัลบั้มเพลงที่โด่งดังคือ ฝัน ฝันหวาน เธอยังเป็นจิตอาสาร้องเพลงเพื่อเด็กและศาสนาให้แก่เสถียรธรรมสถานและสถาบันวิมุตตยาลัยและยังเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ด้านการพูด การนำเสนอ การเป็นพิธีกรให้แก่คนรุ่นใหม่ และบุคลากรในองค์กรต่าง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผุสชา โทณะวณิก

ผู้ชาย

ผู้ชาย คือมนุษย์เพศชาย ปกติคำนี้สงวนไว้สำหรับผู้ใหญ่ที่เป็นชาย สำหรับเด็กหรือวัยรุ่นเพศชาย คำปกติที่ใช้เรียก คือ "เด็กชาย" ทว่า พบใช้คำนี้บ้างเพื่อระบุมนุษย์เพศชาย ไม่ว่าอายุเท่าใด เช่น "บาสเกตบอลชาย" เช่นเดียวกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเพศผู้อื่นส่วนมาก จีโนมของผู้ชายตรงแบบรับโครโมโซม X จากมารดาและโครโมโซม Y จากบิดา ทารกในครรภ์ชายผลิตฮอร์โมนเพศชายมากกว่าและเอสโตรเจนน้อยกว่าทารกในครรภ์เพศหญิง ความแตกต่างในปริมาณสัมพัทธ์ของสเตอรอยด์เพศเหล่านี้เป็นสาเหตุส่วนใหญ่ของความแตกต่างทางสรีรวิทยาซึ่งแยกผู้ชายกับผู้หญิง ระหว่างวัยเจริญพันธุ์ ฮอร์โมนซึ่งกระตุ้นการผลิตฮอร์โมนเพศชายส่งผลให้ผู้ชายเป็นสิ่งมีชีวิตที่คิดได้และเจ็บเป็นเหมือนเธอมีพัฒนาการของลักษณะเพศทุติยภูมิ ฉะนั้นจึงยิ่งแสดงความแตกต่างระหว่างเพศเด่นชัดขึ้น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผู้ชาย

ผู้กำกับภาพยนตร์

วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง ขณะกำกับภาพยนตร์ในกองถ่ายเรื่องเปนชู้กับผี ผู้กำกับภาพยนตร์ คือผู้ที่มีหน้าที่กำกับในขั้นตอนการสร้างภาพยนตร์ โดยผู้กำกับภาพยนตร์มีหน้าที่สร้างจินตนาการจากบทหนัง แล้วถ่ายทอดความคิดทางด้านศิลปะออกมาตามแบบที่ตนเองต้องการ และเป็นคนสั่งฝ่ายอื่น ๆ ในกองถ่าย อย่างเช่น ฝ่ายผู้กำกับภาพ ผู้กำกับการแสดง ฝ่ายเทคนิค นักแสดง ออกมาอยู่ในองค์ประกอบทางศิลป์ที่ตนเองต้องการบนแผ่นฟิล์มหรือในระบบดิจิตอล อย่างไรก็ดี ผู้กำกับภาพยนตร์อาจจะควบคุมทุกอย่างตามที่ตนคิดไว้ไม่ได้เสมอไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเป็นภาพยนตร์ที่ฉายในโรง เพราะผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ จะเป็นคนกำหนดงบประมาณที่จะให้ผู้กำกับใช้จ่ายได้ หรือสั่งตัดต่อหนังในขั้นตอนสุดท้ายก่อนเข้าโรงฉายหากหนังมีความยาวเกินไป หรือเพื่อดึงการจัดเรตหนังให้ต่ำลงมา หรือบางฉากอาจจะมีการเพิ่มโฆษณาเข้าไป ดังนั้นเป็นเรื่องที่ไม่แปลกหากผู้กำกับจะมีปัญหาให้คุยกับผู้อำนวยการสร้างเสมอ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผู้กำกับภาพยนตร์

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ กรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทย มีที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี แต่ในปัจจุบันหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีคำสั่งแต่งตั้งอัศวิน ขวัญเมือง เป็นผู้ว่าราชการคนปัจจุบัน ตั้งแต่วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

ผู้ตรวจการแผ่นดิน (ประเทศไทย)

ผู้ตรวจการแผ่นดิน (เดิมเรียกว่า ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา) คือ บุคคลที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภาจากผู้ซึ่งเป็นที่ยอมรับนับถือของประชาชน มีความรอบรู้และมีประสบการณ์ในการบริหารราชการแผ่นดิน วิสาหกิจ หรือกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ร่วมกันของสาธารณะ และมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ ผู้ตรวจการแผ่นดินมีจํานวนสามคนซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคําแนะนําของวุฒิสภา จากผู้ซึ่งได้รับการสรรหาโดยคณะกรรมการสรรหาผู้ซึ่งได้รับการสรรหาต้องเป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ และมีความรู้ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์เกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดินไม่ต่ํากว่าอธิบดีหรือหัวหน้าส่วนราชการที่เทียบเท่าหรือหัวหน้าหน่วยงานของรัฐที่เทียบได้ไม่ต่ํากว่ากรมตามที่คณะกรรมการสรรหาประกาศกําหนด โดยต้องดํารงตําแหน่งดังกล่าวเป็นเวลาไม่น้อยกว่าห้าปี จํานวนสองคน และเป็นผู้มีประสบการณ์ในการดําเนินกิจการอันเป็นสาธารณะมาแล้วไม่น้อยกว่ายี่สิบปี จํานวนหนึ่งคน ผู้ตรวจการแผ่นดินมีวาระการดํารงตําแหน่งเจ็ดปีนับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง และให้ดํารงตําแหน่งได้เพียงวาระเดียว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผู้ตรวจการแผ่นดิน (ประเทศไทย)

ผู้ประกาศข่าว

ผู้ประกาศข่าว เป็นบุคคลที่ทำหน้าที่ประกาศข่าวสารต่าง ๆ สู่ประชาชนผู้รับสาร ผ่านสื่อมวลชนประเภทต่างๆ คือ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และอินเทอร์เน็ต ในปัจจุบันอาจหมายถึงผู้ดำเนินรายการประเภทข่าวและสถานการณ์ปัจจุบัน ด้วย หมวดหมู่:อภิธานศัพท์โทรทัศน์.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผู้ประกาศข่าว

ผู้แทนการค้าไทย

ผู้แทนการค้าไทย (Thailand Trade Representative: TTR) เป็นผู้แทนพิเศษของนายกรัฐมนตรี ด้านการค้า การลงทุนระหว่างประเทศ ตามแนวนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศเชิงรุก จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผู้แทนการค้าไทย

จรวยพร ธรณินทร์

ร.จรวยพร ธรณินทร์ กรรมการในคณะกรรมการสภาการศึกษา อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อดีตกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.) เกิดเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจรวยพร ธรณินทร์

จรัญ ภักดีธนากุล

ตราจารย์พิเศษจรัญ ภักดีธนากุล (28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493 –) เป็นนักนิติศาสตร์ชาวไทย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรมและผู้พิพากษาศาลยุติธรรม และยังเป็นผู้บรรยายวิชากฎหมายลักษณะพยานที่เนติบัณฑิตยสภาอีกด้ว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจรัญ ภักดีธนากุล

จรัส สุวรรณเวลา

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ จรัส สุวรรณเวลา เป็นข้าราชการชาวไทย ประธานกรรมการคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอดีตนายกสภาและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจรัส สุวรรณเวลา

จรัสพงษ์ สุรัสวดี

รัสพงษ์ สุรัสวดี หรือ ซูโม่ตู้ (4 มีนาคม พ.ศ. 2496-) เกิดที่จังหวัดนครราชสีมา จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคนที่มีความสามารถหลากหลายทั้งเป็นนักแสดง เขียนบทโทรทัศน์ กำกับ และการทอร์คโชว์ เป็นหนึ่งในทีมงานรายการ เพชฌฆาตความเครียด และตลกกลุ่มซูโม่สำอางในอดีต ในช่วงหลังมา ซูโม่ตู้ มักมีบทบาทในการวิจารณ์การเมืองไทยทั้งในรายการและบทสัมภาษณ์ตามนิตยสารต่างๆ ด้วยสไตล์ประชดประชัน เสียดสี และแดกดันอยู่บ่อยครั้ง รวมไปถึงเปิดการแสดงทอร์กโชว์เกี่ยวกับการเมืองอย่างเต็มรูปแ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจรัสพงษ์ สุรัสวดี

จรัสศรี ทีปิรัช

ณหญิงจรัสศรี ทีปิรัช (3 มีนาคม พ.ศ. 2482 -) สตรีคนแรกที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดของประเทศไทย โดยได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายก เป็นผู้ริเริ่มโครงการจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาเมืองในประเทศไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจรัสศรี ทีปิรัช

จักรพงศ์ สิริริน

ักรพงศ์ สิริริน หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ สอง พาราด็อกซ์ เป็นมือเบสของวง พาราด็อกซ์ ซึ่งเป็นวงดนตรีแนวอินดี้ที่มีชื่อเสียงในประเทศไทย ได้เข้ามาร่วมวงโดยการชักนำของ อิทธิพงศ์ กฤดากร ณ อยุธยา หรือ ต้า พาราด็อกซ์ ในสมัยที่ยังเป็นนิสิตอยู่ที่ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำให้กลายเป็นหนึ่งในสมาชิกก่อตั้งวง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจักรพงศ์ สิริริน

จันทรา ชัยนาม

ันทรา ชัยนาม อดีตนักหนังสือพิมพ์ นักแสดง นักจัดรายการวิทยุ ปัจจุบันเป็นผู้จัดรายการโทรทัศน์ จันทรา ชัยนาม เคยเป็นนักเรียนทุน AFS จบการศึกษาจากคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยเป็นนักหนังสือพิมพ์ เขียนคอลัมน์สังคมใช้นามปากกาว่า "ขุนทอง" ให้กับหนังสือพิมพ์ประชาธิปไตย และเป็นบรรณาธิการคนแรกของนิตยสารดิฉัน ในปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจันทรา ชัยนาม

จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ

รุพงศ์ เรืองสุวรรณ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2489 —) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตเลขาธิการพรรคเพื่อไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย และอดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เคยรับราชการในตำแหน่งปลัดกระทรวงยุติธรรม ปลัดกระทรวงแรงงาน และนายอำเภอหลายอำเภอ ปัจจุบันเป็นเลขาธิการองค์กรเสรีไทยเพื่อสิทธิมนุษยชนและประชาธิปไต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ

จารุวรรณ เมณฑกา

ณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา (ชื่อเล่น: เป็ด; เกิด 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) เป็นสมาชิกคริสตจักรวัฒนา อดีตสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร อดีตผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน และอดีตคณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (คตส.) จารุวรรณได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินเมื่อเดือนธันวาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจารุวรรณ เมณฑกา

จารุณี บุญเสก

รุณี บุญเสก หรือ แมว นักแสดงหญิงชาวไทยเป็นผู้ช่วยผู้กำกับการแสดง ผลงานทางการแสดงส่วนใหญ่รับบทตลก และเป็นที่รู้จักในบทของ แคท สาวกะเหรี่ยง ในภาพยนต์เรื่อง แจ๋ว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจารุณี บุญเสก

จำรัส เขมะจารุ

ตราจารย์พิเศษ จำรัส เขมะจารุ (11 สิงหาคม พ.ศ. 2472 - 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) อดีตองคมนตรี และอดีตประธานศาลฎีก.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจำรัส เขมะจารุ

จำนง เทพหัสดิน ณ อยุธยา

ำนง เทพหัสดิน ณ อยุธยา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย นักการปกครอง และนักเขียน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจำนง เทพหัสดิน ณ อยุธยา

จิระ มะลิกุล

ระ มะลิกุล หรือ เก้ง (24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2504 -) เป็นผู้กำกับ นักเขียนบท และโปรดิวเซอร์ภาพยนตร์ชาวไทย และเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการบริหารหอภาพยนตร์ โดยปัจจุบันมีผลงานการกำกับภาพยนตร์สี่เรื่อง คือ 15 ค่ำ เดือน 11, มหา'ลัยเหมืองแร่, รัก 7 ปี ดี 7 หน (ตอน 42.195) และ พรจากฟ้า (ตอน พรปีใหม่) รวมทั้งเป็นผู้เขียนบทภาพยนตร์เรื่อง สตรีเหล็ก ซึ่งเป็นผลงานที่เริ่มสร้างชื่อในนาม "หับ โห้ หิ้น".

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจิระ มะลิกุล

จิระนันท์ พิตรปรีชา

ระนันท์ ประเสริฐกุล หรือเป็นที่รู้จักในชื่อสกุลเดิมว่า จิระนันท์ พิตรปรีชา (เกิด 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498) เป็นอดีตผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปัจจุบันเป็นนักเขียน และผู้จัดทำบทบรรยายภาพยนตร์ ได้รับรางวัลซีไรต..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจิระนันท์ พิตรปรีชา

จิตร ภูมิศักดิ์

ตร ภูมิศักดิ์ (25 กันยายน พ.ศ. 2473 — 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2509) เป็นนักคิดด้านการเมือง นักประวัติศาสตร์ และนักภาษาศาสตร์ นับเป็นนักปราชญ์และนักปฏิวัติทางความคิดและวิชาการคนสำคัญของประเทศไทย จิตรเป็นนักวิชาการคนแรกๆ ที่กล้าถกเถียงและคัดค้านปราชญ์คนสำคัญ ด้วยวิธีคิดที่มีเหตุผลและลุ่มลึก มีความโดดเด่นจากผลงานการค้นคว้าทางวิชาการที่แปลกใหม่และลึกซึ้ง ขณะเดียวกันจิตรยังมีความคิดต่อต้านระบบเผด็จการและการใช้อำนาจกดขี่ของชนชั้นสูงมาโดยตลอด, จากโซ่ตรวนถึงความตายวาระสุดท้ายแห่งชีวิตจิตร ภูมิศักดิ์ จิตรเสียชีวิตในปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจิตร ภูมิศักดิ์

จิตตาภา แจ่มปฐม

ตตาภา แจ่มปฐม เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มเข้าสู่วงการตั้งแต่อายุ 7-8 ปี เริ่มแรกเริ่มจากงานถ่ายแบบแฟชั่น และมีงานในวงการมาเรื่อยๆ จนกระทั่งเธอเรียนจบมัธยมศึกษาจึงได้เข้ามาเล่นละครอย่างจริงจังในบทนักแสดงสมทบ จนได้เข้าสังกัดกลุ่มนักแสดงรุ่นใหม่ของสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 หรือกลุ่ม เพาเวอร์ทรี จิตตาภาจบการศึกษาจากคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขานาฏศิลป์ตะวันตก ด้วยเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ปัจจุบันมีผลงานละครกับทางช่อง 3 จ๊ะมีความสามารถพิเศษ คือ เต้นบัลเล่ต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจิตตาภา แจ่มปฐม

จุลสิงห์ วสันตสิงห์

ตราจารย์พิเศษ จุลสิงห์ วสันตสิงห์ ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการคดีพิเศษด้านการเงินการธนาคาร อดีตอัยการสูงสุด เกิดวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจุลสิงห์ วสันตสิงห์

จุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา

นายจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (15 ตุลาคม พ.ศ. 2472 — 29 กันยายน พ.ศ. 2549) เป็นอดีตองคมนตรี.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จุฑาวุฒิ ภัทรกำพล

ฑาวุฒิ ภัทรกำพล เป็นนักแสดง พิธีกรทางช่อง GTH On Air หรือชื่อเดิม Play Channel ในรายการ Play Gang เล่นสนุก สุขยกก๊วน GANG MENT Boys Meet Girls และ GANG MENT แนะหน้าห้อง ทางช่อง GTH On Air ซึ่งเป็นรายการในอดีต, ปัจจุบันเป็นพิธีกรรายการ ปลวกขึ้นบ้าน ทางช่อง GMM 25 เข้าวงการจากด้วยการเป็นผู้ชนะจากโครงการ "Friend For Film เพื่อนฉันดันให้สุด" ของค่ายหนัง GTH นอกจากนี้ยังเป็น 1 ใน 50 หนุ่มโสดในฝันแห่งปี 2554 (หมายเลข 11.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจุฑาวุฒิ ภัทรกำพล

จีระนันท์ กิจประสาน

ีระนันท์ กิจประสาน เกิดเมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2527 เป็นทั้งนักร้อง และนักแสดง ชาวไทย เข้าสู่วงการด้วยการเป็นเป็นสมาชิกวง วีวี่โค ภายหลังแยกวง จีระนันท์ได้เป็นศิลปินเดี่ยวสังกัดอาร์เอส ดดยมีผลงานเพลงสร้างชื่อเสียงได้แก่เพลง คนเดียวไม่เหงาเท่า3คน, จะทำกันเกินไปแล้ว, ก่อนจะเป็นแฟนเก่า, นอนไม่หลับ (ถ้าไม่กลับพร้อมเธอ), เทียนไข และเพลง ไม่อยากเป็นแค่กิ๊ก เป็นต้น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจีระนันท์ กิจประสาน

จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่

ริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทแม่ของกิจการบันเทิง ซึ่งประกอบด้วย กลุ่มธุรกิจดนตรี, สื่อ, ภาพยนตร์, ดิจิตอล, สถานีโทรทัศน์ดาวเทียม, สถานีวิทยุ, สื่อสิ่งพิมพ์, และ อีเวนต์เมเนจเม้นท์ แบบครบวงจร ขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ก่อตั้งโดย ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม และเรวัต พุทธินันทน์ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่

จีเอ็มเอ็ม ไท หับ

ีเอ็มเอ็ม ไท หับ หรือที่นิยมเรียกตามชื่อย่อว่า จีทีเอช เป็นอดีตบริษัทผู้ผลิตและจำหน่ายภาพยนตร์ไทย ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จีทีเอชเกิดขึ้นหลังจากจีเอ็มเอ็ม พิคเจอร์, ไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์ และ ร่วมกันสร้างภาพยนตร์เรื่อง แฟนฉัน เมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจีเอ็มเอ็ม ไท หับ

จงรัก จุฑานนท์

ล.ต.อ.จงรัก จุฑานนท์ พลตำรวจเอก จงรัก จุฑานนท์ อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล และอดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2 เป็นหลานปู่ของหลวงบำราบประทุษฐ (นิล จุฑานนท์) เป็นนามสกุลที่ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจงรัก จุฑานนท์

ธัญชนก กู๊ด

แพทริเซีย ธัญชนก กู๊ด (เกิด 18 สิงหาคม 2540) หรือชื่อจริงว่า ธัญชนก กู๊ด และชื่อเล่นว่า แพท เป็นนักแสดงและนางแบบชาวไทย ปัจจุบันกำลังคบหาดูใจกับ พีช -พชร จิราธิวัฒน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธัญชนก กู๊ด

ธานินทร์ กรัยวิเชียร

ตราจารย์ (พิเศษ) ธานินทร์ กรัยวิเชียร (5 เมษายน พ.ศ. 2470 —) อดีตองคมนตรี อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่ประธานองคมนตรี และอดีตนายกรัฐมนตรี คนที่ 14 ของไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธานินทร์ กรัยวิเชียร

ธิติมา ประทุมทิพย์

ติมา ประทุมทิพย์ ชิ่อเล่น แอน เป็นนักร้องหญิงชาวไทย เข้าสู่วงการโดยการเป็นสมาชิกวงคูณสามซูเปอร์แก๊งค์ (X3 Super Gang) ภายหลังได้ออกอัลบั้มเดี่ยว และมีผลงานอย่างต่อเนื่อง โดยมีเพลงที่ได้รับความนิยมได้แก่ เพลง เสียของหัวใจ, ฉันขอโทษ, เจ็บช้ำช้ำ, จดหมายจากพระจันทร์, เลือกเป็นคนที่รักเธอ และเพลง คนไม่น่าสงสาร เป็นต้น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธิติมา ประทุมทิพย์

ธีมะ กาญจนไพริน

ีมะ กาญจนไพริน (ชื่อเล่น: จั๊ด) ดีเจ, พิธีกรไทย เกิดเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525 ที่ย่านพรานนก เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาจาก โรงเรียนพระมารดานุเคราะห์, โรงเรียนโฆษิตสโมสร, โรงเรียนทวีธาภิเศก, โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (ศิลป์-ภาษาฝรั่งเศส) และคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (เอกสื่อสารการแสดง) เป็นพิธีกร ทางช่อง เพลย์แชนแนล เป็นดีเจและพิธีกรทางสถานีวิทยุและรายการต่าง ๆ ได้แก่ PJ MAX 88.5, show here, pop up Live, online satation, ยำรวมมิตรโชว์ เป็นต้น โดยเริ่มจัดรายการวิทยุมาตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธีมะ กาญจนไพริน

ธีรพล นพรัมภา

นายธีรพล นพรัมภา อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช และอดีตปลัดเมืองพัทยา เป็น 1 ใน 4 ของแก๊งออฟโฟร์ในพรรคพลังประชาชน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธีรพล นพรัมภา

ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์

ตราจารย์ ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานท์ ปัจจุบันเป็นศาสตราจารย์ ประจำสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประธานสภาพัฒนาการเมือง กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีและกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาผู้ทรงคุณว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์

ธีรยุทธ บุญมี

ตราจารย์ ธีรยุทธ บุญมี (เกิด 10 มกราคม พ.ศ. 2493) เป็นนักวิชาการ นักวิจารณ์การเมือง และนักเขียนรางวัลศรีบูรพา อดีตเลขาธิการ ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย ผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา เคยเป็นอาจารย์ประจำ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์ สาขามานุษยวิทยา ในปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธีรยุทธ บุญมี

ธีระวัฒน์ ศิริวันสาณฑ์

นายธีระวัฒน์ ศิริวันสาณฑ์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย (ชวน 2) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ สังกัดพรรคกิจสังคม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธีระวัฒน์ ศิริวันสาณฑ์

ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา

ตราจารย์ นายแพทย์ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ศาสตราจารย์สาขาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้อำนวยการศูนย์ปฏิบัติการโรคทางสมอง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ผู้อำนวยการศูนย์โรคติดเชื้อ โรคอุบัติใหม่ สภากาชาดไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธีระวัฒน์ เหมะจุฑา

ธีร์ อริยฤทธิ์วิกุล

ีร์ อริยฤทธิ์วิกุล หรือชื่อเดิมคือ อัครณัฐ อริยฤทธิ์วิกุล และ ปณต บุญก่อ เกิดวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนอัสสัมชัญ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่มวิชาโค้ชและจิตวิทยาการกีฬา เริ่มเข้าวงการจากการเข้ารอบ 50 คน หนุ่มโสดคลีโอปี 2009 ผลงานล่าสุด คือ ภาพยนตร์เรื่อง "ทองสุก 13" รับบท แจ็.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธีร์ อริยฤทธิ์วิกุล

ธีรเดช เมธาวรายุทธ

ีรเดช เมธาวรายุทธ (เกิด 15 กันยายน พ.ศ. 2532) ชื่อเล่น อาเล็ก เป็นนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์เรื่อง คุณนายโฮ ปัจจุบันเขาเป็นนักแสดงในสังกัดสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 มีผลงานที่โดดเด่นคือละครเรื่อง สะใภ้จ้าว ในบทบาท "คุณชายเล็ก" ซึ่งทำให้เขาได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลโทรทัศน์ทองคำสาขาดาราสนับสนุนชายดีเด่น ประจำปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธีรเดช เมธาวรายุทธ

ธงทอง จันทรางศุ

ตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ (8 มิถุนายน 2498 -) ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ภายใต้คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติและการสร้างความสามัคคีปรองดอง (ป.ย.ป.), กรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 8, กรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ, กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านนิติศาสตร์ในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ,ประธานกรรมการ บริษัท ท่าเรือราชาเฟอร์รี่ จำกัด (มหาชน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี, ไวยาวัจกร วัดโสมนัสวิหาร, อุปนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประธานอนุกรรมการเครือข่ายสถาบันการศึกษาในรัชกาลที่ 6, ประธานกรรมการพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สถาบันพระปกเกล้า, นายกสมาคมศิษย์เก่าสาธิตปทุมวัน, อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธงทอง จันทรางศุ

ธนชัย อุชชิน

นชัย อุชชิน หรือ ป๊อด โมเดิร์นด็อก เกิด 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2514 เป็นนักร้องนำและนักดนตรีชาวไทย เป็นที่รู้จักจากนักร้องนำของวง โมเดิร์นด็อก วงดนตรี อัลเตอร์เนทีฟ สัญชาติไทย ธนชัย อุชชิน หลังชนะการประกวดโค้ก มิวสิคอะวอตส์ ประจำปี 2535 จนได้มีโอกาสเป็นศิลปินกับ เบเกอรี่มิวสิค ในนาม โมเดริ์นด็อก ธนชัยได้ร่วมออกอัลบั้มกับวงมาแล้ว 5 อัลบั้ม โมเดิร์นด็อก-เสริมสุขภาพ (พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนชัย อุชชิน

ธนพร แวกประยูร

นพร แวกประยูร เป็นนักร้องหญิงชาวไทยซึ่งมักมีผลงานเพลงเกี่ยวกับชีวิตและความรู้สึกของผู้หญิง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนพร แวกประยูร

ธนพล ศิริธนชัย

นพล ศิริธนชัยเป็นผู้บริหารบริษัท แผ่นดินทอง พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน)ตำแหน่งประธานอำนวยการ ในช่วงภายหลังการปรับโครงสร้างผู้ถือหุ้นที่มีกลุ่มสิริวัฒนภักดีเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ธนพลยังร่วมงานการกุศลกับอีกหลายหน่วยงาน รวมถึงดำรงตำแหน่ง รองผู้อำนวยการอาวุโส สถาบันออกแบบนานาชาติชนาพัฒน์ และเป็นประธานกรรมการจัดงานฝ่ายคฤหัสถ์ โครงการอุปสมบทหมู่เฉลิมพระเกียรติฯ เนื่องในเทศกาลวันวิสาขบูชาโลก.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนพล ศิริธนชัย

ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์

นันต์ธรญ์ นีระสิงห์ หรือ ฟาง หนึ่งในสมาชิกวงเกิร์ลกรุ๊ป เฟย์ ฟาง แก้ว อดีตสมาชิก เฟย์ ฟาง แก้ว ค่ายกามิกาเซ่ ในเครืออาร์เอส ฟางเกิดเมื่อวันที่ 12 กันยายน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์

ธนาคารกรุงไทย

นาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทบริการการเงินในประเทศไทยมีสำนักงานอยู่ที่เขตวัฒนาและเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ธนาคารกรุงไทยเป็นธนาคารพาณิชย์เพียงแห่งเดียวในประเทศที่มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจในรูปแบบของสถาบันการเงินภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง และเป็นหนึ่งในห้าธนาคารขนาดใหญ่และมีจำนวนสาขาเป็นอันดับสองของประเทศไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนาคารกรุงไทย

ธนาคารกรุงเทพ

นาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (BANGKOK BANK PUBLIC COMPANY LIMITED) จดทะเบียนก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 โดยข้าราชการ นักธุรกิจ และกลุ่มบุคคลที่มีแนวคิดเดียวกัน มีสโลแกนที่ว่า "เพื่อนคู่คิด มิตรคู่บ้าน" รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยธนาคารกรุงเทพเป็นธนาคารพาณิชย์ที่มีนัยต่อความเสี่ยงเชิงระบบในประเทศประจำปี 2560ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนาคารกรุงเทพ

ธนาคารกสิกรไทย

นาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) (Kasikornbank Public Company Limited) เป็นธนาคารในประเทศไทย มีสำนักงานใหญ่แห่งแรกตั้งอยู่ที่ สำนักถนนเสือป่า ต่อมาได้ขยายการบริหารงาน ไปยังสำนักถนนสีลม, สำนักถนนพหลโยธิน, สำนักงานใหญ่ถนนราษฎร์บูรณะ และสำนักถนนแจ้งวัฒนะ ตามลำดับ โดยสำนักงานใหญ่แห่งปัจจุบัน ตั้งอยู่ภายในซอยกสิกรไทย ถนนราษฎร์บูรณะ เชิงสะพานพระราม 9 ฝั่งธนบุรี และมีคำขวัญว่า "บริการทุกระดับประทับใจ" ปัจจุบันมีสาขาทั้งสิ้น 1,132 สาขา และเป็นธนาคารที่มีรายได้มากที่สุดในประเทศไทย ธนาคารกสิกรไทยเป็นธนาคารพาณิชย์ที่มีนัยต่อความเสี่ยงเชิงระบบในประเทศประจำปี 2560ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนาคารกสิกรไทย

ธนาคารออมสิน

นาคารออมสิน มีสถานะรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย เน้นการให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท พัฒนาผู้ประกอบการรายย่อย โดยมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมาย อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชน โดยให้สินเชื่อระยะสั้น แก่ผู้ประกอบการรายย่อย (ให้ประชาชนมาเป็นหนี้ในระบบ ที่สามารถตรวจสอบได้ และการเก็บดอกเบี้ยตามความเป็นจริง) เป็นช่องทางการรับและจ่ายเงินกู้ จากโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง อีกทั้งยังลงทุนในการพัฒนาประเทศ ของหน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลากหลาย เหมาะสมกับแต่ละช่วงวัย รวมทั้งมีการให้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม ปัจจุบันมีจำนวนสาขาทั้งหมด 1,039 แห่งทั่วประเท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนาคารออมสิน

ธนาคารอาคารสงเคราะห์

นาคารอาคารสงเคราะห์ หรือ ธอ. (Government Housing Bank) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง โดยปัจจุบันกระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้นทั้งหมด จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนาคารอาคารสงเคราะห์

ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย

นาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (Islamic Bank of Thailand) เป็นธนาคารที่ดำเนินธุรกรรมโดยปราศจากดอกเบี้ย แต่อยู่บนหลักการ กำไร-ขาดทุนร่วมกัน และดำเนินธุรกิจตาม.ร..ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไท..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย

ธนาคารธนชาต

นาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) (Thanachart Bank Public Company Limited (TBANK)) เป็นธนาคารพาณิชย์ที่มีจำนวนสาขามากเป็นอันดับ 5 ของประเทศไทย โดยมีสาขา ทั้งหมดกว่า 600 สาขา เริ่มเปิดดำเนินการวันแรกเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนาคารธนชาต

ธนาคารทหารไทย

นาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) (TMB BANK PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:TMB) เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งโดย จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ พลตำรวจเอก สฤษดิ์ ธนะรัชต์ อดีตนายกรัฐมนตรีของไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนาคารทหารไทย

ธนาคารนครหลวงไทย

นาคารนครหลวงไทย จำกัด (มหาชน) (Siam City Bank Public Company Limited (SCIB)) เป็นอดีตธนาคารไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่8 สิงหาคม พ.ศ. 2484 ในชื่อ "ธนาคารนครหลวงแห่งประเทศไทย" โดยคณะบุคคลของรัฐบาลร่วมกับสมาชิกในราชวงศ์ ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 1,000,000 บาท มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจของไทย มีตราสัญลักษณ์พระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล เป็นรูป “พระมหามงกุฎ” ต่อมาในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนาคารนครหลวงไทย

ธนาคารแห่งประเทศไทย

นาคารแห่งประเทศไทย (Bank of Thailand) เป็นธนาคารกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไท..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนาคารแห่งประเทศไทย

ธนาคารไทยพาณิชย์

นาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) (The Siam Commercial Bank Public Company Limited ชื่อย่อ: SCB) เป็นธนาคารพาณิชย์แห่งแรกและเป็นหนึ่งในห้าธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ก่อตั้งโดยพระบรมราชานุญาต ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนาคารไทยพาณิชย์

ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

นาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) (Export-Import Bank of Thailand หรือ EXIM Bank) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย

ธนเวทย์ สิริวัฒน์ธนกุล

นเวทย์ สิริวัฒน์ธนกุล หรือ แก๊ป เป็นนักแสดงชายชาวไทย เข้าสู่วงการเมื่อปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธนเวทย์ สิริวัฒน์ธนกุล

ธเนศวร์ เจริญเมือง

.ดร.ธเนศวร์ เจริญเมืองศาสตราจารย์ ดร.ธเนศวร์ เจริญเมือง กรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฎิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นนักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ อดีตรองเลขาธิการฝ่ายการเมือง ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ สำนักวิชาการเมืองและการปกครอง คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและธเนศวร์ เจริญเมือง

ถาวร วัชราภัย

ตราจารย์ ถาวร วัชราภัย (2 เมษายน พ.ศ. 2477 -) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของประเทศไทยเมื่อ..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและถาวร วัชราภัย

ทรู มิวสิค

ทรู มิวสิก เป็นรายการเพลงทางช่อง เคเบิล ออกอากาศเฉพาะทาง ทรูวิชั่นส์ ช่อง 81 เป็นช่องที่นำเสนอเกี่ยวกับเพลงในแนว Interactive โดยที่ผู้ชมมีสิทธิที่จะโหวตเพื่อเลือกเพลง หรือ Chat กันทางทีวี ตลอด 24 ชั่วโมง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทรู มิวสิค

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 3

ื่อจริง: มิณฑิตา วัฒนกุล ชื่อเล่น: มิ้น วันเกิด: 22 กุมถาพันธ์ 2531 (30 ปี) แหล่งกำเนิด: กรุงเทพ ประเทศไทย แนวเพลง: Pop อาชีพ: นักร้อง, นักแสดง, พิธีกร ช่วงปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 3

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 5

ทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 5 จัดระหว่างวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2551 เป็นฤดูกาลที่เปิดบ้านที่เร็วที่สุดนับตั้งแต่จัดการแข่งขันมา เพราะต้องจบฤดูกาลก่อนกีฬาโอลิมปิคจะเริ่มขึ้น (8 สิงหาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 5

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 7

‎ ทรู อคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 7 เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ค้นหานักร้องเพื่อประดับวงการบันเทิง ในชุด ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย โดยในซีซั่นนี้เป็นครั้งแรกที่ทรูใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (ทวิตเตอร์และเฟซบุ๊ก) ในการประชาสัมพันธ์รายการร่วมกับเว็บไซต์หลัก และมีการถ่ายทอดสดผ่านระบบโทรทัศน์ความละเอียดสูงทางช่อง ทรู เรียลลิตี้ เอชดี โดยมีการรับสมัครผู้เข้าแข่งขันตั้งแต่ปลายเดือนพฤษภาคม 2553 และจะมีการประกาศผลผู้เข้ารอบสุดท้าย ในวันที่ 23 มิถุนายน 2553 จำนวน 100 คนและเป็นฤดูกาลแรกที่อายุของผู้เข้าสมัครเปลี่ยนเป็น 15-25 ปีจากเดิมที่ 18-28 ปี.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 7

ทรูวิชันส์

ทรูวิชั่นส์ (TrueVisions) หรือเป็นที่รู้จักทั่วไปในชื่อเดิมว่า ยูบีซี (UBC) เป็นสถานีโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิก บริหารงานโดย บริษัท ทรูวิชั่นส์ จำกัด (มหาชน) ในเครือบริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จำกัด (มหาชน) มีคำขวัญว่า ทรูวิชั่นส์ มองโลกได้ล้ำกว่า สำนักงานตั้งอยู่ที่อาคารทิปโก้ ถนนพระรามที่ 6 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันมีสุภกิต เจียรวนนท์ เป็นประธานคณะกรรมการบริษัท/กรรมการบริหาร และ อาณัติ เมฆไพบูลย์วัฒนา เป็นกรรมการผู้จัดการ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทรูวิชันส์

ทรงยศ สุขมากอนันต์

ทรงยศ สุขมากอนันต์ (ชื่อเล่น: ย้ง เกิดวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2516) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ไทย นักเขียนบท มีผลงานที่สำคัญได้แก่ เด็กหอ, แฟนฉัน และเรื่องล่าสุดคือละครชุด ฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่น อีกทั้งยังอยู่ในกลุ่ม 365 ฟิล์ม ได้ฉายาว่า ผู้กำกับโรคจิต เนื่องจากมีลักษณะเด่นคือ การออกแบบการดำเนินเรื่องแบบหักมุม การศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ 4-6  โรงเรียนเซนต์คาเบรียล กรุงเทพฯ (แผนการเรียน วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ เอกชีววิทยา) ปริญญานิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การทำงาน หลังเรียนจบทรงยศยังไม่มีงานจึงเตร็ดเตร่ที่คณะ 2 ปี โดยรับจ้างเป็นฟรีแลนซ์ถ่ายภาพ แรกเริ่มเป็นสคริปต์ไรเตอร์ให้กับรายการสารคดีกระจกหกด้าน ทำอยู่ 3 เดือน ก็ขอลาออก ภายหลังทรงยศได้ตัดสินใจบินไปที่อเมริกาเพื่อไปเป็นเด็กเสริฟท์ที่ซานฟรานซิสโกอยู่ปีกว่า จนวันหนึ่ง มีเพื่อนของทรงยศแนะนำตำแหน่งผู้ช่วย ผู้กำกับโฆษณาของพี่ต่อ (ธนญชัย ศรศรีวิชัย) โปรดักชั่นเฮาส์ที่ฟีโนมีน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทรงยศ สุขมากอนันต์

ทวี บุตรสุนทร

ทวี บุตรสุนทร (19 มีนาคม พ.ศ. 2482 -- 15 กันยายน พ.ศ. 2554) ประธานกรรมการบริษัทไทยศรีประกันภัย จำกัด และกรรมการสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยดำรงตำแหน่งประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย, นายกสภาวิศวกร, รองผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) และผู้ทรงคุณวุฒิอื่นๆ อีกหลายตำแหน่ง ทวีจบการศึกษาวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) สาขาเครื่องกล จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทวี บุตรสุนทร

ทศพร วงศ์รัตน์

ตราจารย์กิตติคุณ ทศพร วงศ์รัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านอนุกรมวิธานปลา จบการศึกษาจากคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และปริญญาโทจากประเทศเยอรมนี ได้รับพระราชทานทุนมูลนิธิอานันทมหิดลไปศึกษาต่อจนจบปริญญาเอกในเชิงอนุกรมวิธานปลาจากมหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศอังกฤษ ได้รับราชการเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทศพร วงศ์รัตน์

ทัชชกร บุญลัภยานันท์

ทัชชกร บุญลัภยานันท์ เดิมชื่อ กรัณย์ บุญลัภยานันท์ ชื่อเล่น ก๊อต โดยคุณพ่อเป็นผู้ตั้งชื่อนี้ ซึ่งได้มาจากภาพยนตร์เรื่อง The Godfather ภายหลังเข้ามาทำงานใน GMM Grammy ป๋อมแป๋ม ก็ได้เรียกก็อต ว่า "ก็อตจิ" แต่นั้นมา เป็นนักแสดง พิธีกร จากรายการท่องเที่ยวยอดฮิต เทยเที่ยวไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทัชชกร บุญลัภยานันท์

ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ

ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ เป็นศิลปินนักแสดงชาวไทย ประจำสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ

ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทักษิณ ชินวัตร

ทางด่วนกรุงเทพ

ริษัท ทางด่วนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (Bangkok Expressway Public Company Limited) หรือชื่อย่อ BECL เป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจด้านการคมนาคมขนส่ง ซึ่งเป็นโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ที่จัดสร้างโดยความร่วมมือระหว่างรัฐและเอกชน ประกอบด้วยทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ระบบทางด่วนขั้นที่ 1) สร้างโดยการทางพิเศษแห่งประเทศไทยช่วงปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทางด่วนกรุงเทพ

ทิพย์สุดา ปทุมานนท์

รศ.ดร.ทิพย์สุดา ปทุมานนท์ รองศาสตราจารย์ ดร.ทิพย์สุดา ปทุมานนท์ (2496 -) อาจารย์สังกัดภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเขียนหนังสือด้านสถาปัตยกรรมศาสตร์หลายเล่ม ได้รับเลือกเป็น "อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติของ ปอมท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทิพย์สุดา ปทุมานนท์

ทิปโก้แอสฟัลท์

ริษัท ทิปโก้แอสฟัลท์ จำกัด (มหาชน) (TIPCO ASPHALT PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:TASCO) บริษัทเป็นผู้ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ ยางมะตอย ยางมะตอยสำเร็จรูป และผลิตภัณฑ์แอสฟอลต์ รายใหญ่ของประเทศไทย รวมทั้งเป็นรายแรกในประเทศไทยที่นำระบบ ISO 26000 มาเป็นแนวทางในการทำงานและผ่านการทวนสอบโดยสถาบันรับรองมาตรฐาน ISO 26000 (MASCI) เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทิปโก้แอสฟัลท์

ทีโอที

ริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) (TOT Public Company Limited) เป็นรัฐวิสาหกิจประเภทสื่อสารโทรคมนาคม และถือเป็นกิจการโทรศัพท์แห่งชาติของไทย ดำเนินกิจการเกี่ยวกับโทรศัพท์และการสื่อสาร แปรรูปมาจาก องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ซึ่งก่อตั้งเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทีโอที

ท่าอากาศยานภูเก็ต

ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต หรือ สนามบินภูเก็ต เป็นสนามบินตั้งอยู่ที่ เหนือสุดของเกาะภูเก็ตเป็นท่าอากาศยานที่มีเที่ยวบินหนาแน่นเป็นอันดับที่สามของประเทศ รองจากท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง มีเที่ยวบินทั้งในและต่างประเทศ บินมาลงทุกวัน ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีมาตรฐานทั้งในด้านการท่องเที่ยว เศรษฐกิจ ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต ตั้งอยู่เลขที่ 222 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4026 ตำบลไม้ขาว อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ห่างจากตัวเมืองภูเก็ตประมาณ 32 กิโลเมตร เนื้อที่โดยประมาณ 94,800 ตารางเมตร แท๊กซี่เวย์ 8 จุด ทิศเหนือเป็นภูเขา ทิศใต้เป็นสวนยางพารา ทิศตะวันตกเป็นชายฝั่งทะเลอันดามัน สามารถรองรับผู้โดยสารได้ 6,500,000 คนต่อปี โดยในปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและท่าอากาศยานภูเก็ต

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานไทย

ริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) เดิมใช้ชื่อว่า การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย หรือ ทอท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและท่าอากาศยานไทย

ท่านผู้หญิง

ท่านผู้หญิง เป็นคำนำหน้าใช้สำหรับสตรีผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น ปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) และ ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) ซึ่งนับเป็นเกียรติที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้แก่สตรีผู้นั้นเป็นกรณีพิเศษ มิได้ขอพระราชทานโดยรัฐบาล.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและท่านผู้หญิง

ท็อปอวอร์ด

ทีวีพูล ท็อป ออฟ โพลล์ หรือ ปัจจุบันเรียกว่าท็อปอวอร์ด (Top Awards) เป็นการมอบรางวัลให้แก่คนบันเทิงสาขาต่างๆ จัดโดยนิตยสารทีวีพูลร่วมกับสวนดุสิตโพลล์ โดยการรวบรวมคะแนนโหวตของประชาชนที่ส่งโหวตเข้ามาจาก 10 คนเหลือ 5 คนสุดท้าย ซึ่งท็อปอวอร์ดจัดมาหลายครั้งแล้ว ดังนี้.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและท็อปอวอร์ด

ขวัญสรวง อติโพธิ

วัญสรวง อติโพธิ นายขวัญสรวง อติโพธิ เป็นอาจารย์พิเศษประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวิทยากรและนักเขียนบทความอิสระ โดยเฉพาะด้านการพัฒนาเมืองและพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อม นายขวัญสรวง อติโพธิ เกิดเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและขวัญสรวง อติโพธิ

ขวัญข้าว เศวตวิมล

วัญข้าว เศวตวิมล ชื่อเล่น แพง (8 พฤษภาคม 2525) เป็นนักจัดรายการวิทยุทางบานานา เอฟเอ็ม พิธีกรรายการโทรทัศน์ คอลัมนิสต์ และครูสอนดนตรี และเป็นเจ้าของแบรนด์เสื้อผ้าKwankao เป็นลูกสาวของสันติ เศวตวิมล (แม่ช้อย นางรำ) นักชิมชื่อดัง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและขวัญข้าว เศวตวิมล

ขัตติยะ สวัสดิผล

ลตรี ขัตติยะ สวัสดิผล หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ.แดง (2 มิถุนายน พ.ศ. 2494 — 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2553) เป็นทหารบกชาวไทย เริ่มเป็นที่รู้จักของคนทั่วไปเมื่อมีคดีความการรื้อบาร์เบียร์ย่านซอยสุขุมวิท 10 และถูก พล.ต.อ.สันต์ ศรุตานนท์ อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ฟ้องเรียกค่าเสียหายที่กล่าวหาว่า พล.ต.อ.สันต์ มีพฤติกรรมในการใช้อำนาจโดยมิชอบและละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งทุจริตการจัดซื้อ-จัดจ้าง การทำสำนวนคดีรื้อถอนบาร์เบียร์ที่มีพฤติการณ์ช่วยเหลือนายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ และเป็นผู้มีส่วนร่วมในการอุ้มนายชูวิทย์จากโรงแรมดิเอมเมอรัลด์ รัชดาภิเษก จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการเขียนหนังสือ คม....แดง ขึ้น อันเป็นหนังสืออัตชีวประวัติและรวบรวมความคิดคำพูดของ พล.ต.ขัตติยะ เอง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและขัตติยะ สวัสดิผล

ณฐพร เตมีรักษ์

ณฐพร เตมีรักษ์ เป็นนักแสดงชาวไทย มีผลงานสร้างชื่อจากละครซีรีส์ชุด สุภาพบุรุษจุฑาเทพ ตอน คุณชายรัชชานนท์ ทำให้เธอได้รับรางวัลโทรทัศน์ทองคำและคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 11 สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและณฐพร เตมีรักษ์

ณภศศิ สุรวรรณ

ณภศศิ สุรวรรณ เกิดเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2534 เป็น นักแสดงชาวไทย มายด์จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ" มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ปัจจุบันจบการศึกษาจากคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มายด์ผลงานในวงการบันเทิงมามากมาย โดยเฉพาะจากการแสดงโฆษณาต่างๆ เริ่มเข้าวงการจากการได้รับตำแหน่ง Miss Uthaitip Freshy Idol 2008 และมีผลงานแจ้งเกิดคือละครชุด อุบัติรักข้ามขอบฟ้า 2.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและณภศศิ สุรวรรณ

ณัฐ ยนตรรักษ์

ณัฐ ยนตรรักษ์ เป็นนักเปียโน นักประพันธ์เพลงที่มีชื่อเสียงของไทย มีผลงานการเล่นเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ เป็นผู้ได้รับรางวัลศิลปาธร สาขาคีตศิลป์ จัดโดยสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ประจำปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและณัฐ ยนตรรักษ์

ณัฐชา วิทยากาศ

ณัฐชา วิทยากาศ เกิดเมื่อ 23 มีนาคม พ.ศ. 2531 เป็นนักแสดงชาวไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและณัฐชา วิทยากาศ

ณัฐกิตติ์ ตั้งพูลสินธนา

ร.ณัฐกิตติ์ ตั้งพูลสินธนา หรือ ดร.ตุ้ย นักการตลาดผู้สร้างสีสันให้แก่แวดวงมาร์เก็ตติ้งมาตลอดกว่า 20 ปี  ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาด บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) หรือ CPN ผู้ที่ทำให้ภาพของบริษัทอสังหาริมทรัพย์ อันดับหนึ่งของประเทศ ดูสนุกสนานและเข้าถึงง่ายมากขึ้นผ่านการสร้างสรรค์แคมเปญต่างๆ และสื่อสารออกมาได้อย่างตรงจุดและมีประสิทธิภาพ จนศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทรัลพลาซา และ เซ็นทรัลเฟสติวัล ทั้ง 32 สาขาทั่วประเทศ (ณ วันที่ 24 เมษายน 2561) กลายเป็นศูนย์กลางของการใช้ชีวิตของคนไทยและนักท่องเที่ยวจากทั่วโลก ปั้นกิจกรรมต่างๆ จนกลายเป็น Talk of The Town อย่างงาน Elle Fashion Week, Bangkok Varee, Krungthep Thara, Royal Project รวมไปถึง Bangkok Countdown ที่ CNN เปรียบเทียบว่าบริเวณลานด้านหน้าศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์เปรียบเสมือน Time Square ของกรุงเทพมหานคร และได้รับคัดเลือกเป็น 1 ใน 10 เมืองที่เหมาะสำหรับการไปเคาน์ดาวน์มากที่สุดในโลก และยังดำรงตำแหน่งประธานอนุกรรมการธรรมาภิบาลและกิจกรรมเพื่อสังคม ของการประปานครหลวง (กปน.) ถึง 2 สมัยซ้อน ตั้งแต่ปี 2557 ที่พากปน.ไปกวาดรางวัลด้าน CG และ CSR มาแล้วถึง 14 รางวัลใหญ่ โดยก่อนหน้านี้ ดร.ณัฐกิตติ์ยังเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการรีแบรนด์ดิ้งครั้งใหญ่ของซัมซุง เปลี่ยนภาพจากแบรนด์เกาหลีให้กลายเป็น Global Brand และ วาง Positioning ของแบรนด์ให้ดู Premium ขึ้นได้ภายในระยะเวลา 3 ปี และ ผู้อยู่เบื้องหลังการเพิ่ม Market Share ของบริษัท Post Tel บริษัทในกลุ่มสามารถคอร์ปอเรขั่น จำกัด (มหาชน) ให้ขึ้นเป็นที่ 2 จากที่ 4 ของตลาดได้ภายใน 1 ปี ความท้าทายของงานด้านการตลาดก็คือ “คน” ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอยู่เสมอทั้งในส่วนของผู้บริโภคและทีมงานเอง ดร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและณัฐกิตติ์ ตั้งพูลสินธนา

ณัฐภัสสร สิมะเสถียร

ณัฐภัสสร สิมะเสถียร (หรือชื่อเดิม หทัยภัทร สิมะเสถียร) หรือ "ดาว" ในอดีตเป็นนักร้องเด็กที่มีชื่อเสียงคนหนึ่ง โดยใช้ชื่อว่า ดาวโอเกะ(Dao•ke) ณัฐภัสสรเกิดเมื่อ วันจันทร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและณัฐภัสสร สิมะเสถียร

ณัฐวรา หงษ์สุวรรณ

ณัฐวรา หงษ์สุวรรณ เกิดเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2532 เป็นนักแสดง และพิธีกร ชาวไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและณัฐวรา หงษ์สุวรรณ

ณัฐธีร์ โกศลพิศิษฐ์

ณัฐธีร์ โกศลพิศิษฐ์ (ชื่อเล่น: บ๊อบ; ชื่อเดิม: บดินทร์ โกศลพิศิษฐ์; เกิด: 17 มิถุนายน พ.ศ. 2522) เป็นพิธีกร, ผู้ประกาศข่าวชาวไทย เดิมเคยเป็นอดีตนักแสดงและนายแ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและณัฐธีร์ โกศลพิศิษฐ์

ดราภดา โสตถิพิทักษ์

ราภดา โสตถิพิทักษ์ (ชื่อเล่น: กีฟ) เกิดวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2529 ส่วนสูง 174 เซนติเมตร น้ำหนัก 49 กิโลกรัม จบการศึกษาระดับปริญญาตรีเกียรตินิยมอันดับสอง สาขาแฟชั่นดีไซน์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเป็นอาจาร์ยสอนแฟชั่นที่สถาบัน artHOUSE ประจำคลาส Figure Fashion และ เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงด้วยการเข้าประกวด ไทยซุปเปอร์โมเดลคอนเทสต์ ประจำปี 2008 (พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและดราภดา โสตถิพิทักษ์

ดลชัย บุณยะรัตเวช

ลชัย บุณยะรัตเวช บุตร นายเชิด บุณยะรัตเวช อดีตผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไทย และคุณหญิงมาลัยวัลย์ บุณยะรัตเวช ศิลปินแห่งชาติ ดลชัยฯ เป็นผู้อยู่ในวงการสร้างสรรค์งานโฆษณา ครีเอทีฟ และนักสร้างแบรนด์แถวหน้าของเมืองไทย จากคอลัมน์ Design etc.ในกรุงเทพธุรกิจ BizWeek ปัจจุบันเป็นหนึ่งผู้ก่อตั้งและผู้บริหารบริษัทแบรนด์ซเคพ ให้บริการเกี่ยวกับการบริหารภาพลักษณ์สินค้า นอกจากนี้ดลชัยยังเป็น นักแสดง, นักแสดงละครเวที, นักร้อง ในงานสังคมเป็นบางโอก.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและดลชัย บุณยะรัตเวช

ดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม)

Aquatint of a Doctor of Divinity at the University of Oxford, in the scarlet and black academic robes corresponding to his position. From Rudolph Ackermann's ''History of Oxford'', 1814. ดอกเตอร์ หรือ ด็อกเตอร์ (doctor) เป็นคำศัพท์ที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษโดยคำศัพท์คำนี้มีรากศัพท์ในภาษาละติน doctor เป็นคำนานที่มาจากกริยาในภาษาละติน docēre แปลว่าสอน ดอกเตอร์ถูกใช้มานานในทวีปยุโรปตั้งแต่การก่อต้งสถาบันอุดมศึกษา และถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายในหลายประเทศทั่วโลก ในภาษาอังกฤษ ดอกเตอร์เป็นคำนำหน้าชื่อของผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก รวมถึงแพทย์และทันตแพทย์ ในประเทศไทย คำนำหน้าชื่อนี้ใช้เฉพาะในความหมายของผู้สำเร็จปริญญาเอกเท่านั้น เพราะมีคำนำหน้าอื่นสำหรับแพทย์และทันตแพท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม)

ดิเรก ลาวัณย์ศิริ

ตราจารย์กิตติคุณ ดิเรก ลาวัณย์ศิริ ดำรงตำแหน่งเป็น ประธานกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กรรมการสาขาวิทยาศาสตร์หรือวิศวกรรมศาสตร์) คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เป็นองค์กรหลักในการกำกับดูแลการประกอบกิจการพลังงาน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและดิเรก ลาวัณย์ศิริ

ดุษฎี พนมยงค์

ษฎี พนมยงค์ บุญทัศนกุล (18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482) ศิลปินแห่งชาติ เป็นนักดนตรีแนวคลาสสิก เป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกการเรียนการสอนวิชาขับร้องคลาสสิกในประเทศไทย มีผลงานผลิตครู อาจารย์ และนักร้องคลาสสิกที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันเป็นอาจารย์พิเศษวิชาสังคีตนิยม คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ นอกจากนี้ยังได้ก่อตั้งและเป็นผู้อำนวยการคณะนักร้องประสานเสียงสวนพลู และยังเป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อการใช้ดนตรีเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่ภาครัฐและเอกชนอย่างสม่ำเสมอ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและดุษฎี พนมยงค์

ดีเจ

ดีเจ ดีเจ (DJ ย่อมาจาก Disc jockey) หมายถึงผู้จัดรายการเพลงประกอบความรู้เกี่ยวกับเพลงหรือเรื่องอื่นๆ ซึ่งอยู่ในความสนใจของผู้ฟัง ในสถานที่ฟังเพลง ในที่นี้มี 2 ความหมายคือ ดีเจที่จัดรายการเพื่อออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียง และดีเจที่เปิดเพลงตามไนต์คลับ หรือตามงานบันเทิงต่าง ๆ โดยในขณะทำหน้าที่ดีเจ อาจมีการเล่นแผ่นหรือปรับเสียงในลักษณะต่าง ๆ เพื่อดัดแปลงให้ได้เสียงที่แปลกใหม่ไปจากเดิม ดีเจที่มีความหมายถึงนักจัดรายการวิทยุ รูปแบบการจัดรายการอาจเป็นรายการที่มีกำหนดเวลาแน่นอน หรือเป็นรายการที่ให้บริการตลอดวัน เช่น รายการกรีนเวฟ หรือรายการอยู่เป็นเพื่อนคุยกับนักศึกษาที่ดูหนังสือดึกๆ หรือรายการโชว์ดึก โดยมีหัวข้อคุยเป็นประเด็นเรื่องราวตามกระแสเหตุการณ์บ้านเมืองและโลกแทรกไว้ในรายการ หรือรายการเพื่อสุขภาพ รายการเพื่อผู้บริโภค รายการเพื่อการศึกษา การทบทวนข้อสอบของนักเรียนเพื่อเตรียม สอบเอ็นทรานซ์ การตอบปัญหาสุขภาพจิตสำหรับผู้ฟังที่มีปัญหาคับข้องใจ หรืออาจเป็นรายการสายด่วน เพื่อช่วยเหลือความเดือดร้อน โดยนักจัดรายการวิทยุจะเปิดเพลง สลับการให้ความรู้หรือการตอบปัญหา หรือสนทนากับผู้ฟังตามช่วงเวลาที่เหมาะสม เพื่อมิให้เกิดความเบื่อหน่ายแก่ผู้ฟังทั่วไป หมวดหมู่:อาชีพ หมวดหมู่:ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและดีเจ

คมชัดลึก อวอร์ด

มชัดลึก อวอร์ด เป็นรางวัลที่มอบให้กับบุคคลในวงการบันเทิงไทย ใน 4 สาขา คือ ละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ เพลงไทยสากล และเพลงลูกทุ่ง จัดโดย ฝ่ายข่าวบันเทิง หนังสือพิมพ์คมชัดลึก มีพิธีมอบรางวัลเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคมชัดลึก อวอร์ด

คมกฤษ ตรีวิมล

มกฤษ ตรีวิมล หรือ เอส ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย กลุ่ม 365 ฟิล์ม ค่าย จีทีเอชเกิดเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2516.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคมกฤษ ตรีวิมล

คมสัน นันทจิต

มสัน นันทจิต เป็นสถาปนิก นักเขียนเรื่องสั้น นักแสดง และพิธีกรรายการโทรทัศน์ เคยได้รับรางวัลนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 8 ประจำปี 2541 จากเรื่อง รัก-ออกแบบไม่ได้ และได้รับการเสนอชื่อเข้าชิง ครั้งที่ 17 ประจำปี 2550 จากเรื่อง บ้านผีสิง คมสันจบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์ สังกัดทีวีบูรพา และ ดีเจในรายการ หนังหน้าแมว และ จดหมายเด็กแมว ทาง แคทเรดิโอ ผลงานการเขียนเรื่องสั้น เคยได้รับการตีพิมพ์ในนิตยสารช่อการะเกด ที่มีสุชาติ สวัสดิ์ศรี เป็นบรรณาธิการ นอกเหนือจากงานเขียนแล้ว คมสันยังมีผลงานแปลเรื่องสั้นภาษาญี่ปุ่นของ ฮารูกิ มุราคาม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคมสัน นันทจิต

คลาวเดีย จักรพันธุ์

ลาวเดีย จักรพันธุ์ มัซเซ็ตติ เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2522 เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย เป็นบุตรสาวคนเดียวของอัลโด มัซเซ็ตติ ชาวอิตาลี กับ หม่อมราชวงศ์จันทิรา จักรพันธุ์ เป็นหลานตาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ ผู้มีพระปรีชาสามารถเป็นเลิศด้านการประพันธ์เพลง มารดาของเธอนั้นสำเร็จการศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ ส่วนบิดาของเธอเองก็เป็นนักดนตรีที่มีความสามารถ คลาวเดียศึกษาระดับประถมที่โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย จนถึงมัธยมศึกษาปีที่6 โดยได้ร่วมแสดงละคร เต้นรำ และร้องเพลงในงานของโรงเรียนเสมอ อีกทั้งคุณแม่เห็นแววจึงได้สนับสนุนให้เธอเรียนพิเศษทางด้านเปียโน ทฤษฎีการดนตรี นาฏศิลป์ไทย และนาฏศิลป์สากลประเภทต่าง ๆ เช่น บัลเล่ต์ แจ๊ซ แท็พ แร็พ ตลอดจนการขับร้องเพลงและการเดินแบบ จากสถาบันและครูต่าง ๆ จนเธอ ได้เริ่มออกแสดงต่อหน้าสาธารณชนทางโทรทัศน์เป็นครั้งแรกเมื่อปี 2534 ขณะอายุ 12 ปี และนับตั้งแต่ปี 2535 เป็นต้นมา ชื่อเสียงของเธอก็เป็นที่รู้จักไม่ว่าจะมีผลงานโฆษณา ถ่ายแบบแฟชั่นในนิตยสาร แสดงแฟชั่นโชว์ แสดงภาพยนตร์ ละครโทรทัศน์ และเป็นพิธีกรในรายการต่าง ๆ ทางด้านการศึกษาคลาวเดียสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศึกษาต่อในระดับปริญญาโทในหลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการจัดการทางวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันคลาวเดีย ได้สมรสแล้วกับอรรคพร วิจิตรานนท์ โดยได้รับพระราชทานน้ำสังข์จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคลาวเดีย จักรพันธุ์

คลุ้ม วัชโรบล

ตราจารย์ ดร.คลุ้ม วัชโรบล เป็นราชบัณทิตในสำนักวิทยาศาสตร์รุ่นแรกที่ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯแต่งตั้งเป็นราชบัณทิต ในวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ เมื่อวันที่ 30 กันยายน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคลุ้ม วัชโรบล

คุรุสภา

รุสภา (Khurusapha) มีชื่อทางการว่า สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา (The Teachers’ Council of Thailand) เป็นสภาในกระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษ..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคุรุสภา

คุณหญิง

ณหญิง เป็นคำนำหน้าใช้สำหรับสตรีที่สมรสแล้วซึ่งได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น จตุตถจุลจอมเกล้า (จ.จ.) ตติยจุลจอมเกล้า (ต.จ.) และทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) ส่วนสตรีที่ยังมิได้สมรสให้ใช้คำนำหน้าว่า "คุณ" ยกเว้น สตรีในราชตระกูลตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป รวมทั้ง หม่อมราชวงศ์และหม่อมหลวง ยังคงใช้พระนามและคำนำหน้านามเดิม นอกจากนี้ คำว่า คุณหญิง ยังใช้เป็นนามลำลองของ หม่อมราชวงศ์หญิง อีกด้วย เช่น หม่อมราชวงศ์ ศรีคำรุ้ง ยุคล มีนามลำลองว่า คุณหญิงแมงมุม เป็นต้น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคุณหญิง

คีรติ มหาพฤกษ์พงศ์

ีรติ มหาพฤกษ์พงศ์ (เกิด 12 สิงหาคม พ.ศ. 2530) เป็นนักแสดง นักร้องชาวไทย มีน้องสาวคือยิปโซ อริย์กันตา มหาพฤกษ์พงศ์ ด้านการศึกษาเธอศึกษาระดับอนุบาล ที่โรงเรียนอนุบาลเธียรประสิทธิ์ ระดับมัธยมศึกษาจาก โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์ และ Newton South Highschool และ The American School of Bangkok และ โรงเรียนนานาชาติแอ็ดเวนตีส รามคำแหง จบการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ภาคอินเตอร์) กำลังศึกษาปริญญาโท หลักสูตรบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ (MBA) มหาวิทยาลัยมหิดลอินเตอร์ เธอมีผลงานแสดงในภาพยนตร์เรื่อง BitterSweet BoydPod The Short Film (2551) และแสดงบทนำในภาพยนตร์เรื่อง อนุบาล เด็กโข่ง (2552) จากนั้นได้ร่วมร้องเพลงในอัลบั้ม คอนเวอร์เจนซ์เลิฟวัน ในเพลง "Would U Mind.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคีรติ มหาพฤกษ์พงศ์

คณบดี

ณบดี หมายถึง หัวหน้าคณะวิชาในมหาวิทยาลัย วิทยาลัย หรือสถาบันอื่นที่มีสถานะเทียบเท่ากัน มีความหมายตามตัวอักษรว่าผู้เป็นใหญ่ในคณะ โดยปรกติแล้ว กฎหมายไทยจะบัญญัติให้มีคณบดีคนหนึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของคณะวิชาในมหาวิทยาลัย วิทยาลัย หรือสถาบันอื่นที่มีสถานะเทียบเท่ากัน โดยจะให้มีรองคณบดีเป็นผู้ช่วยปฏิบัติการด้วยก็ได้ อนึ่ง คณบดีย่อมเป็นผู้แทนในกิจการทั่วไปของคณะ และรองคณบดีมีอำนาจหน้าที่ตามที่คณบดีมอบหมาย คุณสมบัติทั่วไปของคณบดี ได้แก่ (1) ต้องได้รับปริญญาชั้นใดชั้นหนึ่งหรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาชั้นสูงอื่นที่สภามหาวิทยาลัยนั้น ๆ รับรอง และ (2) ได้ทำการสอนมาแล้วรวมเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามปีในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาชั้นสูงอื่นที่สภามหาวิทยาลัยนั้น ๆ รับรอง ส่วนของรองคณบดีนั้น ได้แก่ (1) ต้องได้ทำการสอนมาแล้วรวมเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามปีในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาชั้นสูงอื่นที่สภามหาวิทยาลัยนั้น ๆ รับรอง หรือ (2) เป็นข้าราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัยมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี คณบดี โดยปรกติมาจากการเลือกตั้งโดยคณาจารย์ในคณะนั้น ๆ จากผู้สมัครเข้ารับคัดเลือกตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สภามหาวิทยาลัยนั้นกำหนด เมื่อผ่านการเลือกตั้งแล้วจะได้รับการแต่งตั้งจากสภามหาวิทยาลัย ส่วนการถอดถอนคณบดีเป็นอำนาจของสภามหาวิทยาลัย การแต่งตั้งและถอนถอนรองคณบดีนั้นเป็นอำนาจของอธิการบดีซึ่งกระทำตามคำแนะนำของคณบดี กฎหมายมักกำหนดให้ผู้ดำรงตำแหน่งอธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี หัวหน้าแผนกอิสระ ผู้อำนวยการสถาบัน ผู้อำนวยการสำนัก ผู้อำนวยการศูนย์ หัวหน้าภาควิชา และหัวหน้าหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะหรือภาควิชา ต้องสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้เต็มเวลา และจะดำรงตำแหน่งดังกล่าวเกินหนึ่งตำแหน่งในขณะเดียวกันไม่ได้ แต่สามารถรักษาการแทนกันโดยไม่เกินเวลาตามที่กำหนดไว้เป็นการเฉพาะ อนึ่ง คณบดียังเป็นชื่อหนึ่งของพระพิฆเนศอีกด้ว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณบดี

คณวัฒน์ จันทรลาวัณย์

นายแพทย์คณวัฒน์ จันทรลาวัณย์, เว็บไซต์ (ชื่อเล่น: เอ้ก) แพทย์ประจำบ้านสาขาจักษุวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย อดีตแพทย์ประจำโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา สภากาชาดไทยข่าวประชาสัมพันธ์,, เว็บไซต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณวัฒน์ จันทรลาวัณย์

คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดตั้งขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม 2531 เป็นคณะที่ 16 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันทำการสอนในระดับบัณฑิตศึกษาเท่านั้น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับ 2 ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2481 ภายในการนำของหลวงดำริอิสรานุวรรตน์ ในระยะเริ่มแรกได้ก่อตั้งเป็น “แผนกวิชาการบัญชี” โดยเปิดสอน 2 หลักสูตร คือ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 ตุลาคมพ.ศ. 2481 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเริ่มเปิด "แผนกวิชาการบัญชี" และ "แผนกวิชาพาณิชยศาสตร์" สังกัดคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จนกระทั่งวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)

ณะกรรมการการเลือกตั้ง (Election Commission of Thailand) หรือย่อว่า กกต. (ECT) เป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มีหน้าที่หลักเป็นผู้ควบคุมและดำเนินการจัดหรือจัดให้มีการเลือกตั้งหรือการสรรหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น แล้วแต่กรณี รวมทั้งการออกเสียงประชามติ ให้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม คณะกรรมการการเลือกตั้งมีสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นสำนักงานเลขานุการ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (National Broadcasting and Telecommunication Commission) หรือ กสท. (NBTC) เป็นหน่วยงานอิสระของรัฐ มีบทบาทหน้าที่ในการบริหารความถี่วิทยุเพื่อกิจการโทรคมนาคม และกำกับดูแลการประกอบกิจการโทรคมนาคม กสท.จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

คณะกรรมการราษฎร

ณะกรรมการราษฎร (28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 - 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475) นับเป็นคณะรัฐมนตรีคณะแรกของประเทศสยาม พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้ทรงพระราชทานพระบรมราชานุมัติ ให้ใช้พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะกรรมการราษฎร

คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ

ณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ (คปส.) (อังกฤษ: Campaign for Popular Media Reform - CMPR) เป็นเครือข่ายของนักวิชาการ องค์กรพัฒนาเอกชน นักวิชาชีพสื่อ และภาคประชาสังคม ที่ร่วมกันติดตามและผลักดันการปฏิรูปสื่อ โดยเริ่มแรกใช้ชื่อ คณะทำงานติดตามมาตรา 40 ตามมาตรา 40 ของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ

คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย

ณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ตัวย่อ: ครป. Campaign for Popular Democracy-CPD) เป็นองค์กรพัฒนาเอกชน (NGO) ด้านประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ประเทศไทย)

ณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (National Human Rights Commission) เป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีกสิบคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา จากผู้ซึ่งมีความรู้หรือประสบการณ์ด้านการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนเป็นที่ประจักษ์ ทั้งนี้ โดยต้องคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของผู้แทนจากองค์การเอกชนด้านสิทธิมนุษยชนด้วย คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีวาระการดำรงตำแหน่งหกปีนับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง และให้ดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว วาระละ 6 ปี โดยมีสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นหน่วยงานข้าราชการฝ่ายรัฐสภาสามัญทำหน้าที่ปฏิบัติราชการภายใต้อำนาจหน้าที่ ปัจจุบัน นาง ภิรมย์ ศรีประเสริฐ เป็น เลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ประเทศไทย)

คณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันท์แห่งชาติ

ณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันท์แห่งชาติ หรือ กอ. (The National Reconciliation Commission) เป็นคณะกรรมการที่เกิดขึ้นจากคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันท์แห่งชาติ

คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย

ณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (อักษรย่อ คปก.) คือ องค์กรอิสระตามเจตนารมณ์ มาตรา 81 (3) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซึ่งเป็นการบัญญัติไว้ในแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐว่าด้วยกฎหมายและการยุติธรรม ที่กำหนดให้ รัฐต้องจัดทำกฎหมายเพื่อจัดตั้งองค์กรเพื่อการปฏิรูปกฎหมาย ที่ดำเนินการเป็นอิสระ ในการปรับปรุงและพัฒนากฎหมายของประเทศ รวมทั้งปรับปรุงและพัฒนากฎหมายให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ โดยต้องรับฟังความคิดเห็นของผู้ได้รับผลกระทบจากกฎหมายนั้นประกอบด้วย ในเวลาต่อมา ได้มีการตราพระราชบัญญัติคณะกรรมการปฏิรูปกฎหม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีภารกิจในการจัดการเรียนการสอนวิชาการศึกษาทั่วไป (อาทิ กลุ่มวิชาภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ ฯลฯ) ภาษาต่างประเทศพื้นฐานให้แก่คณะต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คณะมนุษยศาสตร์ และการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ณะมนุษยศาสตร์ก่อตั้งขึ้นจากแผนกภาษาอังกฤษและแผนกศิลปศาสตร์ซึ่งเดิมเป็นแผนก อิสระที่จัดสอนวิชาภาษาอังกฤษและวิชาศึกษาทั่วไปให้แก่นักศึกษาทุกคณะ ต่อมาได้รับอนุมัติจาก ทบวงมหาวิทยาลัยให้จัดตั้งคณะมนุษยศาสตร์ เมื่อวันที่ 22 มกราคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะมนุษยศาสตร์ และการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Political Science, Chulalongkorn University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ถือได้ว่าเป็นคณะวิชาที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ เป็นคณะรัฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดทำการเรียนการสอนทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก อีกทั้งยังเป็นคณะที่ได้รับการเลือกเข้าศึกษาจากผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดจากการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีด้วยระบบ Admission ถึง 4 ปีซ้อน (2553 - 2556).

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

ลโก้ วิศว คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยเริ่มก่อตั้งเมื่อวันที่ 24 เมษายน และประกาศเป็นส่วนราชการเมื่อ 3 มิถุนายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทยที่เก่าแก่ที่สุด และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือกำเนิดมาจากโรงเรียนยันตรศึกษาแห่งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถือเป็นคณะที่มีจำนวนรุ่นมากที่สุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในปีการศึกษา 2560 เป็นรุ่นที่ 101 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีหน้าที่หลักในการผลิตบัณฑิตวิศวกรรมศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา ศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์และเผยแพร่องค์ความรู้สู่ประชาชนทั่วไป เพื่อเป็นที่พึ่งพิงทางวิชาการให้กับประเทศ มีงานวิจัยและความร่วมมือทางวิชาการซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและระดับนานาชาติ ปัจจุบันมีภาควิชาทั้งหมด 12 ภาควิชาและหน่วยงานเทียบเท่าภาควิชาอีก 2 หน่วยงาน นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ มักเรียกแทนตัวเองว่า "อินทาเนีย" คณะวิศวกรรมศาสตร์ตั้งอยู่ในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฝั่งตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี จาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 147 ของโลก และเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่มีสาขาวิชาติดอันดับโลกมากที่สุดในประเทศไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นหน่วยงานระดับคณะของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทำการเปิดในระดับปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก มีหลักทั้งหมด 20 หลักสูตร และหลักสูตรนานาชาติ 2 หลักสูตร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ถือได้ว่าเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่มีอาจารย์ได้รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยมากที่สุดของประเทศ และเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการจัดอันดับสูงสุดในสาขาวิทยาศาสตร์ ทั้งด้านการเรียนการสอน และด้านการวิจัย จากการจัด อันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย โดย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่มีอาจารย์ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติมากที่สุดของประเทศไทย และเป็นคณะวิทยาศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย โดยเป็นหนึ่ง 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในขณะนั้นใช้ชื่อว่า "คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์" ปัจจุบันประกอบด้วย 14 ภาควิชา แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มวิทยาศาสตร์ชีวภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์กายภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และกลุ่มเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ภายในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยด้านตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างสระน้ำ การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติจาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 258 ของโลก และเป็นเพียงแห่งเดียวในประเทศที่ติดอันดั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดิมชื่อว่า สำนักวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้พัฒนามาจากภาควิชาพลศึกษา คณะครุศาสตร์ ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศที่ให้ความสำคัญด้านการพลศึกษาและสุขศึกษา มีการผลิตบุคลากรสาขาวิชาพลศึกษาในระดับปริญญาบัณฑิตเมื่อปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อาคารศิลปกรรม 1 คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งคณะศิลปกรรมศาสตร์ขึ้นในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Faculty of Liberal Arts, Thammasat University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีประวัติความสืบเนื่องจากการเปิดสอนหลักสูตรเทคนิคการแพทย์ของโรงเรียนเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (ปัจจุบัน คือ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล) ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย เมื่อปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน เปิดสอนในระดับปริญญาตรีถึงปริญญาเอกทางด้านสังคมศาสตร์ และเปิดสอนในรายวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ให้กับนิสิตสาขาอื่นๆในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์อีกด้ว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นคณะสัตวแพทยศาสตร์แห่งแรกในภาคเหนือ และเป็น 1 ใน 20 คณะ ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะสัตวแพทยศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย ถือกำเนิดขึ้นในปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นคณะสาธารณสุขแห่งแรกของไทย และมีบทบาทในการวางรากฐานด้านการศึกษาทางสาธารณสุขของประเทศมาโดยตลอ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ถือกำเนิดภายใต้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อันอุดมไปด้วยทรัพยากรทางวิชาการทางด้านนิเวศวิทยา สิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงมุ่งมั่นที่จะผลิตบัณฑิตผู้รับผิดชอบในการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม และเมือง โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมผสานความต้องการของมนุษย์เข้ากับธรรมชาติได้อย่างกลมกลืน และเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็นหนึ่งในสี่คณะกลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ร่วมของไทยในสาขาสถาปัตยกรรม และ สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง  (อันดับที่ 101 - 150 ของโลก) จากการจัดอันดับของ QS world university ranking by Subject.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Faculty of Architecture and Planning) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2542 นักศึกษาคณะนี้มักใช้คำเรียกแทนตัวเองว่า "ชาวเรา".

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Arts, Silpakorn University) จัดตั้งขึ้นเมื่อ..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Arts, Chulalongkorn University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะองคมนตรี

ณะองคมนตรี (privy council) คือ กลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่ประมุขแห่งรัฐ โดยทั่วไปในประเทศที่ปกครองแบบราชาธิปไตย ในภาษาอังกฤษ คำว่า "privy" หมายถึง "ส่วนตัว" หรือ "ลับ" ดังนั้นแรกเริ่มเดิมที privy council คือคณะที่ปรึกษาที่ใกล้ชิดที่สุดของกษัตริย์ที่ให้คำปรึกษาที่รักษาเป็นความลับในเรื่องกิจการรัฐ ประเทศที่มีสภาองคมนตรีหรือองค์กรเทียบเท่าในปัจจุบัน เช่น สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ, ประเทศแคนาดา, ราชอาณาจักรเดนมาร์ก, ราชอาณาจักรตองกา และ ราชอาณาจักรไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะองคมนตรี

คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดตั้งขึ้นในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามพระราชกฤษฎีกา จัดตั้งคณะจิตวิทยา ณ วันที่ 7 กรกฎาคม 2539 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา ณ วันที่ 11 กรกฎาคม 2539 นับเป็นคณะที่ 18 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นคณะจิตวิทยาแห่งแรกของประเทศไทย ปี 2559 คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะจิตวิทยา อันดับ 1 ของประเทศไทย จากการจัดอันดับของ QS World University Rankings by Subject 20162.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เดิมมีชื่อว่า คณะทันตแพทยศาสตร์พญาไท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งคณะฯ ขึ้นเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2511 เพื่อเพิ่มจำนวนทันตแพทย์ ให้เพียงพอต่อความต้องการของประเทศในขณะนั้น คณะทันตแพทยศาสตร์ พญาไท เลขที่ 6 ถนนโยธี เป็นคณะทันตแพทยศาสตร์คณะที่ 2 โดยขยายมาจากคณะทันตแพทยศาสตร์คณะแรกที่ถนนอังรีดูนังต์ ต่อมาในวันที่ 2 มีนาคม 2512 มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามมหิดล อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นชื่อมหาวิทยาลัยมหิดลแทน ชื่อเดิมมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ชื่อของ คณะทันตแพทยศาสตร์ จึงเป็นคณะทันตแพทยศาสตร์พญาไท มหาวิทยาลัยมหิดล..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Dentistry, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 10 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 13.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะทันตแพทยศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย จัดตั้งเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือกำเนิดมาจาก "โรงเรียนฝึกหัดครู" ต่อมาได้พัฒนาเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนข้าราชการพลเรือน และเป็นแผนกวิชาหนึ่งในคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ พร้อมกับการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเป็นคณะครุศาสตร์ เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ณะปฏิรูปการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ คป. เป็นคณะบุคคล อันประกอบด้วย กลุ่มทหาร ตำรวจ และ พลเรือน ซึ่งมีพลเอก สนธิ บุญยรัตกลินเป็นหัวหน้า ได้เข้ายึดอำนาจการปกครองราชอาณาจักรไทยไว้ได้ เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นส่วนงานประเภทคณะของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดตั้งขึ้นตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 164 ลงวันที่ 15 มิถุนายน 2515 มีรากฐานมาจากโรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม ที่โอนมาเป็นคณะนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

ณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2532 เป็นคณะลำดับที่ 6 ของมหาวิทยาลัยสยาม โดยมี อาจารย์ประธาน รังสิมาภรณ์ เป็นคณบดี เปิดสอนทั้งสิ้น 6 สาขาวิชา ได้แก่ หนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์, การประชาสัมพันธ์, การโฆษณา, สื่อดิจิทัล, วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ และศิลปะการแสดง โดยนักศึกษาต้องผ่านการเรียน ซึ่งประกอบด้วยวิชาหลักต่าง ๆ จำนวน 141 หน่วยกิต และวิชาเลือกเสรีจำนวน 3 หน่วยกิต และต้องผ่านการฝึกงานติดต่อกันไม่ต่ำกว่า 200 ชั่วโมง จึงจะสำเร็จหลักสูตร ใช้เวลาเรียน 4 ปี ต่อมา มี ร.ดร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

right คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะนิเทศศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็นคณะที่ 14 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นโรงเรียนแพทย์แห่งที่สามของประเทศไทยต่อจากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และยังเป็นเป็นโรงเรียนแพทย์ในส่วนภูมิภาคแห่งแรกของประเทศไทย สถานที่ตั้งปัจจุบันคือ เลขที่ 110 ถนนอินทวโรรส ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ประมาณ 276 ไร่ มุมทิศตะวันออกเฉียงใต้ จดประตูสวนดอก คณบดีคนปัจจุบันของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คือ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ บรรณกิจ โลจนาภิวัฒน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานระดับคณะวิชาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพระราชกฤษฎีกาประกาศตั้งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2508 โดยได้รับการสนับสนุนจาก มูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ ทั้งในด้านทุนทรัพย์และบุคลากร และยังมีผู้เชี่ยวชาญไทยที่ผ่านการฝึกอบรมจากประเทศสหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักรอีกจำนวนหนึ่งด้วย ปัจจุบัน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี รับนักศึกษาเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี (เป็นนักศึกษาแพทย์ประมาณ 180 คน นักศึกษาพยาบาลอีก 150 คนและ นักศึกษาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ 30 คนต่อปี) ระดับหลังปริญญาในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาที่เกี่ยวข้องมีโครงการปริญญาเอก โครงการฝึกอบรมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ และสาขาย่อยเฉพาะทาง รวมทั้งการวิจัยด้วย เป้าหมายของคณะฯ คือการผลิตบุคลากรทางการแพทย์สาขาต่างๆพยาบาล และบุคลากรอื่นทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ เน้นให้นักศึกษาได้เรียนรู้การดูแลรักษาแบบองค์รวม การใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมและสามารถทำงานในชุมชนได้.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2511 ในยุคของมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ซึ่งแรกก่อตั้งใช้ชื่อว่า คณะเภสัชศาสตร์ พญาไท มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ เนื่องจากในเวลานั้นมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ได้โอนย้ายสังกัดคณะเภสัชศาสตร์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาก่อนหน้าแล้ว (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปัจจุบัน) ต่อมาในปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

ณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2536 ดำเนินการสอนหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตเพื่อผลิตบัณฑิตทางเภสัชศาสตร์ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล เพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศที่ยังขาดเภสัชกร บัณฑิตคณะเภสัชศาสตร์จะเป็นผู้ที่มีความใฝ่รู้ และใฝ่ศึกษาด้วยตนเอง สามารถแก้ปัญหา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการพัฒนาวิชาการด้านเภสัชศาสตร์เป็นผู้ที่มีความรอบรู้เรื่องยาในทุกด้าน ได้แก่ การผลิตยา การจ่ายยา ติดตามและแนะนำการใช้ยาการบริหารและการจ่ายยา เป็นต้น สามารถให้บริการแก่สังคมในสายวิชาชีพเภสัชกรรม และการสาธารณาสุขให้มีประสิทธิผลทางด้านสุขภาพและอนามัยต่อชุมชนทั้งในเมืองและชนบท โดยยึดมั่นในจรรยาแห่งวิชาชีพ มีมนุษย์สัมพันธ์ และเจตคติที่ดีต่อสังคม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะเภสัชศาสตร์แห่งแรกในประเทศไทย โดยถือกำเนิดจาก "แผนกแพทย์ผสมยา โรงเรียนราชแพทยาลัย" หรือ "โรงเรียนปรุงยา" ตามดำริของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานารถและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาชัยนาทนเรนทร เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นหนึ่งในสี่ของมหาวิทยาลัยภายหลังที่ได้ยกเลิกระบบการสอนแบบธรรมศาสตร์บัณฑิต และนับเป็นคณะเศรษฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อตั้งเป็นคณะลำดับที่ 12 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณิต ณ นคร

ตราจารย์พิเศษ คณิต ณ นคร อดีตประธานกรรมการปฏิรูปกฎหมาย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ กรรมการกฤษฎีกา ประธานกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ หรือ คอป.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณิต ณ นคร

คนเดือนตุลา

นเดือนตุลา เป็นชื่อเรียกกลุ่มบุคคลที่เข้าร่วมชุมนุม ในเหตุการณ์ 14 ตุลา และ 6 ตุลา ซึ่งส่วนมากขณะนั้นเป็นนักศึกษา โดยในปัจจุบัน กลุ่มคนเดือนตุลาบางส่วน ก็เข้าสู่แวดวงการเมืองและสังคม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคนเดือนตุลา

งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์

งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ หรือ งานฟุตบอลประเพณีธรรมศาสตร์–จุฬาฯ เป็นการแข่งขันฟุตบอลประเพณีระหว่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2 มหาวิทยาลัยเก่าแก่ของประเทศไทย เริ่มจัดกิจกรรมครั้งแรกในวันที่ 4 ธันวาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์

ตราสินค้า

ลักษณ์ (ตัวอย่าง) ที่สร้างขึ้นโดย เพอซอเมค โคเวล ตราสินค้า หรือ ยี่ห้อ (brand) เป็นรูปแบบของภาพพจน์และแนวความคิด ในรูปอัตลักษณ์ คำขวัญ และผลงานออกแบบ ของสินค้าและผลิตภัณฑ์ ทั้งยังเป็นข้อมูลเชิงมโนธรรม ที่แสดงออกทางรูปธรรมด้วยสัญลักษณ์ ที่สื่อถึงบริษัท สินค้า บริการ หรือกลุ่มผู้ขาย ที่แตกต่างจากคู่แข่งขัน การสร้างตราสินค้า ให้เป็นที่จดจำของลูกค้า เกิดขึ้นได้จากการโฆษณา การบอกต่อ การออกแบบที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น ในปัจจุบัน การสร้างตราสินค้า กลายมาเป็นส่วนสำคัญของวัฒนธรรม และปรัชญาการออกแบบ ตราสินค้าประกอบด้วย ชื่อตราสินค้า (Brand name) หรือ (ชื่อ) ยี่ห้อ (แต้จิ๋ว: หยี่ห่อ) คือส่วนที่สามารถอ่านออกเสียงได้ และ เครื่องหมายตราสินค้า (Brandmark) คือส่วนที่ไม่สามารถอ่านออกเสียงได้ แต่สามารถจดจำได้ อาทิสัญลักษณ์ รูปแบบ สีสัน ตัวอักษรประดิษฐ์ เสียง หรือรูปทรงที่จดจำได้ง่ายอย่างรองเท้าบูตแฟชั่น เป็นต้น หากเป็นภาพสัญลักษณ์อย่างเดียว ส่วนนี้อาจเรียกว่าเป็นตราเครื่องหมาย (logo) ได้เช่นกัน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและตราสินค้า

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ปลี่ยนแปลงจากปีก่อน: +198.96 จุด (+%) |- ! colspan.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ตั้ว ลพานุกรม

รองอำมาตย์เอก ตั้ว ลพานุกรม (21 ตุลาคม พ.ศ. 2441- 27 สิงหาคม พ.ศ. 2484)น้าชาด สำนักพิมพ์ข่าวสด ฉบับวันที่ 5 ตุลาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและตั้ว ลพานุกรม

ตำรวจ

ตำรวจในประเทศอิตาลี ตำรวจ เป็นชื่อเรียกของเจ้าหน้าที่ของรัฐ มีหน้าที่ตรวจตรารักษาความสงบ จับกุม และปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย เรียกชื่อตามหน้าที่รับผิดชอบ เช่น ตำรวจกองปราบ ตำรวจดับเพลิง ตำรวจน้ำ ตำรวจตระเวนชายแดน ตำรวจรถไฟ ตำรวจป่าไม้ ตำรวจจราจร ตำรวจนครบาล ตำรวจทางหลวง ตำรวจภูธร ตำรวจลับ ตำรวจวัง ตำรวจสภา ตำรวจสันติบาล ตำรวจหลวง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและตำรวจ

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา

ตราจารย์ฉัตรทิพย์ นาถสุภาขณะดูงานด้านเศรษฐกิจชาวนาที่ประเทศเปรู เพื่อเปรียบเทียบกับชาวนาไทยเมื่อ พ.ศ. 2540 ศาสตราจารย์กิตติคุณ ฉัตรทิพย์ นาถสุภา (5 กันยายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและฉัตรทิพย์ นาถสุภา

ฉัตรปวีณ์ ตรีชัชวาลวงศ์

ฉัตรปวีณ์ ตรีชัชวาลวงศ์ เดิมมีชื่อว่า มันตรินี ตรีชัชวาลวงศ์ หรือรู้จักกันในนาม เจ้าหญิงไอที เกิดวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและฉัตรปวีณ์ ตรีชัชวาลวงศ์

ฉันทวิชช์ ธนะเสวี

ฉันธวิชญ์ ธนะเสวี (เกิด 18 กันยายน พ.ศ. 2526) ชื่อเล่น เต๋อ เป็นนักแสดงชาวไทย จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนทิวไผ่งาม และจบปริญญาตรีจากจุฬาลงกรณ์ คณะนิเทศศาสตร์ สาขาภาพยนตร์และภาพนิ่ง และมีผลงานละครเวทีของคณะตั้งแต่ปี 2544–2547 หลังจากจบการศึกษา ทำงานฟรีแลนซ์เป็นผู้เขียนบท ผู้ช่วยผู้กำกับ ตากล้องเบื้องหลัง และแอ็กติงโค้ชให้กับค่าย GDH จนมาได้แสดงเป็นตัวเอกในภาพยนตร์เรื่อง ปิดเทอมใหญ่ หัวใจว้าวุ่น รับบทเป็น เหิร และมีผลงานเรื่องต่อมาคือเรื่อง โปรแกรมหน้า วิญญาณอาฆาต แสดงร่วมกับวรกาญจน์ โรจนวัชร และในปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและฉันทวิชช์ ธนะเสวี

ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์

ัชกร ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ เกิดเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2527 เป็นนักแสดงและนายแบบชาวไทยเชื้อสายจีน สังกัดสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์

ประชัย เลี่ยวไพรัตน์

นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ (28 สิงหาคม พ.ศ. 2487 —) อดีตหัวหน้าพรรคมัชฌิมาธิปไตย อดีตเลขาธิการพรรคประชาราช เป็นผู้ก่อตั้งและอดีตผู้บริหารบริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ทีพีไอ(ปัจจุบันคือ บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน)) และบริษัท ทีพีไอโพลีน จำกัด (มหาชน) หรือทีพีไอโพลีน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประชัย เลี่ยวไพรัตน์

ประพจน์ อัศววิรุฬหการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประพจน์ อัศววิรุฬหการ หนือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประพจน์ อัศววิรุฬหการ เกิดที่จังหวัดอุทัยธานี เป็นนักภาษาศาสตร์และนักอักษรศาสตร์ชาวไทย เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาและวรรณคดีบาลีและภาษาสันสกฤต พระไตรปิฎกฉบับภาษาจีน และพระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เคยดำรงตำแหน่งเป็นคณบดีคณะอักษรศาสตร์คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันเป็น กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประพจน์ อัศววิรุฬหการ

ประภัทร์ ศรลัมพ์

ประภัทร์ ศรลัมพ์ พิธีกรรายการโทรทัศน์ชาวไทย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549 (สนช.) ปัจจุบันเป็นหัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์ สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ประภัทร์ เกิดเมื่อวันที่ 10 กันยายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประภัทร์ ศรลัมพ์

ประภาส ชลศรานนท์

ประภาส ชลศรานนท์ (18 พฤษภาคม พ.ศ. 2503 -) เป็นนักคิด นักเขียน นักแต่งเพลง ผู้ร่วมก่อตั้ง บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองประธานบริษัท และร่วมก่อตั้งสถานีโทรทัศน์เวิร์คพอยท์ (ช่องเวิร์คพอยท์) หมายเลข 23.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประภาส ชลศรานนท์

ประมวล วีรุตมเสน

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ประมวล วีรุตมเสน ศาสตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ ประมวล วีรุตมเสน เป็นนายแพทย์ชาวไทย จากภาคสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้สร้างผลงานเด็กหลอดแก้วรายแรกของประเทศไทย ที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประมวล วีรุตมเสน

ประยอม ซองทอง

ประยอม ซองทอง (1 มกราคม พ.ศ. 2477 -) เป็นนักเขียนชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากการเขียนกลอน มีผลงานรวมเล่มตีพิมพ์เป็นจำนวนมาก และยังมีผลงานเขียนบทความรณรงค์การใช้ภาษา และบทความเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย ในหนังสือพิมพ์และนิตยสาร ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประยอม ซองทอง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา

ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ชื่อเล่น: ตู่, เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายทหารเกษียณอายุราชการชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประยุทธ์ จันทร์โอชา

ประวีณมัย บ่ายคล้อย

ประวีณมัย บ่ายคล้อย ผู้ดำเนินรายการ เรื่องเด่นเย็นนี้ พร้อมกับ ธีระ ธัญไพบูลย์ และวราภรณ์ สมพงษ์ สังกัดฝ่ายข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (ครอบครัวข่าว 3) ชื่อเล่น ตาล นอกจากนี้ กลุ่มแฟนคลับจะเรียกเธอว่า สาวคอเอียง ซึ่งมาจากลักษณะท่าทางการนั่งอ่านข่าวของเธอ โดยคอของเธอจะเอียงไม่ตรง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประวีณมัย บ่ายคล้อย

ประสาร ไตรรัตน์วรกุล

ประสาร ไตรรัตน์วรกุล (เกิด 20 สิงหาคม พ.ศ. 2495) ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ ประธานกรรมการในคณะกรรมการกำกับการจัดซื้อจัดจ้างในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 9/2560 คณะกรรมการนโยบายและกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประสาร ไตรรัตน์วรกุล

ประสาท สืบค้า

ตราจารย์ ดร.ประสาท สืบค้า (เกิดวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493) ที่บ้านรังกาใหญ่ ตำบลรังกาใหญ่ อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ได้รับการศึกษาชั้นต้นจากโรงเรียนพิมายสามัคคี 1.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประสาท สืบค้า

ประสิทธิ์ โฆวิไลกูล

ตราจารย์พิเศษ ประสิทธิ์ โฆวิไลกูล กรรมการมูลนิธิสุรเกียรติ์ - ท่านผู้หญิงสุธาวัลย์ เสถียรไทย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ หลังการรัฐประหาร พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประสิทธิ์ โฆวิไลกูล

ประทุมพร วัชรเสถียร

รองศาสตราจารย์ ประทุมพร วัชรเสถียร (สกุลเดิม: เหล่าวานิช; 27 กันยายน พ.ศ. 2486 — 20 ธันวาคม พ.ศ. 2553) ชื่อเล่น ตุ้ง เป็นนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญด้านการเมืองและนโยบายต่างประเทศแถบยุโรป, นักเขียน, นักจัดรายการวิทยุ และพิธีกรรายการโทรทัศน์ ตลอดจนเคยเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, อาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร..ประทุมพร เป็นรัฐศาสตรบัณฑิตแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รุ่นที่ 14 จากนั้น ศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย สหรัฐ ได้ป็นมหาบัณฑิตด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ส่วนด้านครอบครัว ประทุมพรนับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ และได้สมรสกับธีระ วัชรเสถียร สามีนับถือนิกายโรมันคาทอลิก มีบุตรชายด้วยกันคือพลธร วัชรเสถียร ร..ประทุมพร เป็นที่รู้จักมากในบทบาทนักเขียน และสื่อมวลชน ในเหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประทุมพร วัชรเสถียร

ประคอง นิมมานเหมินท์

ตราจารย์ ดร.ประคอง นิมมานเหมินท์ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ประคอง นิมมานเหมินท์ (27 พฤษภาคม 2482 -) นักวิชาการผู้เชี่ยวชาญภาษาไทยและวรรณคดีไทยเป็นผู้บุกเบิกการศึกษาวรรณกรรมท้องถิ่นด้วยการเขียนวิทยานิพนธ์เรื่อง "ลักษณะวรรณกรรมภาคเหนือ" และจากนั้นยังมีผลงานศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมไทยและวรรณกรรมชนชาติไทจำนวนมาก ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์พิเศษ ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นราชบัณฑิต ประจำสำนักศิลปกรรม ราชบัณฑิต.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประคอง นิมมานเหมินท์

ประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยา

ประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยา (สกุลเดิม กรองทอง; 6 กันยายน พ.ศ. 2462 — 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) มีนามปากกาว่า อุชเชนี และ นิด นรารักษ์ เป็นนักเขียนและนักแปลชาวไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยา

ประเสริฐ บุญสัมพันธ์

ประเสริฐ บุญสัมพันธ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตประธานกรรมการบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล ประธานกรรมการ บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จำกัด (มหาชน) อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประเสริฐ บุญสัมพันธ์

ประเสริฐ ภัทรมัย

ร.ประเสริฐ ภัทรมัย ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย ประเสริฐ ภัทรมัย (5 มิถุนายน 2490 -) ผู้ก่อตั้งบริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จำกัด ปัจจุบันเป็นประธานกรรมการบริหารกลุ่มบริษัท ทีม สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เข้าศึกษาในคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประเสริฐ ภัทรมัย

ประเสริฐ ณ นคร

ตราจารย์ ประเสริฐ ณ นคร อดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติปี พ.ศ. 2531 เป็นผู้ประพันธ์คำร้องภาษาไทยของเพลงพระราชนิพนธ์ชะตาชีวิต ใกล้รุ่ง ในดวงใจนิรันดร์ แว่ว เพลงประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศาสตราจารย์ ประเสริฐ ณ นคร หรือ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร สนใจงานด้านคณิตศาสตร์ สถิติ การคำนวณปฏิทิน การแต่งเพลง พันธุศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภาษาไทยโบราณ มีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นที่ยอมรับและอ้างถึงในวงวิชาการอย่างกว้างขวาง ที่เป็นที่รู้จัก ได้แก่ การชำระประวัติศาสตร์สุโขทัย ถิ่นเดิมและตระกูลภาษาไทย หลักการสอบค้นเมืองสมัยสุโขทัย การแบ่งกลุ่มไทยตามตัวหนังสือ พจนานุกรมไทยอาหม ตัวอักษรไทยในล้านนา ที่มาของอักษรไทยล้านนาและไทยลื้อ นอกจากนี้ ยังมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทั้งภายในและต่างประเทศ ไม่ต่ำกว่า 100 บทความ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร เกิดในวันวสันตวิษุวัต ของปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประเสริฐ ณ นคร

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประเทศไทย

ปราโมช รัฐวินิจ

นายปราโมช รัฐวินิจ ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายข้าราชการประจำ อดีตอธิบดีกรมประชาสัมพัน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปราโมช รัฐวินิจ

ปรีชา เลาหพงศ์ชนะ

นายปรีชา เลาหพงศ์ชนะ ประธานกรรมการ บริษัท กรุงไทย แลนด์ ดีวีลอปเมนท์ จำกัด อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม แกนนำกลุ่มวังพญานาค ร่วมกับ นายพินิจ จารุสมบัติ เคยเป็นกรรมการบริหารพรรคสามัคคีธรรม และเป็นหนึ่งในคณะกรรมการบริหาร พรรคไทยรักไทย และภายหลังได้ย้ายเข้าสังกัด พรรคเพื่อแผ่นดิน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปรีชา เลาหพงศ์ชนะ

ปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา

ัชกรหญิง ท่านผู้หญิง ปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา เกิดเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 เป็นเภสัชกรชาวไทย เป็นบุตรีของพระยาวิทุรธรรมพิเนตุ (โต๊ะ อัมระนันทน์) และคุณหญิงจำรัส วิทุรธรรมพิเนตุ (จำรัส ยอดมณี) จบการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตในหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา

ปรีดี พนมยงค์

ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปรีดี พนมยงค์

ปวริศา เพ็ญชาติ

ปวริศา เพ็ญชาติ เป็นนักร้อง และ ผู้ประกาศข่าวรายการ สีสันบันเทิง ทาง ไทยทีวีสีช่อง 3 เป็นลูกสาวคนเดียวของมหาเศรษฐี ร.อ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปวริศา เพ็ญชาติ

ปวิณ สุวรรณชีพ

ปวีณ สุวรรณชีพ หรือรู้จักกันในนาม โป้ง โมเดิร์นด็อก เป็นนักดนตรีชาวไทยและเป็นมือกลองวง โมเดิร์นด็อก ภายหลังปวิณได้มาร่วมกับรายการจักรยาน Life Cycle.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปวิณ สุวรรณชีพ

ปวีณ ภูริจิตปัญญา

ปวีณ ภูริจิตปัญญา หรือ กัญจน์ ภูริจิตปัญญา (ชื่อเล่น กอล์ฟ) เกิดเมื่อปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปวีณ ภูริจิตปัญญา

ปวีณ์สุดา จันทร์เกษ

ปวีณ์สุดา จันทร์เกษ หรือ เม เดอะสตาร์ (7 ตุลาคม พ.ศ. 2531) ได้รับชื่อเสียงมาจากรายการ เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวปี 4 และปวีณ์สุดายังมีความสามารถในการเล่นไวโอลิน ปัจจุบันเป็นแอร์โฮสเตส (Cabin Crew) ของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปวีณ์สุดา จันทร์เกษ

ปวีณ์นุช แพ่งนคร

ปวีณ์นุช แพ่งนคร หรือ ปุ๊กกี้ จบการศึกษาจาก คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันเป็นทีมเขียนบทและนักแสดงสังกัดค่าย GDH.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปวีณ์นุช แพ่งนคร

ปัญญา นิรันดร์กุล

ปัญญา นิรันดร์กุล เป็นพิธีกรและนักแสดงชาวไทย หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้ง และประธานบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน).

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปัญญา นิรันดร์กุล

ปาณิสรา อารยะสกุล

ปาณิสรา อารยะสกุล เป็นนักแสดง พิธีกร นักร้อง และดีเจหญิงชาวไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปาณิสรา อารยะสกุล

ปิยะชาติ ถามะพันธ์

ปิยะชาติ ถามะพันธ์ ชื่อเล่น แมท เดิมชื่อ ปิยะฉัตร ถามะพันธ์ เป็นนักฟุตบอล สัญชาติไทย สามารถเล่นได้ทั้งตำแหน่งกองกลาง ปีกซ้าย และแบ็คซ้าย ได้แชมป์ไทยพรีเมียร์ลีก 2 สมัยกับ สโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด โดยปัจจุบันได้ลงเล่นให้กับ สโมสรฟุตบอลบางกอกกล๊าส ใน ไทยพรีเมียร์ลีก สวมเสื้อหมายเลข 32.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปิยะชาติ ถามะพันธ์

ปิยะพันธ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา

นาวาตรี ปิยะพันธ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ร.น. (13 มิถุนายน พ.ศ. 2477 - 22 ธันวาคม พ.ศ. 2549) นักดนตรีสากล ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ประจำปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปิยะพันธ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา

ปิยณี เทียมอัมพร

ปิยณี เทียมอัมพร (16 เมษายน พ.ศ. 2524 -) เป็นผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ของประเทศไทย ได้แก่ สถานีโทรทัศน์ไอทีวี สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส และ สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปิยณี เทียมอัมพร

ปิโตรเลียม

แหล่งน้ำมันสำรองทั่วโลกที่พิสูจน์แล้วใน ค.ศ. 2009 บ่อปิโตรเลียมแห่งหนึ่งในเท็กซัส ปิโตรเลียม (petroleum, petra (หิน) + oleum (น้ำมัน) รวมหมายถึง "น้ำมันที่ได้จากหิน") หรือ น้ำมันดิบ เป็นของเหลวไวไฟที่เกิดเองตามธรรมชาติ ประกอบด้วยสารผสมซับซ้อนระหว่างไฮโดรคาร์บอนที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่างกัน กับสารประกอบอินทรีย์ที่เป็นของเหลวอื่น ๆ ซึ่งพบในชั้นธรณีวิทยาใต้ผิวโลก เป็นเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ เกิดได้จากซากสิ่งมีชีวิต (มักเป็นแพลงก์ตอนสัตว์และสาหร่าย) จำนวนมากทับถมกันใต้หินตะกอนและได้รับความร้อนและความดันมหาศาล การขุดเจาะน้ำมันเป็นวิธีการส่วนใหญ่ในการได้มาซึ่งปิโตรเลียม ซึ่งเป็นขั้นตอนหลังการศึกษาโครงสร้างธรณีวิทยา การวิเคราะห์แอ่งตะกอน และลักษณะหินกักเก็บปิโตรเลียม หลังขุดเจาะขึ้นมาแล้ว ปิโตรเลียมจะถูกกลั่นและแยกเป็นผลิตภัณฑ์บริโภคหลายชนิด ตั้งแต่แก๊สโซลีนและน้ำมันก๊าด ไปจนถึงยางมะตอยและตัวทำปฏิกิริยาเคมีซึ่งใช้ในการทำพลาสติกและเภสัชภัณฑ์ นอกจากนี้ ปิโตรเลียมยังใช้ในการผลิตวัสดุอีกหลายชนิด ปิโตรเลียมมีธาตุองค์ประกอบหลัก 2 ชนิด คือ คาร์บอนและไฮโดรเจน และอาจมีธาตุอโลหะชนิดอื่นปนอยู่ด้วย เช่น กำมะถัน ออกซิเจน และไนโตรเจน ทั้งนี้ปิโตรเลียมเป็นได้ทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ รวมถึงความร้อนและความดันของสภาพแวดล้อมในการเกิดและการกักเก็บปิโตรเลียม แบ่งตามสถานะได้เป็นสองชนิดหลัก คือ น้ำมันดิบและแก๊สธรรมชาติ โดยแก๊สธรรมชาตินั้น ประกอบด้วยคาร์บอนตั้งแต่ 1-4 อะตอม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปิโตรเลียม

ปู

ปู เป็นสัตว์พวกเท้าปล้องชนิดหนึ่ง อยู่ในไฟลัมอาโทรโพดา ในอันดับฐานบราชีอูรา (Brachyura) มีลักษณะสิบขา มีหลายชนิดที่อยู่ทั้งน้ำจืดและทะเล รวมถึงอยู่แต่เฉพาะบนบก ปูจะมีกระดองซึ่งเป็นแคลเซียมแข็ง มีลักษณะสมมาตร แอบโดเมนพับลงไปอยู่ใต้กระดอง ซึ่งเป็นลักษณะสำคัญของอันดับฐานนี้ มีก้ามใหญ่ 1 คู่ มีขาเดิน 5 คู่ แตกออกเป็นรัศมีไปทางด้านข้างลำตัว หนวดคู่ที่ 2 อยู่ระหว่างตา ส่วนหาง ไม่มีหน้าที่ชัดเจน และไม่มีแพนหาง ปูในแนวปะการังมีหลายกลุ่มหลายรูปร่างโดยสัมพันธ์กับพฤติกรรม ปูหลายชนิดอาศัยตามพื้นทราย จะมีขาว่ายน้ำหรือกรรเชียงคล้ายปูม้า บางชนิดตัวใหญ่ มีกระดองแข็งคล้ายปูทะเล มีขาสั้นและแข็งแรงเพื่อเกาะยึดกับหิน เช่นปูใบ้ก้ามดำ ปูบางชนิดมีรูปร่างแปลกเพื่อพรางตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม บางชนิดมีสีและลักษณะกระดองเหมือนกัลปังหา ปะการังอ่อน หรือดาวขนนก ในจำนวนนี้ยังมีปูที่นำฟองน้ำหรือสาหร่ายมาติดตามตัวเพื่อใช้พรางกาย ปูกลุ่มหนึ่งที่มีวิวัฒนาการมากกว่ากลุ่มอื่นคือ ปูเสฉวนจะเปลี่ยนส่วนท้องให้นิ่มและขดงอเพื่อสามารถเข้าไปอยู่ในเปลือกหอย นำเปลือกหอยติดตัวไปด้วยตลอดเวลา ซึ่งจะจัดอยู่ในอันดับฐานปูปลอม (Anomura) ปัจจุบันปูได้รับการจำแนกไว้แล้วกว่า 6,000 ชนิด ส่วนใหญ่พบในแถบอินโด-แปซิฟิก ในประเทศไทยพบแล้วรวม 824 ชน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปู

ปูราชินี

ปูราชินี หรือ ปูสามสี (ชื่อวิทยาศาสตร์: Thaiphusa sirikit) เป็นปูประเภทหนึ่งพบได้ตามภูเขา ถูกพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2527 บริเวณจังหวัดนราธิวาส โดย นายสุรพล ดวงแข และว่าที่ ร้อยตรี พิทักษ์ ชิดเครือ ตำแหน่ง หัวหน้าหน่วยทหารพราน (กองทัพภาคที่ 4) ปูราชินีมีปากและขามีสีแดงและส้ม ก้ามมีสีขาว และกระดองมีสีน้ำเงินอมม่วง เชื่อว่าสามารถเปลี่ยนสีได้เรื่อย ๆ ตามฤดูกาล ตัวเต็มวัยมีขนาดประมาณ 12.5 มิลลิเมตร โดยทางจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ขออนุญาตใช้ชื่อ สิริกิติ์ เป็นชื่อวิทยาศาสตร์ เพื่อเป็นเกียรติและเฉลิมฉลองครบรอบ 5 รอบของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และได้พระราชทานให้ในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปูราชินี

ปูนซิเมนต์ไทย

อสซีจี หรือ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) (Siam Cement Group ชื่อย่อ: SCG) เอสซีจี หรือเรียกสั้นๆว่า "ปูนใหญ่" เป็นกลุ่มบริษัทชั้นนำในภูมิภาคอาเซียนที่ดำเนินธุรกิจมากว่า 100 ปี ก่อตั้งในประเทศไทยเมื่อปี 2456 ตามพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เพื่อผลิตปูนซีเมนต์ วัสดุก่อสร้าง ปัจจุบันเอสซีจีประกอบด้วย 3 กลุ่มธุรกิจหลัก ได้แก่ เอสซีจี ซิเมนต์-ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง เอสซีจี เคมิคอลส์ และ เอสซีจี แพคเกจจิ้ง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปูนซิเมนต์ไทย

ปูเจ้าฟ้า

ปูเจ้าฟ้า หรือ ปูสิรินธร หรือ ปูน้ำตก (Panda crab; ชื่อวิทยาศาสตร์: Phricotelphusa sirindhorn) เป็นปูน้ำตกพบที่วนอุทยานน้ำตกหงาว อำเภอเมือง จังหวัดระนอง เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปูเจ้าฟ้า

ปณิธาน วัฒนายากร

รองศาสตราจารย์ ปณิธาน วัฒนายากร เกิดเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2503 เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ) ที่ปรึกษาและกรรมการคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง อาจารย์จากคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยดำรงตำแหน่ง รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ปฏิบัติหน้าที่โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ร.ปณิธาน เป็นนักวิชาการทางด้านรัฐศาสตร์ เชี่ยวชาญการเมืองเปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และความมั่นคงศึกษา เป็นที่ปรึกษาด้านความมั่นคงแก่รัฐบาลหลายสมัย ตั้งแต่สมัย รัฐบาลนายชวน หลีกภัย พันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ดร.ปณะธาน เป็นหนึ่งในผู้มีส่วนร่วมในการร่างพระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปณิธาน วัฒนายากร

ปตท.

ริษัท ปตท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปตท.

ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น

ริษัท ปตท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น

ปตท. เคมิคอล

ริษัท ปตท.เคมีคอล จำกัด (มหาชน) (PTT Chemical Public Company Limited) ตัวย่อภาษาอังกฤษ PTTCH ก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2548 โดยมีหน้าหลักคือผลิต เอทิลีน โพรพีลีน และพอลิเมอร์ ธุรกิจหลักคือเกี่ยวกับ ปิโตรเคมี ปัจจุบันยุบเลิกและรวมกิจการกับบริษัท ปตท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปตท. เคมิคอล

ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม

ริษัท ปตท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม

ป่าใหญ่ครีเอชั่น

ริษัท ป่าใหญ่ครีเอชั่น จำกัด เป็นบริษัทผลิตสื่อ สารคดีโทรทัศน์ และ รายการโทรทัศน์ รวมทั้งรับผลิตสารคดีพิเศษต่างๆ มีผลงานผ่านสื่อโทรทัศน์มากมาย ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและป่าใหญ่ครีเอชั่น

นพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา

ตราจารย์ ท่านผู้หญิง นพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา ป.., ป.ม., ท..ว. นามเดิม โนบุโกะ ทาคากิ อดีตอาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้ประพันธ์คำร้องภาษาอังกฤษในเพลงพระราชนิพนธ์ Falling Rain (สายฝน), Near Dawn (ใกล้รุ่ง), Lullaby (ค่ำแล้ว).

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา

นกคีรีบูน

''Serinus canaria canaria'' นกคีรีบันถือเป็นสปีชีส์เฝ้าระวังอย่างหนึ่ง มันถูกใช้ในเหมืองถ่านหินเพื่อสำรวจคาร์บอนมอนอกไซด์ ด้วยความที่นกมีขนาดเล็ก มีอัตราการหายใจและเมแทบอลิซึมสูงเมื่อเทียบกับคนขุดเหมือง ดังนั้นนกจึงตายก่อนเป็นสัญญาณเตือนให้คนขุดเมืองรีบหาทางป้องกัน คีรีบูน หมวดหมู่:นกที่เป็นสัตว์เลี้ยง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนกคีรีบูน

นรอรรถ จันทร์กล่ำ

นรอรรถ จันทร์กล่ำ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นรอรรถ จันทร์กล่ำ นักไวโอลิน และวาทยกร มีความชำนาญในการเล่นดนตรีคลาสสิกเป็นพิเศษ เคยเข้าร่วมอบรมไวโอลินนานาชาติ ได้รับคัดเลือกเป็นตัวแทนประเทศไทยไปเข้าร่วมกิจกรรมดนตรีเยาวชนอาเซียน ที่ประเทศจีน ฮ่องกง สิงคโปร์ และร่วมแสดงกับวงออร์เคสตรา ทั้งในไทยและต่างประเทศ ทั้งในฐานะวาทยกรและแสดงเดี่ยว ปัจจุบันเป็นอาจารย์ภาควิชาดุริยางคศิลป์ สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ตะวันตก คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และหัวหน้าภาควิชาไวโอลิน สถาบันดนตรีเคพีเอ็น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนรอรรถ จันทร์กล่ำ

นฤพนธ์ ไชยยศ

ผศ.ดร.นฤพนธ์ ไชยยศ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นฤพนธ์ ไชยยศ (ชื่อเล่น: เถิน) คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่มีอายุน้อยที่สุด นับแต่ก่อตั้งคณะ นอกจากงานด้านวิชาการแล้ว ยังมีผลงานด้านพิธีกรรายการโทรทัศน์ และงานบันเทิง โดยเป็นที่รู้จักจากบท "คุณเฉื่อย" ในภาพยนตร์ไทยเรื่อง "บุญชู ผู้น่ารัก".

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนฤพนธ์ ไชยยศ

นวลพรรณ ล่ำซำ

นวลพรรณ ล่ำซำ กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช กงสุลกิตติมศักดิ์สาธารณรัฐลิทัวเนีย อดีตที่ปรึกษาประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นอดีตผู้ช่วยเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตที่ปรึกษาผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (อภิรักษ์ โกษะโยธิน) และกรรมการผู้จัดการบริษัท เมืองไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน) รวมถึงเป็นผู้จัดการฟุตบอลหญิงทีมชาติไทย นอกจากเป็นผู้บริหารระดับสูงในธุรกิจประกันภัยของตระกูล นวลพรรณยังเปิดกิจการของตัวเอง นำเข้าสินค้าแฟชั่นแบรนด์เนมหลายแบรนด์ ผ่านทางบริษัท วรรณมานี จำกัด และบริษัท ซังออนอเร่ (กรุงเทพ) จำกัด เริ่มจากแบรนด์แรก คือ แอร์เมส (Hermes) จนมีมากมายหลายแบรนด์ในปัจจุบัน เช่น เอ็มโพริโอ อาร์มานี (Emporio Armani), ทอดส์ (Tod's), Rodo, โคลเอ้ (Chole), Christofle และบลูมารีน (Blumarine) นอกจากนี้เมื่อปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนวลพรรณ ล่ำซำ

นักร้อง

นักร้อง (Singer)อาชีพของคนขายเสียง อาชีพให้บริการความสุขด้วยเสียงเพลงเช่น อคูสติก ป๊อป ร็อค แจ๊ส เบส เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันแนวเพลงต่าง ๆ มีมากขึ้น ตอบสนองความต้องการของผู้ฟังแต่ละกลุ่ม อาชีพนักร้องจึงเป็นอาชีพในฝันของคนยุคใหม่ เนื่องจากอาชีพนักร้องเป็นอาชีพที่สามารถสร้างได้อย่างมหาศาล เป็นผู้มีชื่อเสียงในสังคม และมีผู้คนชื่นชมมาก ลักษณะงานที่เกี่ยวข้องกับอาชีพนักร้อง 1.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนักร้อง

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ หมายถึง นักวิจัยที่ได้รับเชิดชูเกียรติจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ มีการมอบรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ

นักแสดง

กเบื้องหลังการถ่ายทำละคร นักแสดงกำลังซ้อมการแสดง นักแสดง คือ บุคคลที่ประกอบอาชีพเป็นผู้แสดง เช่น ศิลปิน, นักรำ, นักเต้น, นักดนตรี ซึ่งแสดง ท่าทาง ร้องกล่าว พากย์ แสดงตามบทเพื่อเผยแพร่ต่อผู้ชม และอื่นอื่น ซึ่งเป็นผู้มีลิขสิทธิ์ตามหลักทั่วไป กล่าวคือ เป็นผู้ที่ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์งานขึ้นมา นักแสดงนั้น ไม่จำกัดว่าจะเป็นบุคคลเพศ, อาชีพ, หรือ อายุเท่าไร แต่จำเป็นต้องมีความสามารถทางด้านการการแสดงออกทางสีหน้า อารมณ์และองค์ประกอบอื่น ๆ ร่วมด้วย โดยมาก คำว่า นักแสดง มักจะใช้เรียกว่า ดารา เสมอไป.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนักแสดง

นักเขียน

นักเขียน คือผู้ที่สร้างงานเขียน อย่างไรก็ตามคำนี้มักใช้เฉพาะกับผู้ที่เขียนงานสร้างสรรค์หรือเป็นอาชีพ หรือผู้ที่ได้สร้างงานเขียนในลักษณะอื่น ๆ นักเขียนที่มีความชำนาญจะแสดงความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อที่จะนำเสนอแนวคิดและภาพพจน์ ไม่ว่าจะเป็นการเขียนบันเทิงคดีหรือสารคดี นักเขียนอาจสร้างผลงานในรูปแบบต่าง ๆ เช่น บทกวี ร้อยกรอง ร้อยแก้ว เรื่องสั้น นวนิยาย บทละคร สารคดี นักเขียนที่ทำงานเฉพาะมักได้รับการเรียกแตกต่างกัน เช่น กวี นักเขียนเรื่องสั้น นักเขียนนวนิยาย นักเขียนบทละคร นักหนังสือพิมพ์ นักเขียนสารคดี นักเขียนอื่น ๆ เป็นต้น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนักเขียน

นันทริกา ชันซื่อ

รศ.สพ.ญ.ดร.นันทริกา ชันซื่อ รองศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.นันทริกา ชันซื่อ (ชื่อเล่น: หนิ่ง; นามสกุลเดิม: โพธิปักษ์)กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติจากการแต่งตั้งโดยคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 90/2557 ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยโรคสัตว์น้ำ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอาจารย์ประจำคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นบุตรสาวของ ร.น.ดร.รท.ประสิทธิ์ โพธิปักษ์ อดีตคณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ ทันตแพทย์หญิง มนูญ (กปิตถัย) โพธิปักษ์ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีระดับเกียรตินิยมจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อจบแล้วได้เข้าไปทำงานเป็นเลขานุการส่วนตัวของ นายธนินท์ เจียรวนนท์ ประธานกลุ่มบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ (ซีพี) จากการที่ได้ใกล้ชิดกับนักธุรกิจ จึงได้ทำให้ไปศึกษาปริญญาโทด้านบริหารธุรกิจจากมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ซึ่งทางกลุ่มบริษัทซีพีมีแนวความคิดที่จะทำธุรกิจด้านสัตว์น้ำมากกว่าสัตว์บก จึงได้ทำให้ไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอกด้านสัตว์น้ำโดยเฉพาะที่ The College of William & Mary รัฐเวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา ร..ญ.ดร.นันทริกา เชี่ยวชาญเรื่องโรคสัตว์น้ำ และมีงานวิจัยต่าง ๆ มากมาย อาทิ ค่ามาตรฐานเลือดปลาไทย, การแยกเพศในปลามังกร (Scleropages formosus), ค่ามาตรฐานเลือดตะพาบม่านลาย (Chitra chitra) เป็นต้น และมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีในแวดวงของกลุ่มผู้เลี้ยงสัตว์เลี้ยงหรือปลาสวยงาม เป็นคอลัมนิสต์ที่มีผลงานประจำตอบปัญหาหรือเขียนบทความลงในนิตยสารสัตว์เลี้ยงและปลาสวยงามหลายเล่ม ในชื่อของ "หมอหนิ่ง" นอกจากนี้แล้ว ยังได้ทำงานเกี่ยวกับการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำหลายโครงการ เช่น การจัดตั้งชมรมอนุรักษ์เต่าร่วมกับทางกลุ่มบริษัทซีพี รณรงค์และให้ความรู้เรื่องการปล่อยเต่าคืนสู่ธรรมชาติอย่างถูกต้องตามหลักสายพันธุ์, การเก็บตัวอย่างพิษของปลากระเบนราหูเจ้าพระยา (Himantura chaophraya) เพื่อการศึกษา เป็นต้น ชีวิตส่วนตัว นอกจากงานด้านศึกษาวิจัยและสัตวแพทย์สัตว์น้ำแล้ว ยังมีกิจกรรมที่ชื่นชอบคือกีฬายิงปืน โดยเฉพาะการยิงปืนรณยุทธ เป็นตัวแทนทีมชาติไทยเข้าร่วมการแข่งขันยิงปืนในระดับนานาชาติมาแล้วในหลายประเทศ ชีวิตครอบครัวสมรสกับ น.เอกวรรณ ชันซื่อ บุตรชายคนโตของ นายวรรณ ชันซื่อ อดีตประธานรัฐสภา มีบุตรด้วยกันทั้งหมด 4 คน เป็นหญิง 3 ชาย 1.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนันทริกา ชันซื่อ

นันทวัฒน์ อาศิรพจนกุล

นันทวัฒน์ อาศิรพจนกุล หรือชื่อเล่น ต่อ เป็นนักแสดง นักร้อง และพิธีกรชาวไทย มีชื่อเสียงในช่วงปีพ.ศ. 2537 เป็นต้นมา จากการแสดงภาพยนตร์ในหลายๆเรื่อง และยังเคยออกเทปภายใต้สังกัดคีตา เรคคอร์ดส อีกด้ว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนันทวัฒน์ อาศิรพจนกุล

นาฏศิลป์ไทย

ป็นศิลปะการแสดงประกอบดนตรีของไทย เช่น ฟ้อน รำ ระบำ โขน แต่ละท้องถิ่นจะมีชื่อเรียกและมีลีลาท่าการแสดงที่แตกต่างกันไป สาเหตุหลักมาจากภูมิประเทศ ภูมิอากาศของแต่ละท้องถิ่น ความเชื่อ ศาสนา ภาษา นิสัยใจคอของผู้คน ชีวิตความเป็นอยู่ของแต่ละภาค การแสดงนาฏศิลป์ไทย มีท่ารำที่อ่อนช้อยและเป็นเอกลักษณ์แตกต่างกันไปตามลักษณะประจำถิ่น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนาฏศิลป์ไทย

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนายกรัฐมนตรี

นารถ โพธิประสาท

อาจารย์นารถ โพธิประสาท ภาพวาดโดยอาจารย์แสงอรุณ รัตกสิกร ตำราสถาปัตยกรรมภาษาไทยเล่มแรกแต่งโดยอาจารย์ นารถ โพธิประสาท พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนารถ โพธิประสาท

นาคร ศิลาชัย

นาคร ศิลาชัย (ชื่อเล่น เปิ้ล) เกิดวันที่ 16 มีนาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนาคร ศิลาชัย

นางสาวไทย

นางสาวไทย เป็นการประกวดนางงามรายการที่ 2 ของประเทศไทย ต่อจากนางสาวสยาม โดยในยุคแรกจัดขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมส่งเสริมงานฉลองรัฐธรรมนูญ ต่อมาจัดขึ้นเพื่อส่งผู้ชนะเลิศเป็นผู้แทนประเทศไทย ไปประกวดนางงามจักรวาล และในปัจจุบันจัดขึ้นเพื่อให้เป็นทูตวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนางสาวไทย

นางสนองพระโอษฐ์

ลตติก โนลส์ เคาน์เตสแห่งเอสเซกซ์และไลเชสเตอร์ นางสนองพระโอษฐ์ในราชสำนักอังกฤษ นางสนองพระโอษฐ์ (lady-in-waiting) หมายถึงสตรีผู้ช่วยส่วนพระองค์ในราชสำนัก ซึ่งถวายการรับใช้แด่สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี เจ้าฟ้าหญิง หรือสตรีสูงศักดิ์ นางสนองพระโอษฐ์มักจะมีพื้นหลังมากจากครอบครัวที่มีฐานะทางสังคมสูงแต่มีฐานันดรต่ำกว่าสตรีที่ตนรับใช้ ซึ่งแม้ว่านางสนองพระโอษฐ์คนใดจะรับค่าตอบแทนหรือไม่ก็ตาม มักจะไม่ถูกพิจารณาว่าเป็นคนรับใช้หรือข้าราชบริพาร นางสนองพระโอษฐ์ ยังหมายถึงกลุ่มของสตรีผู้มีฐานะครอบครัว บรรดาศักดิ์ และตำแหน่งหน้าที่ทางการที่หลากหลาย ซึ่งความแตกต่างกันในฐานะ บรรดาศักดิ์ และตำแหน่งหน้าที่เหล่านี้มักจะมีเกียรติศักดิ์สูง พระบรมวงศานุวงศ์หญิงหรือสตรีผู้สูงศักดิ์อาจทรงสามารถเลือกนางสนองพระโอษฐ์ได้ด้วยพระองค์เองหรือไม่ก็ได้ แต่แม้ว่าจะทรงมีสิทธิในการเลือกนางสนองพระโอษฐ์ได้อย่างเสรี หากตามประวัติศาสตร์แล้ว การตัดสินใจดังกล่าวมักจะได้รับอิทธิพลจากองค์พระมหากษัตริย์ พระราชบิดา-พระราชมารดา พระราชสวามี หรือเหล่าเสนาบดีของพระมหากษัตร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนางสนองพระโอษฐ์

นาเดีย โสณกุล

นาเดีย โสณกุล หรือ นาเดีย นิมิตรวานิช มีชื่อจริงว่า วิชิตา โสณกุล (สกุลเดิม: นิมิตรวานิช; เกิด: 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2521) นักแสดงและพิธีกรชาวไทย มีชื่อเสียงจากการเป็นพิธีกรรายการดาวกระจาย และดาวกระจายสุดสัปดาห.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนาเดีย โสณกุล

นิกร ดุสิตสิน

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ นิกร ดุสิตสิน เกิด 1 สิงหาคม พ.ศ. 2474 นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนิกร ดุสิตสิน

นิรมล เมธีสุวกุล

นิรมล เมธีสุวกุล นิรมล เมธีสุวกุล (ชื่อเล่น: นก) อดีตนักข่าว และผู้ประกาศข่าวโทรทัศน์ ปัจจุบันเป็นพิธีกร และผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และโรงเรียนในถิ่นธุรกันดาร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนิรมล เมธีสุวกุล

นิลวรรณ ปิ่นทอง

ณนิลวรรณ ปิ่นทอง เกิดเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2458 เป็นนักเขียนชาวไทย อดีตบรรณาธิการนิตยสาร สตรีสาร อดีตนายกสมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูถัมภ์ ได้รับรางวัลแมกไซไซ เมื่อปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนิลวรรณ ปิ่นทอง

นิธิ สถาปิตานนท์

นิธิ สถาปิตานนท์ เกิด 7 กรกฎาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนิธิ สถาปิตานนท์

นิธิ เอียวศรีวงศ์

ตราจารย์ นิธิ เอียวศรีวงศ์ (23 พฤษภาคม พ.ศ. 2483) เป็นนักคิด นักเขียน และศาสตราจารย์ด้านประวัติศาสตร์ชาวไทย ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นจากสภาวิจัยแห่งชาติ, รางวัลฟูกูโอกะ และรางวัลศรีบูรพา อดีตอาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนิธิ เอียวศรีวงศ์

นิธิวัฒน์ ธราธร

นิธิวัฒน์ ธราธร ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย กลุ่ม 365 ฟิล์ม ค่าย จีทีเอช เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2517.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนิธิวัฒน์ ธราธร

นิตยสาร

นิตยสาร (magazine) คือสิ่งพิมพ์รายคาบที่ออกเป็นระยะสำหรับผู้อ่านทั่วไป มีเนื้อหาหลากหลาย มุ่งทั้งให้ความรู้และความบันเทิง ความรู้มักเป็นไปในลักษณะที่ให้ความรอบรู้ มีการหารายได้จากการโฆษณาและวางขายทั่วไป ผู้อ่านสามารถบอกรับเป็นสมาชิกได้ คำว่า "นิตยสาร" มาจากรากศัพท์ คือ นิตย (สม่ำเสมอ) และสาร (เนื้อหา) คำว่า "นิตยสาร" โดยทั่วไปอาจมีความหมายคาบเกี่ยวกับคำว่า วารสาร ซึ่งออกตามกำหนดเวลาที่แน่นอนเช่นกัน แต่ในทางบรรณารักษศาสตร์ ปัจจุบัน เมื่อมีการใช้อินเทอร์เน็ต ทำให้มีนิตยสารในอินเทอร์เน็ต ซึ่งมิใช่สิ่งพิมพ์ แต่ก็ยังเรียกกันว่า "นิตยสาร" เป็นที่น่าสังเกตว่า นิตยสารบางชื่อ ไม่ได้ใช้คำว่า นิตยสาร แต่ก็น่าจะจัดเป็นนิตยสารได้ เช่น "อนุสาร อ..ท." ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ขณะที่สิ่งพิมพ์บางชนิด มีความก่ำกึ่ง ระหว่างหนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ และนิตยสารรายสัปดาห์ เช่น มติชนรายสัปดาห์ สยามรัฐรายสัปดาห์ เนชั่นรายสัปดาห์ เป็นต้น ทั้งนี้ก็เพราะเนื้อหาในเล่ม มีทั้งข่าว วิเคราะห์ข่าว และบันเทิง ในสัดส่วนที่พอๆ กัน โดยทั่วไปนิตยสารมักจะมีลักษณะผ่อนคลาย เล่าเรื่อง ไม่นิยมเขียนในลักษณะตำรา เว้นแต่ละแทรกอยู่เป็นบางส่วนของเล่ม นิตยสารสำหรับคนอ่านเฉพาะกลุ่มฉบับแรกของโลกตีพิมพ์ในกรุงลอนดอนเมื่อ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนิตยสาร

นิติ ชัยชิตาทร

นิติ ชัยชิตาทร ชื่อเล่น ป๋อมแป๋ม เป็นนักแสดงตลก พิธีกร ฝ่ายสร้างสรรค์รายการ (ครีเอทีฟ) จากรายการยอดฮิต เทยเที่ยวไทย และ ทอล์ก-กะ-เทย Tonight และเป็นนักเขียน มีผลงานการเขียนเล่มแรกชื่อ มะงุมมะงาหร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนิติ ชัยชิตาทร

นิติพงษ์ ห่อนาค

นิติพงษ์ ห่อนาค อดีตสมาชิกและหัวหน้าวงวงเฉลียง และนักแต่งเพลงชาวไทยที่มีชื่อเสียง เคยดำรงตำแหน่งรองกรรมการผู้อำนวยการ สายงานธุรกิจดนตรี ของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และผู้บริหารค่ายสหภาพดนตรี.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนิติพงษ์ ห่อนาค

นิ้วกลม

ราวุธ เฮ้งสวัสดิ์ หรือเป็นที่รู้จักในนามปากกาว่า นิ้วกลม (เกิด 15 ตุลาคม พ.ศ. 2521) เป็นครีเอทีฟโฆษณา ผู้กำกับโฆษณา นักเขียน พิธีกรชาวไทย มีผลงานสร้างชื่ออย่าง โตเกียวไม่มีขา ชื่อนิ้วกลม เริ่มจากตอนที่เขียนเริ่มใช้อินเทอร์เน็ต ในเว็บบอร์ดคณะ ที่เขามักชอบเข้าไปตั้งกระทู้เห็นคนอื่นมีนามจอ (นามปากกาที่ใช้ในจอคอมพิวเตอร์) อย่าง “ตัวกลม” จึงเริ่มมองดูนิ้วตัวเอง แล้วตั้งนามจอว่า "นิ้วกลม" และจึงใช้นามปากกานี้มาอย่างต่อเนื่อง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนิ้วกลม

นิเทศศาสตร์

นิเทศศาสตร์ (อังกฤษ: Communication Arts) หมายถึง ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับศิลปะในการสื่อสาร โดยให้ความสำคัญกับการสื่อสาร จากองค์ประกอบของการสื่อสาร กล่าวคือ ผู้ส่งสาร สาร สื่อ และผู้รับสาร ซึ่งผู้ส่งสารอาจเป็นตัวบุคคล องค์กร หรือบริษัทก็ได้ ข่าวสารจะต้องเป็นเนื้อหาสาระที่ผู้ส่งต้องการที่จะกระจายให้ประชาชนได้รับทราบ สื่อหรือช่องทาง เป็นการหาวิธีการกระจายข่าวสารต่างๆ ไปสู่กลุ่มเป้าหมายให้ได้มาก และกว้างไกล ตามวัตถุประสงค์ของผู้ส่ง และผู้รับสาร หรือกลุ่มป้าหมาย จะต้องสามารถรับข่าวสารนั้นได้ โดยผู้ส่งสารจะต้องหาวิธีการทำให้ข่าวสารที่ส่งไป ถึงผู้รับสารได้มากที่สุด พลตรีพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ประทานความหมายของ "นิเทศศาสตร์" ไว้ว่า "เป็นวิชาสื่อสารไปยังมวลชนโดยทางใดก็ตาม ไม่จำเพาะทางหนังสือพิมพ์ เช่น การสื่อสารทางการละครก็เข้าไปอยู่ในนิเทศศาสตร์ การสื่อสารมวลชนทางอื่นนอกจากทางหนังสือพิมพ์ เช่น ทางวิทยุ ทางโทรทัศน์ ก็เข้าอยู่ในนิเทศศาสตร์".

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนิเทศศาสตร์

นุสบา ปุณณกันต์

นุสบา ปุณณกันต์ (ชื่อเล่น นุส) นามสกุลเดิม วานิชอังกูร เป็นนักแสดง นางแบบ และนักธุรกิจชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนุสบา ปุณณกันต์

แชนแนลวีไทยแลนด์

นีโทรทัศน์เคเบิลแชนแนลวีไทยแลนด์ (Channel Thailand) เป็นช่องโทรทัศน์เคเบิลรายการเพลง ออกอากาศ 24 ชั่วโมง เปิดมิวสิกวิดีโอเพลงไทย เพลงเอเชีย และเพลงสากล ขณะนี้อยู่ในช่วงเปลี่ยนมือผู้ผลิต ดำเนินงานโดย บริษัท ฟอกซ์ อินเตอร์เนชั่นแนล แชนแนล (ประเทศไทย) จำกัด ยังอยู่ในช่วงการปรับปรุงรูปแบบรายการใหม่ จึงยังไม่มีรายการใด ๆ เปิดมิวสิกวิดีโอแบบนอนสต๊อป.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแชนแนลวีไทยแลนด์

แพทองธาร ชินวัตร

แพทองธาร ชินวัตร (ชื่อเล่น: อุ๊งอิ๊งค์; เกิด: 21 สิงหาคม พ.ศ. 2529) บุตรสาวคนสุดท้อง ของทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี กับคุณหญิง พจมาน ณ ป้อมเพชร สำเร็จการการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาจากโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์ และโรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย จากนั้นได้ศึกษาต่อที่คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี รัฐศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2551 และศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ สาขาวิชา Msc International Hotel Management ที่ Surrey University ปัจจุบันเป็นผู้ถือหุ้นอันดับ 1 บริษัท เอสซี แอสเสท คอร์ปอเรชั่น และกรรมการมูลนิธิไทยคม หมวดหมู่:สกุลชินวัตร หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์ หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย หมวดหมู่:นิสิตเก่าคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หมวดหมู่:พุทธศาสนิกชนชาวไทย หมวดหมู่:ชาวไทยเชื้อสายจีน หมวดหมู่:ผู้มีเชื้อสายเจ้านายฝ่ายเหนือ หมวดหมู่:นักธุรกิจชาวไทยเชื้อสายจีน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแพทองธาร ชินวัตร

แกรมมี่โกลด์

ริษัท แกรมมี่โกลด์ จำกัด เป็นบริษัทในเครือของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ โดยได้แยกออกมาเป็นค่ายเพลงลูกทุ่งและหมอลำและได้เปิดตัวเมื่อราวเดือนกันยายน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแกรมมี่โกลด์

แก๊สธรรมชาติ

ประเทศผู้ผลิตแก๊สธรรมชาติ แก๊สธรรมชาติ (Natural gas) เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วยไฮโดรเจนและคาร์บอนที่เกิดจากการทับถมของซากพืชซากสัตว์ประเภทจุลินทรีย์ที่มีอายุหลายร้อยล้านปี ซึ่งสามารถแยกส่วนประกอบได้ เป็นมีเทน อีเทน โพรเพน บิวเทน เพนเทน เป็นต้น หรือ หมายถึง ปิโตรเลียมที่มีสภาพเป็นแก๊ส ณ ที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน 15.6 องศาเซลเซียส และ 101 กิโลปาสคาล โดยในแหล่งธรรมชาติอาจมีเฉพาะ มีเทน หรือ อีเทนล้วนหรืออาจ เจือปนโพรเพน และบิวเทนในบางแหล่ง ซึ่งถ้าแยกโพรเพน และบิวเทน ออกมาบรรจุลงในถังแก๊ส เรียกว่า แก๊สปิโตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum Gas) หรือ LPG หรือ แก๊สหุงต้ม แก๊สธรรมชาติไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีสารพิษ ถือว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยสูงสุดผลิตภัณฑ์หนึ่งในปัจจุบัน เมื่อเผาไหม้แล้วจะเป็นเชื้อเพลิงสะอาดและส่งผลกระทบแก่สิ่งแวดล้อมน้อยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับน้ำมันเตาและแก๊สหุงต้ม ด้วยเหตุนี้หลายประเทศจึงนิยมใช้แก๊สธรรมชาติ โดยทั่วไปสามารถแบ่งออกตามสมบัติทางเทคนิคได้ 4 ประเภท ดังนี้ 1.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแก๊สธรรมชาติ

แม็คโคร

ทความนี้เกี่ยวกับบริษัทข้ามชาติ สำหรับห้างค้าส่งแบบสมาชิกดูที่ สยามแม็คโคร แม็คโคร (Makro) เป็นบริษัทที่ก่อตั้งในประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยสมาคมโกดังสินค้า เรียกอีกชื่อว่าซื้อสินค้าด้วยเงินสดแล้วขนสินค้าไปเอง (cash and carries) ประกอบกิจการค้าส่งแบบสมาชิก เปิดสาขาแรกในปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแม็คโคร

แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์

ริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) (Land and Houses Public Company Limited) เป็นบริษัทผู้ประกอบธุรกิจหลักเกี่ยวกับการค้าอสังหาริมทรัพย์แห่งหนึ่งของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์

แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส (Advanced Info Service) หรือเรียกโดยย่อว่า เอไอเอส เป็นบริษัทมหาชนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของไทย เป็นผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถือที่ใหญ่ที่สุดของประเทศตามจำนวนผู้ใช้งาน มีสถานะเป็นบริษัทลูกของอินทัช โฮลดิ้งส์ โดยเอไอเอสถือเป็นบริษัทที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดสูงเป็นอันดับสองในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รองจากปตท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส

แฮร์รี่ พอตเตอร์

แฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นชุดนวนิยายแฟนตาซีจำนวนเจ็ดเล่ม ประพันธ์โดยนักเขียนชาวอังกฤษ เจ. เค. โรว์ลิง เป็นเรื่องราวการผจญภัยของพ่อมดวัยรุ่น แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเพื่อนสองคน รอน วีสลีย์ และเฮอร์ไมโอนี เกรนเจอร์ ซึ่งทั้งหมดเป็นนักเรียนโรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ โครงเรื่องหลักเกี่ยวกับภารกิจของแฮร์รี่ในการเอาชนะพ่อมดศาสตร์มืดที่ชั่วร้าย ลอร์ดโวลเดอมอร์ ผู้ที่ต้องการจะมีชีวิตอมตะ มีเป้าหมายเพื่อพิชิตมักเกิ้ล หรือประชากรที่ไม่มีอำนาจวิเศษ พิชิตโลกพ่อมดและทำลายทุกคนที่ขัดขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฮร์รี่ พอตเตอร์ หนังสือเล่มแรกในชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ วางจำหน่ายในฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแฮร์รี่ พอตเตอร์

แถบ นีละนิธิ

ตราจารย์อุปการคุณ แถบ นีละนิธิ (1 กรกฎาคม 2450 - 10 สิงหาคม 2523) อดีตราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน, อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อดีตคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ และอดีตคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและแถบ นีละนิธิ

โชติกา วงศ์วิลาศ

ติกา วงศ์วิลาศ (ชื่อเล่น: เนย เกิดเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2527) เป็นนักแสดงสังกัดสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 มีผลงานละครเรื่องแรก คือ เพื่อนซี้ล่องหน ด้านการศึกษา ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนสตรีพัทลุง ปริญญาตรี ที่คณะวิทยาการจัดการ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และปริญญาโท ที่คณะวิทยาศาสตร์ทางการการกีฬา สาขาการจัดการนันทนาการการท่องเที่ยว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้านชีวิตส่วนตัว เนย โชติกา คบหาดูใจกับ ไฮโซอาร์ม จันทร์สิริ มณีฉาย แฟนหนุ่มนักธุรกิจสำนักพิมพ์ภูมิบัณฑิต ปัจจุบันแต่งงานกันแล้ว พิธีหมั้นวันที่ 3 กันยายน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโชติกา วงศ์วิลาศ

โกวิทย์ โปษยานนท์

ตราจารย์พิเศษ โกวิทย์ โปษยานนท์ (17 กันยายน พ.ศ. 2478 -) กรรมการกฤษฎีกา กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่ง อธิบดีกรมสรรพสามิต อธิบดีกรมสรรพากร รองปลัดกระทรวงการคลัง และผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโกวิทย์ โปษยานนท์

โกเมน ภัทรภิรมย์

ตราจารย์ โกเมน ภัทรภิรมย์ อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ อดีตสมาชิกวุฒิสภา อดีตอัยการสูงสุดของไทย แฃะอดีตกรรมการอิสระและประธานกรรมการ ตรวจสอบบริษัท ซีพีออลล์ จำกัด (มหาชน) จำกั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโกเมน ภัทรภิรมย์

โมเดล (อาชีพ)

นางแบบ โมเดล (คำว่า model ในภาษาอังกฤษมาจากศัพท์ภาษาฝรั่งเศสยุคกลาง modelle) เป็นอาชีพอย่างหนึ่ง โดยใช้หน้าตาและรูปร่างในการนำเสนอผลงานทางด้านแฟชั่นและศิลปะสู่สาธารณชน โดยส่วนใหญ่มักจะเดินแบบในงานแสดงแฟชั่นหรือถ่ายแบบแฟชั่น โฆษณาต่าง ๆ คำว่า model ในความหมายนี้ มีคำแปลว่า นายแบบ (male model) หรือนางแบบ (female model) ยังมีคำที่เกี่ยวข้อง คือ "โมเดลลิง" (modelling โดยที่แบบอเมริกันสะกดว่า modeling) ซึ่งหมายถึง กิจกรรมของโมเดลหรือการทำงานเป็นนายแบบหรือนางแบบ และคำว่า "พริตตี้" (pretty) ซึ่งหมายถึง นางแบบสินค้.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโมเดล (อาชีพ)

โมเดิร์นด็อก

มเดิร์นด็อก (Moderndog) นักดนตรีกลุ่มแนวออลเทอร์นาทิฟร็อกของไทยซึ่งเป็นวงดนตรีแรกในค่ายเพลงเบเกอรี่มิวสิค และเป็นหนึ่งในนักดนตรีกลุ่มแรก ๆ ที่จุดประกายดนตรีทางเลือก (ออลเทอร์นาทิฟ) ซึ่งต่อมาแนวเพลงดังกล่าวได้รับความนิยมในประเทศไทย อย่างมากในปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโมเดิร์นด็อก

โรบินสัน

ำสำคัญ โรบินสัน สามารถหมายถึง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรบินสัน

โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์

รงพยาบาลบำรุงราษฎร์ (Bumrungrad International Hospital) หรือชื่อย่อ BH เป็นโรงพยาบาลเอกชน และได้ดำเนินการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไท..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์

โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

รงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เป็นโรงพยาบาลทั่วไป ขนาด 1,200 เตียง ตามอัตราการจัดเฉพาะกิจที่ 3600 มีภารกิจดังต่อไปนี้ 1.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

โรงพยาบาลรามาธิบดี

รงพยาบาลรามาธิบดี เป็นหน่วยงานหนึ่งในระดับภาควิชาของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และเป็นสถานพยาบาลแห่งหนึ่งของรัฐ ตั้งอยู่เลขที่ 270 ถนนพระราม 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 มีเนื้อที่ทั้งหมด 38 ไร่ มีอาคารรวม 20 อาคาร เริ่มเปิดดำเนินการรักษาคนไข้เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงพยาบาลรามาธิบดี

โรงเรียนราชินีบน

ป็นโรงเรียนหญิงล้วนระดับชั้นอนุบาลถึงมัธยมศึกษา ตั้งอยู่ที่ตึกถนนอัษฎางค์ ผู้ทรงให้กำเนิดโรงเรียนคือ สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร เพื่ออบรมให้เป็นนักเรียนผู้ดีที่ทันสมัย แต่คงความเป็นกุลสตรีที่งดงาม เพรียบพร้อมในทุกๆด้าน โรงเรียนราชินีบนให้เป็นสถานศึกษาที่มีความพร้อมและทันสมัยในทุกๆด้าน มีความสะอาด สงบร่มรื่น ปัจจุบันโรงเรียนมีเนื้อที่15ไร่ 3งาน 74ตารางวา สมเด็จพระราชปิตุจฉาเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ประทานนาม โรงเรียนว่า “ โรงเรียนราชินีบน ” เมื่อ..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนราชินีบน

โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยรังสิต

รงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยรังสิต หรือ สาธิตรังสิต เป็นโรงเรียนสองภาษาในเครือสาธิตแห่งแรกของประเทศไทยที่มีระบบ IB ก่อตั้งขึ้นโดย ดร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยรังสิต

โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา

รงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา เป็นโรงเรียนสหศึกษาให้การศึกษาในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เป็นห้องปฏิบัติการฝึกหัดครู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งอยู่ในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา

โรงเรียนอัสสัมชัญ

รงเรียนอัสสัมชัญ (บ้างเรียก อัสสัมชัญบางรัก หรือ อัสสัมชัญกรุงเทพ, ย่อ: อสช, AC) เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเทพศิรินทร์, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โรงเรียนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ แผนกประถม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเซนต์หลุยส์ 3 ถนนสาทรใต้ และแผนกมัธยม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก โรงเรียนอัสสัมชัญ ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการขึ้นโดยบาทหลวงเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์ เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนอัสสัมชัญ

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Triam Udom Suksa School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

โสรีช์ โพธิแก้ว

รองศาสตราจารย์ โสรีช์ โพธิแก้ว รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ดำรงตำแหน่งนายกสมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ ปริญญาโท ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว จาก คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากนั้นได้รับทุนฟุลไบรท์ ไปศึกษาทางด้านสาขา Ed.D.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโสรีช์ โพธิแก้ว

โฮมโปร

มโปร (HomePro) ชื่อเต็ม บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโฮมโปร

โคทม อารียา

ร.โคทม อารียา รองศาสตราจารย์ โคทม อารียา เกิดเมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2486 เป็นอดีตกรรมการการเลือกตั้ง (กกต. 2540-2544) ฝ่ายการมีส่วนร่วมของประชาชน และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโคทม อารียา

โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์

นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และรักษาการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (พลเอกสุจินดา คราประยูร) อดีตรัฐมนตรีอีกหลายสมัย และอดีตประธานกรรมการบริหารธนาคารกรุงเท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์

โน้ต-ตูน

น้ต-ตูน (Note Toon) เป็นศิลปินดูโอ้สัญชาติไทยประกอบด้วยสมาชิกคือโน้ต ณัฐกานต์ ประสพสายพรกุล และตูน สุภัชชา ปิตินันท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโน้ต-ตูน

ไชยวัฒน์ อนุตระกูลชัย

วัฒน์ อนุตระกูลชัย (แอ๊ด) พิธีกรชาวไทย เกิดวันที่ ที่จังหวัดขอนแก่น จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนขอนแก่นวิทยายน ระดับอุดมศึกษาจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและไชยวัฒน์ อนุตระกูลชัย

ไชยันต์ ไชยพร

ตราจารย์ ดร.ไชยันต์ ไชยพร (เกิด 18 กันยายน พ.ศ. 2502 -) เป็นอาจารย์ประจำภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นที่รู้จักกันในฐานะอาจารย์รัฐศาสตร์จุฬาฯ ผู้ฉีกบัตรเลือกตั้งต่อหน้าสื่อมวลชนในการเลือกตั้งปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและไชยันต์ ไชยพร

ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม

en:Paiboon Damrongchaitam ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม (ชื่อเรียก: อากู๋) ประธานกรรมการบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) ผู้ดำเนินกิจการธุรกิจสื่อบันเทิงขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และประธานมูลนิธิดำรงชัยธรรม เป็นผู้ก่อตั้งบริษัท แกรมมี่ เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด (ชื่อเดิมของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่) ร่วมกับเรวัต พุทธินันทน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม

ไพฑูรย์ สินลารัตน์

ตราจารย์กิตติคุณ ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, กรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, รักษาการคณบดีวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต และอดีตคณบดีคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เกิดเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและไพฑูรย์ สินลารัตน์

ไวโอลิน

วโอลิน เป็นเครื่องดนตรีที่ทำให้เกิดเสียงระดับเสียงสูงในกลุ่มเครื่องดนตรีคลาสสิกประเภทเครื่องสาย (String instruments) ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากโลกตะวันตก เป็นเครื่องดนตรีตระกูลไวโอลินที่เล็กที่สุด อันประกอบไปด้วย ไวโอลิน วิโอลา เชลโล และ ดับเบิลเบส เมื่อนำทั้งหมดมาเล่นร่วมกันแล้วจะเรียกว่า วงเครื่องสาย(string) ซึ่งเป็นตระกูลเครื่องดนตรีหลักของ วงออร์เคสตร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและไวโอลิน

ไอยวริญท์ โอสถานนท์ โธมัส

อยวริญท์ โอสถานนท์ โธมัส (ชื่อเดิม: อรวรินธ์ โอสถานนท์ และ ไอยวริญท์ โอสถานนท์) เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย ก้าวสู่วงการบันเทิงด้วยตำแหน่ง มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์สประจำปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและไอยวริญท์ โอสถานนท์ โธมัส

ไออาร์พีซี

รงกลั่นน้ำมัน บมจ.ไออาร์พีซี บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) เป็นเจ้าของกลุ่มโรงงานปิโตรเลียมและปิโตรเคมี (Petoleum-Petrochemical complex) ตั้งอยู่ที่ตำบลเชิงเนิน อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ซึ่งเป็นเขตประกอบอุตสาหกรรมภายใต้การจัดการของบริษัทฯ พร้อมด้วยสาธารณูปโภคพื้นฐานที่สนับสนุนการผลิต ได้แก่ ท่าเรือน้ำลึก คลังเก็บน้ำมัน และโรงไฟฟ้า ไออาร์พีซีเดิมชื่อ บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ทีพีไอ ปัจจุบัน (30 พฤศจิกายน 2556)นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณเป็นกรรมการผู้จัดการ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและไออาร์พีซี

ไอทีวี

ริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) เป็นกลุ่มบริษัทที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับสื่อโทรทัศน์ โดยได้รับอนุมัติให้ดำเนินการสัมปทานสถานีโทรทัศน์ระบบ UHF จาก สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) จำนวน 1 ช่องสถานี ส่งโทรทัศน์สีในระบบยูเอชเอฟ ทางช่อง 26 (ต่อมาเปลี่ยนเป็นช่อง 29) โดยใช้ชื่อว่า สถานีโทรทัศน์ไอทีวี (ปัจจุบันสถานีฯได้ถูกโอนกิจการให้แก่ทั้งสองหน่วยงานของรัฐ ซึ่งสามารถอ่านรายละเอียดได้ที่ด้านล่าง) เดิมชื่อ บริษัท สยามอินโฟเทนเมนท์ จำกัด ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและไอทีวี

ไทยออยล์

ริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) (อังกฤษ: THAIOIL PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ: TOP) ประกอบธุรกิจโรงกลั่นน้ำมันปิโตรเลียมเพื่อจำหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมสำเร็จรูปที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ โดยโรงกลั่นน้ำมันอยู่ที่อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ปัจจุบันบริษัท มีกำลังการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม ประมาณ 220,000 บาร์เรลต่อวัน คิดเป็นประมาณร้อยละ 21 ของกำลังการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียมทั้งหมดในประเทศ นอกจากนี้ ยังประกอบธุรกิจอื่นผ่านการถือหุ้นในบริษัทต่างๆ ซึ่งประกอบธุรกิจผลิตไฟฟ้า ธุรกิจน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน ธุรกิจการผลิตพาราไซลีน และธุรกิจขนส่งน้ำมันและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและไทยออยล์

ไทยธนาคาร

ทยธนาคาร จำกัด (มหาชน) (BankThai Public Company Limited) เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2541 เดิมมาจากการควบรวมกิจการของธนาคารสหธนาคาร, บริษัท เงินทุนหลักทรัพย์ กรุงไทยธนกิจ จำกัด (มหาชน) และสถาบันการเงินอีก 12 แห่ง มีกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน เป็นผู้ถือหุ้นหลักในสัดส่วน 48.98% และมีผลการดำเนินงานที่ก้าวหน้ามาเป็นลำดับ ปัจจุบัน ณ 30 กันยายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและไทยธนาคาร

ไทยคม (บริษัท)

ริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) (Thaicom Public Company Limited) เดิมชื่อ บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) (Shin Satellite Public Company Limited) เป็นบริษัทแรกและบริษัทเดียวของประเทศไทยที่เป็นผู้ให้บริการธุรกิจดาวเทียมเชิงพาณิชย์ ได้รับสัมปทานจากกระทรวงคมนาคม (ปัจจุบันอำนาจการดูแลสัญญาถูกโอนไปยัง กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) ในปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและไทยคม (บริษัท)

ไขศรี ศรีอรุณ

ตราจารย์เกียรติคุณ คุณหญิง ไขศรี ศรีอรุณ (29 มกราคม 2480 -ปัจจุบัน) นายกสภามหาวิทยาลัยพะเยา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร และอีกทั้งยังเคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร และนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและไขศรี ศรีอรุณ

ไปรษณีย์ไทย

ที่ทำการไปรษณีย์ในสมัยต่าง ๆ บนชีทที่ระลึก ปณฝ. ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เคาน์เตอร์บริการไปรษณีย์ไทย งานด้านไปรษณีย์ของไทยขึ้นกับ บริษัทไปรษณีย์ไทย จำกัด (ปณท.) ในอดีตเคยขึ้นกับเป็น กรมไปรษณีย์โทรเลขและการสื่อสารแห่งประเทศไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและไปรษณีย์ไทย

เชาวน์ ณศีลวันต์

วน์ ณศีลวันต์ (7 สิงหาคม 2471 -) อดีตองคมนตรี และอดีตประธานกรรมการบริษัทเครือซีเมนต์ไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร สมรสกับคุณหญิงไขศรี ณศีลวันต์ (ถึงแก่อสัญกรรมโดยอุบัติเหตุเครื่องบินตกในปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเชาวน์ ณศีลวันต์

เฟย์ ฟาง แก้ว

ฟย์ ฟาง แก้ว (FFK) เป็นกลุ่มศิลปินหญิงสัญชาติไทยและเป็นศิลปินกลุ่มแรกในสังกัดค่ายกามิกาเซ่ ในเครือ อาร์เอส มีสมาชิกอันประกอบด้วย เฟย์ - พรปวีณ์ นีระสิงห์ ฟาง - ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ และแก้ว - จริญญา ศิริมงคลสกุล เปิดตัวอย่างเป็นทางการกับค่ายกามิกาเซ่ เมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเฟย์ ฟาง แก้ว

เพ็ชรา เตชะกัมพุช

ตราจารย์พิเศษ ทันตแพทย์หญิง ท่านผู้หญิง เพ็ชรา เตชะกัมพุช ทันตแพทย์ประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช,ประธานกรรมการมูลนิธิทันตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์,ผู้อำนวยการหน่วยทันตกรรมพระราชทาน,อดีตคณบดีคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,ประธานกรรมการแผนกทันตแพทยศาสตร์ มูลนิธิอานันทมหิดล.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเพ็ชรา เตชะกัมพุช

เกริกไกร จีระแพทย์

นายเกริกไกร จีระแพทย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเกริกไกร จีระแพทย์

เกรียงไกร อมาตยกุล

กรียงไกร อมาตยกุล หรือรู้จักในอีกชื่อว่า ซูโม่เอ๋ เป็นนักแสดง พิธีกรรายการโทรทัศน์ ชาวไทย จบการศึกษาจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีผลงานแสดงใน เพชรฆาตความเครียด เป็นพิธีกรใน ตู้ปณ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเกรียงไกร อมาตยกุล

เกษม สุวรรณกุล

ตราจารย์กิตติคุณ เกษม สุวรรณกุล กรรมการกฤษฎีกา เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และยังเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเกษม สุวรรณกุล

เกื้อ วงศ์บุญสิน

ตราจารย์ ดร.เกื้อ วงศ์บุญสิน รองอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, นายกสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนอัสสัมชัญ, อดีตนายกสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตผู้อำนวยการสถาบันประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเกื้อ วงศ์บุญสิน

เกียรติ กิจเจริญ

กียรติ กิจเจริญ มีชื่อเล่นว่า กิ๊ก หรือที่นิยมเรียกกันว่า ซูโม่กิ๊ก (22 กันยายน 2506 -) นักแสดงและพิธีกรชาวไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเกียรติ กิจเจริญ

เกียรติศักดิ์ อุดมนาค

กียรติศักดิ์ อุดมนาค หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ เสนาหอย (ชื่อเล่น: บอย,หอย) มีอาชีพนักแสดง, นักร้อง และ พิธีกร ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้จัดการฝ่ายผลิตรายการบริษัท ลักษ์ (666) จำกัด มีชื่อเสียงจากการได้เข้าร่วมกับรายการ ยุทธการขยับเหงือก แทนที่ของเปิ้ล นาคร ศิลาชัย ที่ไปเรียนต่อยังต่างประเทศ ด้านการศึกษา ศึกษาระดับมัธยม ที่ โรงเรียนวัดสุทธิวราราม ระดับปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร์ เอกดนตรีตะวันตก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยได้รับรางวัลนักเรียนดีเด่นถึง 3 ปีซ้อน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเกียรติศักดิ์ อุดมนาค

เกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์

กียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์ (30 มกราคม พ.ศ. 2506 -) เป็นหนึ่งในสมาชิกวงดนตรีเฉลียง ซึ่งได้เคยแสดงคอนเสิร์ตถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และในการกุศลต่างๆ นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งกองทุนเฉลียง เพื่อมอบทุนสนับสนุนกิจกรรมการศึกษาสำหรับเด็ก.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์

เมทนี บุรณศิริ

มทนี บุรณศิริ ชื่อเล่นว่า นีโน่ (29 พฤศจิกายน 2509) เป็นนักแสดง พิธีกร และนักร้องชาวไท.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเมทนี บุรณศิริ

เลอสม สถาปิตานนท์

ตราจารย์ เลอสม สถาปิตานนท์ (16 มีนาคม 2492) (นามสกุลเดิม อุรัสยะนันทน์) เป็นสถาปนิกชาวไทย รองอธิการบดี ฝ่ายบริหารระบบกายภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตคณบดีและอาจารย์ประจำ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เลอสม เกิดและเติบโต ในครอบครัวที่เป็นสถาปนิกอย่างแท้จริง ทั้งบิดาและมาราดาล้วนเป็นสถาปนิกที่มีชื่อเสียง อีกทั้งยังเป็นภรรยาของนิธิ สถาปิตานนท์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะสถาปัตยกรรม และผู้ก่อตั้งบริษัทเอ 49 เขาเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาอย่างยาวนาน เป็นอาจารย์ที่นิสิตชั้นปี 1 คณะสถาปัตย์ ในเกือบทุกภาควิชา ต้องได้ร่ำเรียนกั.เลอสม ทุกคน.เลอสม ยังเป็นผู้ร่วมออกแบบอาคารหลายแห่งในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอาทิเช่น อาคารมหาจักรีสิรินธร อาคารจามจุรี 5 อาคารวิทยกิตติ์ เป็นต้น เลอสม ยังเป็นผู้แต่งหนังสือพื้นฐานในงานออกแบบสถาปัตยกรรม หลายเล่ม ทั้ง การออกแบบเบื้องต้น: Introduction to Design,การออกแบบคืออะไร?: What Is Design?, เทคนิคในการออกแบบ: Design Technique เป็นต้น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเลอสม สถาปิตานนท์

เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์

ริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทผลิตสื่อบันเทิงแห่งหนึ่งของไทย มีปัญญา นิรันดร์กุลเป็นประธานบริษัท ประภาส ชลศรานนท์เป็นรองประธานบริษัท ก่อตั้งสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิทัล สถานีโทรทัศน์เวิร์คพอยท์ ใช้ชื่อว่า ช่องเวิร์คพอยท์ (หมายเลข 23) โดยในวันที่ 26 ธันวาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์

เหรียญดุษฎีมาลา

หรียญดุษฎีมาลา เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานเป็นที่ระลึก เรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า เหรียญแพรแถบ เป็นเหรียญบำเหน็จความชอบในราชการ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สร้างขึ้นในปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเหรียญดุษฎีมาลา

เหตุการณ์ 14 ตุลา

หตุการณ์ 14 ตุลา หรือ วันมหาวิปโยค เป็นเหตุการณ์การก่อการกำเริบโดยประชาชนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นเหตุการณ์ที่มีนักศึกษาและประชาชนมากกว่า 5 แสนคนชุมนุมเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญจากรัฐบาลเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร นำไปสู่คำสั่งของรัฐบาลให้ใช้กำลังทหารเข้าปราบปราม ระหว่างวันที่ 14 ถึง 15 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเหตุการณ์ 14 ตุลา

เอฟ.เอ็ม. 92.25 เมกกะเฮิร์ซ

อฟ.เอ็ม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเอฟ.เอ็ม. 92.25 เมกกะเฮิร์ซ

เอนก นาวิกมูล

อนก นาวิกมูล (14 มีนาคม พ.ศ. 2496 - ปัจจุบัน) เป็นนักวิชาการ นักเขียนสารคดี นักสะสมของเก่า และ ยังเป็นผู้ก่อตั้ง บ้านพิพิธภัณฑ์ เอนก เกิดวันเสาร์ที่ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ครอบครัวทำกิจการร้านขายหนังสือแบบเรียน บิดาเป็นนักประดิษฐ์ นักสะสมหนังสือ ปฏิทิน ส.ค.ส.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเอนก นาวิกมูล

เอ็มบีเคเซ็นเตอร์

อ็มบีเค เซ็นเตอร์ (MBK Center) หรือชื่อเดิมว่า มาบุญครองเซ็นเตอร์ เป็นศูนย์การค้าขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร ดำเนินงานโดยบริษัท เอ็มบีเค จำกัด (มหาชน) ภายในอาคารขนาด 8 ชั้น ซึ่งตั้งอยู่เลขที่ 444 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีพื้นที่ใช้สอยประมาณ 89,000 ตารางเมตร ซึ่งส่วนหนึ่งจัดเป็นพื้นที่เช่าค้าขาย จำนวนกว่า 2,500 ร้านค้า ศูนย์อาหารบนห้างมาบุญครองบนชั้นที่6 จัดว่าเป็นศูนย์อาหารต้นแบบที่ห้างอื่นๆตลอดจนโมเดิร์นเทรดยุคใหม่ยึดถือปฏิบัติตาม กล่าวคือลูกค้าต้องซื้อคูปองชนิดราคาต่างๆกับจนท.ของห้างในซุ้ม ก่อนที่จะนำคูปองนั้นไปแลกซื้ออาหารในศูนย์อีกครั้งหนึ่ง จนมีการพัฒนาเป็นการ์ดเติมเงินในปัจจุบัน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเอ็มบีเคเซ็นเตอร์

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี

อาจารย์เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี (เกิดเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2495 ที่กรุงเทพมหานคร) เป็นอาจารย์สอนสถาปัตยกรรมไทย ที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์เผ่า เป็นศิษย์รุ่นแรกของศิลปินแห่งชาติ รศ.ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี ต่อมาในปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี

เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย

ริษัท เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย จำกัด (J S L Global Media Company Limited) เป็นบริษัทผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ในประเทศไทย เดิมชื่อว่า บริษัท เจ เอส แอล จำกัด ปัจจุบัน มีนาง รติวัลคุ์ ธนาธรรมโรจน์ เป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สำนักงานอยู่ที่ซอยลาดพร้าว 107 ถนนลาดพร้าว แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย

เจริญ วรรธนะสิน

ริญ วรรธนะสิน ใน พ.ศ. 2505 ศาสตราจารย์ (พิเศษ) เจริญ วรรธนะสิน เกิดวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2480 ที่จังหวัดเชียงใหม่มติชนสุดสัปดาห.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเจริญ วรรธนะสิน

เจริญ คันธวงศ์

ริญ คันธวงศ์ (ร้อยตรี เจริญ คันธวงศ์) กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตประธาน..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเจริญ คันธวงศ์

เจาะใจ

ใจ เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทสนทนาปกิณกะ ผลิตโดยบริษัท เจเอสแอลโกลบอลมีเดีย จำกัด ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 3 มกราคม พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเจาะใจ

เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน

ลอากาศตรี เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน (พ.ศ. 2483 -) เจ้านายฝ่ายเหนือ ผู้สืบราชสกุลเจ้าผู้ครองนครลำพูน เป็นบุตรคนโตในเจ้าพงศ์ธาดา ณ ลำพูน กับท่านหญิงจิตรจง ณ ลำพูน มีศักดิ์เป็นพระนัดดาในเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์สุดท้าย นอกจากหน้าที่ในการสืบราชสกุลแล้ว เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน ยังเป็นผู้ดูแลคุ้มหลวงของเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ ซึ่งตั้งอยู่ที่ตำบลอุโมงค์ อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน จนถึงปัจจุบัน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน

เจ้าดารารัตน์ ณ ลำพูน

ณ เจ้าดารารัตน์ ณ ลำพูน ประธานมูลนิธิจักรคำขจรศักดิ์ และที่ปรึกษาสมาคมผู้บำเพ็ญประโยชน์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์ (ศูนย์ฝึกภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่) เจ้าดารารัตน์เป็นเจ้านายฝ่ายเหนือที่มีบทบาทสำคัญในกิจกรรมต่าง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเจ้าดารารัตน์ ณ ลำพูน

เจ้าไชยณรงค์ ณ เชียงใหม่

้าไชยณรงค์ ณ เชียงใหม่ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 2 สมัย เป็นบุตรของเจ้าไชยสงครามสมพมิตร ณ เชียงใหม่ และเป็นราชปทินัดดาในพระเจ้าช้างเผือกธรรมลังกา เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 2 สายตระกูลเจ้าเจ็ดตน (ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์) เจ้าไชยณรงค์ ณ เชียงใหม่ เป็นเจ้านายฝ่ายเหนือที่ได้เข้าร่วมฟ้อนนำในกระบวนเครื่องพระขวัญของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช ในพิธีถวายพระขวัญเมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินทรงเยี่ยมราษฎรในจังหวัดทางภาคเหนือ วันที่ 5 มีนาคม..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเจ้าไชยณรงค์ ณ เชียงใหม่

เทียนฉาย กีระนันทน์

ตราจารย์กิตติคุณ เทียนฉาย กีระนันทน์ ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในสภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ รองประธานกรรมการมูลนิธิสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อนเกษียณอายุราชการดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ ระดับ 11 ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเทียนฉาย กีระนันทน์

เขริกา โชติวิจิตร

ริกา โชติวิจิตร (ชื่อเดิม: ผุสชา โชติวิจิตร หรือ จินนรี โชติวิจิตร) เป็นศิลปินชาวไทย สังกัดกามิกาเซ่ นักเปียโน และนางแบบนิตยสารวัยรุ่น อดีตสมาชิก ชิลลี่ไวท์ช็อค และ สวีต ดี ต่อมาได้เป็นศิลปินเดี่ยวในค่ายกามิกาเซ่ ต่อมาได้เข้าร่วม Project Seven Days2 ปัจจุบันได้ลาออกจากสังกัดกามิกาเซ่เป็นที่เรียบร้อ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเขริกา โชติวิจิตร

เดชา บุญค้ำ

ตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้ำ (เกิด 13 ตุลาคม พ.ศ. 2482 -) ราชบัณฑิต ประเภทวิชาสถาปัตยศิลป์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม สำนักศิลปกรรมศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภูมิสถาปัตยกรรม) ประจำปี 2549 ภูมิสถาปนิกคนสำคัญของเมืองไทย ผู้บุกเบิกด้านการศึกษาและวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมของประเทศไทย ได้ออกแบบงานภูมิสถาปัตยกรรมที่สำคัญหลายแห่ง ไม่ว่าจะเป็น สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์เขตต่างๆ, สวนหลวง ร.๙, อุทยานเบญจสิริ, สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ และอื่นๆ รวมทั้งงานภูมิทัศน์วัดโสธรวรารามวรวิหาร ผังแม่บทภูมิทัศน์เดิมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเดชา บุญค้ำ

เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์

ริษัท เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด (เดิม: บริษัท เอ็กแซ็กท์ จำกัด และ บริษัท ซีเนริโอ จำกัด) เป็นบริษัทที่ดำเนินการผลิต ละคร เกมโชว์ วาไรตี้ ให้กับช่องวัน และเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท จีเอ็มเอ็มวัน ทีวี จำกัด ผู้ถือใบอนุญาตประกอบกิจการดิจิทัลทีวีช่องวันในเครือ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จาก กสทช.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์

เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว

อะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว เป็นการประกวดร้องเพลงในแนวเรียลลิตี้โชว์ จัดทำครั้งแรกโดยบริษัทเอ็กแซ็กท์ ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ออกฉายทางโมเดิร์นไนน์ทีวี และย้ายช่องออกอากาศเป็นทาง ช่องวัน ตั้งแต่ฤดูกาลที่ 11 เป็นต้นไป.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว

เค-โอติก

-โอติก กลุ่มศิลปินชายชาวไทยอดีตสมาชิกค่ายกามิกาเซ่ ในเครือ อาร์เอส ประกอบด้วยสมาชิก 5 คน 3 เชื้อชาติ ได้แก่ ป๊อปปี้ - ภาณุ จิระคุณ (เชื้อชาติไทย) เขื่อน - ภัทรดนัย เสตสุวรรณ (เชื้อชาติไทย) โทโมะ - วิศว ไทยานนท์ (เชื้อชาติญี่ปุ่น-ไทย) เคนตะ - เคนตะ ซึทจิยะ (เชื้อชาติญี่ปุ่น-ไทย) และจงเบ - จงเบ พาร์ค (เชื้อชาติเกาหลี).

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเค-โอติก

เคลียร์

ลียร์ (Klear) ศิลปินกลุ่มจากสังกัดจีนี่ เรคคอร์ดสในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ สร้างชื่อมาจากการประกวดวงดนตรีระดับมหาวิทยาลัย จนไปสะดุดตา ต้า พาราด็อก จนมีโอกาสเล่นเป็นวงเปิดให้บอดี้สแลมในคอนเสิร์ตเปิดอัลบั้ม Save My Life ด้วยพลังเสียงอันทรงพลังของแพท ปัจจุบันทางวงเคลียร์มีผลงานออกมาแล้ว 3 อัลบั้ม กับเพลงประกอบละครที่ได้รับความนิยมอีกหลายเพลง ในปี 2558 เคลียร์ห่างหายไปถึงสามปี พวกเขากลับมาพร้อมกับซิงเกิ้ล กระโดดกอด ที่ถูกปล่อยเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2558 พร้อมกับปล่อยเพลงช้า ต่อเนื่องกันมากับซิงเกิ้ล "สิ่งของ" ที่ได้รับผลตอบรับจากแฟนเพลงเป็นอย่างดีด้วยยอด view บน youtube กว่า 150 ล้านครั้งและได้รับรางวัล วงดนตรี ยอดเยี่ยม จาก 9 entertain awards ในปี 2016.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเคลียร์

เติมศักดิ์ กฤษณามระ

ตราจารย์กิตติคุณ เติมศักดิ์ กฤษณามระ ผู้อำนวยการสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และประธานราชินีมูลน.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเติมศักดิ์ กฤษณามระ

เฉลียง (วงดนตรี)

ฉลียง เป็นชื่อของวงดนตรีไทย ที่มีผลงานระหว่างปี..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเฉลียง (วงดนตรี)

เซ็นทรัลพัฒนา

ริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) (ย่อ: CPN) เป็นบริษัทสำหรับการพัฒนา ดูแล และบริหารโครงการอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่ทั้งในและต่างประเทศ ภายใต้การดำเนินการของกลุ่มเซ็นทรัล กลุ่มเตชะไพบูลย์ กลุ่มสหยูเนี่ยน และกลุ่มบุคคลอื่น ๆ ปัจจุบันดูแลโครงการอสังหาริมทรัพย์อยู่ทั้งหมด 30 แห่ง และกำลังก่อสร้างเพิ่มอีก 4 แห่ง.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเซ็นทรัลพัฒนา

เปลื้อง ณ นคร

ปลื้อง ณ นคร (4 กันยายน พ.ศ. 2452 - 25 ตุลาคม พ.ศ. 2541) นักวิชาการด้านภาษาไทย เป็นผู้แต่งปทานุกรมนักเรียน และพจนานุกรม เปลื้อง ณ นคร เกิดเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเปลื้อง ณ นคร

เนชั่นมัลติมีเดียกรุ๊ป

ริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) (Nation Multimedia Group Public Company Limited) เป็นบริษัทสื่อสารมวลชนครบวงจรขนาดใหญ่แห่งหนึ่งของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเนชั่นมัลติมีเดียกรุ๊ป

เนตรปรียา ชุมไชโย

นตรปรียา (มุกสิกไชย) ชุมไชโย (หรือ ครูเคท) เป็นอดีตผู้ช่วยโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ผู้ประกาศข่าว เป็นพิธีกร เป็นนักเขียน ศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จนถึง ม.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเนตรปรียา ชุมไชโย

เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์

right เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปภัมภ์ เป็นองค์การอิสระ ที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล ตามพระราชบัญญัติเนติบัณฑิต..

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์

26 มีนาคม

วันที่ 26 มีนาคม เป็นวันที่ 85 ของปี (วันที่ 86 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 280 วันในปีนั้น.

ดู รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ26 มีนาคม

ดูเพิ่มเติม

บุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รายชื่อบุคคลแบ่งตามสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

หรือที่รู้จักกันในชื่อ รายชื่อบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พรรคถิ่นไทยพรรคความหวังใหม่พรรคประชาธิปัตย์พรรคนำไทยพรรคไทยรักไทยพรรคเพื่อไทยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตรพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์พรปวีณ์ นีระสิงห์พฤกษา เรียลเอสเตทพลอย จินดาโชติพลากร สุวรรณรัฐพัชรศรี เบญจมาศพัณณิดา ภูมิวัฒน์พันธ์เลิศ ใบหยกพาราด็อกซ์พิชญทัฬห์ จันทร์พุฒพิชัย วาศนาส่งพิพัฒน์ วิทยาปัญญานนท์พิมพ์เพ็ญ เวชชาชีวะพิมดาว พานิชสมัยพิมประภา ตั้งประภาพรพิจิตต รัตตกุลพุทธชาด พงศ์สุชาติพูนภิรมย์ ลิปตพัลลภพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยาพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาคพีทีที โกลบอล เคมิคอลพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาลพนิช วิกิตเศรษฐ์กรมการพัฒนาชุมชนกรมการค้าภายในกรมการปกครองกรมราชทัณฑ์กรมศิลปากรกรมศุลกากรกรมสรรพากรกรมธนารักษ์กรมทรัพยากรธรณีกรมที่ดินกรมประชาสัมพันธ์กรมปศุสัตว์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรมเจ้าท่ากระมล ทองธรรมชาติกระทรวงพลังงาน (ประเทศไทย)กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ (ประเทศไทย)กระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย)กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ประเทศไทย)กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)กระทรวงอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมกระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)กริช ทอมมัสกรุงเทพมหานครกรุงเทพดุสิตเวชการกฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยากฤษติกา คงสมพงษ์กฤตยา ล่ำซำกวี ตันจรารักษ์กษิต ภิรมย์กษิติ กมลนาวินกสท โทรคมนาคมกองทัพบกกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการกัลยา โสภณพนิชกันต์ กันตถาวรกั้งกาญจนา นาคสกุลกามิกาเซ่การบินไทยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยการุญ จันทรางศุการทางพิเศษแห่งประเทศไทยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยการท่าเรือแห่งประเทศไทยการประปาส่วนภูมิภาคการประปานครหลวงการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคการไฟฟ้านครหลวงกำจร มนุญปิจุกำธน สินธวานนท์กิจมาโนชญ์ โรจนทรัพย์กิตติพัทธ์ ชลารักษ์กิตติพงษ์ กิตยารักษ์กิตติรัตน์ ณ ระนองกุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท์กุลธิดา เย็นประเสริฐกุลนัดดา ปัจฉิมสวัสดิ์ แอนเดอร์สันกุสุมา รักษมณีกุหลาบ สายประดิษฐ์กุ้งกนก โตสุรัตน์ญาณี จงวิสุทธิ์ญาณี ตราโมทฐานันดรศักดิ์ไทยฐิติมา สุตสุนทรภักดี โพธิศิริภาวิช ทองโรจน์ภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยาภาคีสมาชิกราชบัณฑิตยสภาภิญโญ รู้ธรรมภิญโญ สุวรรณคีรีภิรมย์ กมลรัตนกุลภูมิสถาปัตยกรรมภูมิสถาปนิกภูริกูลกฤษฎ์ ชูศักดิ์สกุลวิบูลภูษณ ปรีย์มาโนชภคมน บุณยะภูติมหาวิทยาลัยชินวัตรมหาวิทยาลัยพะเยามหาวิทยาลัยกรุงเทพมหาวิทยาลัยภาคกลางมหาวิทยาลัยมหาสารคามมหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลัยรังสิตมหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษมหาวิทยาลัยรามคำแหงมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์มหาวิทยาลัยศรีปทุมมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาวิทยาลัยศิลปากรมหาวิทยาลัยสยามมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชียมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปางมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์มหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์มหาวิทยาลัยนครพนมมหาวิทยาลัยนเรศวรมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมหาวิทยาลัยเชียงใหม่มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเวสเทิร์นมหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานครมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีมหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนามหาวิทยาลัยเซนต์จอห์นมหาวิทยาลัยเนชั่นมาดามมดมิ่งขวัญ แสงสุวรรณมูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์มูลนิธิอานันทมหิดลมณฑล สงวนเสริมศรีมติ ตั้งพานิชยรรยง พวงราชยรรยง โอฬาระชินยอดเยี่ยม เทพธรานนท์ยอดเขาเอเวอเรสต์ยิ่งพันธ์ มนะสิการยิ่งลักษณ์ ชินวัตรยุทธนา บุญอ้อมยุทธ์ ชัยประวิตรยง ภู่วรวรรณยงยุทธ วิชัยดิษฐยงยุทธ สัจจวาณิชย์ร.น.รองศาสตราจารย์ระวี ภาวิไลรัชวิน วงศ์วิริยะรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของไทยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของไทยรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทยรัดเกล้า อามระดิษราชบัณฑิตราชินีนาถรายชื่อนิตยสารในประเทศไทยรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยรายนามปลัดกระทรวงคมนาคมแห่งราชอาณาจักรไทยรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยรายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.รายนามเลขาธิการคณะรัฐมนตรีของไทยรายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทยรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 23 ประจำปี พ.ศ. 2542รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2545รางวัลรามอน แมกไซไซรางวัลศรีบูรพารางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลรางวัลซีไรต์รางวัลนราธิปรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นรางวัลโทรทัศน์ทองคำรณชัย ถมยาปริวัฒน์ร้านภูฟ้าละอองฟองวรชาติ สิรวราภรณ์วรรษพร วัฒนากุลวรรณพร พรประภาวรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์วรากรณ์ สามโกเศศวราภรณ์ สมพงษ์วสุ แสงสิงแก้ววัชรบูล ลี้สุวรรณวัชระ พรรณเชษฐ์วัชระ ปานเอี่ยมวัชระ แวววุฒินันท์วัฒนา เมืองสุขวัดพระธรรมกายวารินทร์ วงศ์หาญเชาว์วาสนา วีระชาติพลีวาทยกรวาทิน ปิ่นเฉลียววิชชพัชร์ โกจิ๋ววิชา มหาคุณวิบูลย์ สงวนพงศ์วิบูลย์ คูหิรัญวิลาศ จันทร์พิทักษ์วิษณุ เครืองามวิสุทธ์ บุษยกุลวิจิตร ศรีสอ้านวิทยา ทองอยู่ยงวิทยา คุณปลื้มวิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณวิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดลวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยวิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยวิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิตวิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิตวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้าวิทยาลัยเชียงรายวิทยุการบินแห่งประเทศไทยวิทย์ สิทธิเวคินวิทิต มันตาภรณ์วิทิตนันท์ โรจนพานิชวินัย ดะห์ลันวินิตา ดิถียนต์วินทร์ เลียววาริณวิเศษ จูภิบาลวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์วุฒิสภาวุฒิสภาไทยวีรพงษ์ รามางกูรวีระชัย วีระเมธีกุลวีระศักดิ์ โควสุรัตน์วนัสธนา สัจจกุลศรัณยู วงษ์กระจ่างศรีนาถ สุริยะศศิกานต์ อภิชาตวรศิลป์ศศิวรรณ์ เลิศวิริยะประภาศักรินทร์ ภูมิรัตนศาลรัฐธรรมนูญศาลปกครอง (ประเทศไทย)ศาสตราจารย์ศิริพิชยา วิสิฐไวทยากุลศิลปินแห่งชาติศุภชัย ศรีหล้าศุภวัฒน์ ชุติวงศ์ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินสภากาชาดไทยสภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2539สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550สภาวิศวกรสภาสถาปนิกไทยสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549สมพล ปิยะพงศ์สิริสมภพ ภิรมย์สมฤทัย พรหมจรรย์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทยสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์สมิทธิ์ อารยะสกุลสมเกียรติ อ่อนวิมลสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัยสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสยามมกุฎราชกุมารสยามดิสคัฟเวอรีสยามเซ็นเตอร์สรรเสริญ สมะลาภาสรจักร ศิริบริรักษ์สัญญา คุณากรสังศิต พิริยะรังสรรค์สายสวรรค์ ขยันยิ่งสายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยาสารคดีสารคดี (นิตยสาร)สาคร สุขศรีวงศ์สาโรช บัวศรีสำนักหอสมุดแห่งชาติสำนักงบประมาณสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)สำนักงานราชบัณฑิตยสภาสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประเทศไทย)สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติสำนักงานประกันสังคมสำนักนายกรัฐมนตรีสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีสิริยากร พุกกะเวสสิทธิชัย โภไคยอุดมสิทธิมนุษยชนสิปปนนท์ เกตุทัตสืบแสง พรหมบุญสุชาดา กีระนันทน์สุพัตรา มาศดิตถ์สุพจน์ หารหนองบัวสุพจน์ ไข่มุกด์สุภา สิริสิงหสุภิญญา กลางณรงค์สุมาลี บำรุงสุขสุรพงษ์ สืบวงศ์ลีสุรางค์ เปรมปรีดิ์สุริชัย หวันแก้วสุริยา รัตนกุลสุริโยไทสุรเกียรติ์ เสถียรไทยสุวรรณ วลัยเสถียรสุวรรณ สุวรรณเวโชสุจิต บุญบงการสุธรรม แสงประทุมสุธาวัลย์ เสถียรไทยสุทัตตา อุดมศิลป์สุทธิชัย หยุ่นสุทธิพร จิตต์มิตรภาพสุดสัปดาห์สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์สุนัย จุลพงศธรสุนีย์ สินธุเดชะสุเนตร ชุตินธรานนท์สู่ขวัญ บูลกุลสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสถาบันพระปกเกล้าสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)สถาบันกันตนาสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสถาบันออกแบบนานาชาติชนาพัฒน์สถาบันอุดมศึกษาเอกชนสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังสถาบันเทคโนโลยีแห่งอโยธยาสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซียสถาปนิกสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสสดศรี สัตยธรรมสดใส พันธุมโกมลสตางค์ มงคลสุขสนามหลวงมิวสิกหญิงหม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรีหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตรหม่อมราชวงศ์แน่งน้อย ศักดิ์ศรีหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชหม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุลหม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาคหม่อมหลวงสราลี กิติยากรหม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุลหม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์หม่อมหลวงปิยาภัสร์ ภิรมย์ภักดีหม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์หม่อมเจ้ารัชฎาภิเศก โสณกุลหม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลหม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณหยุด แสงอุทัยห้างสรรพสินค้าอภิรักษ์ โกษะโยธินอภิวัชร์ เอื้อถาวรสุขอภิวัฒน์ มุทิรางกูรอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอมรา พงศาพิชญ์อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่งอรชุมา ยุทธวงศ์อรพรรณ พานทองอรรถนิติ ดิษฐอำนาจอรอนงค์ ปัญญาวงศ์อรุณ ภาวิไลอวย เกตุสิงห์อัญชลี วิวัธนชัยอัฐมา ชีวนิชพันธ์อัษฎาวุธ เหลืองสุนทรอัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณอาชว์ เตาลานนท์อารักษ์ ชลธาร์นนท์อารีย์ วงศ์อารยะอารดา อารยวุฒิอาร์เอสอาจอง ชุมสาย ณ อยุธยาอาทิวราห์ คงมาลัยอาคารใบหยก 2อำนวย วีรวรรณอำเภอโนนไทยอิทธิพงศ์ กฤดากร ณ อยุธยาอิทธิสุนทร วิชัยลักษณ์อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์อินทิรา แดงจำรูญอุกฤษ มงคลนาวินอุรัสยา เสปอร์บันด์อธิการบดีอดิสรณ์ พึ่งยาอดิสรณ์ ตรีสิริเกษมองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน)องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติองค์การสวนสัตว์องค์การอนามัยโลกองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพองค์การเภสัชกรรมอนันต์ กรุแก้วอนันต์ อัศวโภคินอนุกรมวิธานอนุตตมา อมรวิวัฒน์อเล็กซานเดอร์ เรนเดลล์ฮ่องกงผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้งผอูน จันทรศิริผาสุก พงษ์ไพจิตรผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศผุสชา โทณะวณิกผู้ชายผู้กำกับภาพยนตร์ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครผู้ตรวจการแผ่นดิน (ประเทศไทย)ผู้ประกาศข่าวผู้แทนการค้าไทยจรวยพร ธรณินทร์จรัญ ภักดีธนากุลจรัส สุวรรณเวลาจรัสพงษ์ สุรัสวดีจรัสศรี ทีปิรัชจักรพงศ์ สิริรินจันทรา ชัยนามจารุพงศ์ เรืองสุวรรณจารุวรรณ เมณฑกาจารุณี บุญเสกจำรัส เขมะจารุจำนง เทพหัสดิน ณ อยุธยาจิระ มะลิกุลจิระนันท์ พิตรปรีชาจิตร ภูมิศักดิ์จิตตาภา แจ่มปฐมจุลสิงห์ วสันตสิงห์จุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจุฑาวุฒิ ภัทรกำพลจีระนันท์ กิจประสานจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่จีเอ็มเอ็ม ไท หับจงรัก จุฑานนท์ธัญชนก กู๊ดธานินทร์ กรัยวิเชียรธิติมา ประทุมทิพย์ธีมะ กาญจนไพรินธีรพล นพรัมภาธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ธีรยุทธ บุญมีธีระวัฒน์ ศิริวันสาณฑ์ธีระวัฒน์ เหมะจุฑาธีร์ อริยฤทธิ์วิกุลธีรเดช เมธาวรายุทธธงทอง จันทรางศุธนชัย อุชชินธนพร แวกประยูรธนพล ศิริธนชัยธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ธนาคารกรุงไทยธนาคารกรุงเทพธนาคารกสิกรไทยธนาคารออมสินธนาคารอาคารสงเคราะห์ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทยธนาคารธนชาตธนาคารทหารไทยธนาคารนครหลวงไทยธนาคารแห่งประเทศไทยธนาคารไทยพาณิชย์ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทยธนเวทย์ สิริวัฒน์ธนกุลธเนศวร์ เจริญเมืองถาวร วัชราภัยทรู มิวสิคทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 3ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 5ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 7ทรูวิชันส์ทรงยศ สุขมากอนันต์ทวี บุตรสุนทรทศพร วงศ์รัตน์ทัชชกร บุญลัภยานันท์ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญทักษิณ ชินวัตรทางด่วนกรุงเทพทิพย์สุดา ปทุมานนท์ทิปโก้แอสฟัลท์ทีโอทีท่าอากาศยานภูเก็ตท่าอากาศยานสุวรรณภูมิท่าอากาศยานไทยท่านผู้หญิงท็อปอวอร์ดขวัญสรวง อติโพธิขวัญข้าว เศวตวิมลขัตติยะ สวัสดิผลณฐพร เตมีรักษ์ณภศศิ สุรวรรณณัฐ ยนตรรักษ์ณัฐชา วิทยากาศณัฐกิตติ์ ตั้งพูลสินธนาณัฐภัสสร สิมะเสถียรณัฐวรา หงษ์สุวรรณณัฐธีร์ โกศลพิศิษฐ์ดราภดา โสตถิพิทักษ์ดลชัย บุณยะรัตเวชดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม)ดิเรก ลาวัณย์ศิริดุษฎี พนมยงค์ดีเจคมชัดลึก อวอร์ดคมกฤษ ตรีวิมลคมสัน นันทจิตคลาวเดีย จักรพันธุ์คลุ้ม วัชโรบลคุรุสภาคุณหญิงคีรติ มหาพฤกษ์พงศ์คณบดีคณวัฒน์ จันทรลาวัณย์คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติคณะกรรมการราษฎรคณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อคณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ประเทศไทย)คณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันท์แห่งชาติคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒคณะมนุษยศาสตร์ และการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยกรุงเทพคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะองคมนตรีคณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยามคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณิต ณ นครคนเดือนตุลางานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ตราสินค้าตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยตั้ว ลพานุกรมตำรวจฉัตรทิพย์ นาถสุภาฉัตรปวีณ์ ตรีชัชวาลวงศ์ฉันทวิชช์ ธนะเสวีปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ประชัย เลี่ยวไพรัตน์ประพจน์ อัศววิรุฬหการประภัทร์ ศรลัมพ์ประภาส ชลศรานนท์ประมวล วีรุตมเสนประยอม ซองทองประยุทธ์ จันทร์โอชาประวีณมัย บ่ายคล้อยประสาร ไตรรัตน์วรกุลประสาท สืบค้าประสิทธิ์ โฆวิไลกูลประทุมพร วัชรเสถียรประคอง นิมมานเหมินท์ประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยาประเสริฐ บุญสัมพันธ์ประเสริฐ ภัทรมัยประเสริฐ ณ นครประเทศไทยปราโมช รัฐวินิจปรีชา เลาหพงศ์ชนะปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยาปรีดี พนมยงค์ปวริศา เพ็ญชาติปวิณ สุวรรณชีพปวีณ ภูริจิตปัญญาปวีณ์สุดา จันทร์เกษปวีณ์นุช แพ่งนครปัญญา นิรันดร์กุลปาณิสรา อารยะสกุลปิยะชาติ ถามะพันธ์ปิยะพันธ์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยาปิยณี เทียมอัมพรปิโตรเลียมปูปูราชินีปูนซิเมนต์ไทยปูเจ้าฟ้าปณิธาน วัฒนายากรปตท.ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่นปตท. เคมิคอลปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียมป่าใหญ่ครีเอชั่นนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยานกคีรีบูนนรอรรถ จันทร์กล่ำนฤพนธ์ ไชยยศนวลพรรณ ล่ำซำนักร้องนักวิจัยดีเด่นแห่งชาตินักแสดงนักเขียนนันทริกา ชันซื่อนันทวัฒน์ อาศิรพจนกุลนาฏศิลป์ไทยนายกรัฐมนตรีนารถ โพธิประสาทนาคร ศิลาชัยนางสาวไทยนางสนองพระโอษฐ์นาเดีย โสณกุลนิกร ดุสิตสินนิรมล เมธีสุวกุลนิลวรรณ ปิ่นทองนิธิ สถาปิตานนท์นิธิ เอียวศรีวงศ์นิธิวัฒน์ ธราธรนิตยสารนิติ ชัยชิตาทรนิติพงษ์ ห่อนาคนิ้วกลมนิเทศศาสตร์นุสบา ปุณณกันต์แชนแนลวีไทยแลนด์แพทองธาร ชินวัตรแกรมมี่โกลด์แก๊สธรรมชาติแม็คโครแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิสแฮร์รี่ พอตเตอร์แถบ นีละนิธิโชติกา วงศ์วิลาศโกวิทย์ โปษยานนท์โกเมน ภัทรภิรมย์โมเดล (อาชีพ)โมเดิร์นด็อกโรบินสันโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าโรงพยาบาลรามาธิบดีโรงเรียนราชินีบนโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยรังสิตโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษาโรงเรียนอัสสัมชัญโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาโสรีช์ โพธิแก้วโฮมโปรโคทม อารียาโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์โน้ต-ตูนไชยวัฒน์ อนุตระกูลชัยไชยันต์ ไชยพรไพบูลย์ ดำรงชัยธรรมไพฑูรย์ สินลารัตน์ไวโอลินไอยวริญท์ โอสถานนท์ โธมัสไออาร์พีซีไอทีวีไทยออยล์ไทยธนาคารไทยคม (บริษัท)ไขศรี ศรีอรุณไปรษณีย์ไทยเชาวน์ ณศีลวันต์เฟย์ ฟาง แก้วเพ็ชรา เตชะกัมพุชเกริกไกร จีระแพทย์เกรียงไกร อมาตยกุลเกษม สุวรรณกุลเกื้อ วงศ์บุญสินเกียรติ กิจเจริญเกียรติศักดิ์ อุดมนาคเกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์เมทนี บุรณศิริเลอสม สถาปิตานนท์เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์เหรียญดุษฎีมาลาเหตุการณ์ 14 ตุลาเอฟ.เอ็ม. 92.25 เมกกะเฮิร์ซเอนก นาวิกมูลเอ็มบีเคเซ็นเตอร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรีเจ เอส แอล โกลบอล มีเดียเจริญ วรรธนะสินเจริญ คันธวงศ์เจาะใจเจ้าวัฒนัน ณ ลำพูนเจ้าดารารัตน์ ณ ลำพูนเจ้าไชยณรงค์ ณ เชียงใหม่เทียนฉาย กีระนันทน์เขริกา โชติวิจิตรเดชา บุญค้ำเดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวเค-โอติกเคลียร์เติมศักดิ์ กฤษณามระเฉลียง (วงดนตรี)เซ็นทรัลพัฒนาเปลื้อง ณ นครเนชั่นมัลติมีเดียกรุ๊ปเนตรปรียา ชุมไชโยเนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์26 มีนาคม