โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายชื่อนามปากกา

ดัชนี รายชื่อนามปากกา

นี่คือรายชื่อนามปากก.

128 ความสัมพันธ์: 'รงค์ วงษ์สวรรค์บ. บุญค้ำชอลิ้วเฮียงชัย ราชวัตรชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ชัยวัฒน์ คุประตกุลบันเทิงคดีกำลังภายในบินหลา สันกาลาคีรีบูรณิจฉ์ รัตนวิเชียรช่อมณีฟุจิโกะ ฟุจิโอะฟ้า พูลวรลักษณ์พ.ศ. 2449พ.ศ. 2507พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระมหาวุฒิชัย วชิรเมธีพระยาสุรินทราชาพระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ)พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์พระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)พระครูพิศาลธรรมโกศล (สุพจน์ กญฺจนิโก)พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตพล นิกร กิมหงวนพิมล แจ่มจรัสพิศณุ นิลกลัดกระบี่เย้ยยุทธจักรกฤษณา อโศกสินกิมย้งกิ่งฉัตรกุหลาบ สายประดิษฐ์มังกรหยกมาร์ก ทเวนมาลัย ชูพินิจมาลา คำจันทร์มนต์ชัย ศิริลัทพรยิ่งศักดิ์ โควสุรัตน์รหัสลับดาวินชีฤทธิ์มีดสั้นล่ารหัสมรณะวรรณวรรธน์วรากรณ์ สามโกเศศวลัย นวาระวิมล เจียมเจริญวินิตา ดิถียนต์วินทร์ เลียววาริณวีระ ธีรภัทรศัลยา สุขะนิวัตติ์ศิลา โคมฉายศุ บุญเลี้ยง...ส.พลายน้อยสมชาย กรุสวนสมบัติสหรัฐสัณหชัย ผลชีวินสันติ เศวตวิมลสาธิต กรีกุลสุริยัน ศักดิ์ไธสงสุลักษณ์ ศิวรักษ์สุวัฒน์ วรดิลกสุทธิชัย หยุ่นสนธิ ลิ้มทองกุลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชหม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนีหม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนีหลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)หงส์ผงาดฟ้าอบ ไชยวสุอยากให้เรื่องนี้ไม่มีโชคร้ายอัญชลี วิวัธนชัยอัญชันอัศนี พลจันทรอุ้ยเสี่ยวป้ออดิสรณ์ พึ่งยาฮอบบิท (หนังสือ)จักรภพ เพ็ญแขจิตร ภูมิศักดิ์ทรงกลด บางยี่ขันทวีป วรดิลกทิพยวไลย์ ทวีพาณิชย์ขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)ณิชา ตันติเฉลิมสินดาวตก ผีเสื้อ กระบี่คมทวน คันธนูคัคณางค์ มิ่งมิตรพัฒนะกุลคำพูน บุญทวีคิเตเร็ทสึ เจ้าหนูนักประดิษฐ์ตำนานบุตรแห่งฮูรินตำนานแห่งซิลมาริลฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิฉัตรารัศมิ์ แก้วมรกตซ่อนกลิ่นป. อินทรปาลิตประมูล อุณหธูปประหยัด ศ. นาคะนาทประเทศอังกฤษปาร์แมนนามปากกานายหนหวยนินจาฮาโตรินิ้วกลมแฟนตาซีระดับสูงแฮร์รี่ พอตเตอร์แผนลวงสะท้านโลกแดน บราวน์แปดเทพอสูรมังกรฟ้าโชติ แพร่พันธุ์โชติศรี ท่าราบโกวเล้งโดราเอมอนไพศาล พืชมงคลไม้ เมืองเดิมเพาะพุทธ จนฺทเสฏฺโฐเก้าแต้มเริงชัย ประภาษานนท์เจ. อาร์. อาร์. โทลคีนเจ. เค. โรว์ลิงเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)เทวากับซาตานเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์เดือนวาด พิมวนาเซียวฮื้อยี้เซียวจับอิดนึ้งเปลว สีเงินเปลื้อง ณ นคร17 มกราคม22 มิถุนายน29 พฤษภาคม ขยายดัชนี (78 มากกว่า) »

'รงค์ วงษ์สวรรค์

'รงค์ วงษ์สวรรค์ เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและ'รงค์ วงษ์สวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

บ. บุญค้ำ

ญสิงห์ บุญค้ำ ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย จังหวัดลานช้างและสหรัฐไทยเดิม.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและบ. บุญค้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ชอลิ้วเฮียง

นิยาย ชอลิ้วเฮียง (Chu Liu Xiang Xi Lie) เป็นนิยายที่โด่งดังมากชุดหนึ่งของโกวเล้ง เขียนขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและชอลิ้วเฮียง · ดูเพิ่มเติม »

ชัย ราชวัตร

การ์ตูนล้อการเมือง ชุด ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน ตีพิมพ์ในไทยรัฐ ผลงานที่สร้างชื่อให้แก่ชัย ราชวัตร ชัย ราชวัตร เป็นนามปากกาของ นักวาดการ์ตูนชาวไทย มีผลงานเป็นที่รู้จักกันคือ ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน โดย เป็นการ์ตูนรายวันตีพิมพ์ลงในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ มีบทบาทเป็นนักเขียนในช่วงเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและชัย ราชวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์

ัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ เกิด 19 กันยายน..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชัยวัฒน์ คุประตกุล

รองศาสตราจารย์ ชัยวัฒน์ คุประตกุล เป็นนักวิทยาศาสตร์ นักการศึกษา นักเขียน นักแปล คอลัมนิสต์ นักจัดรายการวิทยุและโทรทัศน.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและชัยวัฒน์ คุประตกุล · ดูเพิ่มเติม »

บันเทิงคดีกำลังภายใน

ันเทิงคดีกำลังภายใน เป็นเรื่องราวที่เกี่ยวกับศิลปะการต่อสู้ที่ทำให้ผู้ฝึก (ซึ่งเรียกว่า จอมยุทธ์) มีความสามารถเหนือธรรมชาติต่าง ๆ บันเทิงคดีกำลังภายในโดยมากมักจะอ้างอิงถึงเหตุการณ์ในอดีตที่เกิดขึ้นในสถานที่ต่าง ๆ ในประเทศจีน.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและบันเทิงคดีกำลังภายใน · ดูเพิ่มเติม »

บินหลา สันกาลาคีรี

นหลา สันกาลาคีรี เป็นนามปากกาของ วุฒิชาติ ชุ่มสนิท เป็นนักประพันธ์ไทยได้รับรางวัลซีไรต.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและบินหลา สันกาลาคีรี · ดูเพิ่มเติม »

บูรณิจฉ์ รัตนวิเชียร

ูรณิจฉ์ รัตนวิเชียร (ชื่อเล่น:จอม นามปากกา: บอ.บู๋) นักเขียนชาวไทย และคอลัมนิสต์ในเครือสยามสปอร์ต.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและบูรณิจฉ์ รัตนวิเชียร · ดูเพิ่มเติม »

ช่อมณี

อมณี เป็นนามปากกาที่ใช้ในงานเขียนนิยาย ของ มณีรัตน์ อัศวิศราภรณ์ ซึ่งสร้างสรรค์ผลงานเขียนไว้มากมาย นอกจากนั้นในบางนิตยสารยังใช้อีกนามปากกาหนึ่ง คือ "แพรดาว"ด้วย งานเขียนเรื่องแรกที่ได้รับการตีพิมพ์ในนิตยสารรายปักษ์ "กาญจนา"(ปัจจุบันเลิกจำหน่ายไปแล้ว) ด้วยเรื่อง "ไอรัก ไฟแค้น" ผลงานซึ่งทำให้ผู้อ่านรู้จัก "ช่อมณี" อย่างดี คือ "หมอกผลัดฟ้า"ซึ่งตีพิพม์ในนิตยสารรายสัปดาห์ "บางกอก" และผลงานอีกหลายเรื่องที่ลงในหนังสือของเครือบางกอกซึ่งสร้างชื่อเสียงให้เป็นที่รู้จักในกลุ่มนักอ่านไทย โดยมีแนวเขียนที่แปลกตาทั้งเนื้อหาและวิธีเขียนที่กระชับ เข้าใจง่ายและรวดเร็ว จึงเป็นที่นิยมในกลุ่มนักอ่านรุ่นใหม่ นิยายต่าง ๆ เคยเผยแพร่ในนิตยสารมีชื่อเสียงของเมืองไทย เช่น บางกอก ตะวันสแควร์ ภาพยนตร์บันเทิง ชีวิตรัก หญิงไทย เป็นต้น.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและช่อมณี · ดูเพิ่มเติม »

ฟุจิโกะ ฟุจิโอะ

รชิ ฟุจิโมโตะ ฟุจิโกะ ฟุจิโอะ (ญี่ปุ่น: 藤子 不二雄, ฮิรางานะ: ふじこ ふじお, Fujiko Fujio) (1 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 23 กันยายน พ.ศ. 2539) เป็นนามปากกา ของคู่นักวาดการ์ตูนมีผลงานมากมาย โดยมีเรื่องที่โด่งดังคือ โดราเอมอน ของ.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและฟุจิโกะ ฟุจิโอะ · ดูเพิ่มเติม »

ฟ้า พูลวรลักษณ์

ฟ้า พูลวรลักษณ์ "เด็กชายฟ้า พูลวรลักษณ์":IMAGE.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและฟ้า พูลวรลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2449

ทธศักราช 2449 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1906 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและพ.ศ. 2449 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและพ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี

ระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี หรือชื่อเมื่อแรกเกิดว่า วุฒิชัย บุญถึง หรือรู้จักกันดีในนามปากกา ว.วชิรเมธี (29 มกราคม พ.ศ. 2516 —) เป็นภิกษุชาวไทย มีชื่อเสียงว่าเป็นพระนักวิชาการ นักคิด นักเขียน และนักบรรยายธรรม.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและพระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี · ดูเพิ่มเติม »

พระยาสุรินทราชา

ระยาสุรินทรราชา เป็นบรรดาศักดิ์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและพระยาสุรินทราชา · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ)

อำมาตย์เอก พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ) (10 พฤษภาคม พ.ศ. 2422 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นนักเขียน ผู้เชี่ยวชาญทางภาษาไทย ท่านใช้นามปากกาหลายนาม ที่รู้จักกันแพร่หลาย คือ "อ.น.ก.", "อุนิกา", "อนึก คำชูชีพ" และเป็นผู้ริเริ่มคำทักทายคำว่า "สวัสดี" และยังเป็นผู้อุทิศร่างกายเพื่อการศึกษาทางการแพทย์หรือที่เรียกว่าอาจารย์ใหญ่ เป็นท่านแรกของประเทศไทย โดยกล่าวว่า "ฉันเป็นครู ตายแล้วขอเป็นครูต่อไป".

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและพระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)

ตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน (14 ธันวาคม พ.ศ. 2431 - 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2512) นักปราชญ์และนักการศึกษาคนสำคัญของไทย ผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรมและเป็นหนึ่งในบุคคลสำคัญของโลกชาวไทย ประจำปี พ.ศ. 2531 ขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์

มหาอำมาตย์โท พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส หรือนามปากกว่า น.ม.. (10 มกราคม พ.ศ. 2419 – 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) ทรงเป็นปราชญ์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นพระบิดาแห่งการสหกรณ์ไทย ทรงเป็นต้นราชสกุล "รัชนี" สิ้นพระชนม์เมื่อวันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)

ระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป พระสารประเสริฐ นามเดิม ตรี นาคะประทีป (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2432 - 4 มิถุนายน พ.ศ. 2488) ผู้เชี่ยวชาญวิชาอักษรศาสตร์ภาษาไทย ผู้ร่วมแปลและถ่ายหนังสือหิโตปเทศจากภาษาอังกฤษร่วมกับพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) และได้ร่วมงานกันต่อเนื่องมาเป็นเวลานานและใช้นามปากกาที่มีชื่อเสียงร่วมกันคือ “เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป”.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูพิศาลธรรมโกศล (สุพจน์ กญฺจนิโก)

ระครูพิศาลธรรมโกศล (สุพจน์ กญจนิโก) (3 สิงหาคม พ.ศ. 2468 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524) อดีตผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดประยุรวงศาวาส นักเขียนเรื่องสั้นชุด "หลวงตา" เจ้าของนามปากกา แพรเยื่อไม้ พระครูพิศาลธรรมโกศล เกิดที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อเป็นฆราวาสใช้ชื่อว่า พจน์ คงเพียรธรรม เป็นบุตรคนที่ 4 ของนายลำใย-นางสำริด คงเพียรธรรม บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อ พ.ศ. 2485 อายุ 17 ปี และ อุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อ พ.ศ. 2488 อายุ 20 ปี ณ วัดบ้านช้าง อำเภอวังน้อย พระนครศรีอยุธยา และย้ายมาจำพรรษาอยู่วัดประยุรวงศาวาส เมื่อ พ.ศ. 2489 พระครูพิศาลธรรมโกศล เริ่มงานเขียนหนังสือเมื่อประมาณ พ.ศ. 2500 เรื่องกงกรรมกงเกวียน และเรื่องบุษรา นำออกพิมพ์จำหน่ายเผยแพร่ ตามด้วยเรื่องอุเทนราช เขียนเป็นตอนๆ ลงในวารสารพุทธจักร ประมาณ พ.ศ. 2510 พระครูพิศาลธรรมโกศลเริ่มเขียน เรื่องสั้นชุดหลวงตา โดยเริ่มจากเรื่องสั้นเรื่องแรก ชื่อ บุญหลง เมื่อนำมารวมเล่มจำหน่ายครั้งแรก จึงใช้ชื่อหนังสือว่า หลวงตา ตามชื่อตัวเอก ต่อมาได้รับการติดต่อไปพิมพ์เผยแพร่ในนามของ ศูนย์การเผยแพร่พระพุทธศาสนา มูลนิธิอภิธรรม วัดมหาธาตุ และได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก พิมพ์ซ้ำหลายครั้ง และนามปากกา แพรเยื่อไม้ ก็เป็นที่รู้จักแพร่หลาย พระครูพิศาลธรรมโกศล มรณภาพเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524 ด้วยโรคมะเร็งในหลอดอาหาร ที่โรงพยาบาลเปาโล.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและพระครูพิศาลธรรมโกศล (สุพจน์ กญฺจนิโก) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต

นายกองเอก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต (20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2463 — 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520) หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าวิภาวดี รังสิต (ราชสกุลเดิม: รัชนี) นักเขียนชาวไทย เจ้าของนามปากกา ว.ณ ประมวญมารค มีผลงานประพันธ์ที่สร้างชื่อเสียงจากเรื่อง ปริศนา หม่อมเจ้าวิภาวดี รังสิต ได้รับการสถาปนาเป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต เมื่อวันที่ 4 เมษายน..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต · ดูเพิ่มเติม »

พล นิกร กิมหงวน

ล นิกร กิมหงวน สามเกลอเปลี่ยนทางมาที่นี่ ความหมายอื่นดูที่ สามเกลอ (แก้ความกำกวม) พล นิกร กิมหงวน หรือ สามเกลอ เป็นหัสนิยาย ประพันธ์โดย ป. อินทรปาลิต ที่จัดพิมพ์อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2482-2511 มีมากมายเกินกว่าพันตอน (ตอนแรกคือตอน อายผู้หญิง) เนื้อหาออกไปในแนวสนุกสนานครื้นเครง มีการหยอกล้อกันไปมา จัดเป็นหนึ่งในหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน นอกจากรูปแบบหนังสือแล้ว พล นิกร กิมหงวน ยังเคยทำเป็นภาพยนตร์ออกฉายอีกด้วย รวมทั้งละครโทรทัศน์ อีกด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและพล นิกร กิมหงวน · ดูเพิ่มเติม »

พิมล แจ่มจรัส

มล แจ่มจรัส (เกิด พ.ศ. 2477 - 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2552) อาจารย์ประจำสาขาวิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก กรรมการผู้ตัดสินรางวัลซีไรต์ เป็นนักเขียน นักแปล ผลงานด้านประวัติศาสตร์ และเรื่องราวในราชสำนักไทย เจ้าของนามปากกา "พิมาน แจ่มจรัส" และ "แคน สังคีต" พิมล แจ่มจรัส เกิดที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ http://matichon.co.th/news-photo/khaosod/2007/06/03col18180650.txt เคยใช้ชีวิตเป็นครูสอนภาษาไทย เป็นอาจารย์สอนวิชาการเขียน และแต่งตำราเกี่ยวกับการเขียนชื่อ "เขียน" และยังมีผลงานแปลเรื่อง รุไบยาต ของโอมาร์ คัยยาม และแปลผลงานของนากิ๊บ มาห์ฟูซ์ (Naguib Mahfuz) นักเขียนรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและพิมล แจ่มจรัส · ดูเพิ่มเติม »

พิศณุ นิลกลัด

ณุ นิลกลัด (ชื่อเดิม: พิษณุ ชื่อเล่น: ณุ นามปากกา: เตยหอม) พิธีกรประจำรายการ ข่าวนอกลู่ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3, อดีตผู้ประกาศข่าว สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, อดีตพิธีกรรายการโทรทัศน์ สะเก็ดข่าว และ คอข่าว, อดีพิธีกรรายการฟ้ามีตา, อดีตผู้บรรยายการแข่งขันกีฬา ทางช่อง 7 สี และทรูวิชันส์, คอลัมนิสต์ที่มีชื่อเสียงในเครือสยามสปอร์ตซินดิเคท ต่อมาในปี พ.ศ. 2556 พิศณุย้ายออกจากช่อง 7 สี ไปยังไทยทีวีสีช่อง 3 โดยเข้าเป็นพิธีกร ประจำรายการข่าวนอกลู.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและพิศณุ นิลกลัด · ดูเพิ่มเติม »

กระบี่เย้ยยุทธจักร

กระบี่เย้ยยุทธจักร เฉี่ยเหงากังโอ๊ว หรือ เซี่ยวเอ้าเจียงหู ผลงานของกิมย้ง (金庸) เรื่องนี้ น.นพรัตน์ แปลครั้งแรกชื่อเรื่อง ผู้กล้าหาญคะนอง ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและกระบี่เย้ยยุทธจักร · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณา อโศกสิน

กฤษณา อโศกสิน เป็นนามปากกาที่แพร่หลายที่สุดของ สุกัญญา ชลศึกษ์ นักประพันธ์สตรีผู้เรืองนาม และมากประสบการณ.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและกฤษณา อโศกสิน · ดูเพิ่มเติม »

กิมย้ง

thumb กิมย้ง หรือชื่อจริง จา เลี้ยงย้ง (Louis Cha Leung-yung) เป็นนักเขียนนิยายกำลังภายในที่ได้รับความนิยมมาก มักเขียนนิยายโดยแฝงเนื้อหาทางการเมืองบางอย่างไว้ โดยเฉพาะการวิจารณ์ระบบกษัตริย์ พรรคคอมมิวนิสต์ และลัทธิเชื้อชาติฮั่นเป็นใหญ่ กิมย้งมีหนังสือพิมพ์เป็นของตัวเอง ชื่อ หมิงเป้า (明報) ปัจจุบัน กิมย้ง ยังมีชีวิตอยู่ และดูแลกิจการหนังสือพิม.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและกิมย้ง · ดูเพิ่มเติม »

กิ่งฉัตร

กิ่งฉัตร เป็นนามปากกาของ ปาริฉัตร ศาลิคุปต (1 มกราคม พ.ศ. 2511-) เป็นธิดาของ พล.ร.อ.วิเชียร และ องุ่น ศาลิคุปต กิ่งฉัตรเริ่มอ่านหนังสือตั้งแต่เรียนมัธยมต้น รักการอ่านและอ่านหนังสือได้แทบทุกประเภท จึงเกิดความรู้สึกอยากจะเขียนหนังสือให้ผู้อื่นอ่าน และมีอารมณ์ร่วมทั้งหัวเราะและร้องไห้ไปกับตัวละคร อย่างที่ตัวเองเคยรู้สึกเคยสัมผัสบ้าง จึงเริ่มต้นเขียนเรื่องสั้นเวียน ให้เพื่อนฝูงในชั้นอ่านก่อน พอขึ้นปี 2 ในมหาวิทยาลัย ก็เริ่มมีบทความลงในหนังสือพิมพ์บางฉบับ และนิตยสารอีกหลายเล่ม เช่น สตรีสาร แพรวสุดสัปดาห์ ขวัญเรือน กระทั่งเรียนมหาวิทยาลัยปีสุดท้ายจึงได้เริ่มต้นเขียนนวนิยายเรื่องยาวเรื่องแรก คือ พรพรหมอลเวง โดยอาศัยนิสัยใจคอเพื่อนสนิทมาเป็นตัวเอกของเรื่อง กิ่งฉัตรมีสิ่งที่ยึดในการทำงาน คือ เขียนหนังสือตามใจคนเขียนเป็นหลัก เพราะถือว่าคนเขียนเป็นคนอ่านคนแรก ถ้าอ่านแล้วสนุก คนอ่านส่วนหนึ่งที่มีชอบเรื่องในแนวเดียวกันก็คงสนุกด้วย เขียนในสิ่งที่ชอบที่ถนัด และเขียนด้วยใจรักการทำงาน กิ่งฉัตรเคยมีนามปากกาในการเขียนเรื่องสั้นว่า "ทองหลางลาย" แต่ พอเขียนเรื่องยาวก็ได้ใช้ "กิ่งฉัตร" มาตลอด นามปากกานี้มาจากชื่อจริงตัวสุดท้าย คือ "ปาริฉัตร" ส่วนกิ่งนี่เธอบอกว่าเหมือนกับกิ่งก้านสาขาที่แยกออกมาจากต้น คือ เวลาเขียนหนังสือจะรู้สึกว่าไม่ใช่ตัวเอง นอกจากผลงานนิยายแนวรักโรแมนติกที่กิ่งฉัตรถนัดแล้ว เธอยังมีผลงานนิยายแนวสืบสวนสอบสวนและแฟนตาซีในนามปากกา อลินา อีกด้วย แล้วยังมีศักดิ์เป็นน้าของ เพลิง พลภัคค์ วัชรพงศ์หิรัญ นักแสดงสังกัด ช่องวัน อีกด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและกิ่งฉัตร · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบ สายประดิษฐ์

กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือรู้จักกันดีในนามปากกาว่า ศรีบูรพา (31 มีนาคม พ.ศ. 2448 — 16 มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงชาวไทย เจ้าของวาทะ "ฉันรักธรรมศาสตร์ เพราะธรรมศาสตร์สอนให้ฉันรักประชาชน".

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและกุหลาบ สายประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

มังกรหยก

มังกรหยก (อักษรจีนตัวเต็ม: 射鵰英雄傳; อักษรจีนตัวย่อ: 射雕英雄传; พินอิน: shè diāo yīng xióng zhuàn) เป็นนิยายกำลังภายใน แต่งโดยกิมย้ง มีภาคต่อในชุดเดียวกันอีกสองภาค คือ มังกรหยก ภาค 2 และดาบมังกรหยก แต่ชื่อเรื่องภาษาจีนและภาษาอังกฤษนั้นแยกกันเป็นคนละเรื่อง (ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ คือ The Legend of the Condor Heroes หรือ The Eagle-Shooting Heroes) ฉบับแปลภาษาไทยมีหลายสำนวน ยึดตามฉบับที่ลิขสิทธิ์ถูกต้องแปลโดย น.นพรัตน์ ใช้ชื่อว่า ก๊วยเจ๋งยอดวีรบุรุษ จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์สยามอินเตอร์บุ๊คส์ ความยาว 4 เล่มจบ และได้รับการดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์และภาพยนตร์หลายครั้ง รวมถึงวิดีโอเกม ด้วย ประกอบด้วยกัน 3 ภาค ได้แก่ ก๊วยเจ๋ง เอี๊ยก้วย และเตียบ่อกี้ ก๊วยเจ๋งและเอี๊ยก้วยเป็นภาคต่อกัน แต่ภาคเตียบ่อกี้ เป็นอีกหลายๆปีข้างหน้าต่อจากเอี๊ยก้ว.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและมังกรหยก · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ก ทเวน

ซามูเอล แลงฮอร์น คลีเมนส์ มาร์ก ทเวน (1909) มาร์ก ทเวน (Mark Twain) เป็นนามปากกาของ ซามูเอล แลงฮอร์น คลีเมนส์ (Samuel Langhorne Clemens; 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1835 - 21 เมษายน ค.ศ. 1910) เป็นนักเขียน นักบรรยาย และนักเขียนเรื่องขบขันชาวอเมริกันที่มีชื่อเสียง และยังเป็นคนขับเรือกลไอน้ำ นักขุดทอง และนักหนังสือพิมพ์อีกด้วย ในช่วงสูงสุดของชีวิตเขานั้น เรียกได้ว่าเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่งในยุคนั้นเลยทีเดียว วิลเลียม ฟอล์คเนอร์ (William Faulkner) ได้เขียนเกี่ยวกับ มาร์ก ทเวน ไว้ว่า เป็น "นักเขียนอเมริกันแท้ ๆ คนแรก และพวกเรานับแต่นั้นมาเป็นทายาทของเขา" ผลงานของเขาที่น่าจะเป็นที่คุ้นตาของคนไทย ก็คือ ทอม ซอว์เยอร์ ผจญภัย (The Adventures of Tom Sawyer) และ ฮัคเคิลเบอรี่ ฟินน์ ผจญภัย (The Adventures of Huckleberry Finn).

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและมาร์ก ทเวน · ดูเพิ่มเติม »

มาลัย ชูพินิจ

มาลัย ชูพินิจ เกิดเมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2449 ที่บ้านริมแม่น้ำปิง ตำบลคลองสวนหมาก (ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นนครชุม) อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร เป็นบุตรของ นายสอน และนางระเบียบชูพินิจ บิดาและมารดาประกอบอาชีพทางด้านการค้าไม้สักและไม้กระยาเลย เป็นนักเขียนและนักหนังสือพิมพ์คนสำคัญของไทย นิยมเรียกกันทั่วไปว่า ครูมาลัย ใช้นามปากกา "แม่อนงค์" "น้อย อินทนนท์" "นายฉันทนา" เป็นต้น ในวัยเด็ก มาลัย ชูพินิจ เข้ารับการศึกษาชั้นต้นที่จังหวัดกำแพงเพชร จนจบชั้นประโยคประถมศึกษา เมื่ออายุประมาณ 10 ปี จึงเข้าไปศึกษาต่อในกรุงเทพฯ ที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนวัดบพิตรพิมุข โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ระดับสูงจนจบประโยคมัธยมศึกษา (ม.8) เมื่อ ปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและมาลัย ชูพินิจ · ดูเพิ่มเติม »

มาลา คำจันทร์

มาลา คำจันทร์ เป็นนามปากกาของ เจริญ มาลาโรจน์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและมาลา คำจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มนต์ชัย ศิริลัทพร

มนต์ชัย ศิริลัทพร เป็นเจ้าของนามปากกา ซ่อนกลิ่น นักเขียนโรมานซ์ เกิดเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2514 ที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เริ่มเขียนเรื่อง หิมพานต์ เป็นเรื่องแรก และไปโพสต์ลงในเว็บเด็กดี ในปี พ.ศ. 2547 มีผลงานเล่มแรกคือ 615 รหัสมรณะ โดยสำนักพิมพ์สยามอินเตอร์ มีผลงานที่สร้างเป็นละครโทรทัศน์ คือ ดวงใจอัคนี เคยทำงานเป็นวิศวกรบริษัท แต่ปัจจุบันลาออกมารับงานเป็นวิศวกร ฟรีแลนซ.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและมนต์ชัย ศิริลัทพร · ดูเพิ่มเติม »

ยิ่งศักดิ์ โควสุรัตน์

งศักดิ์ โควสุรัตน์ คือนักเขียนเจ้าของนามปากกา "อีแร้ง" นักวิจารณ์ภาพยนตร์เจ้าของนามปากกา "น้ำผึ้ง" อดีตพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินของการบินไทย และอาจารย์สอนงานบริการ เจ้าของผลงานชุดบินแหลก และคำสารภาพของนักเขียน ปัจจุบันยังคงเขียนคอลัมน์ บินแหลก ลงในนิตยสารดิฉัน เป็นชาวจังหวัดอุบลราชธานี จบการศึกษาระดับมัธยมปลายจากโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและยิ่งศักดิ์ โควสุรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

รหัสลับดาวินชี

รหัสลับดาวินชี (The Da Vinci Code) เป็นนวนิยายแนวลึกลับ-สืบสวนของแดน บราวน์ วางจำหน่ายเมื่อ พ.ศ. 2546 ปัจจุบันมีฉบับแปล 44 ภาษา และมียอดขายทั่วโลกรวมกันมากกว่า 80 ล้านเล่ม (ข้อมูลปี พ.ศ. 2552) รหัสลับดาวินชีเป็นผลงานลำดับที่สองในชุดที่มีโรเบิร์ต แลงดอน เป็นตัวเอก สำหรับหนังสือฉบับภาษาไทยนั้น จัดพิมพ์โดยแพรวสำนักพิมพ์ แปลโดยอรดี สุวรรณโกมล เนื้อเรื่องของรหัสลับดาวินชีเกี่ยวกับทฤษฎีสมคบคิดของคริสตจักร ในการปกปิดประวัติที่แท้จริงของพระเยซู รวมไปถึงปริศนาของจอกศักดิ์สิทธิ์ และบทบาทของมารีย์ชาวมักดาลา ในประวัติศาสตร์ของศาสนาคริสต์ การนำเสนอประเด็นเหล่านี้ในนิยายทำให้เกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์เป็นอย่างมากถึงความเหมาะสม และความถูกต้องของข้อมูล โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับศาสนาคริสต์และนิกายโอปุสเดอี นิยายเรื่องนี้ได้มีการอ้างถึงงานศิลปะและวรรณกรรมในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะผลงานของเลโอนาร์โด ดาวินชี ศิลปินชาวอิตาลีตามชื่อเรื่อง ผลงานของดาวินชีที่นำมาอ้างถึงได้แก่ โมนาลิซา และภาพเขียน อาหารมื้อสุดท้าย (The Last Supper) เป็นต้น บริษัทโคลัมเบียพิคเจอร์สได้สร้างภาพยนตร์ดัดแปลงจากนวนิยายเรื่องนี้ ออกฉายเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 โดยทอม แฮงส์ นักแสดงเจ้าของรางวัลออสการ์ รับบทเป็นโรเบิร์ต แลงดอน ชื่อที่ใช้ฉายในประเทศไทยคือ รหัสลับระทึกโลก.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและรหัสลับดาวินชี · ดูเพิ่มเติม »

ฤทธิ์มีดสั้น

มีดบินของลี้น้อย เป็นชุดนิยายกำลังภายในเรื่องดังอันดับต้นๆ ของโก้วเล้ง ที่เน้นอารมณ์ความรู้สึกเป็นแนวหลัก มีปรัญญาชีวิต และคำคมแฝงอยู่มากมาย ชุดฤทธิ์มีดสั้นประกอบด้วยตอนย่อย 5 ตอน โดยตามสำนวนแปลของ น.นพรัตน์ จะใช้ชื่อดังนี้.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและฤทธิ์มีดสั้น · ดูเพิ่มเติม »

ล่ารหัสมรณะ

ล่ารหัสมรณะ (Digital Fortress) เป็นนวนิยายเล่มแรกของแดน บราวน์ ตีพิมพ์ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและล่ารหัสมรณะ · ดูเพิ่มเติม »

วรรณวรรธน์

วรรณวรรธน์ นามปากกาของ วรรธนวรรณ จันทรจนา บุตรสาวของอาจารย์ คงเดช ประพัฒน์ทอง และเป็นหลานของ นอ. (พิเศษ) แย้ม ประพัฒน์ทอง ผู้ประพันธ์ มหาบัณฑิตแห่งมิถิลานคร (หนึ่งใน หนังสือ 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน) "วรรณวรรธน์" วรรธนวรรณ จันทรจน.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและวรรณวรรธน์ · ดูเพิ่มเติม »

วรากรณ์ สามโกเศศ

รองศาสตราจารย์ วรากรณ์ สามโกเศศ กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ อธิการบดีกิตติคุณมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพอดีตประธานกรรมการ ในคณะกรรมการบริหารสำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์อดีตประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารสำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน)กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านการบริหารธุรกิจ ในคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการความลับทางการค้า ได้รับเลือกเป็นคณะกรรมการสรรหาเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและวรากรณ์ สามโกเศศ · ดูเพิ่มเติม »

วลัย นวาระ

นักเขียนนวนิยายสตรีอาวุโสชื่อดัง ท่านคือเจ้าของนามปากกา วลัย นวาระ, จามรี พรรณชมพู, นลิน บุษกร, รอม วิศรุต, ปาริฉัตร, วชิรา วัชรวัลลภ, นล นวชาต, วสี เสาวรส, อมรเมฆินทร์, ภุมวาร ศุทธิประภา, พร่างเพชร พินทุสร และรวินท์ เวโรจน์ ท่านเขียนหนังสือหลายประเภท ทั้ง นิยาย เรื่องสั้น เรื่องแปล เจ้าของสมญานาม "ราชินีนวนิยายรักโรแมนติค" หรือ “บาร์บาร่า คาร์ทแลนด์ของไทย” และ “ปากกาอาบน้ำผึ้ง”Feature Story: คุณยายศรีฯ ท่านได้รับ รางวัลนราธิป ครั้งที่ 12 ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 26 มกราคม..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและวลัย นวาระ · ดูเพิ่มเติม »

วิมล เจียมเจริญ

ทมยันตี (ทะ-มะ-ยัน-ตี) เป็นนามปากกาของ คุณหญิงวิมล ศิริไพบูลย์ (10 กรกฎาคม พ.ศ. 2480—ปัจจุบัน) เป็นนักประพันธ์นวนิยาย ผลงาน อาทิ คู่กรรม, ทวิภพ, ค่าของคน, อุบัติเหตุ, พ่อปลาไหล, ล่า, เวียงกุมกาม, นากพัทธ์, พิษสวาท, อนธการ, คำมั่นสัญญา, พี่เลี้ยง, จิตา และอื่นๆ ซึ่งมีการสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์หลายยุคหลายสมัย วิมล ได้ชื่อว่ามีความสัมพันธ์แน่นแฟ้นกับฝ่ายทหาร และมักสนับสนุนระบอบทหาร โดยเฉพาะในช่วง เหตุการณ์ 6 ตุล..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและวิมล เจียมเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

วินิตา ดิถียนต์

รองศาสตราจารย์ คุณหญิง วินิตา ดิถียนต์ เป็นนักประพันธ์นวนิยายชาวไทย นามปากกาที่เป็นที่รู้จัก คือ แก้วเก้า, ว.วินิจฉัยกุล, รักร้อย, ปารมิตา, วัสสิกา, อักษรานีย์ และเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและวินิตา ดิถียนต์ · ดูเพิ่มเติม »

วินทร์ เลียววาริณ

วินทร์ เลียววาริณ (ชื่อเกิด สมชัย เลี้ยววาริณ) เกิดปี พ.ศ. 2499 ที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและวินทร์ เลียววาริณ · ดูเพิ่มเติม »

วีระ ธีรภัทร

วีระ ธีรภัทร (ใส่แว่น) วีระ ธีรภัทร นักจัดรายการวิทยุ นักเขียน คอลัมนิสต์ และพิธีกรชาวไทย ผู้มีลีลาและเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและวีระ ธีรภัทร · ดูเพิ่มเติม »

ศัลยา สุขะนิวัตติ์

ัลยา สุขะนิวัตติ์ เป็นนักเขียนบทละครโทรทัศน์ชาวไทยที่มีชื่อเสียงจากการเขียนบทโทรทัศน์ที่ได้รับความนิยมหลายเรื่อง ซึ่งบางเรื่องเป็นที่จับตามองของสังคมเป็นอย่างมากในช่วงที่ละครออกอากาศ ศัลยาเป็นผู้ที่มีความสนใจในวรรณกรรมและการอ่านตั้งแต่เด็ก สำเร็จการศึกษาจากคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เริ่มเขียนบทละครจากการชักชวนของไพรัช สังวริบุตร (ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ภาพยนตร์และละคร ปี พ.ศ. 2547) บทประพันธ์ที่ศัลยาได้มาเขียนเป็นบทโทรทัศน์ส่วนมากเป็นบทประพันธ์ที่มีชื่อเสียงซึ่งเธออ้างว่าเป็นเหตุผลที่ทำให้เธอเขียนได้ดี เธอยังมักเขียนละครอิงประวัติศาสตร์อีกด้วย ศัลยามีชื่อเสียงจากการเขียนบทละครเรื่อง คู่กรรม, นางทาส, สายโลหิต, ดอกส้มสีทองที่มีเนื้อหารุนแรงซึ่งสะท้อนปัญหาของสถาบันครอบครัว ศัลยาอ้างว่าตนมีรูปแบบการเขียนที่เคารพบทประพันธ์และชอบเขียน "ละครพีเรียด ละครชีวิต ละครครอบครัวที่บอกถึงความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว บอกให้รู้ถึงระเบียบของสังคม สอนให้รู้ถูกผิด เพราะสื่อละครเป็นสื่อที่มีอิทธิพลต่อผู้ชมมาก" นอกจากนี้ ศัลยา ยังได้มีโอกาสเป็นนักแสดงรับเชิญในละครอยู่บ้าง เช่น หนุ่มทิพย์ (2530), เหตุเกิดที่ สน. (2533), ริษยา (2534) และ รักของฟ้า (2544).

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและศัลยา สุขะนิวัตติ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลา โคมฉาย

วินัย บุญช่วย นามปากกา ศิลา โคมฉาย วันเกิดวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 ที่อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช การศึกษาจบมัธยมศึกษาตอนปลาย จาก โรงเรียนวัดนวลนรดิศ ก่อนจะมาเรียนต่อที่เรียนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรามคำแหง ซึ่งเป็นช่วงเกิดเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ด้วยความเป็นหนอนหนังสือ ประกอบกับมีโอกาสได้คลุกคลีอยู่ในแวดวงของนักอ่านนักเขียน ทำให้เขาเริ่มมีงานเขียนตั้งแต่เรียนอยู่ชั้นมัธยมด้วยเรื่องสั้น ก่อนจะมีผลงานทั้ง นวนิยาย ความเรียง สารคดี รายงาน และบทความ เริ่มต้นเขียนหนังสือโดยใช้ชื่อสกุลจริง "วินัย บุญช่วย" แต่พอหลัง 6 ตุลา กลับมาจากป่า ก็เขียนเรื่องสั้นมาจำนวนหนึ่ง 6-7 เรื่อง เอาไปทิ้งไว้ที่มติชน เอาไปฝากเสถียร จันทิมาธร บรรณาธิการเครือมติชนในขณะนั้น แล้วเรื่องสั้นก็ได้ลงหนังสือ "เฟื่องนคร" ขณะนั้นไม่มีนามปากกา บรรณาธิการเสถียรก็ใส่ชื่อ "ศิลา โคมฉาย" นักเขียนที่เขาชอบมีหลายคน แต่ส่วนใหญ่ชอบงานทางเยอรมนีและฝรั่งเศส เขาไม่ค่อยชอบงานด้านฝั่งสหรัฐอเมริกาสักเท่าไหร่ นักเขียนที่ชอบก็มีอาลแบร์ กามูว์, หลู่ ซฺวิ่น, เลโอ ตอลสตอย, ญิบรอน เคาะลีล ญิบรอน ส่วนนักเขียนไทยชอบอ่านงานของลาว คำหอม, ศรีบูรพา, นิคม รายยวา ศิลา โคมฉาย เคยอยู่ในวงการสื่อมวลชน ทำให้เขาเขียนหนังสือได้หลากหลาย ตั้งแต่งานวิจารณ์กีฬา วิจารณ์เพลง วิจารณ์หนัง ซึ่งก็จะใช้นามปากกาอื่น ๆ ไปตามสาระของคอลัมน.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและศิลา โคมฉาย · ดูเพิ่มเติม »

ศุ บุญเลี้ยง

ญเลี้ยง มีชื่อเล่นคือ จุ้ย ศิลปิน นักเขียน เจ้าของธุรกิจร้านอิ่มอุ่น ชาวเกาะสมุย เป็นที่รู้จักจากการเป็นสมาชิกวงเฉลียง กลุ่มตัวโน้ตอารมณ์ดี ที่สร้างตำนานของประเทศไทย หลังจากแยกตัวออกจากวงเฉลียงยังคงมีผลงานเพลงเดี่ยวออกมาหลายผลงาน เช่น ภูเขา-ทะเล อิ่มอุ่น และงานเขียนในชื่อตัวเองและนามปากกา สมจุ้ย เจตนาน่าสนุก ผันตนเองจากนิสิต คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการทำให้วงเฉลียงกลับมารวมตัวกันอีกครั้งหนึ่งโดยการเข้าไปขอบทเพลง เที่ยวละไม จาก ประภาส ชลศรานนท์ เป็นต้นกำเนิดของการรวมตัวกันของเฉลียงในยุคที่สอง ในชุด อื่นๆ อีกมากมาย โดยที่ชื่อ "ศุ บุญเลี้ยง" นั้นมาจากการที่นั่งรถเมล์ไปที่ห้าแยกลาดพร้าว แล้วพบป้ายแผ่นหนึ่งที่ติดอยู่ที่ห้างเซ็นทรัลลาดพร้าว มีคำว่า "ศุ" เห็นว่าเพราะดี เลยใช้เป็นชื่อตัวตราบจนปัจจุบัน (ป้ายแผ่นนั้น เขียนเต็ม ๆ ว่า "ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ ปิด 4 ทุ่ม").

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและศุ บุญเลี้ยง · ดูเพิ่มเติม »

ส.พลายน้อย

.พลายน้อย เป็นนามปากกาที่รู้จักกันดีและใช้อย่างแพร่หลายของ สมบัติ พลายน้อย เป็นนักเขียนสารคดีเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย วัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ประเพณี สังคมไทยด้านต่าง ๆ ได้รับยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติสาขาวรรณศิลป์ ในปี พ.ศ. 2553 เกิดเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2472 ที่อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนประชาบาล วัดประดู่ทรงธรรม มัธยมศึกษาที่โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย และประกาศนียบัตรวิชาครูพิเศษประถม (พ.ป.) รับราชการครั้งแรกเป็นเสมียนสรรพากรและเปลี่ยนอาชีพไปรับราชการครูเป็นเวลา 5 ปี มีความสนใจในงานด้านการเขียนมาตั้งแต่ครั้งเรียนชั้นมัธยมศึกษา โดยได้สมัครเรียนวิชาการประพันธ์และการหนังสือพิมพ์ทางไปรษณีย์ของ อาจารย์เปลื้อง ณ นคร จึงงานเริ่มเขียนอย่างจริงจังนับแต่นั้นเป็นต้นมา ต่อมาได้รับการชวนจาก อ.เปลื้อง มาทำงานด้านวารสารของกระทรวงศึกษาธิการหลายฉบับ มีผลงานเขียน ประเภทบทความ บทละคร สารคดี และเรื่องสั้นพิมพ์เผยแพร่ในวารสารต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก ขณะเดียวกันก็ได้จัดรายการวิทยุศึกษาไปพร้อม ๆ กันด้วย เคยดำรงตำแหน่งหัวหน้างานโสตทัศนูปกรณ์และเอกสารสิ่งพิมพ์ กองส่งเสริมและเผยแพร่วัฒนธรรม สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ และเป็นบรรณาธิการวารสารวัฒนธรรมไทย พ.ศ. 2528 ก่อนที่จะเกษียณอายุราชการ 2 ปี ได้ลาออกจากราชการ เพื่อเขียนหนังสือแต่เพียงอย่างเดียว ถือเป็นนักเขียนที่มีความสามารถเขียนหนังสือได้หลายประเภท ปัจจุบันมีงานเขียนรวมเล่มแล้ว ประมาณ 100 เล่ม ส่วนใหญ่เป็นงานเขียนประเภทสารคดี นิทาน ชีวประวัติบุคคลสำคัญ สารานุกรม และปกิณกะอื่น ๆ จำนวนมาก อาทิ เจ้าพระยาวิชาเยนทร์, พระเจ้าตากสินมหาราชแห่งชาติไทย, สารคดีน่ารู้สารพัดนึก, เล่าเรื่องบางกอก, เล่าเรื่องพม่ารามัญ, สารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย เป็นต้น ชีวิตครอบครัว สมรสกับนางจงกล พลายน้อย มีบุตรด้วยกันทั้งหมด 1 คน.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและส.พลายน้อย · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย กรุสวนสมบัติ

นายสมชาย กรุสวนสมบัติ เกิดวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2484 ที่จังหวัดนครสวรรค์ คอลัมนิสต์ชื่อดัง เจ้าของนามปากกา “ซูม” และ “จ่าแฉ่ง” ในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ นักจัดรายการวิทยุ สปอร์ต เรดิโอ อดีตประธานสภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ สมัยที่ 2.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและสมชาย กรุสวนสมบัติ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สัณหชัย ผลชีวิน

นายสัณหชัย ผลชีวิน หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ช้าง พีอาร์ มีชื่อเล่นว่า ช้าง ใช้ชื่อในโลกไซเบอร์ว่า "แฟนมวยฟิลิปปินส์" ----> ใครเป็นคนลงข้อมูล มั่วมากครับ ช้างไม่ใช่แฟนมวยฟิลิปปินส์เป็นหลานชายของ "โค้ชหรั่ง" ชาญวิทย์ ผลชีวิน อดีตหัวหน้าโค้ชฟุตบอลทีมชาติไทย จบการศึกษาจากคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปัจจุบันทำงานเป็นผู้สื่อข่าว และคอลัมนิสต์ของบริษัท สยามสปอร์ต ซินดิเคท จำกัด (มหาชน) โดยเป็นสื่อมวลชนในสายมวย โดยเฉพาะมวยสากล มีผลงานในหนังสือพิมพ์สยามกีฬารายวันและมวยสยามรายวัน และเป็นเจ้าของคอลัมน์ "มวยโลกแฟนคลับ" ในนิตยสารมวยโลก มาตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2539 ปัจจุบัน ยังทำหน้าที่เป็นผู้บรรยายการชกมวยสากลอาชีพ เฉพาะนัดที่มีการถ่ายทอดของนักมวยไทย โดยเป็น Commentator คือผู้ให้รายละเอียดและข้อมูลการชกในแต่ครั้ง ชีวิตส่วนตัวนอกจากชื่นชอบมวยสากลแล้ว ยังชอบฟุตบอล โดยมีทีมที่ชอบคือ ท็อตแน่ม ฮอตสเปอร์ และเคยเข้าแข่งขันในรายการแฟนพันธุ์แท้ ตอน มวยโลก ในปี พ.ศ. 2546 ด้วย แต่ตกรอบ 2.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและสัณหชัย ผลชีวิน · ดูเพิ่มเติม »

สันติ เศวตวิมล

ันติ เศวตวิมล หรือรู้จักกันในนามปากกา แม่ช้อย นางรำ เป็นนักเขียน นักหนังสือพิมพ์ พิธีกรชาวไท.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและสันติ เศวตวิมล · ดูเพิ่มเติม »

สาธิต กรีกุล

ต กรีกุล สาธิต กรีกุล หรือที่รู้จักดีในชื่อ บิ๊กจ๊ะ เกิดเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและสาธิต กรีกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุริยัน ศักดิ์ไธสง

ริยัน ศักดิ์ไธสง นักเขียนที่มีผลงาน เส้นทางมาเฟีย ที่ถูกดัดแปลงเป็นภาพยนตร์เรื่อง 2499 อันธพาลครองเมือง หรือรู้จักในนาม เปี๊ยก วิสุทธิ์กษัตริย์ ในภาพยนตร์ 2499 อันธพาลครองเมือง.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและสุริยัน ศักดิ์ไธสง · ดูเพิ่มเติม »

สุลักษณ์ ศิวรักษ์

150x150px สุลักษณ์ ศิวรักษ์ (เกิด 27 มีนาคม พ.ศ. 2475) เจ้าของนามปากก.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและสุลักษณ์ ศิวรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุวัฒน์ วรดิลก

วัฒน์ วรดิลก (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2466 - 15 เมษายน พ.ศ. 2550) (นามสกุลเดิม “พรหมบุตร”) บุตรของ ขุนวรกิจอักษร กับ นางจำรัส (ชีวกานนท์) เป็นนักเขียนเรื่องสั้น นวนิยาย นักหนังสือพิมพ์ และได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ ใช้นามปากกาหลายชื่อ ที่รู้จักกันดีคือ "รพีพร" มีพี่น้องร่วมบิดามารดา คือ ทวีป วรดิลก ซึ่งเป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงเช่นกัน.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและสุวัฒน์ วรดิลก · ดูเพิ่มเติม »

สุทธิชัย หยุ่น

ทธิชัย หยุ่น สุทธิชัย แซ่หยุ่น หรือที่รู้จักทั่วไปว่า สุทธิชัย หยุ่น เกิดเมื่อวันที่ เป็นกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาที่ปรึกษากองบรรณาธิการเครือเนชั่น อดีตประธานกรรมการ บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน), บรรณาธิการอำนวยการ เครือเนชั่น, นักหนังสือพิมพ์, นักเขียน, ผู้ร่วมก่อตั้ง หนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น, กรุงเทพธุรกิจ, สถานีโทรทัศน์ไอทีวี, เนชั่นทีวี และประธานที่ปรึกษามหาวิทยาลัยเนชั่น มีผลงาน คอลัมน์ กาแฟดำ ในหน้า 2 หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ ทุกวันจันทร์ถึงวันศุกร์, รายการโทรทัศน์ ชีพจรโลก และ ชีพจรโลกวันนี้ ทางเนชั่นแชนแนล.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและสุทธิชัย หยุ่น · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ ลิ้มทองกุล

นธิ ลิ้มทองกุล (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 —) เป็น ประธานที่ปรึกษาสำนักพิมพ์บ้านพระอาทิตย์ นักหนังสือพิมพ์ นักเขียน ผู้ก่อตั้งและเจ้าของหนังสือพิมพ์ในเครือผู้จัดการ ผู้ดำเนินรายการกลางแจ้ง เมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร ที่ปรึกษาสำนักพิมพ์ซุปเปอร์บันเทิง อดีตผู้ดำเนินรายการเมืองไทยรายสัปดาห์ ทางช่อง 9 อสมท. และอดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ เดิมเขาเคยเป็นผู้สนับสนุนอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร อย่างแข็งขัน แต่ต่อมาเป็นผู้นำขบวนการต่อต้านทักษิณ ช่วงต้น..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและสนธิ ลิ้มทองกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ภาพนี้ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2487 ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 19 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่สหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ. 2448 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย 4 สมัย ผู้ร่วมก่อตั้งและอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ก่อนเข้าสู่วงการเมือง เคยเป็นผู้พิพากษา และเคยดำรงตำแหน่ง เอกอัครราชทูตไทย ประจำสหรัฐอเมริกา มาก่อน ม.ร.ว.เสนีย์ เกิดที่ค่ายทหาร ในจังหวัดนครสวรรค์ เวลาใกล้รุ่ง เป็นโอรสใน พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ กับหม่อมแดง (บุนนาค) ชื่อ "เสนีย์" หมายถึง ทหาร หรือ เสนาบดี ได้รับพระราชทานนามนี้จากสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สันนิษฐานว่า เนื่องจากเสด็จพ่อ (พระองค์เจ้าคำรบ) เป็นทหาร ชีวิตครอบครัวสมรสกับ ท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช มีบุตรชาย-หญิง 3 คน บุตรชาย ได้แก่ ม.ล.เสรี ปราโมช, ม.ล.อัศนี ปราโมช และ บุตรี ได้แก่ ม.ล.นียนา ปราโมช ม.ร.ว.เสนีย์ มีน้องชายที่มีชื่อเสียงคู่กันคือ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี ที่มีความสามารถในหลายสาขา โดยสื่อมวลชนนิยมเรียก ท่านทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ยังมีพี่สาวคือ ม.ร.ว.บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พล.ต.อ.พระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) ม.ร.ว เสนีย์ เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่อายุน้อยที่สุดในประศาสตร์การเมืองไทย ด้วยอายุขณะรับตำแหน่ง คือ 40 ปี.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์

หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์ (ราชสกุลเดิม: กุญชร; 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2448 — 17 มกราคม พ.ศ. 2506) เป็นนักเขียนหญิงชาวไทย เจ้าของนามปากกา ดอกไม้สด ภริยาของสุกิจ นิมมานเหมินท์ ราชบัณฑิตและนักการเมืองชาวไทย และเธอยังเป็นพี่สาวของหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ หรือนามปากกาว่า บุญเหลือ ซึ่งเป็นนักเขียนเช่นกัน.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและหม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี

หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี (2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2465) เป็นพระโอรสในพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ กับหม่อมเจ้าพรพิมลพรรณ รัชนี เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 18 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและหม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี

หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี ประสูติเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2453 เป็นโอรสลำดับที่สามใน พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ กับ หม่อมพัฒน์ (คุณพัฒน์ บุนนาค บุตรีเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ และท่านผู้หญิงเปลี่ยน) ทรงมีบุตรชายคนโตคือ หม่อมราชวงศ์แซมแจ่มจรัส รัชนี หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ทรงจบการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ทรงรับราชการกระทรวงการคลัง และทรงมีความรอบรู้ทั้งด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี ทรงเป็นอาจารย์พิเศษประจำคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์มีความสามารถในด้านกวี ใช้นามปากกาว่า ". ณ. ประมวญมารค" ทรงได้รับการยกย่องเปรียบเทียบกับกวีร่วมสมัย คือ อังคาร กัลยาณพงศ์ โดยเรียกหม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ว่า "ท่านจันทร์" และเรียกอังคาร กัลยาณพงศ์ ล้อว่า "ท่านอังคาร" เพื่อให้คล้องจองกัน ทรงสนิทสนมคุ้นเคยกับกลุ่มศิลปินและนักเขียน เช่น เฟื้อ หริพิทักษ์, รงค์ วงษ์สวรรค์, สุวรรณี สุคนธา, หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์, ประหยัด พงษ์ดำ, สาโรจน์ จารักษ์ โดยมักพบปะสังสรรค์กันที่ร้านอาหารมิ่งหลี ใกล้มหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งหนึ่งเคยมีผู้บันทึกว่า ทรงเล่นโคลงสดกับอังคาร กัลยาณพงศ์ ความว่า http://www.arunsawat.com/board/index.php?topic.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและหม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี · ดูเพิ่มเติม »

หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)

ลตรี หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ, ชื่อเดิม กิมเหลียง วัฒนปฤดา 金良 แต่มิได้มีเชื้อจีนแต่ประการใด) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ นักคิด นักพูด นักเขียนคนสำคัญของไทย บุตรนายอิน และนางคล้าย เกิดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2441 ที่จังหวัดอุทัยธานี บิดามารดามีอาชีพค้าขาย อายุ 8 ขวบเข้าเรียนที่โรงเรียนวัดขวิด ตำบลสะแกกรัง เมื่อจบประถมศึกษา บิดาได้นำไปฝากให้บวชสามเณรอยู่กับพระมหาชุ้ย วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เมื่อท่านอายุ 13 ปี ในปี พ.ศ. 2453 ท่านได้ศึกษานักธรรมและบาลีจนจบนักธรรมเอกและเปรียญ 5 ประโยค โดยสอบได้เปรียญ 5 ประโยคเมื่ออายุ 19 ปีใน..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและหลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ) · ดูเพิ่มเติม »

หงส์ผงาดฟ้า

หงส์ผงาดฟ้า (Lu Xiao Feng Xi Lie) เป็นชุดนวนิยายกำลังภายในโดยการประพันธ์ของโกวเล้ง เขียนขึ้นในปี..1976 - 1981 เป็นเรื่องที่ประสบความสำเร็จเป็นอันดับต้นๆ ของนวนิยายทั้งหมดของโกวเล้งเลยก็ว่าได้ โดยผู้อ่านบางคนยกให้เป็นผลงานที่ดีที่สุดของโกวเล้ง ชุดนี้เป็นนิยายกำลังภายในแนวสืบสวน โดยแบ่งพฤติกรรม และเรื่องราวของตัวเอกเป็น 7 ตอน ดังนี้.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและหงส์ผงาดฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

อบ ไชยวสุ

อบ ไชยวสุ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2444 – 2 ตุลาคม พ.ศ. 2540) ครูสอนภาษาไทย นักหนังสือพิมพ์ นักเขียนเรื่องสั้นแนวชวนหัว เจ้าของนามปากกา ฮิวเมอริสต์ และ L.ก.. ได้รับการยกย่องเป็นผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่น รางวัลพระเกี้ยวทองคำ และรับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (หัสคดี) ประจำปีพุทธศักราช 2529 อบ ไชยวสุ เกิดที่บ้านตำบลคลองสำเหร่ ฝั่งธนบุรี เป็นบุตรคนโตในจำนวน 8 คนของหลวงรัตนเทพีพลารักษ์ (เชย) กับนางเที่ยง ไชยวสุ บิดาเคยรับราชการเป็นพระพี่เลี้ยงสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดชนะสงคราม โรงเรียนวัดราชบพิธ โรงเรียนเทพศิรินทร์ แล้วรับราชการเป็นครูสอนวิชาภาษาไทย จากนั้นทำงานเป็นบรรณาธิการ นักหนังสือพิมพ์ นักภาษาและนักประพันธ์ เป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มนักประพันธ์ชื่อคณะ “สุภาพบุรุษ” เมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและอบ ไชยวสุ · ดูเพิ่มเติม »

อยากให้เรื่องนี้ไม่มีโชคร้าย

อยากให้เรื่องนี้ไม่มีโชคร้าย (A Series of Unfortunate Events) เป็นหนังสือชุดสำหรับเด็ก เขียนโดยแดเนียล แฮนด์เลอร์ ภายใต้นามปากกาเลโมนี สนิกเก็ต และวาดภาพประกอบโดยเบร็ต เฮลควิสท์ ปัจจุบัน ในชุดหนังสือนี้ มีอยู่ด้วยกันสิบสามเล่ม โดยแต่ล่ะเล่ม มีสิบสามบท และเล่มพิเศษ เช่น อัตชีวประวัติไม่ธรรมดา เล่มแรกของชุดลางร้ายเริ่มปรากฏ นั้น ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2545 โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ และยังมีภาพยนตร์ ที่สร้างโดยใช้เนื่อหาของหนังสือสามเล่มแรก ซึ่งเข้าฉายในวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและอยากให้เรื่องนี้ไม่มีโชคร้าย · ดูเพิ่มเติม »

อัญชลี วิวัธนชัย

อัญชลี วิวัธนชัย หรือที่รู้จักกันในนามปากกา อัญชัน (26 กันยายน พ.ศ. 2495 -) เกิดที่ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เดิมชื่อ อัญชลี สุธรรมพิทักษ์ สมรสกับ อนุสรณ์ วิวัธนชัย เมื่อ..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและอัญชลี วิวัธนชัย · ดูเพิ่มเติม »

อัญชัน

อัญชัน (L.) เป็นไม้เถา ลำต้นมีขนนุ่ม มีถิ่นกำเนิดในอเมริกาใต้ ปลูกได้ทั่วไปในเขตร้อน มีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกคือแดงชัน (เชียงใหม่) และเอื้องชัน,เองชัญ (เหนือ)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและอัญชัน · ดูเพิ่มเติม »

อัศนี พลจันทร

อัศนี พลจันทร หรือในนามปากกาว่า นายผี และ สหายไฟ หรือ ลุงไฟ (15 กันยายน 2461 — 28 พฤศจิกายน 2530: อายุ 69 ปี) นักประพันธ์และนักปฏิวัติชาวไทย รู้จักกันในฐานะผู้แต่งเพลงเดือนเพ็ญ (คิดถึงบ้าน).

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและอัศนี พลจันทร · ดูเพิ่มเติม »

อุ้ยเสี่ยวป้อ

อุ้ยเสี่ยวป้อ เริ่มนำลงในหนังสือพิมพ์หมิงเป้า เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม..1969 จวบกระทั่ง วันที่ 23 กันยายน..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและอุ้ยเสี่ยวป้อ · ดูเพิ่มเติม »

อดิสรณ์ พึ่งยา

อดิสรณ์ พึ่งยา (ซ้าย) กับ ปิยะพงษ์ ผิวอ่อน อดิสรณ์ พึ่งยา หรือที่รู้จักกันดีในนามปากกาว่า JACKIE (แจ๊คกี้) เกิดเมื่อวันที่ ที่โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพฯ ใช้ชีวิตจนถึง7ขวบจึงกลับไปอยู่ บ้านเกิดของบิดามารดาที่ บ้านโพธิ์ ต.บ้านกุ่ม อ.สองพี่น้อง.สุพรรณบุรี จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนสองพี่น้องวิทยา ปริญญาตรีจากคณะครุศาสตร์ (เอกพลศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ. 2535 จากนั้นจึงเริ่มทำงานที่สยามสปอร์ตซินดิเคท ด้วยการแปลข่าวภาษาอังกฤษจากสำนักข่าวรอยเตอร์และเอเอฟพี โดยใช้นามปากกาว่า JACKIE (มาจากชื่อของแจ๊คกี้ ชาร์ลตัน อดีตนักฟุตบอลทีมชาติอังกฤษและลีดส์ ยูไนเต็ด) รวมทั้งเขียนคอลัมน์เกี่ยวกับฟุตบอลสเปนด้วย ซึ่งยังไม่เป็นที่คุ้นเคยของคนไทยในขณะนั้น ซึ่งทางสยามสปอร์ตฯต้นสังกัดได้ส่งไปเรียนภาษาสเปนที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จนกระทั่งผ่านไป 4 ปี ทางต้นสังกัดได้ส่งไปเป็นผู้สื่อข่าวประจำกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เป็นเวลา 2 ปี ตามนโยบายของบริษัท โดยทำหน้าที่เป็นผู้สื่อข่าวตามติดวงการฟุตบอลอังกฤษอย่างใกล้ชิด จากนั้นจึงทำหน้าที่ผู้พากย์ที่UBC ก่อนเปลี่ยนTrue Visions ในปี1998 บรรยายคู่กับ ไพโรจน์ กิ่งแก้ว ก่อนเป็นวีรศักดิ์ นิลกลัด ปัจจุบัน อดิสรณ์ พึ่งยา มีตำแหน่งเป็นรองกรรมการผู้จัดการ บริษัท สยามสปอร์ต บุ๊คส์ จำกัด ในเครือสยามสปอร์ตฯ เป็นผู้ประกาศข่าวกีฬาของทางช่อง 7 ผู้พากษ์ฟุตบอลทางช่อง 7, พิธีกรรายการเจาะสนาม,รายการสปอร์ตแฟนแฟนซ่า กีฬามัน ร่วมกับ บอบู๋ และอีกหลายรายการเกี่ยวกับกีฬา ปัจจุบันเป็นผู้วิเคราะห์ฟุตบอลพรีเมียร์ลีก ทุกวันเสาร์ ช่องbeIN Sport1 โดยมีทีมฟุตบอลที่เชียร์คือ ลิเวอร์พูล.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและอดิสรณ์ พึ่งยา · ดูเพิ่มเติม »

ฮอบบิท (หนังสือ)

อะฮอบบิท (ชื่อภาษาอังกฤษ "The Hobbit" หรืออีกชื่อหนึ่งว่า "There and Back Again") เป็นนิยายแฟนตาซีสำหรับเด็ก ประพันธ์โดยเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ในลักษณะกึ่งเทพนิยาย โทลคีนเขียนเรื่องนี้ในราวช่วงปลายทศวรรษที่ 1920 โดยเริ่มแรกเขาเพียงใช้เล่าเป็นนิทานสนุกๆ ให้ลูกฟัง กับใช้เล่นคำในภาษาต่างๆ ที่เขาสนใจ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษเก่า นิยายเรื่องนี้ได้ตีพิมพ์ครั้งแรกในประเทศอังกฤษ เมื่อวันที่ 21 กันยายน..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและฮอบบิท (หนังสือ) · ดูเพิ่มเติม »

จักรภพ เพ็ญแข

ักรภพ เพ็ญแข อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลสมัคร สุนทรเวช โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร อดีตผู้บริหารสถานีโทรทัศน์พีทีวี อดีตผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ อดีตนักวิเคราะห์ข่าวต่างประเทศที่มีชื่อเสียง และเป็นผู้เปลี่ยนแปลงการบริหารงานสถานีโทรทัศน์แห่งชาติของสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จากเดิมคือ Television of Thailand (Channel 11) ไปสู่ National Broadcasting Services of Thailand.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและจักรภพ เพ็ญแข · ดูเพิ่มเติม »

จิตร ภูมิศักดิ์

ตร ภูมิศักดิ์ (25 กันยายน พ.ศ. 2473 — 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2509) เป็นนักคิดด้านการเมือง นักประวัติศาสตร์ และนักภาษาศาสตร์ นับเป็นนักปราชญ์และนักปฏิวัติทางความคิดและวิชาการคนสำคัญของประเทศไทย จิตรเป็นนักวิชาการคนแรกๆ ที่กล้าถกเถียงและคัดค้านปราชญ์คนสำคัญ ด้วยวิธีคิดที่มีเหตุผลและลุ่มลึก มีความโดดเด่นจากผลงานการค้นคว้าทางวิชาการที่แปลกใหม่และลึกซึ้ง ขณะเดียวกันจิตรยังมีความคิดต่อต้านระบบเผด็จการและการใช้อำนาจกดขี่ของชนชั้นสูงมาโดยตลอด, จากโซ่ตรวนถึงความตายวาระสุดท้ายแห่งชีวิตจิตร ภูมิศักดิ์ จิตรเสียชีวิตในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและจิตร ภูมิศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทรงกลด บางยี่ขัน

ทรงกลด บางยี่ขัน อดีตบรรณาธิการนิตยสาร a day ปัจจุบันเป็นบรรณาธิการบริหารและผู้ก่อตั้งนิตยสารออนไลน์ชื่อ The Cloud และอีกบทบาทหนึ่งคือการเป็นเจ้าของพ็อกเก็ตบุ๊ก ซึ่งมีกลิ่นอายของความอุ่น เหงา และโรแมนติก ถึง 4 เล่ม ทรงกลดเริ่นต้นในถนนนักเขียนจากการชักชวนของ อธิคม คุณาวุฒิ บรรณาธิการ Section เสาร์สวัสดี หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ (ในสมัยนั้น) ซึ่งเห็นฝีมือจากสารคดีท่องเที่ยวเรื่อง "โปรดอ่านใต้แสงเทียน เพราะผมเขียนใต้แสงดาว" ที่ทรงกลดส่งมาให้พิจารณา และหลังจากนั้นก็ถูก วงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์ ทาบทามให้มาทำงานที่นิตยสาร a day ตลอด 2 ปีกว่าที่เขียนความเรียงใน เสาร์สวัสดี นั้นก็ถูกคัดเลือก มาถึง 40 เรื่อง เพื่อนำไปรวมเล่มในพ็อกเก็ตบุ๊กชื่อ "นายเท้าซ้าย เด็กชายเท้าขวา" ที่หน้าปกหนังสือโปรยไว้ว่า หวานแบบเหงาๆ เศร้าแบบอุ่นๆ แล้วความช่างคิดของทรงกลดนั้นยังส่งผ่านมายังชื่อตอนของแต่ละความเรียง อย่างคมคาย เช่น โทรศัพท์ร้อยปี ไปรษณีย์ร้อยชาติ, ไม่มีสัญญาณตอบรัก, ทะเลของคนว่ายน้ำไม่เป็น, ฝันตกไม่ทั่วฟ้า ฯลฯ ปีต่อมา ความเรียงเหงาๆ เศร้าแบบอุ่นๆ ระลอก 2 ของทรงกลดก็ถูกส่งตามมาในชื่อ "นั่งฝังตะวันตื่น ยืนฝังตะวันตก" ซึ่งคราวนี้ถูกรวบรวมมาจากนิตยสาร a day weekly ซึ่ง "นั่งฝังตะวันตื่น ยืนฝังตะวันตก" นี้เหมือนเป็นตอกย้ำและแสดงตัวตนที่ชัดเจนของ ทรงกลด มากยิ่งขึ้นที่อยู่ในรูปแบบของภาษาที่เล่นที่จริงไม่เคร่งครัด แต่ถ้าอ่านดูก็จะรู้ว่าผ่านการคิดอย่างหนักหน่วงมาแล้ว ซึ่งแสดงถึงความช่างสังเกต ความละเอียดและละเมียดในการคิดค้นประเด็น และขยันหาข้อมูลมาสนับสนุนในงานเขียนของตัวเอง (อธิคม คุณาวุฒิ) "สองเงาในเกาหลี" ผลงานพ็อกเก็ตบุ๊กที่โปรยปกบอกไว้ว่า เป็นบันทึกการเดินทางของชายหญิงแปลกหน้าที่บังเอิญมาร่วมทางด้วยกันในแดนโสม เป็นการฉีกแนวความเรียงแบบเดิมของทรงกลด ซึ่งคราวนี้มาในรูปแบบกึ่งนิยาย กึ่งบันทึก แต่ยังคงชั้นเชิงในด้านภาษาที่ปะปนระหว่างความขี้เล่นแต่จริงจังของคนเขียนเอาไว้อย่างเต็มเปี่ยม ทั้งยังมีความโรแมนติกที่ทรงกลดได้แสดงออกมาให้เห็นในรูปแบบความเรียงอุ่นๆ ชุดนี้ด้วย "ดาวหางเหนือทางรถไฟ" บันทึกการเดินทางเล่มโตล่าสุดจากทรงกลด ถูกกลั่นกรองขึ้นมาจากความทรงจำเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในรูปแบบที่เคยหมายมาดไว้ แต่กลับต้องพบเจอกับเรื่องราวไม่คาดฝันตลอดการเดินทาง ไฟล์:B0001.jpg ไฟล์:B0002.jpg ไฟล์:B0003.jpg ไฟล์:B0004.jpg หมวดหมู่:บุคคลจากคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หมวดหมู่:บรรณาธิการนิตยสาร หมวดหมู่:นักเขียนชาวไทย.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและทรงกลด บางยี่ขัน · ดูเพิ่มเติม »

ทวีป วรดิลก

ทวีป วรดิลก (25 สิงหาคม พ.ศ. 2471 - 8 เมษายน พ.ศ. 2548) นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ ได้รับการประกาศเกียรติคุณเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและทวีป วรดิลก · ดูเพิ่มเติม »

ทิพยวไลย์ ทวีพาณิชย์

ทิพยวไลย์ ทวีพาณิชย์ เป็นเจ้าของนามปากกา แพรณัฐ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง จากคณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และจบปริญญาโท การบริหารการศึกษา จากมหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตท ประเทศสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันเป็นผู้บริหารโรงเรียนอนุบาลปรางทิพย์ และปรางทิพย์เดย์แคร์ รับเป็นวิทยากรอบรมครูปฐมวัยให้กับสถาบันต่าง ๆ และเขียนคอลัมน์ตอบคำถามเกี่ยวกับเด็กปฐมวัยในนิตยสารรักลูก ทิพยวไลย์เป็นบุตรของทวีป ทวีพาณิชย์ อดีตรองปลัดกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม และนางปรางทิพย์ (ทองเจือ) ทวีพาณิชย์ ผู้ก่อตั้งและประธานคณะกรรมการบริหารโรงเรียนอนุบาลปรางทิพย์และปรางทิพย์เดย์แคร์ เริ่มมีผลงานนวนิยายเล่มแรกคือ เรื่อง มนตร์มรกต ตีพิมพ์เมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและทิพยวไลย์ ทวีพาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

ขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)

นวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์) (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2523) ผู้สร้างหนัง ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย ผู้ประพันธ์เพลงต่างๆ หลายเพลง ซึ่งรวมถึงเนื้อร้องเพลงชาติไทยฉบับแรกสุดในปี พ.ศ. 2475 และเป็นผู้แต่งหนังสือต่างๆ หลายเรื่อง เช่น หลักไทย ภูมิศาสตร์สุนทรภู่ เป็นต้น นับได้ว่าเป็นนักคิด นักค้นคว้า และนักเขียนสำคัญคนหนึ่งของ ยุครัตนโกสินทร.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์) · ดูเพิ่มเติม »

ณิชา ตันติเฉลิมสิน

ณารา ตันติเฉลิมสิน นักเขียนโรมานซ์ของสำนักพิมพ์พิมพ์คำ เกิดที่อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ จบปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยพายัพ สาขาการเงินการธนาคาร จบปริญญาโท สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยเซเวียร์ รัฐโอไฮโอ ประเทศสหรัฐอเมริกา หลังสำเร็จการศึกษาก็กลับมาทำงานที่บริษัทการเงินแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ จนกระทั่งเกิดภาวะฟองสบู่แตกจึงออกจากงานมาเป็นแม่บ้าน พร้อมกับช่วยสามีทำงานที่บริษัท ในตำแหน่งผู้จัดการฝ่ายบุคคล ปัจจุบันพำนักอยู่ที่ประเทศแคนาดา ทำงานเป็นนักเขียนเต็มเวล.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและณิชา ตันติเฉลิมสิน · ดูเพิ่มเติม »

ดาวตก ผีเสื้อ กระบี่

วตก ผีเสื้อ กระบี่ (流星‧蝴蝶‧劍; JING TIEN SI LIA - LIWSHING HOQTIE JIEN) เป็นนิยายกำลังภายในของโก้วเล้ง ได้รับแรงบันดาลใจมาจากเรื่องเดอะก็อดฟาเธอร์ ของ มาริโอ พูโซ ฉบับภาษาไทยเป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์สยามอินเตอร์บุ๊คส์ แปลโดย น.นพรัตน์ ความยาว 2 เล่ม.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและดาวตก ผีเสื้อ กระบี่ · ดูเพิ่มเติม »

คมทวน คันธนู

มทวน คันธนู เป็นนามปากกาของ ประสาทพร ภูสุศิลป์ธร เกิดเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2493 ที่ธนบุรี นักประพันธ์ชาวไทยที่ได้รับรางวัลซีไรต์ ควทวนสำเร็จการศึกษา ชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนดรุณวัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนวัดชิโนรส ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และปริญญาตรีจาก คณะวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อสำเร็จการศึกษาได้นำงานนิตยสาร และหนังสือพิมพ์หลายแห่ง อาทิ ปุถุชน ประชาธิปไตย มติชน ปัจจุบันเป็นนักเขียนอิสระ คมทวนเริ่มแต่งคำประพันธ์ขณะเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ลงในหนังสือของชมรมภาษาไทย เมื่อศึกษาอยู่ในมหาลัยธรรมศาสตร์ เขียนกลอนเปล่า, บทความและบมละครลงหนังสือวรรศิลป์ของมหาวิทยาลัย งานประพันธ์มีหลายประเภท เรื่องสั้น เช่น กบฏ:วรรณกรรมซาดิสม์ (พ.ศ. 2518) ซึ่งใช้นามปากกา โกสุม พิสัย แสงดาวแห่งศรัทธา (พ.ศ. 2521) ฯ บทกวี เช่น นาฏกรรมบนลานกว้าง (พ.ศ. 2524) กำศรวลโกสินทร์ (พ.ศ. 2525) นวนิยาย เช่น นายขนมต้ม คนกล้านอกตำนาน (พ.ศ. 2529) พราน (พ.ศ. 2534) ฯ บทกวีชุด นาฏกรรมบนลานกว้าง ได้รับรางวัล วรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (รางวัลซีไรต์) ประจำปีพุทธศักราช 2526.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและคมทวน คันธนู · ดูเพิ่มเติม »

คัคณางค์ มิ่งมิตรพัฒนะกุล

แพทย์หญิง คัคณางค์ มิ่งมิตรพัฒนะกุล เป็นสูตินรีแพทย์ และ นักเขียนนวนิยาย เจ้าของนามปากกา เก้าแต้ม ผลงานการที่สร้างชื่อเสียงคือนวนิยายชุด THE SIXTH SENSE สื่อรักสัมผัสหัวใจ และ คุณชายพุฒิภัทร จากนวนิยายชุดสุภาพบุรุษจุฑาเท.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและคัคณางค์ มิ่งมิตรพัฒนะกุล · ดูเพิ่มเติม »

คำพูน บุญทวี

ำพูน บุญทวี (26 มิถุนายน 2471 - 4 เมษายน 2546) นักเขียนสารคดี เรื่องสั้น และนวนิยายเกี่ยวกับชีวิตของชาวไทอีสานและชีวิตคนในคุก ได้รับรางวัลซีไรต์เป็นคนแรกของไทยเมื่อ พ.ศ. 2522 จากนวนิยายเรื่อง ลูกอีสาน และได้รับยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติสาขาวรรณศิลป์ประจำปี พ.ศ. 2544.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและคำพูน บุญทวี · ดูเพิ่มเติม »

คิเตเร็ทสึ เจ้าหนูนักประดิษฐ์

รอบครัวและเพื่อนของคิเทะ เออิจิ โปสเตอร์ คิเตเร็ทสึ เจ้าหนูนักประดิษฐ์ ของตอนที่ 6 การกลับมาของหุ่นนักรบซามูไร / ไฟฉายย่อส่วน คิเตเร็ทสึ เจ้าหนูนักประดิษฐ์ หรือ นักประดิษฐ์รุ่นจิ๋ว เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ผลงานของฟูจิโกะ เอฟ. ฟูจิโอะ ต่อมาได้ถูกนำไปสร้างเป็นอะนิเมะ เกม และละครโทรทัศน์ ในประเทศไทย คิเตเร็ทสึ เจ้าหนูนักประดิษฐ์ฉบับอะนิเมะ เคยออกอากาศทางช่อง 5 ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและคิเตเร็ทสึ เจ้าหนูนักประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานบุตรแห่งฮูริน

ตำนานบุตรแห่งฮูริน (The Children of Húrin) เป็นนวนิยายแฟนตาซีระดับสูงแบบมหากาพย์ที่บรรยายในลักษณะร้อยแก้ว ประพันธ์โดยเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ซึ่งได้เริ่มโครงเรื่องไว้ตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1910 และได้ปรับแก้เนื้อหาหลายต่อหลายครั้ง จนกระทั่งโทลคีนเสียชีวิตในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและตำนานบุตรแห่งฮูริน · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานแห่งซิลมาริล

ตำนานแห่งซิลมาริล (The Silmarillion) เป็นนิยายจินตนิมิต แต่งโดย เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน (ผู้แต่งเรื่อง เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์) เริ่มประพันธ์โครงเรื่องตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและตำนานแห่งซิลมาริล · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ

ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ (23 พฤศจิกายน 2474 -) นักเขียนนวนิยายที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งของไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี พ.ศ. 2540 เป็นเจ้าของนามปากกา พนมเทียน ผู้แต่ง เพชรพระอุมา ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ เกิดที่จังหวัดปัตตานี เป็นบุตรคนสุดท้องของขุนวิเศษสุวรรณภูมิ กับนางสะอาด รัตนกุล เริ่มเขียนนวนิยายเรื่องแรกตั้งแต่สมัยเรียนมัธยมที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เรื่อง “เห่าดง” ลงในสมุดอ่านกันเล่น เมื่อ พ.ศ. 2484 นอกจากเขียนนวนิยายแล้ว ฉัตรชัยยังเป็นคอลัมนิสต์เขียนบทความเกี่ยวกับอาวุธปืน ในหนังสือพิมพ์และนิตยสารบางฉบับด้วย โดยใช้ชื่อจริง และนามปากกา "ก้อง สุรกานต์".

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรารัศมิ์ แก้วมรกต

ฉัตรารัศมิ์ แก้วมรกต รู้จักกันในนามปากกา ร่มแก้ว (เกิด 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523) เป็นนักเขียนชาวไทย และเป็นอดีตนักข่าวเนชั่นทีวี เริ่มการศึกษาที่โรงเรียนเซนต์โยเซฟ ทิพวัล ต่อชั้นมัธยมต้นที่โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ก่อนจะย้ายมาเรียนชั้นมัธยมปลายที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และศึกษาต่อจนจบปริญญาตรีจากคณะนิเทศศาสตร์ เอกวารสารสนเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากนั้นในปี 2544 เข้าทำงานเป็นผู้สื่อข่าวที่หนังสือพิมพ์เดอะ เนชั่น รับผิดชอบข่าวทั่วไปและสกู๊ปข่าวด้านสังคม ก่อนจะย้ายมาทำงานด้านประชาสัมพันธ์ให้กับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จากนั้นในปี 2557 ได้สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรออกแบบตกแต่งภายในและผลิตภัณฑ์ จากสถาบันออกแบบนานาชาติชนาพัฒน์ หรือ CIDI ปัจจุบันทำงานด้านการออกแบบควบคู่ไปกับการเขียนหนังสือ.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและฉัตรารัศมิ์ แก้วมรกต · ดูเพิ่มเติม »

ซ่อนกลิ่น

ซ่อนกลิ่น มีชื่อตามภาษาท้องถิ่นว่า หอมไกล หรือ หอมไก๋ (ภาคเหนือ) ดอกเข่า (ภาคอีสาน)เป็นพรรณไม้ล้มลุกชนิดหนึ่ง ประเภทพืชใบเลี้ยงเดี่ยว มีดอกสีขาว กลิ่นหอม มีหัวอยู่ใต้ดิน อยู่ในวงศ์ Amaryllidaceae ส่วนชื่อสามัญคือ Tuberose มาจากภาษาละติน tuberosa มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้ มักขึ้นได้ดีในดินที่ระบายน้ำได้สะดวก สารสกัดของพืชชนิดนี้ใช้เป็นเครื่องหอมมาตั้งแต่สมัยโบราณ หมวดหมู่:วงศ์ย่อยศรนารายณ์ หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและซ่อนกลิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ป. อินทรปาลิต

ป.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและป. อินทรปาลิต · ดูเพิ่มเติม »

ประมูล อุณหธูป

ประมูล อุณหธูป นักเขียนที่ใช้นามปากกาว่า อุษณา เพลิงธรรม มีผลงานเด่น เช่น เรื่องของจัน ดารา ที่นำไปทำเป็นภาพยนตร์ ชื่อ จัน ดารา และมีผลงานเรื่องสั้นได้แก่ ชุดช่อประยงคุ์ และแกมเก็จ โดยการแปลเขามักใช้ชื่อจริงเรื่องแรก คือ โลกียชน ซึ่งแปลจากเรื่อง ตอร์ติล์ยาแฟลท ของจอห์น สไตน์เบ็ค หลังจากนั้นก็มีเรื่องแปลเรื่องอื่น ๆ ติดตามมา อีกหลายเล่ม เช่น ปีศาจสันนิวาส จอมทรนง แสนแค้น ซาลาโก้ เก็บเบี้ยในรังโจร โลงของอีส้า เป็นต้น.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและประมูล อุณหธูป · ดูเพิ่มเติม »

ประหยัด ศ. นาคะนาท

ลายเส้นโดย ประยูร จรรยาวงษ์ จากซ้าย ศุขเล็ก, ฮิวเมอร์ริสต์, คึกฤทธิ์ และ นายรำคาญ ประหยั.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและประหยัด ศ. นาคะนาท · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ปาร์แมน

ปาร์แมน เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ผลงานเขียนของ ฟูจิโกะ เอฟ. ฟูจิโอะ เรื่องราวของ มิตสึโอะ ซึวะ เด็กชายชาวโลกจอมซุ่มซ่าม ซึ่งถูกเลือกมาเป็นศิษย์ของซุปเปอร์แมนเพื่อมารับช่วงต่อ ซีรีส์แรกของปาร์แมนได้ถูกตีพิมพ์ในโชเนนซันเดย์และแมกกาซีนอื่นๆ ตั้งแต่ปี 1967 ถึง 1968 ซีรีส์ที่สองตีพิมพ์ในโคโระโคโระคอมมิก ตั้งแต่ปี 1983 ถึง 1986 ในซีรีส์ที่สองมีการเปลี่ยนแปลงในรายละเอียดหลายด้าน ตัวอย่างเช่น ชื่อของซุปเปอร์แมน ในประเทศญี่ปุ่น ปาร์แมนออกฉายครั้งแรกในปี 1967 ในรูปแบบขาวดำ และได้ถูกสร้างใหม่ในรูปแบบสีในปี 1983 และในปี 2003 และ 2004 ได้มีการสร้างปาร์แมนในรูปแบบภาพยนตร์ ในประเทศไทย ปาร์แมนเคยถูกนำเสนอฉายทาง ช่อง 9 อ.ส.ม.ท. เมื่อหลายปีก่อน ปัจจุบันกำลังฉายทางทรูสปาร์ค ช่อง 53 ของสถานีเคเบิลโทรทัศน์ทรูวิชั่นส์ และออกจำหน่ายในรูปแบบวีซีดี โดย โรสวิดีโอ.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและปาร์แมน · ดูเพิ่มเติม »

นามปากกา

นามปากกา หมายถึงนามแฝงของนักเขียน.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและนามปากกา · ดูเพิ่มเติม »

นายหนหวย

นายหนหวย เป็นนามปากกาของ ศิลปชัย ชาญเฉลิม นักเขียนสารคดีแนวการเมืองและประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียง นายหนหวย เกิดเมื่อวันที่ 11 มีนาคม..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและนายหนหวย · ดูเพิ่มเติม »

นินจาฮาโตริ

นินจาฮาโตริ เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น เรื่องและภาพโดยฟุจิโอะ ฟุจิโกะ (เอ.) เมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและนินจาฮาโตริ · ดูเพิ่มเติม »

นิ้วกลม

ราวุธ เฮ้งสวัสดิ์ หรือเป็นที่รู้จักในนามปากกาว่า นิ้วกลม (เกิด 15 ตุลาคม พ.ศ. 2521) เป็นครีเอทีฟโฆษณา ผู้กำกับโฆษณา นักเขียน พิธีกรชาวไทย มีผลงานสร้างชื่ออย่าง โตเกียวไม่มีขา ชื่อนิ้วกลม เริ่มจากตอนที่เขียนเริ่มใช้อินเทอร์เน็ต ในเว็บบอร์ดคณะ ที่เขามักชอบเข้าไปตั้งกระทู้เห็นคนอื่นมีนามจอ (นามปากกาที่ใช้ในจอคอมพิวเตอร์) อย่าง “ตัวกลม” จึงเริ่มมองดูนิ้วตัวเอง แล้วตั้งนามจอว่า "นิ้วกลม" และจึงใช้นามปากกานี้มาอย่างต่อเนื่อง.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและนิ้วกลม · ดูเพิ่มเติม »

แฟนตาซีระดับสูง

แฟนตาซีระดับสูง (High fantasy) เป็นสาขาย่อยแขนงหนึ่งของนวนิยายแฟนตาซี ซึ่งมีพื้นฐานบนโลกที่สร้างขึ้นใหม่หรือโลกคู่ขนาน งานแฟนตาซีประเภทนี้เกิดขึ้นจากผลงานแนวแฟนตาซีอันมีชื่อเสียงของนักเขียนหลายคน เช่น ผลงานของ ซี. เอส. ลิวอิส เป็นต้น โดยผลงานชิ้นสำคัญในงานแฟนตาซีแขนงนี้คือ ผลงานของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ผู้ประพันธ์ ลอร์ดออฟเดอะริงส์ ที่เผยแพร่ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 แม้ว่าแฟนตาซีแขนงนี้จะเป็นแขนงใหม่ ไม่เก่าแก่เหมือนอย่างแฟนตาซีดั้งเดิมที่ประกอบด้วยดาบและเวทมนตร์ (ซึ่งมีที่มาจากงานเขียนของ โรเบิร์ต อี. โฮเวิร์ด) แต่ก็ได้เป็นหนึ่งในสองสาขาของนวนิยายแฟนตาซีที่เป็นที่รู้จักกันกว้างขวางมากที่สุด หมวดหมู่:จินตนิมิต หมวดหมู่:คำศัพท์และเทคนิคทางวรรณกรรม.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและแฟนตาซีระดับสูง · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์

แฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นชุดนวนิยายแฟนตาซีจำนวนเจ็ดเล่ม ประพันธ์โดยนักเขียนชาวอังกฤษ เจ. เค. โรว์ลิง เป็นเรื่องราวการผจญภัยของพ่อมดวัยรุ่น แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเพื่อนสองคน รอน วีสลีย์ และเฮอร์ไมโอนี เกรนเจอร์ ซึ่งทั้งหมดเป็นนักเรียนโรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ โครงเรื่องหลักเกี่ยวกับภารกิจของแฮร์รี่ในการเอาชนะพ่อมดศาสตร์มืดที่ชั่วร้าย ลอร์ดโวลเดอมอร์ ผู้ที่ต้องการจะมีชีวิตอมตะ มีเป้าหมายเพื่อพิชิตมักเกิ้ล หรือประชากรที่ไม่มีอำนาจวิเศษ พิชิตโลกพ่อมดและทำลายทุกคนที่ขัดขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฮร์รี่ พอตเตอร์ หนังสือเล่มแรกในชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ วางจำหน่ายในฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและแฮร์รี่ พอตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แผนลวงสะท้านโลก

แผนลวงสะท้านโลก (Deception Point) เป็นนวนิยายแนววิทยาศาสตร์/ระทึกขวัญ ผลงานชิ้นที่ 3 ของแดน บราวน์ ผู้ประพันธ์ รหัสลับดาวินชี เนื้อเรื่องเกี่ยวข้องกับการค้นพบสิ่งมีชีวิตนอกโลก โดยมีการเมืองอยู่เบื้องหลัง.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและแผนลวงสะท้านโลก · ดูเพิ่มเติม »

แดน บราวน์

แดน บราวน์ (Dan Brown) นักเขียนชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงกว้างขวางจากผลงานนิยายสืบสวนสอบสวนอิงประวัติศาสตร์อย่าง รหัสลับดาวินชี.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและแดน บราวน์ · ดูเพิ่มเติม »

แปดเทพอสูรมังกรฟ้า

แปดเทพอสูรมังกรฟ้า (จีนแต้จิ๋ว: เทียนเล้งโป๊ยโป๋ว; จีนกลาง: 天龍八部เทียนหลงปาปู้; อังกฤษ: Demi-Gods and Semi-Devils) เป็นนิยายกำลังภายในของกิมย้ง จำลอง พิศนาคะ แปลเรื่องนี้ในชื่อ มังกรหยก ภาคพิเศษ เพื่อให้เข้าชุดกับมังกรหยก แต่ชื่อที่เป็นที่รู้จักมากกว่าคือ แปดเทพอสูรมังกรฟ้า ซึ่งเป็นฉบับแปลของ น. นพรัตน์ ซึ่งเรื่องนี้ความจริงน่าจะเรียกว่ามังกรหยกภาค 1 มากกว่าเพราะเรื่องนี้เป็นเรื่องราวก่อนยุคของก้วยเจ๋งซึ่งเป็นตัวเอกในมังกรหยกภาค 1 "แปดเทพอสูรมังกรฟ้า" เป็นผลงานลำดับที่ 11 ของกิมย้ง นับตั้งแต่ชื่อเรื่อง และที่มาของแรงบันดาลใจ แสดงความใฝ่ใจในพุทธศาสนาของเขา ชื่อภาษาจีน "เทียนหลงปาปู้" หมายถึง เทพและอมนุษย์ 8 จำพวก ในตำนานของพุทธศาสนานิกายมหายาน ซึ่งมีอิทธิฤทธิ์เฉพาะตนแตกต่างกันไป ประกอบด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและแปดเทพอสูรมังกรฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

โชติ แพร่พันธุ์

ติ แพร่พันธุ์ หรือเจ้าของนามปากกา “ยาขอบ” ที่มีผลงานเด่นคือ ผู้ชนะสิบทิศ และอีกหลากหลายเรื่องไม่ว่าจะเป็นผลงานเรื่องสั้นชื่อ “เพื่อนแพง” วรรณกรรมเรื่องยาวอย่าง สามก๊ก (ฉบับวณิพก) ความเรียงปกิณกะเรื่องสินในหมึก เป็นต้น.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและโชติ แพร่พันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

โชติศรี ท่าราบ

แพทย์หญิง โชติศรี ท่าราบ (6 ตุลาคม พ.ศ. 2462 - 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559) เป็นนักเขียนเรื่องสั้น นักวิจารณ์ดนตรีคลาสสิก นักวิจารณ์ภาพยนตร์ และละครโทรทัศน์ มีผลงานเขียนวิจารณ์ดนตรีในนิตยสาร "ชาวกรุง" ติดต่อกัน 14 ปี ได้รับการเชิดชูเกียรติ รางวัลนราธิป ประจำปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและโชติศรี ท่าราบ · ดูเพิ่มเติม »

โกวเล้ง

กวเล้ง (กู่หลง) มีชื่อจริงว่า เอี้ยวฮั้ว แซ่ฮิ้ม (สำเนียงแต้จิ๋ว หากออกเสียงเป็นสำเนียงจีนกลางจะอ่านว่า สยง เย่า หัว - สยงหรือฮิ้มเป็นแซ่ แปลตามตัวอักษรว่าหมี) เกิด เมื่อ พ.ศ. 2480 เสียชีวิต 21 กันยายน พ.ศ. 2528 ที่โรงพยาบาลซันจวิน กรุงไทเป ด้วยโรคตับแข็งเพราะการดื่มสุราหนัก จนมีฉายาว่า "ปีศาจสุรา" รวมอายุ 48 ปี มีภรรยา 3 คน มีบุตร 2 คน.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและโกวเล้ง · ดูเพิ่มเติม »

โดราเอมอน

ราเอมอน หรือ โดเรมอน (ドラえもん) (Doraemon) เป็น การ์ตูนญี่ปุ่น แต่งโดย ฟุจิโกะ ฟุจิโอะ เรื่องราวของหุ่นยนต์แมวชื่อโดราเอมอน โดยฟุจิโกะ ฟุจิโอะ ได้กล่าวว่าโดราเอมอนเกิดวันที่ 3 กันยายน มาจากอนาคตเพื่อกลับมาช่วยเหลือ โนบิตะ เด็กประถมจอมขี้เกียจด้วย ของวิเศษ จากอนาคต โดราเอมอนเริ่มตีพิมพ์ครั้งแรกในญี่ปุ่นเมื่อ เดือนมกราคม พ.ศ. 2513 โดย สำนักพิมพ์โชงะกุกัง โดยมีจำนวนตอนทั้งหมด 1,344 ตอน ต่อมาในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2540 โดราเอมอนได้รับรางวัลเทะซุกะ โอซามุ ครั้งที่ 1 ในสาขาการ์ตูนดีเด่น อีกทั้งยังได้รับเลือกจาก นิตยสารไทม์เอเชีย ให้เป็นหนึ่งในวีรบุรุษของ ทวีปเอเชีย จาก ประเทศญี่ปุ่น จากนั้นในวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2551 โดราเอมอนก็ได้รับเลือกให้เป็นทูตสันถวไมตรี เพื่อการประชาสัมพันธ์วัฒนธรรมของ ประเทศญี่ปุ่น นอกจากนี้บริษัท บันได ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าการ์ตูนที่มีชื่อเสียงของญี่ปุ่น ยังได้ผลิต หุ่นยนต์ โดราเอมอนของจริงขึ้นมาในชื่อว่า "My Doraemon" โดยออกวางจำหน่ายครั้งแรกในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2552 ใน ประเทศไทย โดราเอมอนฉบับ หนังสือการ์ตูน มีการตีพิมพ์โดยหลายสำนักพิมพ์ในช่วงก่อนที่จะมีลิขสิทธิ์การ์ตูน แต่ปัจจุบัน สำนักพิมพ์ เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์ เป็นผู้ได้รับลิขสิทธิ์ในการจัดพิมพ์แต่เพียงผู้เดียว ส่วนฉบับอะนิเมะ ออกอากาศครั้งแรก วันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2525 ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี ในปัจจุบัน และวางจำหน่ายในรูปแบบวีซีดี-ดีวีดี ลิขสิทธิ์โดยบริษัท โรส วิดีโอ .

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและโดราเอมอน · ดูเพิ่มเติม »

ไพศาล พืชมงคล

ล พืชมงคล ไพศาล พืชมงคล (9 ตุลาคม พ.ศ. 2490 —) เป็นกรรมการผู้ช่วยรองนายกรัฐมนตรี(พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) อุปนายกและเลขาธิการสมาคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-จีน อดีตที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ) นักกฎหมายชาวไทย อดีตสมาชิกวุฒิสภาและอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและไพศาล พืชมงคล · ดูเพิ่มเติม »

ไม้ เมืองเดิม

ก้าน พึ่งบุญ ณ อยุธยา (16 มิถุนายน พ.ศ. 2448 – 4 มีนาคม พ.ศ. 2485) นามปากกา ไม้ เมืองเดิม หรือ กฤษณะ พึ่งบุญ เป็นนักเขียนชาวไทย มีผลงานที่มีชื่อเสียงได้แก่ แผลเก่า, บางระจัน, แสนแสบ, ขุนศึก.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและไม้ เมืองเดิม · ดูเพิ่มเติม »

เพาะพุทธ จนฺทเสฏฺโฐ

มณะเพาะพุทธ จนฺทเสฏฺโฐ ขณะจัดรายการวิทยุ สมณะเพาะพุทธ จนฺทเสฏฺโฐ หรือที่รู้จักกันดีในนาม ท่านจันทร์ เป็นนักบวชชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2507 ที่ อ.โพธิ์ทอง จ.อ่างทอง ในครอบครัวชาวบ้านชนบททั่วไป โดยเป็นลูกคนที่ 6 ของพี่น้องทั้งหมด 8 คน มีความสนในในปรัชญาและธรรมะตั้งแต่เล็ก ขณะเรียนอยู่ได้พิมพ์หนังสื่อธรรมะชื่อ "แสงธรรม" ออกจำหน่ายแก่เพื่อน ๆ เล่มละ 1 บาท เมื่อจบ ม..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและเพาะพุทธ จนฺทเสฏฺโฐ · ดูเพิ่มเติม »

เก้าแต้ม

แมวเก้าแต้มจากสมุดข่อยโบราณ แมวเก้าแต้ม เป็นแมวสีขาว มีสีดำแต้มสีดำรวมเก้าแห่ง คือ บริเวณหัว คอ โคนขาหน้าและโคนขาหลังหลังทั้ง 4 ข้าง ไหล่ทั้ง 2 ข้าง และโคนหาง ลักษณะแต้มสีดำนี้จะเป็นวงกลมหรือปื้นเหลี่ยมก็ได้ ปลายหางเรียวยาว สีขาว ใครได้แมวเก้าแต้มไว้เลี้ยงดูก็จะทำให้การค้าขายรุ่งเรือง ร่ำรวย คนไทยโบราณมักเลี้ยงไว้ในพระราชสำนัก.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและเก้าแต้ม · ดูเพิ่มเติม »

เริงชัย ประภาษานนท์

ริงชัย ประภาษานนท์ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 -) เป็นนักเขียนชาวไทย เจ้าของนามปากกา "เศก ดุสิต" หรือ ". ดุสิต" มีผลงานเขียนนวนิยายแนวบู๊ และอาชญนิยายที่มีชื่อเสียงเป็นจำนวนมาก มีตัวละครที่เป็นที่รู้จักกันดี ชื่อ "คมน์ พยัคฆราช" ในเรื่อง สี่คิงส์ ครุฑดำ และ "โรม ฤทธิไกร" ในเรื่องชุด อินทรีแดง อินทรีทอง เริงชัย ประภาษานนท์ เกิดที่เขตดุสิต กรุงเทพ เรียนจบชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนมัธยมนันทนศึกษา เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง โรงเรียนถูกปิด ออกมาทำงานที่โรงไฟฟ้าสามเสน เมื่อโรงไฟฟ้าถูกระเบิดทำลาย ได้งานใหม่เป็นช่างเรียงพิมพ์ในโรงพิมพ์ เริ่มงานเขียนเรื่องสั้น เรื่องแรกชื่อ “พรหมบันดาล” ตีพิมพ์ครั้งแรกในนิตยสาร "รัตนโกสินทร์" ใช้นามปากกาว่า “สุริยา” เริงชัย ประภาษานนท์ เริ่มเขียนนวนิยายแนวบู๊ ใช้นามปากกา "เศก ดุสิต" เรื่อง สี่คิงส์ และครุฑดำ ตีพิมพ์กับสำนักพิมพ์อักษรสมิต แล้วเขียนเรื่องในชุด อินทรีแดง ตีพิมพ์กับสำนักพิมพ์บรรลือสาส์น มีชื่อเสียงเป็นที่นิยมจนต้องนำตัวละครจากทั้งสองเรื่อง คือ "คมน์ พยัคฆราช" และ "โรม ฤทธิไกร" มาร่วมงานกันในเรื่อง จ้าวนักเลง ในเวลาต่อมา และเรื่อง พยัคฆ์ร้ายไทยถีบ ตีพิมพ์ในนิตยสาร "อาทิตย์รายสัปดาห์" กับสำนักพิมพ์อักษรโสภณ ผลงานทั้งหมดถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ นอกจากงานเขียนอาชญนิยาย เริงชัย ประภาษานนท์ ยังมีผลงานเขียนในแนวอื่น ใช้นามปากกา "เกศ โกญจนาศ" "ศิรษา" "ลุงเฉี่อย" ใช้เขียนนิทานพื้นบ้าน และ "ดุสิตา" ใช้เขียนบทกวี เริงชัย ประภาษานนท์ หยุดเขียนนวนิยายตั้งแต่ พ.ศ. 2532 ต่อมาได้สนใจศึกษาวิชาโหราศาสตร์ และการพยากรณ์อย่างจริงจัง ปัจจุบันเขียนบทความเกี่ยวกับการพยากรณ์ และคอลัมน์ “รู้ชีวิต…ด้วยดวงดาว” ในนิตยสารมติชนสุดสัปดาห.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและเริงชัย ประภาษานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน

. อาร.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน · ดูเพิ่มเติม »

เจ. เค. โรว์ลิง

แอนน์ "โจ" โรว์ลิง (Joanne "Jo" Rowling, OBE FRSL) หรือนามปากก.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและเจ. เค. โรว์ลิง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (1 มกราคม พ.ศ. 2419 - 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486) นามเดิม สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา เสนาบดีกระทรวงธรรมการ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ) ผู้วางรากฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศึกษา ผู้ร่วมดำริให้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรก ผู้นำกีฬาฟุตบอลมาเผยแพร่ในประเทศไทย นักประพันธ์ (ใช้นามปากกา "ครูเทพ") ผู้ประพันธ์เพลงกราวกีฬา รวมทั้งเพลงชาติฉบับก่อนปัจจุบัน จากคำให้การของ ผ.ดร.กิตติศักดิ์ ณ ท่าพระจันทร.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

เทวากับซาตาน

ทวากับซาตาน (Angels & Demons) เป็นนวนิยายแนวลึกลับ/วิทยาศาสตร์/สืบสวนของแดน บราวน์ ตีพิมพ์ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและเทวากับซาตาน · ดูเพิ่มเติม »

เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์

อะลอร์ดออฟเดอะริงส์ (The Lord of the Rings) เป็นนิยายแฟนตาซีขนาดยาว ประพันธ์โดยศาสตราจารย์ชาวอังกฤษ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน เป็นนิยายที่ต่อเนื่องกับนิยายชุดก่อนหน้านี้ของโทลคีน คือ เรื่อง There and Back Again หรือที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เดอะฮอบบิท แต่ได้ขยายโครงเรื่องซับซ้อนไปกว่า เดอะฮอบบิท มาก โทลคีนแต่งเรื่องนี้ขึ้นในช่วงปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดือนวาด พิมวนา

ือนวาด พิมวนา หรือชื่อจริง พิมใจ จูกลิ่น (22 มีนาคม 2512 -) เป็นนักเขียนสตรีที่มีชื่อเสียง มีผลงานมากมาย เช่น ผู้บรรลุ, หนังสือเล่มสอง ปัจจุบันเธอปักหลักเขียนหนังสืออยู่ที่บ้านเกิดและมีเรื่องสั้นขนาดยาว ตีพิมพ์ในมติชน.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและเดือนวาด พิมวนา · ดูเพิ่มเติม »

เซียวฮื้อยี้

ซียวฮื้อยี้ (绝代双骄 - 绝代双骄) เป็นนิยายกำลังภายใน แต่งโดย โก้วเล้ง.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและเซียวฮื้อยี้ · ดูเพิ่มเติม »

เซียวจับอิดนึ้ง

ซียวจับอิดนึ้ง (Xiao Shi Yi Lang - The Eleventh Son) เป็นนิยายกำลังภายใน แต่งโดยโก้วเล้ง และมีชื่อเดียวกับชุดนิยายนี้.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและเซียวจับอิดนึ้ง · ดูเพิ่มเติม »

เปลว สีเงิน

thumb เปลว สีเงิน เป็นนามปากกาของ โรจน์ งามแม้น ประธานกรรมการบริหารบริหารหนังสือพิมพ์ ไทยโพสต์ นักหนังสือพิมพ์อาวุโส ผู้เขียนบทความวิเคราะห์การเมืองและสังคม ตีพิมพ์ในหน้า 5 ของหนังสือพิมพ์ไทยโพสต์ ชื่อคอลัมน์ "คนปลายซอย" เคยเขียนบทความวิเคราะห์ปัญหาทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ชื่อคอลัมน์ "สะบัดปากกา ตีแสกหน้า" ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ระหว่างปี..

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและเปลว สีเงิน · ดูเพิ่มเติม »

เปลื้อง ณ นคร

ปลื้อง ณ นคร (4 กันยายน พ.ศ. 2452 - 25 ตุลาคม พ.ศ. 2541) นักวิชาการด้านภาษาไทย เป็นผู้แต่งปทานุกรมนักเรียน และพจนานุกรม เปลื้อง ณ นคร เกิดเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2452 ที่จังหวัดสงขลา เป็นบุตรชายคนโตของขุนเทพภักดี (เล็ก) และนางยกฮิ่น ณ นคร มีน้องร่วมบิดามารดา 5 คน ได้แก.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและเปลื้อง ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

17 มกราคม

วันที่ 17 มกราคม เป็นวันที่ 17 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 348 วันในปีนั้น (349 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและ17 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

22 มิถุนายน

วันที่ 22 มิถุนายน เป็นวันที่ 173 ของปี (วันที่ 174 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 192 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและ22 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

29 พฤษภาคม

วันที่ 29 พฤษภาคม เป็นวันที่ 149 ของปี (วันที่ 150 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 216 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายชื่อนามปากกาและ29 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »