โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฝาน เส้าหวงและยิปมัน เจ้ากังฟูสู้ยิบตา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฝาน เส้าหวงและยิปมัน เจ้ากังฟูสู้ยิบตา

ฝาน เส้าหวง vs. ยิปมัน เจ้ากังฟูสู้ยิบตา

ฝานเส้าหวง (Louis Fan, Louis Fan Siu-wong, 樊少皇, พินอิน: Fán Shàohuáng) เป็นนักแสดงชาวฮ่องกงในภาพยนตร์กำลังภายในหรือกังฟู ฝานเส้าหวง เกิดเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน ค.ศ. 1973 ที่ฮ่องกง ได้รับการฝึกกังฟูมาตั้งแต่อายุ 14 เข้าสู่แวดวงบันเทิงในกลางทศวรรษที่ 80 โดยมักจะได้รับบทตัวประกอบหรือตัวร้ายในภาพยนตร์เรื่องต่าง ๆ รวมถึงเป็นนักแสดงนำด้วยในภาพยนตร์ประเภทนี้ในแบบภาพยนตร์ฟอร์มเล็ก จนกระทั่งมีชื่อเสียงขึ้นมาจากการการรับบท จิน ซานโถว นักเลงกังฟูผู้ที่ท้าอวดดีกับ ยิปมัน ถึงฝ่อซาน ใน Ip Man ในปี ค.ศ. 2008 และ Ip Man 2 ในปี ค.ศ. 2009 จากนั้นได้รับบท ยิปเทียนซือ ศิษย์พี่ของยิปมัน ใน The Legend is Born – Ip Man ภาพยนตร์ชีวประวัติของยิปมันอีกเรื่อง. ปมัน เจ้ากังฟูสู้ยิบตา ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์กำลังภายในสัญชาติฮ่องกงเรื่อง Ip Man (อักษรจีนตัวย่อ: 叶问; อักษรจีนตัวเต็ม: 葉問; พินอิน: Yè Wèn) นำแสดงโดย เจิน จื่อตัน, เยิ่น ต๊ะหัว, หลิน เจียต่ง, ฟาน ซิ่วหว่อง, สง ไต้หลิน, ฮิโรยูกิ อิกิอูชิ กำกับการแสดงโดย วิลสัน ยิป ออกฉายในปี ค.ศ. 2008 ที่จีนและฮ่องกง ในส่วนของต่างประเทศฉายในปีถัดม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฝาน เส้าหวงและยิปมัน เจ้ากังฟูสู้ยิบตา

ฝาน เส้าหวงและยิปมัน เจ้ากังฟูสู้ยิบตา มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พินอินกังฟูภาพยนตร์จีนกำลังภายในยิปมัน 2 อาจารย์บรู๊ซ ลีหยิปหมั่นฮ่องกง

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ฝาน เส้าหวงและพ.ศ. 2551 · พ.ศ. 2551และยิปมัน เจ้ากังฟูสู้ยิบตา · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ฝาน เส้าหวงและพ.ศ. 2552 · พ.ศ. 2552และยิปมัน เจ้ากังฟูสู้ยิบตา · ดูเพิ่มเติม »

พินอิน

นอิน หรือ ฮั่นยฺหวี่พินอิน (แปลว่า สะกดเสียงภาษาจีน) คือระบบในการถอดเสียงภาษาจีนมาตรฐาน ด้วยตัวอักษรละติน ความหมายของพินอินคือ "การรวมเสียงเข้าด้วยกัน" (โดยนัยก็คือ การเขียนแบบสัทศาสตร์ การสะกด การถอดเสียง หรือการทับศัพท์) พินอินเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2501 และเริ่มใช้กันในปี พ.ศ. 2522 โดย รัฐบาลของสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยใช้แทนที่ระบบการถอดเสียงแบบเก่า เช่น ระบบเวดและไจลส์ และระบบจู้อิน นอกจากนี้ ยังมีการออกแบบระบบอื่น ๆ สำหรับนำไปใช้กับภาษาพูดของจีนในถิ่นต่าง ๆ และภาษาของชนกลุ่มน้อยที่ไม่ใช้ภาษาฮั่น ในสาธารณรัฐประชาชนจีนด้วย นับแต่นั้นมา พินอินก็เป็นที่ยอมรับจากสถาบันนานาชาติหลายแห่ง รวมทั้งรัฐบาลสิงคโปร์ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน และสมาคมหอสมุดอเมริกัน โดยถือว่าเป็นระบบการถอดเสียงที่เหมาะสมสำหรับภาษาจีนกลาง ครั้นปี พ.ศ. 2522 องค์การมาตรฐานนานาชาติ (ISO) ก็ได้รับเอาพินอินเป็นระบบมาตรฐาน (ISO 7098) ในการถ่ายทอดเสียงภาษาจีนปัจจุบันด้วยอักษรโรมัน (the standard romanization for modern Chinese) สิ่งสำคัญที่ต้องระลึกไว้ก็คือ พินอินนั้น เป็นการทับศัพท์ด้วยอักษรโรมัน (Romanization) มิใช่การถอดเสียงแบบภาษาอังกฤษ (Anglicization) นั่นคือ การกำหนดให้ใช้ตัวอักษรตัวหนึ่ง สำหรับแทนเสียงหนึ่ง ๆ ในภาษาจีนไว้อย่างตายตัว เช่น b และ d ในระบบพินอิน เป็นเสียง "ป" และ "ต" ตามลำดับ ซึ่งแตกต่างจากระบบการออกเสียงส่วนใหญ่ ไม่ว่าอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือภาษาอื่นในยุโรป ขณะที่อักษร j หรือ q นั้นมีเสียงไม่ตรงกับในภาษาอังกฤษเลย กล่าวสั้น ๆ ก็คือ พินอินมุ่งที่จะใช้อักษรโรมัน เพื่อแทนเสียงใดเสียงหนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อความสะดวกในการเขียน มิได้ยืมเสียงจากระบบของอักษรโรมันมาใช้ การใช้ระบบนี้นอกจากทำให้ชาวต่างชาติเขียนอ่านภาษาจีนได้สะดวกแล้ว ยังสามารถใช้กับคอมพิวเตอร์ได้สะดวกอย่างยิ่งด้วย ต่อไปนี้เป็นการถอดเสียงภาษาจีน (ที่เขียนด้วยอักษรโรมันในระบบพินอิน) ด้วยอักษรไทย โปรดสังเกตว่า บางหน่วยเสียงในภาษาจีนไม่มีหน่วยเสียงที่ตรงกันในภาษาไทย จึงต้องอนุโลมใช้อักษรที่ใกล้เคียง ในที่นี้จึงมีอักษรไทยบางตัว ที่ต้องใช้แทนหน่วยเสียงในภาษาจีนมากกว่าหนึ่งหน่วยเสียง ทั้งนี้เพื่อเป็น "เกณฑ์อย่างคร่าว ๆ" สำหรับการเขียนคำทับศัพท์ภาษาจีน.

ฝาน เส้าหวงและพินอิน · พินอินและยิปมัน เจ้ากังฟูสู้ยิบตา · ดูเพิ่มเติม »

กังฟู

กังฟู (功夫) หรือ วูซู เป็นศิลปะการต่อสู้ของจีน ในภาษาจีนกลางใช้คำว่า "วูซู" และเมื่อมีการแพร่ขยายออกไปกลายเป็น "กังฟู" ซึ่งเป็นตัวเลข การต่อสู้รูปแบบที่ได้มีการพัฒนากว่าหนึ่งศตวรรษในจีน รูปแบบการต่อสู้เหล่านี้มักจะแยกตามลักษณะทั่วไปที่ระบุว่าเป็น "เจีย" (家), "พ่าย" (派) หรือ "เหมิน" (门) (โดยรวมแปลว่ากลุ่มหรือสำนัก) ในรูปแบบศิลปะการต่อสู้ ตัวอย่างของลักษณะดังกล่าวรวมถึงการออกกำลังกายที่เกี่ยวข้องกับการจำลองทางกายภาพของสัตว์หรือวิธีการฝึกอบรมแรงบันดาลใจจากปรัชญาจีน ศาสนา และตำนาน ลักษณะที่มุ่งเน้นของพลังงาน จัดการได้รับการระบุเป็นระบบภายใน (内家拳, nèijiāquán) ในขณะที่คนอื่น ๆ มีสมาธิในการปรับปรุงและการออกกำลังกายกล้ามเนื้อหัวใจและหลอดเลือดและมีข้อความกำกับภายนอก (外家拳, wàijiāquán) สมาคมภูมิศาสตร์ดังเช่นในภาคเหนือ (ของจีน) (北拳, běiquán) และภาคใต้ (ของจีน) (南拳, nánquán) เป็นอีกวิธีที่นิยมใช้การจัดหมวดหมู.

กังฟูและฝาน เส้าหวง · กังฟูและยิปมัน เจ้ากังฟูสู้ยิบตา · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์จีนกำลังภายใน

กภาพยนตร์เรื่อง "พยัคฆ์ระห่ำ มังกรผยองโลก" ภาพยนตร์จีนกำลังภายใน เกิดขึ้นในช่วงทศวรรษที่ 60 เช่น หงส์ทองคะนองศึก, The Magnificent Trio, One-Armed Swordsman ฯลฯ ผลิตในฮ่องกงและไต้หวัน ภาพยนตร์จีนกำลังภายในมักแฝงปรัชญาตะวันออกเอาไว้ บางเรื่องแฝงการหลุดพ้นจากลาภยศ กิเลส ตัณหา ราคะทั้งปวง หรือเน้นการเสียสละตนเองเพื่อผดุงคุณธรรมตามความเชื่อแห่งตน ในช่วงทศวรรษที่ 60 - 70 ฉากต่อสู้ของหนังกำลังภายในเป็นความตื่นตาตื่นใจสูงสุดของโลกภาพยนตร์ตะวันออก การหกขเมนตีลังกา ลีลาประดาบที่รวดเร็ว กลายเป็นความบังเทิงที่ได้รับความนิยม ภาพยนตร์ประเภทนี้ถูกพัฒนาขึ้นโดยผู้กำกับคิวบู๊คนสำคัญของชอว์บราเดอร์ที่ชื่อว่าหลิวเจียเหลียง ในปี 2000 ภาพยนตร์เรื่องพยัคฆ์ระห่ำ มังกรผยองโลก กำกับโดยอั้งลี่ นับเป็นภาพยนตร์จีนกำลังภายในที่ออกฉายทั่วโลก และยังได้รับรางวัลออสการ์อีกด้ว.

ฝาน เส้าหวงและภาพยนตร์จีนกำลังภายใน · ภาพยนตร์จีนกำลังภายในและยิปมัน เจ้ากังฟูสู้ยิบตา · ดูเพิ่มเติม »

ยิปมัน 2 อาจารย์บรู๊ซ ลี

ปมัน 2 อาจารย์บรู๊ซ ลี ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์ฮ่องกงกำลังภายในเรื่อง Ip Man 2 ซึ่งเป็นภาคต่อของ Ip Man ในปลายปี ค.ศ. 2008 นำแสดงโดย เจิ้น จื่อตัน, หง จินเป่า, หวง เสี่ยวหมิง, ดาร์เรน ชาลาวี, สง ไต้หลิน และ เยิ่น ต๊ะหัว กำกับโดย วิลสัน ยิป.

ฝาน เส้าหวงและยิปมัน 2 อาจารย์บรู๊ซ ลี · ยิปมัน 2 อาจารย์บรู๊ซ ลีและยิปมัน เจ้ากังฟูสู้ยิบตา · ดูเพิ่มเติม »

หยิปหมั่น

หยิปหมั่น หยิปหมั่น (Yip Man, Ip Man) ปรมาจารย์กังฟูที่มีชื่ออีกคนหนึ่งในแบบมวยหวิงชุน หยิปหมั่น เกิดเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1893 ที่เมืองฝัดซ๊าน (ฝอซาน) มณฑลกวางตุ้ง (สถานที่เดียวกับ หว่องเฟ๊ยห่ง (หวง เฟยหง)) ในครอบครัวคหบดีที่มั่งคั่ง เป็นบุตรชายคนที่ 3 ในบรรดา 4 คนของครอบครัว หยิปหมั่นเริ่มเรียนกังฟูครั้งแรกเมื่ออายุได้ 13 ปี ในแบบมวยหวิงชุน (Wingchun ออกเสียง เป็นภาษากวางตุ้งว่า "เหวงช๊น" หรือ "หย่งชุน" ในภาษาจีนกลาง) จาก ฉั่นหว่าซุน (陳華順) มวยหวิงชุนเป็นเพลงมวยที่กล่าวขานในตำนานว่าคิดค้นโดยแม่ชี อื่อหมุ่ย และได้ถ่ายทอดวิชามวยนี้ให้หญิงสาวชาวบ้านชื่อ หยิ่มเหวงช๊น (หรือ เหยียนหย่งชุน ในภาษาจีนกลาง (嚴詠春)) จึงเป็นที่มาของชื่อมวยนี้ เอกลักษณ์ของเพลงมวยชนิดนี้คือ เน้นที่ความว่องไวและหนักหน่วงในการต่อสู้แบบประชิดตัวโดยไม่ได้มีลีลามากนัก แต่ขณะนั้น ฉั๋นหว่าซุน อายุมากแล้ว การสอนจึงตกเป็นหน้าที่ของศิษย์พี่ หงึง ชงโซว เป็นเวลา 3 ปี ก่อนที่ฉั่นหว่าซุ่นจะเสียชีวิตด้วยโรคชรา และได้ฝากฝังให้หงึง ชงโซว สอนยิปมันต่อให้สำเร็จ และยังถือว่ายิปมันเป็นศิษย์คนสุดท้ายของ ฉั่นหว่าซุ่นด้วย วันหนึ่งหยิปหมั่นถูกเพื่อนร่วมชั้นเรียนมัธยมท้าให้ทดลองสู้กับคนที่อายุมากกว่า หยิปหมั่นได้ตกลงท้า แต่กลายเป็นว่า เขาบังเอิญไปท้าสู้กับผู้ฝึกมวยหวิงชุนด้วยกันเอง และแพ้อย่างหมดทางสู้ คน ๆ นี้ชื่อ เลวื๋องเป๊ก (หรือเหลียงปี้ ในภาษาจีนกลาง) (梁璧)ซึ่งเป็นบุตรชายของเลวิ๋องจาน (ฝัดซ๊านจานซี๊นซั๊ง) อาจารย์ปู่ของหยิปหมั่น เลวิ๋องเป๊ก เป็นศิษย์น้องของฉั่นหว่าซุ่น จึงมีศักดิ์เป็นอาจารย์อาของหยิปหมั่น หยิปหมั่นได้รู้จักกับเลวื๋องเป๊กและเรียนวิชากับเขาจนอายุได้ 24 ปี จึงได้กลับมาที่ฝัดซ๊านบ้านเกิด ด้วยฝีมือที่ก้าวหน้าไปกว่าเดิมมาก ที่ฝัดซ๊าน หยิปหมั่นได้งานเป็นตำรวจ จึงไม่ได้เปิดสำนักกังฟู แต่ก็ได้สอนลูกน้องของเขาบ้าง ซึ่งที่นี่ หยิปหมั่นได้รับการนับถืออย่างยิ่งจากชาวบ้าน เสมือนเป็นวีรบุรุษของท้องถิ่น ในช่วงสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง (ค.ศ. 1937-ค.ศ. 1945) หยิปหมั่นปฏิเสธที่จะเป็นครูฝึกสอนให้ทหารญี่ปุ่นหลายต่อหลายครั้ง และย้ายจากฝัดซ๊านไปอยู่เมืองอื่น ปลาย ปี ค.ศ. 1949 หยิปหมั่นเข้าร่วมกับพรรคก๊กมินตั๋งและต้องหนีไปฮ่องกงโดยพลัดพรากจากครอบครัว เนื่องจากพรรคก๊กมินตั๋งแพ้ให้กับพรรคคอมมิวนิสต์จีน ที่ ฮ่องกง หยิปหมั่นจึงได้เริ่มเปิดสำนักสอนหย่งชุนขึ้น แรก ๆ กิจการไม่ดีเพราะลูกศิษย์ที่สมัครอยู่กับเขาได้ไม่กี่เดือนก็ออกไป ไม่นานเขาได้ย้ายสำนักไปเปิดที่เหยาหมาตี้ และที่นั่น เขามีลูกศิษย์ที่ศึกษาอย่างจริงจัง เช่น เจวียง ฮอกกิ่น (Hokkin Chueng),หว่อง ซัมเหลวียง, เจียง จกเฮง, เจียง ฮกกิ่น และอื่น ๆ ซึ่งสร้างชื่อเสียงในการประลองให้แก่มวยหวิงชุนเป็นอย่างมาก ซึ่งลูกศิษย์คนหนึ่งที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุดของหยิปหมั่น คือ บรูซ ลี ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นนักแสดงที่มีชื่อเสียงโด่งดังในระดับโลก บรูซ ลีได้เรียนกับหยิปหมั่นในช่วงปี ค.ศ. 1954-ค.ศ. 1957 เป็นเวลาสั้น ๆ เพียง 3 ปี ซึ่งชัดเจนว่าบรูซ ลี ไม่ได้เรียนวิชาทั้งหมด ต่อมาบรูซ ลี คิดค้นวิชาของตัวเองขึ้น ชื่อ เจี๋ยฉวนเต้า ซึ่งเชื่อว่ามีพื้นฐานมาจากหวิงชุนนั่นเอง หยิปหมั่นเสียชีวิตลงเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ. 1972 ที่ฮ่องกง ด้วยโรคมะเร็งที่คอ รวมอายุได้ 79 ปี และถูกยกย่องให้เป็นปรมาจารย์ในยุคปัจจุบันของมวยหวิงชุน เรื่องราวของหยิปหมั่น ได้ถูกสร้างเป็นภาพยนตร์ศิลปะการต่อสู้ในปี ค.ศ. 2008 ในชื่อ Ip Man นำแสดงโดย เจิน จื่อตัน รับบทเป็น หยิปหมั่น (ออกเสียงเรียกในภาพยนตร์ว่า "ยิปมัน") ภาพยนตร์ประสบความสำเร็จอย่างยิ่งจนต้องมีภาคต่อมา ซึ่งมีกำหนดออกฉายในเดือนเมษายน ค.ศ. 2010 และมีการสร้างเป็นภาพยนตร์จากผู้สร้างอีกกลุ่มหนึ่ง โดย หว่อง ก๊า ไหว่ ซึ่งผู้ที่จะมารับบทเป็นหยิปหมั่น คือ เหลียง เฉาเหว่ย ในชื่อเรื่อง The Grand Masters นอกจากนี้แล้วยังมีอีกหนึ่งเรื่อง คือ The Legend is Born – Ip Man ที่ออกฉายในปีเดียวกัน เป็นเรื่องราวตั้งแต่วัยเยาว์ของหยิปหมั่นจนถึงอายุ 28 ปี และIp Man: The Final Fight ที่สร้างโดยกลุ่มผู้สร้าง The Legend is Born – Ip Man ในปี..

ฝาน เส้าหวงและหยิปหมั่น · ยิปมัน เจ้ากังฟูสู้ยิบตาและหยิปหมั่น · ดูเพิ่มเติม »

ฮ่องกง

องกง (Hong Kong; 香港) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Hong Kong Special Administrative Region of the People's Republic of China) เป็นเขตปกครองตนเองริมฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ในทางภูมิศาสตร์มีสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและทะเลจีนใต้โอบรอบ ฮ่องกงเป็นที่รู้จักในสกายไลน์ (skyline) ขยายและท่าเรือธรรมชาติลึก มีเนื้อที่ 1,104 กม.

ฝาน เส้าหวงและฮ่องกง · ยิปมัน เจ้ากังฟูสู้ยิบตาและฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฝาน เส้าหวงและยิปมัน เจ้ากังฟูสู้ยิบตา

ฝาน เส้าหวง มี 17 ความสัมพันธ์ขณะที่ ยิปมัน เจ้ากังฟูสู้ยิบตา มี 52 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 11.59% = 8 / (17 + 52)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฝาน เส้าหวงและยิปมัน เจ้ากังฟูสู้ยิบตา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »