โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและฟุตบอลทีมชาติไทย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและฟุตบอลทีมชาติไทย

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่าน vs. ฟุตบอลทีมชาติไทย

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่าน เป็นทีมฟุตบอลประจำชาติอิหร่าน เป็นทีมที่ประสบความสำเร็จทีมหนึ่งในทวีปเอเชีย โดยชนะเลิศเอเชียนคัพ 3 ครั้งส่วนในระดับโลกโดยได้เข้าร่วมฟุตบอลโลก 3 ครั้ง. ฟุตบอลทีมชาติไทย เป็นตัวแทนของประเทศไทยในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศ และอยู่ภายใต้การบริหารของสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยทีมมีประวัติของความสำเร็จในการแข่งขันในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือชนะเลิศอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 5 สมัย และชนะเลิศซีเกมส์ 10 สมัย โดยทีมชาติไทยยังสามารถคว้าอันดับ 3 ในเอเชียนคัพ 1972 และเข้าร่วมการแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2 ครั้ง และในเอเชียนเกมส์ 4 ครั้ง โดยอันดับโลกฟีฟ่าที่ทีมชาติไทยทำอันดับได้ดีที่สุด คือ อันดับที่ 42 ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2541 ปัจจุบันทีมชาติไทยอยู่อันดับที่ 122 ของโลก อันดับที่ 23 ของเอเชีย และอยู่ในอันดับที่ 3 ของอาเซียน จากการจัดอันดับโดยฟีฟ่า (12 เมษายน พ.ศ. 2561).

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและฟุตบอลทีมชาติไทย

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและฟุตบอลทีมชาติไทย มี 23 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟุตบอลทีมชาติเกาหลีใต้ฟุตบอลโลกฟุตบอลโลก 1930ฟุตบอลโลก 1970ฟุตบอลโลก 1974ฟุตบอลโลก 1978ฟุตบอลโลก 1982ฟุตบอลโลก 1986ฟุตบอลโลก 1990ฟุตบอลโลก 1994ฟุตบอลโลก 1998ฟุตบอลโลก 2002ฟุตบอลโลก 2006ฟุตบอลโลก 2010ฟุตบอลโลก 2014สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียทวีปเอเชียประเทศญี่ปุ่นประเทศอิหร่านประเทศเยอรมนีเอเชียนคัพเอเชียนคัพ 1972เอเชียนคัพ 2007

ฟุตบอลทีมชาติเกาหลีใต้

ฟุตบอลทีมชาติเกาหลีใต้ (대한민국 축구 국가대표팀) เป็นทีมฟุตบอลประจำชาติเกาหลีใต้ ผลงานฟุตบอลโลกดีที่สุดในปี 2002 ที่ได้อันดับ 4 และสร้างชื่อเสืยงด้วยการเอาทีมชนะแชมป์ฟุตบอลโลก 2014อย่างทีมเยอรมนีในการแข่งขันฟุตบอลโลก 2018ไป2-0.

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและฟุตบอลทีมชาติเกาหลีใต้ · ฟุตบอลทีมชาติเกาหลีใต้และฟุตบอลทีมชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก

ฟุตบอลโลก หรือ ฟุตบอลโลกฟีฟ่า (FIFA World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศโดยมีชุดทีมชาติชายร่วมเข้าแข่งในกลุ่มสมาชิกสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ (ฟีฟ่า) การแข่งขันจัดขึ้นทุก ๆ 4 ปี เริ่มครั้งแรกในปี ค.ศ. 1930 ใน ฟุตบอลโลก 1930 ยกเว้นในปี..

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและฟุตบอลโลก · ฟุตบอลทีมชาติไทยและฟุตบอลโลก · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 1930

ฟุตบอลโลก 1930 เป็นฟุตบอลโลกครั้งแรก จัดขึ้นที่ประเทศอุรุกวัย ในปี พ.ศ. 2473 โดย ทีมชาติอุรุกวัย ชนะอาร์เจนตินา 4 -2 การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งนี้เป็นการแข่งขันครั้งโดยไม่มีการคัดเลือกทีมเข้าเล่น ประเทศที่เข้าร่วมเป็นประเทศที่ได้รับเชิญและเป็นส่วนหนึ่งของฟีฟ่า ในขณะนั้น ในขณะเดียวกันเนื่องจากค่าใช้จ่ายในการเดินทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก มีค่าสูง ทำให้หลายประเทศในทวีปยุโรปไม่ได้เข้าร่วมฟุตบอลโลกในครั้งนี้ ทำให้ประธานของฟีฟ่า ชูลส์ รีเมต์ ร่วมกับรัฐบาลของอุรุกวัย ได้สัญญาจะจ่ายค่าเดินทางทั้งหมดให้กับทีมที่มาจากทวีปยุโรป ในที่สุดทีมจากยุโรป 4 ทีม ได้แก่ เบลเยียม ฝรั่งเศส ยูโกสลาเวีย และ โรมาเนีย ได้เดินทางทางทะเลเป็นเวลาสามอาทิตย์มาที่ประเทศอุรุกวัย การแข่งขันในครั้งนี้ได้แบ่งออกเป็น 4 สาย A B C และ D โดยสาย A มีอยู่ 4 ประเทศ ขณะที่สายอื่นมี 3 ประเทศ ผู้ชนะในแต่ละสายจะมาแข่งกัน.

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและฟุตบอลโลก 1930 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและฟุตบอลโลก 1930 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 1970

ฟุตบอลโลก 1970 (1970 FIFA World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งที่ 9 ที่จัดขึ้นที่ประเทศเม็กซิโก ระหว่างวันที่ 12 มิถุนายน ถึง 12 กรกฎาคม..

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและฟุตบอลโลก 1970 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและฟุตบอลโลก 1970 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 1974

ฟุตบอลโลก 1974 (1974 FIFA World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งที่ 10 ที่จัดขึ้นที่เยอรมนีตะวันตก ระหว่างวันที่ 13 มิถุนายน -7 กรกฎาคม..

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและฟุตบอลโลก 1974 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและฟุตบอลโลก 1974 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 1978

ฟุตบอลโลก 1978 (1978 FIFA World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งที่ 11 ที่จัดขึ้นที่ประเทศอาร์เจนตินา ระหว่างวันที่ 9 มิถุนายน-9 กรกฎาคม..

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและฟุตบอลโลก 1978 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและฟุตบอลโลก 1978 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 1982

ฟุตบอลโลก 1982 (1982 FIFA World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งที่ 12 ที่ประเทศสเปนที่จัดขึ้นระหว่างวันที่ 11 มิถุนายน ถึง 11 กรกฎาคม..

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและฟุตบอลโลก 1982 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและฟุตบอลโลก 1982 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 1986

ฟุตบอลโลก 1986 เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งที่ 13 ที่จัดขึ้นที่ประเทศเม็กซิโก ระหว่างวันที่ 13 มิถุนายน ถึง 13 กรกฎาคม..

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและฟุตบอลโลก 1986 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและฟุตบอลโลก 1986 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 1990

ฟุตบอลโลก 1990 เป็นฟุตบอลโลกครั้งที่ 14 จัดขึ้นที่ประเทศอิตาลีตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน ถึง 8 กรกฎาคม..

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและฟุตบอลโลก 1990 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและฟุตบอลโลก 1990 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 1994

ฟุตบอลโลก 1994 (พ.ศ. 2537) เป็นฟุตบอลโลกครั้งที่ 15 จัดที่ประเทศสหรัฐ มีสมาชิกที่ผ่านรอบคัดเลือกร่วมทั้งหมด 24 ทีม โดยเป็นครั้งแรกที่ฟุตบอลโลกจัดการแข่งขันที่ทวีปอเมริกาเหนือด้วย และเป็นครั้งแรกที่ใช้การนับแต้มระบบ ชนะได้ 3 แต้มซึ่งเป็นการคาดหวังว่าจะทำให้ทุกทีมหันมาเน้นกันทำประตูกันมากขึ้น โดยในครั้งนี้ไม่มีมหาอำนาจลูกหนังโลกขวัญใจชาวไทย อย่างอังกฤษ และ ฝรั่งเศสลงแข่งขันด้วย เนื่องจากไม่ผ่านรอบคัดเลือก.

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและฟุตบอลโลก 1994 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและฟุตบอลโลก 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 1998

ฟุตบอลโลก 1998 (1998 Football World Cup) หรือ ฟร็องส์ '98 (France '98) เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกจัดขึ้นในประเทศฝรั่งเศส ในช่วงระหว่างวันที่ 12 มิถุนายน ถึง 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 ฝรั่งเศสได้รับเลือกเป็นเจ้าภาพโดยการตัดสินจากฟีฟ่า ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2535 ชนะประเทศโมร็อกโก.

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและฟุตบอลโลก 1998 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและฟุตบอลโลก 1998 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 2002

ฟุตบอลโลก 2002 (2002 FIFA World Cup Korea/Japan) จัดขึ้นในเกาหลีใต้และญี่ปุ่น ในวันที่ 14 มิถุนายน - 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งที่ 17 และเป็นครั้งแรกที่มีเจ้าภาพ 2 ประเทศ ซึ่งทำให้ทีมชาติเกาหลีใต้และทีมชาติญี่ปุ่นเข้าไปเล่นในฟุตบอลโลกโดยอัตโนมัติเช่นเดียวกับทีมชาติฝรั่งเศสที่ชนะเลิศฟุตบอลโลก 1998 และนับเป็นการแข่งขันครั้งแรกที่จัดขึ้นในทวีปเอเชีย ในการแข่งขันนี้ทีมชาติบราซิลชนะเยอรมนี 2-0 ในนัดชิงชนะเล.

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและฟุตบอลโลก 2002 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและฟุตบอลโลก 2002 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 2006

ฟุตบอลโลก 2006 (2006 FIFA World Cup) รอบสุดท้ายเป็นฟุตบอลโลกครั้งที่ 18 จัดขึ้น ณ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน ถึง 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) มีทีมเข้าแข่งขันในรอบสุดท้าย 32 ทีม ทีมชาติอิตาลีคว้าแชมป์ฟุตบอลโลกครั้งนี้ด้วยการเอาชนะฝรั่งเศสในการยิงจุดโทษ 5-3 หลังเสมอกัน 1-1 ประตู อันดับสามตกเป็นของเจ้าภาพเยอรมนีหลังเอาชนะโปรตุเกส 3-1 ประตู ประเทศเยอรมนีชนะได้สิทธิจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2006 เมื่อเดือนมิถุนายน..

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและฟุตบอลโลก 2006 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและฟุตบอลโลก 2006 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 2010

ฟุตบอลโลก ฟีฟ่า 2010 เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งที่ 19 ที่เป็นรายการแข่งขันฟุตบอลนานาชาติ ซึ่งจัดขึ้นที่ประเทศแอฟริกาใต้ ระหว่างวันที่ 11 มิถุนายน ถึงวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 โดยเริ่มการคัดเลือกในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2550 และมีฟุตบอลทีมชาติสมาชิกฟีฟ่า เข้าร่วมแข่งขันจำนวน 204 จาก 208 ทีม ฟุตบอลโลกครั้งนี้จึงเป็นการแข่งขันซึ่งมีประเทศเข้าร่วมแข่งขันจำนวนมากที่สุด เทียบเท่ากับจำนวนประเทศในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 และยังเป็นฟุตบอลโลกครั้งแรกที่ชาติจากทวีปแอฟริกาเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน หลังจากที่แอฟริกาใต้ประมูลชนะโมร็อกโกและอียิปต์ในการเสนอชื่อ ทั้งนี้ ทีมชาติอิตาลีจะลงแข่งขันเพื่อป้องกันตำแหน่งชนะเลิศที่ได้มาในฟุตบอลโลก 2006 ซึ่งจัดขึ้นในประเทศเยอรมนี ทีมชาติสเปนซึ่งชนะเลิศมาจากการแข่งขันชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป เมื่อปี พ.ศ. 2551 ชนะเลิศในการแข่งขันกับทีมชาติเนเธอร์แลนด์ 1 ต่อ 0 ประตูในช่วงต่อเวลาพิเศษ โดยอันเดรส อีเนียสตาทำประตูให้กับสเปน และทำให้ทีมสเปนชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลโลกเป็นสมัยแรก, ผู้ชนะเลิศครั้งก่อนอย่างอิตาลี รวมถึงฝรั่งเศสซึ่งเป็นทีมรองชนะเลิศครั้งก่อน ล้วนแต่ตกรอบแรก โดยที่อาร์เจนตินา (รอบ 8 ทีม), บราซิล (รอบ 8 ทีม) และเยอรมนี (รอบรองชนะเลิศ) ส่วนเจ้าภาพตกรอบแรก โดยมี 4 คะแนน ได้อันดับ 3 ของกลุ่ม A.

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและฟุตบอลโลก 2010 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและฟุตบอลโลก 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 2014

ฟุตบอลโลก 2014 (2014 FIFA World Cup; Copa do Mundo da FIFA 2014) เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งที่ 20 ซึ่งจัดขึ้นที่ประเทศบราซิลระหว่างวันที่ 13 มิถุนายน–13 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 ซึ่งเป็นครั้งที่สองที่บราซิลได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันดังกล่าว โดยเป็นเจ้าภาพครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2493 ทำให้บราซิลกลายเป็นประเทศที่ 5 ที่เป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลกสองครั้งต่อจากเม็กซิโก อิตาลี ฝรั่งเศส และเยอรมนี เป็นครั้งแรกที่จัดขึ้นในทวีปอเมริกาใต้นับตั้งแต่ พ.ศ. 2521 ที่ประเทศอาร์เจนตินา เป็นครั้งแรกที่มีจัดการแข่งขันนอกทวีปยุโรปสองครั้งติดต่อกัน และยังเป็นครั้งแรกที่มีจัดการแข่งขันในซีกโลกใต้สองครั้งติดต่อกัน (ก่อนหน้านี้ ฟุตบอลโลก 2010 จัดในประเทศแอฟริกาใต้) นอกจากนี้ ฟีฟ่าก็ได้ใช้เทคโนโลยีโกลไลน์เป็นครั้งแรกในการแข่งขันครั้งนี้ด้วย FIFA.com.

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและฟุตบอลโลก 2014 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและฟุตบอลโลก 2014 · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย

มาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (Asian Football Confederation) หรือ เอเอฟซี (AFC) เป็นองค์กรที่ควบคุมการแข่งขันฟุตบอลในทวีปเอเชีย จัดการเกี่ยวกับทีมฟุตบอล เงินรางวัล กฎระเบียบ รวมถึงลิขสิทธิ์ในการถ่ายทอดฟุตบอล เอเอฟซีเป็น 1 ใน 6 สมาคมที่จัดการแข่งขันฟุตบอลทั่วโลกของฟีฟ่า เอเอฟซีก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2497 ที่ มะนิลา ในประเทศฟิลิปปินส์ ปัจจุบันสำนักงานใหญ่ย้ายมาอยู่ที่ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซี.

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย · ฟุตบอลทีมชาติไทยและสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปเอเชีย

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68–69); "Asia" (pp. 90–91): "A commonly accepted division between Asia and Europe is formed by the Ural Mountains, Ural River, Caspian Sea, Caucasus Mountains, and the Black Sea with its outlets, the Bosporus and Dardanelles." จีนและอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกตั้งแต่คริสต์ศักราชที่ 1 ถึง 1800 จีนเป็นประเทศที่มีอำนาจทางเศรษฐกิจที่สำคัญและดึงดูดผู้คนจำนวนมากให้ไปทางตะวันออก และตำนาน ความมั่งคั่งและความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมโบราณของอินเดียกลายเป็นสัญลักษณ์ของเอเชีย สิ่งเหล่านี้จึงดึงดูดการค้า การสำรวจและการล่าอาณานิคมของชาวยุโรป การค้นพบเส้นทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกโดยบังเอิญจากยุโรปไปอเมริกาของโคลัมบัสในขณะที่กำลังค้นหาเส้นทางไปยังอินเดียแสดงให้เห็นความดึงดูดใจเหล่านี้ เส้นทางสายไหมกลายเป็นเส้นทางการค้าหลักของฝั่งตะวันออกกับฝั่งตะวันตกในขณะที่ช่องแคบมะละกากลายเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ ช่วงศตวรรษที่ 20 ความแข็งแรงของประชากรเอเชียและเศรษฐกิจ (โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก) เติบโตเป็นอย่างมากแต่การเติบโตของประชากรโดยรวมลดลงเรื่อย ๆ เอเชียเป็นแหล่งกำเนิดของศาสนาหลักบนโลกหลายศาสนา อาทิศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม, ศาสนายูดาห์, ศาสนาฮินดู, ศาสนาพุทธ, ลัทธิขงจื๊อ, ลัทธิเต๋า, ศาสนาเชน, ศาสนาซิกข์, ศาสนาโซโรอัสเตอร์และศาสนาอื่น ๆ อีกมากมาย เนื่องเอเชียจากมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลายทางแนวคิด ภูมินามวิทยาของเอเชียมีตั้งแต่สมัยคลาสสิกซึ่งคาดว่าน่าจะตั้งตามลักษณะผู้คนมากกว่าลักษณะทางกายภาพ เอเชียมีความแตกต่างกันอย่างมากทั้งด้านภูมิภาค กลุ่มชาติพันธุ์ วัฒนธรรม, สภาพแวดล้อม, เศรษฐศาสตร์, ประวัติศาสตร์และระบบรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีสภาพอากาศที่แตกต่างกันอย่างมากเช่น พื้นเขตร้อนหรือทะเลทรายในตะวันออกกลาง, ภูมิอากาศแบบอบอุ่นทางตะวันออก ภูมิอากาศแบบกึ่งอารกติกทางตอนกลางของทวีปและภูมิอากาศแบบขั่วโลกในไซบีเรี.

ทวีปเอเชียและฟุตบอลทีมชาติอิหร่าน · ทวีปเอเชียและฟุตบอลทีมชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ประเทศญี่ปุ่นและฟุตบอลทีมชาติอิหร่าน · ประเทศญี่ปุ่นและฟุตบอลทีมชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิหร่าน

อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..

ประเทศอิหร่านและฟุตบอลทีมชาติอิหร่าน · ประเทศอิหร่านและฟุตบอลทีมชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ประเทศเยอรมนีและฟุตบอลทีมชาติอิหร่าน · ประเทศเยอรมนีและฟุตบอลทีมชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนคัพ

อเชียนคัพ (AFC Asian Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลในทวีปเอเชีย จัดโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย ซึ่งผู้ชนะการแข่งขันจะได้รับตำแหน่งแชมป์เปียนของเอเชียนคัพ การจัดการแข่งขันจัดขึ้นทุก 4 ปี โดยเริ่มจัดครั้งแรกเมื่อ ปี พ.ศ. 2499 (ค.ศ. 1956) และจัดต่อเนื่องทุก 4 ปี จนกระทั่งในปี..

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและเอเชียนคัพ · ฟุตบอลทีมชาติไทยและเอเชียนคัพ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนคัพ 1972

การแข่งขัน เอเชียนคัพ 1972 รอบสุดท้ายจัดขึ้นที่ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 7 พฤษภาคม ถึง 19 พฤษภาคม ทีมที่ชนะเลิศคืออิหร่าน.

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและเอเชียนคัพ 1972 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและเอเชียนคัพ 1972 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนคัพ 2007

อเชียนคัพ 2007 เป็นการแข่งขันฟุตบอลเอเชียนคัพ ครั้งที่ 14 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 7-29 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 โดยมี 4 ประเทศร่วมเป็นเจ้าภาพ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย เวียดนาม และ อินโดนีเซีย ซึ่ง ทีมชาติเวียดนาม เป็นทีมเจ้าภาพทีมเดียวที่ผ่านเข้ารอบสอง นอกจากนี้ในการแข่งขัน ทีมชาติออสเตรเลียเข้าร่วมแข่งขันเป็นครั้งแรกภายหลังจากที่ย้ายมาเข้าเอเอฟซี ประเทศที่ชนะเลิศการแข่งขัน ฟุตบอลทีมชาติอิรัก โดยชนะ ซาอุดีอาระเบีย ไป 1 ประตูต่อ 0.

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและเอเชียนคัพ 2007 · ฟุตบอลทีมชาติไทยและเอเชียนคัพ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและฟุตบอลทีมชาติไทย

ฟุตบอลทีมชาติอิหร่าน มี 35 ความสัมพันธ์ขณะที่ ฟุตบอลทีมชาติไทย มี 414 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 23, ดัชนี Jaccard คือ 5.12% = 23 / (35 + 414)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ฟุตบอลทีมชาติอิหร่านและฟุตบอลทีมชาติไทย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »