โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2550และพระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พ.ศ. 2550และพระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ

พ.ศ. 2550 vs. พระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น. หลวงพ่อจ้อย จนฺทสุวณฺโณ (8 เมษายน พ.ศ. 2456 — 16 เมษายน พ.ศ. 2550) เทพเจ้าแห่งเมืองปากน้ำโพ อดีตเจ้าอาวาส วัดศรีอุทุมพร เป็นพระผู้เปี่ยมไปด้วยเมตตากรุณา เป็นพระนักพัฒนา ที่ชาวจังหวัดนครสวรรค์ และเขตติดต่อ ให้ความเคารพนับถือ ผู้บุกเบิกสร้างวัดและหมู่บ้าน แต่เดิมโยมท่านและตัวท่านมีภูมิลำเนาถิ่นฐานอยู่บ้านดอนหวาย ตำบลพรวงสองนาง อำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี โยมชายหญิงของท่านเห็นว่าที่ทำกินมันชักจะแคบเข้าทุกที ทำนาไม่เพียงพอลูกที่มีเพิ่มขึ้นชีวิตในโลกนี้คือการดิ้นรน คนส่วนมากของประเทศโดยเฉพาะชาวไร่ชาวนาดิ้นรนเพียงเพื่อมีชีวิตอยู่ทุ่มเทชีวิตเรี่ยวแรงหยาดเหงื่อทุกหยด เพื่อความมีชีวิตของตน สมัยนั้นมีดินป่าไม้ยังรกร้างว่างเปล่า ไม่ต้องยื้อแย่งกรรมสิทธิ์อะไรกัน ผู้คนพลเมืองยังมีน้อย “ดินดีเพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง” มีอยู่มากมายใครมีกำลังเรี่ยวแรงเท่าไรก็มาหักล้างถางพงให้เป็นไร่เป็นนาเอาตามความสามารถของตน พอทำกินเลี้ยงลูกเมียแล้วก็พอใจ มิได้กำเริบใจจะเป็นนายทุนเจ้าของที่ดินเป็นหมื่นเป็นพันไร่อย่างในปัจจุบันนี้เมื่อทราบว่าทางบ้านวังเดื่อ ตำบลหนองกรด จังหวัดนครสวรรค์ ยังมีที่ดินว่างเปล่าอยู่มาก จึงไปปรึกษาชักชวนกันอพยพจากถิ่นเดิม เอาพริก เอาเกลือ เอาข้าวใส่โคเทียมเกวียนมา จอบเสียมเครื่องมือทำกินก็เอามาพร้อมเดินทางรอนแรม ค่ำไหนนอนนั่นมาหลายวันหลายคืนผ่านมาทางหนองขุย ห้วยอีด่าง ลักเข้าหนองกล้ำเข้าดอนเพชร โนนแดง ข้ามแม่น้ำแควตากแดด ขึ้นบ้านวังหินดาร หนองกระทุ่ม เรื่อยมา ทางรถเรียบรถยนต์วิ่งได้สบายบรื๋อ อย่างเดียวนี้หามีไม่ เกวียนมีสิทธิ์ที่จะใช้ทางเกวียนอย่างเต็มที่ ก็ทางเกวียนนี่แหละ ที่เป็นเครื่องวัดนิสัยใจคอของคนไทยแต่ไรมา เมืองไทยอากาศมันร้อน จะเดินทางไปไหนก็ลดเลี้ยวเลี่ยงไปเดินตามร่มเงา หรือที่ไหนรกทึบด้วยแมกไม้ ยากเกินไปที่จะบุกป่าฝ่าหนาม ก็เลี่ยงเดินเสียที่มันเตียนไม่ต้องออกแรง ทางที่เริ่มขึ้นเป็นทางเดินเท้าต่อมาก็ขยายกว้างเป็นทางเกวียน โคกระบือเทียมเกวียนจึงพาเกวียนเลี้ยวลดไปตามทางที่มีอยู่ ที่จะลัดตัดตรงนั้นไม่มี โบราณว่าเกวียนหนีทางไม่ได้ กว่าจะพาครอบครัวอพยพถึงวังเดื่อได้ก็หลายวันเต็มที ครอบครัวของหลวงพ่อจ้อย นับว่าเป็นผู้บุกเบิกดินแดนถิ่นนี้เป็นครั้งแรก ตั้งหน้าหักร้างถางป่า อีกหลายปีจึงมีที่ดินทำไร่ไถนาได้พอเลี้ยงกัน จากนั้นก็ไปชักชวนเพื่อนพวกพี่น้องในถิ่นเดิม ให้มาบุกเบิกทำกินกันตามกำลัง “ดินดีเพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง” เหลืออยู่อีกมากมาย ไม่หวงแหนกีดกันเอาเป็นของตนแต่ผู้เดียวเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กันตามประสาไทย ใครมีแรงมากเอาให้มาก มีแรงน้อยก็เอาแต่พอแรงของตน บ้านวังเดื่อที่เคยเป็นป่า บักนี้ก็ค่อยๆกลายเป็นแหล่งชุมชนของหมู่บ้านและที่เราเรียกกันว่า “บ้านวังเดื่อ” เพราะว่าได้มีต้นมะเดื่อขนาดสูงใหญ่ขึ้นอยู่ที่ริมคลองหลังวัด และในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเหลือเพียงแต่ตอของต้นมะเดื่อที่จมอยู่ในคลองของด้านหลังวัด และเราจะสามารถเห็นตอนี้ได้ก็ต่อเมื่อน้ำในคลองได้ลดลง ต่อมาโยมพ่อโยมแม่และญาติโยมชาวบ้านวังเดื่อได้พร้อมใจกันยกที่ให้หลวงพ่อได้ทำการสร้างเป็นที่พักสงค์ เพื่อจะเอาไว้เป็น ที่สาธารณประโยชน์ในการบำเพ็ญกุศล แล้วจึงได้นิมนต์พระภิกษุสงค์มาจำพรรษาอยู่ที่สำนักสงค์แห่งนี้ ต่อมาทางคณะสงค์ได้จัด ตั้งวัดขึ้นให้เป็นวัดที่สมบูรณ์แบบถูกต้องตามกฎหมาย ชื่อว่า “วัดศรีอุทุมพร” เพราะว่าตามหลักภาษาบาลี “ไม้มะเดื่อ” นั้นแปลว่า “ไม้อุทุมพร” พอเติมคำว่า “ศรี” เข้าไปก็เป็น “วัดศรีอุทุมพร” คือวัดที่เป็นสิริงดงาม จึงเป็นมงคลนาม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พ.ศ. 2550และพระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ

พ.ศ. 2550และพระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2456พ.ศ. 2480พ.ศ. 2481จังหวัดเชียงใหม่16 เมษายน

พ.ศ. 2456

ทธศักราช 2456 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1913 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2456และพ.ศ. 2550 · พ.ศ. 2456และพระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2480

ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.

พ.ศ. 2480และพ.ศ. 2550 · พ.ศ. 2480และพระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

พ.ศ. 2481และพ.ศ. 2550 · พ.ศ. 2481และพระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

จังหวัดเชียงใหม่และพ.ศ. 2550 · จังหวัดเชียงใหม่และพระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ · ดูเพิ่มเติม »

16 เมษายน

วันที่ 16 เมษายน เป็นวันที่ 106 ของปี (วันที่ 107 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 259 วันในปีนั้น.

16 เมษายนและพ.ศ. 2550 · 16 เมษายนและพระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พ.ศ. 2550และพระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ

พ.ศ. 2550 มี 500 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ มี 30 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 0.94% = 5 / (500 + 30)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พ.ศ. 2550และพระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »