โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปลาหมอริวูเลตัสและสัตว์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปลาหมอริวูเลตัสและสัตว์

ปลาหมอริวูเลตัส vs. สัตว์

ปลาหมอริวูเลตัส (Green terror) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีลักษณะเด่น คือ มีลวดลายสีฟ้าสะท้อนแสงที่หน้า เมื่อปลาโตเต็มที่ลวดลายดังกล่าวจะยิ่งแตกเป็นลายพร้อยมากขึ้น รวมถึงบริเวณริมฝีปากด้วย ขอบครีบหลังและครีบก้นมีขลิบสีแดงพาดยาวไปจนถึงความยาวสุดของครีบหลัง บริเวณลำตัวมีลายเหมือนตาข่ายและมีจุดสีดำขนาดใหญ่ที่กลางลำตัว ในบางตัวอาจจะเป็นลายยาว และบริเวณแผ่นปิดเหงือกจะมีแถบสีดำยาวตั้งแต่ตาไปจนถึงแก้ม แต่สีดังกล่าวจะซีดลงได้เมื่อปลาตกใจหรืออยู่ในภาวะเครียด ปลาหมอริวูเลตัส มีความยาวเมื่อโตเต็มที่ราว 25-30 เซนติเมตร โดยเฉพาะในปลาตัวผู้จะมีสีสันและลำตัวขนาดใหญ่กว่าตัวเมียมาก และมีส่วนหัวที่โหนก ขณะที่ตัวเมียมีความยาวได้แค่ครึ่งของตัวผู้ คือ ราว ๆ 12 เซนติเมตร และไม่มีโหนกที่ส่วนหัว แพร่กระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำต่าง ๆ บริเวณภาคตะวันตกของประเทศเอกวาดอร์ และทางตอนเหนือของเปรู ซึ่งปลาหมอริวูเลตัสในแต่ละแหล่งอาจมีสีและลักษณะต่าง ๆ แตกต่างกันได้ตามภูมิประเทศที่อาศัย เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เป็นปลาที่มีอุปนิสัยไม่ดุร้ายก้าวร้าวมากนักเมื่อเทียบกับปลาหมอสีชนิดอื่น สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ในตู้เลี้ยง เมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ ปลาตัวผู้จะมีสีสันและลวดลายต่าง ๆ สวยกว่าปกติ ช่องเพศจะขยายใหญ่ขึ้น รวมถึงปลาตัวเมียก็จะมีสีเข้มขึ้น และจะมีอุปนิสัยดุร้ายก้าวร้าวมากขึ้น โดยตัวเมียจะเป็นฝ่ายขุดหลุมและวางไข่ ซึ่งบางครั้งอาจวางไข่ติดกับวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำ จากนั้นตัวผู้จะเข้าไปฉีดน้ำเชื้อปฏิสนธิ และทั้งคู่จะช่วยกันดูแลไข่ ตัวเมียจะวางไข่ได้ครั้งละ 200-300 ฟอง ลูกปลาจะฟักเป็นตัวในวันที่ 3 และวันที่ 4 ก็จะเริ่มว่ายน้ำได้. ัตว์ (Animal) เป็นสิ่งมีชีวิตยูแคริโอตหลายเซลล์ในอาณาจักร Animalia (หรือเรียก เมตาซัว) แผนกาย (body plan) ของพวกมันสุดท้ายคงที่เมื่อพัฒนา แม้สัตว์บางชนิดมีกระบวนการการเปลี่ยนสัณฐานภายหลังในช่วงชีวิต สัตว์ส่วนใหญ่เคลื่อนที่ได้ สัตว์ทุกชนิดต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นหรือผลิตภัณฑ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการดำรงชีพ (สิ่งมีชีวิตสร้างอาหารเองไม่ได้) ไฟลัมสัตว์ที่รู้จักกันดีที่สุดปรากฏในบันทึกฟอสซิลเป็นสปีชีส์ภาคพื้นสมุทรระหว่างการระเบิดแคมเบรียน (Cambrian explosion) ประมาณ 542 ล้านปีก่อน สัตว์แบ่งเป็นกลุ่มย่อยหลายกลุ่ม บางกลุ่ม เช่น สัตว์มีกระดูกสันหลัง (นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน ปลา) มอลลัสกา (หอยกาบ หอยนางรม ปลาหมึก หมึกสาย หอยทาก) สัตว์ขาปล้อง (กิ้งกือ ตะขาบ แมลง แมงมุม แมงป่อง ปู ลอบสเตอร์ กุ้ง) สัตว์พวกหนอนปล้อง (ไส้เดือนดิน ปลิง) ฟองน้ำ และแมงกะพรุน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปลาหมอริวูเลตัสและสัตว์

ปลาหมอริวูเลตัสและสัตว์ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สัตว์มีแกนสันหลัง

สัตว์มีแกนสันหลัง

ัตว์มีแกนสันหลัง คือสัตว์ในไฟลัมคอร์ดาตา พวกมันจะมีแกนสันหลัง ใยประสาทส่วนหลังกลวง ช่องคอหอย หลอดเส้นประสาทกลวงส่วนหลัง และหางหลังทวารหนัก ในช่วงหนึ่งของวงจรชีวิต สัตว์มีแกนสันหลังเป็นพวกดิวเทอโรสโตม กล่าวคือในช่วงระยะตัวอ่อน ทวารหนักเกิดก่อนปาก และเป็นซีโลเมตที่มีสมมาตรด้านข้าง ในกรณีของสัตว์มีแกนสันหลังที่มีกระดูกสันหลัง แกนสันหลังจะถูกแทนที่โดยกระดูกสันหลังในช่วงเจริญเติบโต และพวกมันอาจจะมีปล้องตามร่างกาย ในอนุกรมวิธาน ตัวไฟลัมเองประกอบไปด้วยไฟลัมย่อยเวอร์เตบราตา (ซึ่งประกอบด้วย ปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม) ทูนิคาตา (ซึ่งรวมทั้งซาล์ปและเพรียงหัวหอม) และเซฟาโลคอร์ดาตา ประกอบด้วยแหลนทะเล และยังรวมถึงบางกลุ่มที่สูญพันธุ์ไปแล้ว บางครั้งกลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลังถูกจัดรวมอยู่กับกลุ่มสัตว์มีกระโหลกศีรษะ สัตว์มีแกนสันหลังมีมากกว่า 65,000 สปีชีส์ที่ยังมีชีวิตอยู่ กว่าครึ่งเป็นพวกปลากระดูกแข็ง วาฬและเหยี่ยวเพเรกริน สัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและเคลื่อนที่เร็วที่สุดตามลำดับ เป็นสัตว์มีแกนสันหลังเช่นเดียวกันกับมนุษย์ ซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์มีแกนสันหลังยุคแรกๆ มีอายุย้อนไปถึงในช่วงการระเบิดยุคแคมเบรียน.

ปลาหมอริวูเลตัสและสัตว์มีแกนสันหลัง · สัตว์และสัตว์มีแกนสันหลัง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปลาหมอริวูเลตัสและสัตว์

ปลาหมอริวูเลตัส มี 24 ความสัมพันธ์ขณะที่ สัตว์ มี 39 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.59% = 1 / (24 + 39)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปลาหมอริวูเลตัสและสัตว์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »